The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Siriphan CH., 2019-09-09 22:15:37

กังหันน้ำ

กังหันน้ำ

พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ทรงตระหนักถงึ ความรุนแรงของ
ปญั หาทเี่ กดิ ข้นึ และทรงหว่ งใยตอ่ พสกนกิ รท่ีตอ้ งเผชญิ ในเรอ่ื ง
ดังกลา่ วเมอ่ื วนั ท่ี 24 ธนั วาคม 2531 ไดพ้ ระราชทานพระราชดาริใน
การแกไ้ ขปญั หาน้าเสยี ดว้ ยการใชเ้ ครอ่ื งกลเติมอากาศ โดย
พระราชทานรูปแบบส่ิงประดษิ ฐ์ทีเ่ รียบงา่ ย แตม่ ีประสิทธภิ าพสงู ใน
การบาบัดนา้ เสีย ซึง่ เป็นที่ร้จู ักกนั ดีในช่อื กังหนั นา้ ชยั พัฒนา และ
นามาใชใ้ นการปรบั ปรุงคณุ ภาพน้าตามสถานทตี่ ่างๆ ท่วั ทุกภมู ิภาค

กงั หนั นา้ ชยั พฒั นา เครอื่ งกลเตมิ อากาศทผ่ี ิวนา้ หมนุ ชา้ แบบทนุ่ ลอย

พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั ทรงหว่ งใยในความเดอื ดรอ้ นทุกข์ยากท่ี
เกิดขึ้นน้ี ไดเ้ สด็จพระราชดาเนนิ ทอดพระเนตรสภาพน้าเสียในพน้ื ที่
หลายแหง่ หลายครง้ั ทง้ั ในเขตกรุงเทพมหานคร ปรมิ ณฑล และ
ต่างจงั หวัด พรอ้ มทัง้ พระราชทานพระราชดาริเกี่ยวกับการแกไ้ ขนา้ เน่า
เสีย
ในระยะแรกระหวา่ งปี พ.ศ. 2527-2530 ทรงแนะนาใหใ้ ช้นา้ ทีม่ ี
คุณภาพดชี ว่ ยบรรเทาน้าเสียและวธิ ีกรองนา้ เสียด้วยผกั ตบชวาและ
พชื นา้ ต่างๆ ซ่งึ กส็ ามารถช่วยแก้ไขปัญหาไดผ้ ลในระดับหน่ึง

ตอ่ มาในชว่ งปี พ.ศ.2531 เป็นตน้ มา สภาพความเน่าเสยี ของนา้
บริเวณตา่ งๆ มอี ัตราแนวโนม้ รุนแรงมากย่ิงขึน้ การใช้วธิ ี

ธรรมชาตไิ ม่อาจบรรเทาความเน่าเสยี ของนา้ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
เทา่ ที่ควร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัวจึงขอพระราชทานพระราชดารใิ ห้
ประดิษฐเ์ คร่ืองกลเตมิ อากาศแบบประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ย สามารถผลิตไดเ้ องใน
ประเทศ ซ่ึงมีรปู แบบ "ไทยทาไทยใช"้ โดยทรงไดแ้ นวทางจาก "หลุก" ซ่ึง
เป็นอปุ กรณ์วดิ นา้ เขา้ นาอนั เปน็ ภูมิปญั ญาชาวบ้านเปน็ จุดคดิ คน้ เบือ้ งตน้
และทรงมงุ่ หวงั ท่จี ะช่วยแบง่ เบาภาระของรฐั บาลในการบรรเทาน้าเน่าเสีย
อกี ทางหนง่ึ ดว้ ย

การนี้ จึงทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ใหม้ ลู นธิ ชิ ัยพฒั นาสนบั สนุน
งบประมาณ เพ่อื การศกึ ษาและวิจัยสิ่งประดษิ ฐใ์ หม่นี้ โดยดาเนินการ
จัดสร้างเคร่ืองมอื บาบดั นา้ เสียรว่ มกับกรมชลประทาน ซึ่งได้มกี ารผลติ
เคร่อื งกลเตมิ อากาศขึน้ ในเวลาต่อมา และรจู้ กั กนั แพรห่ ลายทวั่ ไประเทศใน
ปจั จุบันคือ "กงั หันนา้ ชยั พัฒนา"

พระราชดาริ
เมื่อวนั ที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2531 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวได้
พระราชทานรปู แบบและพระราชดาริ เรือ่ งการแก้ไขปัญหานา้ เสีย โดยการ
เตมิ ออกซิเจนในน้า มีสาระสาคญั คือ

การเตมิ อากาศลงในนา้ เสยี มี 2 วธิ วี ธิ ีหนึ่ง ใช้อากาศอัดเขา้ ไปตามท่อเปา่
ลงไปใต้ผิวน้าแบบกระจายฟองและอีกวิธีหนงึ่ นา่ จะกระทาได้โดยกงั หันวิด
น้า วิดตกั ขน้ึ ไปบนผิวน้า แลว้ ปล่อยให้ตกลงไปยังผิวนา้ ตามเดมิ โดยที่
กังหันน้าดังกล่าวจะหมุนช้า ดว้ ยกาลังของมอเตอรไ์ ฟฟ้า ขนาดเล็กไม่เกนิ
2 แรงมา้ หรืออาจจะใชพ้ ลังนา้ ไหลกไ็ ด้ จงึ สมควรพจิ ารณาสรา้ งตน้ แบบ
แล้วนาไปติดต้ังทดลองใช้บาบัดน้าเสียท่ีภายในบรเิ วณโรงพยาบาลพระ
มงกฎุ เกลา้ และวดั บวรนเิ วศวิหาร

การศกึ ษา วจิ ยั และพฒั นา

กรมชลประทานรบั สนองพระราชดารใิ นการศึกษาและสรา้ งตน้ แบบ โดยดดั แปลง
เคร่อื งสบู น้าพลงั นา้ จาก "กงั หนั น้าสบู น้าทุ่นลอย" เปล่ียนเปน็ "กงั หันน้าชยั
พัฒนา" และไดน้ าไปตดิ ตงั้ ใชใ้ นกิจกรรมบาบดั นา้ เสยี ที่โรงพยาบาลพระมงกุฎ
เกล้า เม่ือวนั ที่ 1 พฤษภาคม 2532 และที่วดั บวรนิเวศวิหาร เม่อื วนั ท่ี 3
พฤษภาคม 2532 เพ่อื ศึกษา วจิ ยั และพัฒนาระบบบาบดั นา้ เสีย เป็นระยะเวลา
4-5 ปี

คณุ สมบตั ิ

กังหันนา้ ชัยพฒั นา หรือเคร่ืองกลเติมอากาศทผี่ วิ น้าหมุนช้าแบบท่นุ ลอย
(Chaipattana Low Speed Surface Aerator) ซ่ึงเปน็ Model RX-
2 หมายถึง Royal Experiment แบบที่ 2 มีคุณสมบัติในการถา่ ยเท
ออกซิเจนไดส้ งู ถงึ 1.2 กโิ ลกรัมของออกซเิ จน/แรงม้า/ชว่ั โมง สามารถ
นาไปใช้ในกิจกรรมปรบั ปรุงคุณภาพนา้ ได้อยา่ งอเนกประสงค์ ติดต้งั ง่าย
เหมาะสาหรับใชใ้ นแหลง่ นา้ ธรรมชาติ ได้แก่ สระน้า หนองน้า คลอง บึง
ลาหว้ ย ฯลฯ ทมี่ ีความลกึ มากกว่า 1.00 เมตร และมีความกวา้ งมากกวา่
3.00 เมตร


Click to View FlipBook Version