The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือประวิติศาสตร์ชุมชน ตำบลปังหวาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by gotben0159, 2021-11-21 09:18:56

หนังสือประวิติศาสตร์ชุมชน ตำบลปังหวาน

หนังสือประวิติศาสตร์ชุมชน ตำบลปังหวาน

คำนำ

ชุมชนปังหวานเป็นพื้นที่ประกอบด้วยเทือกเขาสลับซับซ้อนมีที่ราบอยู่บ้าง ที่มีความหลากหลายทาง
ชีวภาพสว่ นใหญ่ยังคงความดั้งเดมิ ของธรรมชาติไว้ ยังมคี วามโดดเด่นทสี่ ามารถทำให้ผู้คนจากท่ีต่างๆมาเยี่ยมชม
และศึกษาประวัติศาสตรค์ วามเปน็ มา ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น ศิลปวัฒนธรรม โดยเฉพาะศูนยส์ ง่ เสริมแหล่งการเรียนรู้
เกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ และโครงการส่งเสริมและอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยว
เชิงอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมน้ำตกเหนือเหว เนื่องจากสถานที่นี่เป็นแหล่งธรรมชาติ จึงเล็งเห็นถึงความสำคัญของ
ชุมชนในการทะนุบำรุงแหล่งต้นน้ำและสิ่งแวดลอ้ ม ดังนั้นจึงต้องมีการศึกษาเพื่อหาแนวทางในการพฒั นาแบบมี
ส่วนร่วมของประชาชนทั้งที่เป็นนักท่องเที่ยวที่มาเยี่ยมชมและนักศึกษาที่มาศึกษาค้นคว้าหาความรู้ ตลอดจน
สร้างความภูมิใจในสิ่งที่เป็นเอกลักษณ์ท้องถิ่นทำให้เกิดการสืบทอดและปลูกจิตสำนึกให้เกิดการอนุรักษ์และ
แสวงหาแนวทางรว่ มกันในการจดั การปัญหาอปุ สรรคท่มี ีผลกระทบในด้านต่างๆ

หวังเปน็ อยา่ งย่งิ วา่ หนังสือประวัติศาสตร์ชมุ ชนเล่มน้ี จะเป็นประโยชนใ์ นทางวิชาการ และมีการนำไปใช้
ในการปฏิบัติเพ่ือกอ่ ให้เกิดประโยชนแ์ กช่ ุมชนตลอดจนผูท้ ่ีเกย่ี วข้องต่อไป จึงขอขอบพระคุณ

ผ้จู ัดทำ
วิศวกรสงั คมตำบลปังหวาน

สารบัญ หน้า

เร่ือง 1
1
1.ประวัติความเป็นมา 1
1.1 แผนที่ตำบลปงั หวาน 7
1.2 สภาพตำบล 8
1.3 สภาพทางสงั คม 8
1.4 อาชีพ
1.5 การบริการพ้ืนฐาน 9
12
2. ระบบกลไกท่ีใชใ้ นการขับเคลอื่ นการดำเนนิ งานโครงการ U2T ในตำบลปังหวาน 13
3. ผลการประเมนิ สถานภาพตำบลตาม 16 เป้าหมายก่อนโครงการ 15
16
3.1 ขอ้ มูล จปฐ. (TPMAP) เกี่ยวกับประชากร 17
3.2 การวเิ คราะหเ์ พื่อการพัฒนาท้องถ่นิ (Swot analysis)
3.3 การประเมินสถานการณ์สภาพแวดลอ้ มภายนอกทเ่ี กย่ี วข้อง 19
3.4 การนำแผนพฒั นาท้องถิ่นไปสู่การปฏิบัติ 21

4. สรุปกจิ กรรมท่ีดำเนนิ การเพ่อื ยกระดับในแต่ละศักยภาพตำบลและผลท่ีได้ 24
5. สรุปกจิ กรรมทดี่ ำเนินการเพอื่ ยกระดับในแตล่ ะศักยภาพตำบลและผลท่ไี ด้
25
6. ผลลพั ธ์ตามวตั ถุประสงคข์ องโครงการ
27
7. ข้อเสนอแนะในการพัฒนาตอ่
32
8. ผลสรุปศักยภาพตำบล

บรรณานกุ รรม

1.ประวตั คิ วามเปน็ มา
ตำบลปังหวาน แต่เดิมเรียกชื่อว่า บ้านมะปรางหวาน ซึ่งมีความเป็นมา ดังนี้ เมื่อก่อนการคมนาคม

ส่วนมากจะเปน็ ทางนำ้ โดยมแี ม่น้ำสายหลัก คือ แมน่ ้ำหลังสวน และมีน้ำทีใ่ หญ่มาก มหี าดทรายกว้าง เป็นที่จอด
เรือและแพเพื่อพักแรม และทานอาหาร โดยที่ท่าน้ำที่มีผู้มาจอดพักมีต้นมะปรางหวานต้นใหญ่อยู่ต้นหนึ่ง ซ่ึง
เรียกทา่ นำ้ น้ีว่า ท่านำ้ มะปรางหวาน นามมาก็เพ้ยี นมาเปน็ บ้านปงั หวาน

ชุมชนบ้านปังหวาน สันนิษฐานว่า เริ่มมีผู้คนเข้ามาตั้งชุมชนสมัยเมื่อสงครามโลกครั้ง ที่ ๑ และเริ่ม
หนาแน่นขึ้นเมื่อสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ แต่เดิมนั้นส่วนมากจะอยู่ทีร่ มิ แม่น้ำหลังสวนเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งมีชุมชน
อยูห่ นาแน่น คอื ๑) ชมุ ชนบ้านส้มควาย ประกอบด้วย ชุมชนบ้านโพธิท์ องหลาง และชุมชนบ้านพังเหา

๒) ชมุ ชนบา้ นในคลอง ประกอบดว้ ย ชมุ ชนบา้ นชุมแสง และชมุ ชนบ้านคลองอาร์
๓) ชุมชนบ้านคลา้ ยสองกอ
๑.๑ แผนทีต่ ำบลปังหวาน

๑.๑ ภาพแผนทีต่ ำบลปงั หวาน

ประกอบดว้ ยเทอื กเขาสลับซบั ซ้อน เป็นที่ราบอยู่บ้าง และมี 9 หมูบ่ า้ น ดงั น้ี หมู่ ๑ บา้ นส้มควาย

หมู่ ๒ บา้ นพงั เหา หมู่ ๓ บ้านคลองเหนก หมู่ ๔ บา้ นคลองนูน หมู่ ๕ บ้านทอนพงษ์

หมู่ ๖ บ้านท่าแพ หมู่ ๗ บา้ นคลองอารกั ษ์ หมู่ ๘ บา้ นหว้ ยใหญ่ หมู่ ๙ บา้ นสรา้ งสมบูรณ์

๑.๒ สภาพตําบล
หมูท่ ี่ ๑ บ้านสม้ ควาย ประชากร ๑๓๗ ครัวเรอื น ชาย ๑๓๔ คน หญิง ๑๔๒ คน รวม ๒๗๖ คน
๑) ขอ้ มูลไทม์ไลน์ของหมู่บา้ น จากการสมั ภาษณ์นายอรรถพล กลอ่ มทรง ซ่ึงเป็นสมาชิกองค์การบริหาร
ส่วนตำบลปังหวาน ไดใ้ ห้ข้อมลู เก่ียวกบั หมทู่ ่ี ๑ บา้ นส้มควาย มกี ารจดั ตง้ั หมู่บ้านมานานแล้ว ไมท่ ราบพ.ศ. ที่ตั้ง



อย่างชัดเจน ชื่อ ส้มควาย มาจากในขณะนั้น ที่ต้ังของหมู่บ้านมีต้นส้มควายหรือส้มแขก จึงได้ตั้งชื่อหมู่บ้านว่า
บ้านสม้ ควาย แต่บดั นัน้ เปน็ ตน้ มาจนถึงปจั จบุ นั

๒) เก็บข้อมูลไทม์ไลน์ผลิตภัณฑ์ในชุมชน ได้แก่ ผลิตภัณฑ์แปรรูปกล้วยฉาบ ผลิตภัณฑ์ขนมไทยหลาย
ชนดิ ผลติ ภัณฑ์แปรรปู จากกะลามะพร้าว ผลติ ภัณฑ์ปลาดกุ ร้า

๓) เก็บข้อมูลไทม์ไลน์ผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเทีย่ วในชุมชน คือ ศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และ ศนู ย์เรียนร้ปู รชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและ เกษตรทฤษฎีใหม่ประจาํ ตาํ บลปังหวาน

ได้นำเสนอโครงการส่งเสริมสร้างอาชีพสร้างรายได้ในชุมชนมีรายได้เสริมอาชีพจากอาชีพหลัก จึงได้
เลอื กกลมุ่ อาชีพผลิตภัณฑ์ปลาดุกร้า โดยทางกลุ่มมีการเลี้ยงปลาดุกเปน็ อาชีพเสริมอยแู่ ล้ว ทางกลุ่มมีการเรียนรู้
เรื่องการนำปลาดุกมาแปรรูปเป็นปลาดุกร้าแล้วจึงนำวัตถุดิบปลาดุกร้ามาทำโครงการยกระดับผลิตภัณฑ์และ
การตลาด ให้มีคุณภาพและเป็นของขึ้นชื่อ ของฝาก เพื่อให้กลุ่มของเรามีความเข้มแข็ง และพัฒนาสมาชิกใน
กลุ่มให้มีส่วนรว่ ม สร้างกลุ่ม สร้างงาน สรา้ งรายได้ เปน็ ภูมปิ ัญญาในชมุ ชน และสามารถนำเสนอจำหน่ายผ่าน

ชอ่ งทางออนไลนต์ ่าง ๆ เช่น Line Facebook เปน็ ต้น

๑.๒ ภาพกลมุ่ ผลติ ภณั ฑป์ ลาดุกรา้

หมทู่ ี่ ๒ บา้ นพงั เหา ประชากร ๓๖๒ ครัวเรอื น ชาย ๔๒๖ คน หญิง ๔๐๗ คน รวม ๘๓๓ คน
๑) เก็บข้อมูลไทม์ไลน์ของหมู่บ้าน บ้านพังเหา มีประชากรในพื้นที่จํานวนมาก จึงแยกหมู่บ้านไปอีก
หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ ๙ บ้านสร้างสมบูรณ์ แยกออกมาจากหมู่บ้านพังเหาในสมัยผู้ใหญ่คมตะวัน สร้างแก้ว เป็น
ผูใ้ หญบ่ ้านอยู่ในขณะนนั้ ชว่ งราวปี พ.ศ.๒๕๕๘
๒) เก็บข้อมูลไทม์ไลน์ผลิตภัณฑ์ในชุมชน ในปัจจุบันนี้ ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆของชุมชนมีการยกเลิกไป
บางสว่ น เนื่องจากสมาชิกในกลุ่มต่างแยกย้ายไปทําอาชีพของตน และความไม่พรอ้ มของหลายอย่าง



๓) เก็บข้อมูลไทม์ไลน์ผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยวในชุมชน ค้นพบว่า มีสถานที่คล้ายๆเป็นร้านอาหาร มี
ชื่อว่า ครัวบ้านสวน-ศูนยเ์ รียนรู้บ้านสวนสุวรรณ ซึ่งเป็นที่พบปะสงั สรรค์เป็นแหลง่ ที่ผู้คนไปมาได้ตลอด และนัด
ประชมุ หรอื ทาํ กจิ กรรมของคนในหมู่บ้านและผคู้ นที่มาท่องเทีย่ ว

หมู่ที่ ๓ บ้านคลองเหนก ประชากร ๒๖๔ ครวั เรอื น ชาย ๒๘๒ คน หญงิ ๓๐๐ คน รวม ๕๘๒ คน
๑) เก็บข้อมูลไทม์ไลน์ของหมู่บ้าน เป็นตำบลดั้งเดิมมีมานานหลายปไี ม่ทราบ พ.ศ. ปกครองโดย กํานัน
สุมนธ์ ทพิ ยส์ มบัติ ซ่งึ ในปจั จบุ นั ดำรงตำแหน่งเป็นผู้ใหญบ่ า้ นในพ้ืนหมูท่ ี่ ๓ บา้ นคลองเหนก
๒) เก็บข้อมูลไทม์ไลน์ผลิตภัณฑ์ในชุมชน ผลิตภัณฑ์ในชุมชน คือ น้ำผึ้งโพรง เริ่มจัดทํากลุ่มน้ำผึ้งโพรง
ขึ้นมาเม่ือปี พ.ศ.๒๕๕๗ โดยมีสมาชิกทง้ั หมด ๓๐ คน ซ่ึงปจั จบุ ันชาวบา้ นกย็ งั ทําน้ำผ้งึ โพรงกนั อยู่
๓) เกบ็ ขอ้ มูลไทม์ไลน์ผลิตภัณฑแ์ หล่งท่องเท่ียวในชุมชน ในส่วนของแหล่งท่องเที่ยวในหมูบ้าน พบว่า มี
สถานที่ทีส่ ามารถพฒั นาเป็นแหล่งท่องเที่ยวไดค้ ือ “เขื่อนน้ำลน้ ”
ได้นำเสนอโครงการส่งเสริมสร้างอาชีพสร้างรายได้ในชุมชน ให้มีรายได้เสริมอาชีพจากอาชีพหลัก จาก
กลมุ่ ทำน้ำผึ้งโพรงเดิมท่ีมีอยู่แล้ว ต่อยอดผลผลิต เนอ่ื งจากสภาพเศรษฐกจิ เล็งเห็นถึงความต้องการในเรื่องความ
สวยความงาม จึงนำเสนอโครงการยกระดบั ผลิตภณั ฑใ์ หม้ ีคุณภาพ จากผลติ ภณั ฑน์ ำ้ ผ้งึ บรรจุขวด ได้สง่ เสริมและ
สนับสนุนการนำวัตถุดิบที่มนี ั้นนำมายกระดับเป็นผลิตภัณฑ์สบู่น้ำผ้ึง โดยใช้กรรมวิธอี ย่างง่าย สามารถรวมกลุ่ม
กัน และเน้นการนำเสนอผลิตภัณฑ์ผ่านช่องทางออนไลน์ต่าง ๆรวมไปถึงฝึกอบรมการขายผ่านทางโซเซียวมีเดยี

เพ่ือสร้างกลุ่มที่ย่งั ยนื สร้างความสามัคคี มสี ว่ นร่วม มรี ายได้เพ่มิ ขน้ึ

๑.๓ ภาพกลมุ่ ผลติ ภณั ฑ์นำ้ ผ้ึงโพรง

หมู่ท่ี ๔ บ้านคลองนูน ประชากร ๓๙๐ ครวั เรือน ชาย ๕๑๗ คน หญิง ๔๖๖ คน รวม ๙๘๓ คน
๑) เก็บข้อมูลไทม์ไลน์ของหมู่บ้าน จากการลงพื้นที่พบว่าในตอนนั้น กํานันชอบ แดงหนองหิน ได้
แบ่งแยกหมู่บ้านออกจากหมู่ที่ ๖ บ้านท่าแพ มาเป็นหมู่ที่ ๔ บ้านคลองนูน เพราะประชากรมาก ครัวเรือนมาก



เลยต้องแบ่งแยกหมู่บ้าน มีคลองนูนสายเดียวเป็นสายหลัก ที่ไหลผ่านบ้านท่าแพแล้วออกมา ทางคลองใหญ่คือ
คลองปังหวาน และน้ำจากคลองปงั หวานไหล ออกสู่แม่น้ำหลงั สวน มีการรวมกลมุ่ ของชมรมผ้สู ูงอายุจัดต้องกลุ่ม
ขึน้ มาเม่ือปี พ.ศ.๒๕๖๑ มีสมาชกิ ประมาณ ๔๐ คน รว่ มทํากจิ กรรม เช่น การราํ และกลองยาว

๒) เก็บข้อมูลไทม์ไลน์ผลิตภัณฑ์ในชุมชน ในส่วนผลิตภัณฑ์ของชุมชน คือ ทุเรียนทอด ซึ่งปัจจุบัน
ชาวบา้ นกย็ ังทําผลิตภณั ฑ์นีอ้ ยู่ เพ่อื ค้าขายในหม่บู ้านและตามสถานท่ีต่าง ๆ

๓) เก็บขอ้ มลู ไทม์ไลน์ผลติ ภัณฑ์แหล่งท่องเทยี่ วในชุมชน ในส่วนของแหล่งท่องเท่ยี วในชมุ ชน ไม่มีแหล่ง
ท่องเทีย่ ว

หมู่ท่ี ๕ บ้านทอนพงษ์ ประชากร ๑๖๖ ครวั เรอื น ชาย ๑๔๘ คน หญิง ๑๗๑ คน รวม ๓๑๙ คน
๑) เก็บข้อมูลไทม์ไลน์ของหมู่บ้าน จากการลงพื้นที่พบว่า หมู่ที่ ๕ หมู่บ้านทอนพงษ์ เป็นหมู่บ้านเล็กๆ
ช่วงแรกเริ่มผู้ใหญ่สายันต์ ดํารงตําแหน่งผู้ใหญ่บ้าน จนเกษียณราชการ และในปีอพ.ศ.๒๕๖๓ ได้มีการเลือกต้ัง
ผู้ใหญ่บา้ น ลูกของผใู้ หญ่สายนั ต์ไดล้ งสมัครเลือกตอ้ งเป็นผูใ้ หญบ่ ้านด้วย ชอื่ นายเกียรติศักด์ิ แกว้ เจริญ ปจั จุบัน
ไดร้ บั ตําแหน่งเป็นผูใ้ หญบ่ ้าน หม่ทู ี่ ๕ บ้านทอนพงษ์
๒) เก็บข้อมูลไทม์ไลน์ผลิตภัณฑ์ในชุมชน ผลิตภัณฑ์ในชมุ ชน คือ ทุเรียนทอด ชาวบ้านในหมู่บา้ นได้ทาํ
การคา้ ขายกันในหมบู่ ้านและตามสถานท่ตี ่าง ๆ
๓) เกบ็ ขอ้ มลู ไทม์ไลน์ผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยวในชุมชน ในสว่ นของแหล่งท่องเทยี่ วในชุมชน ไม่มีแหล่ง
ท่องเที่ยว
หม่ทู ี่ ๖ บ้านท่าแพ ประชากร ๔๓๖ ครวั เรอื น ชาย ๔๖๒ คน หญิง ๔๑๑ คน รวม ๙๐๓ คน
๑) เกบ็ ขอ้ มลู ไทม์ไลน์ของหมู่บ้าน จากการลงพ้ืนทพี่ บว่า เม่ือก่อนหม่บู ้านท่าแพ เดินทางโดยกอาศัยแพ
ล่องลําคลองออกจากบ้านท่าแพ ไปสู่แม่น้ำหลังสวน มีไฟฟ้าเข้าถึงทุกหลังคาเรือน ผู้ที่ดํารงตําแหน่งปกครอง
หมู่บา้ นคนแรก คอื กาํ นนั ชอบ แดงหนองหนิ ดํารงตาํ แหน่งจนเกษียณอายุ จนตอ่ มานายสัมพนั ธ์ นาคเสน เป็น
ผู้ดํารงตําแหน่งปกครองต่อมา ประมาณ ๕ ปี จนหมดวาระในการดาํ รงตําแหน่งในปี พ.ศ.๒๕๕๕ และเลือกต้อง
ผ้ใู หญ่คนที่ ๓ ช่ือ ผใู้ หญ่ ภาณพุ งศ์ พทิ ักษ์เปน็ ผู้ใหญ่บา้ นจนถึงปจั จบุ นั
๒) เก็บข้อมูลไทม์ไลน์ผลิตภัณฑ์ในชุมชน ในส่วนผลิตภัณฑ์ในชุมชน คือ กระเป๋าถุงผ้าปาเต๊ะ เริ่มจัดต้ัง
ทํากลุ่มขึ้น มาเมื่อปี พ.ศ.๒๕๖๒ จัดทําขึ้นเพื่อจัดจําหน่ายให้กับลูกค้าหลักในหมู่บ้าน ผลิตภัณฑ์จากไม่ไผ่ และ
การจดั ดอกไม้หน้าพธิ ี
๓) เก็บข้อมูลไทม์ไลน์ผลิตภัณฑแ์ หล่งท่องเที่ยวในชุมชน ในส่วนของแหล่งทอ่ งเที่ยวในชุมชน ไม่มีแหล่ง
ทอ่ งเทย่ี ว



ได้นำเสนอโครงการส่งเสริมสร้างอาชีพสร้างรายได้ในชุมชนมีรายได้เสริมอาชีพจากอาชีพหลัก คือ
ยกระดับกระเป๋าถุงผ้าปาเต๊ะ ให้มีความหลากหลายและมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวของตำบลปังหวาน สามารถ
นำไปใช้ประโยชน์ได้ทุกเพศทุกวัย จึงได้พัฒนารูปทรงให้ง่ายต่อการใช้ง่าย สามารถนำไปจำหน่าย เป็นของฝาก
ของชำร่วยได้ ทั้งนี้เพื่อส่งเสริมการร่วมกลุ่ม การร่วมแรงร่วมใจ ความสามัคคี เพื่อสร้างรายได้ให้แก่กลุ่ม ให้แก่

ชุมชน ตลอดจนภาคครัวเรือน ลดคา่ ใชจ้ า่ ย มรี ายได้เสริม อย่างยัง่ ยืนตอ่ ไป

1.4 ภาพกลุ่มผลิตภณั ฑผ์ า้ ปาเต๊ะ

หมู่ท่ี ๗ บา้ นคลองอาร์ ประชาชน ๓๐๔ ครวั เรือน ชาย ๓๔๘ คน หญงิ ๓๒๖ คน รวม ๖๗๔ คน
๑) เก็บข้อมูลไทม์ไลน์ของหมู่บ้าน จากการลงพื้นที่พบว่า ตอนแรกตําบลปังหวานปกครองกันมา ๒
ตําบล คือ ตําบลปังหวานและตําบลพระรักษ์ ต่อมาได้แบ่งตำบลพระรักษ์ออกจากตําบลปังหวาน และก่อนจะ
จัดตั้งเป็นหมู่ที่ ๗ เคยเป็นหมู่ที่ ๙ มาก่อน ปกครองโดยผู้ใหญ่บ้านเสน่ห์ อําพะวัน ปกครองได้ประมาณ ๑๐ ปี
แลว้ กไ็ ดแ้ บ่งแยกหมบู่ า้ นมาเปน็ หมู่ที่ ๘ บ้านห้วยใหญ่
๒) เก็บข้อมูลไทม์ไลน์ผลิตภัณฑ์ในชุมชน ในส่วนผลิตภัณฑ์ของชุมชน เมื่อก่อนหมู่บ้านได้ทําผลิตภัณฑ์
คือ กล้วยฉาบและข้าวเกรยี บมะละกอ ไดจัดทําขายปลีก/ส่ง แต่ในปัจจุบันนี้ผลิตภณั ฑ์ต่าง ๆของชุมชนได้มีการ
ยกเลกิ ไป เน่ืองจากสมาชิกในกลมุ่ ต่างแยกยา้ ยไปทาํ อาชพี ของตนและความไมพ่ ร้อมของหลาย ๆอย่าง
๓) เกบ็ ขอ้ มลู ไทม์ไลน์ผลิตภัณฑ์แหลง่ ท่องเท่ียวในชุมชน ในส่วนของแหลง่ ท่องเท่ยี วในชุมชน ไม่มีแหล่ง
ท่องเที่ยว
หมู่ที่ 8 บา้ นหว้ ยใหญ่ ประชาชน ๒๔๒ ครัวเรอื น ชาย ๓๐๗ คน หญิง ๒๙๐ คน รวม ๕๙๗ คน
๑) เก็บข้อมูลไทม์ไลน์ของหมู่บ้าน จากการลงพื้นที่พบว่า ประชากรในชุมชนของหมู่ที่ ๗ ผู้ใหญ่เสน่ห์
อาํ พะวัน ปกครองไม่ท่วั ถึงเน่ืองจากมีจํานวนครัวเรือนมาก เลยแบ่งหมบู่ า้ นมาเปน็ หมู่ที่ ๘ บา้ นห้วยใหญ่ เม่ือปี



พ.ศ.๒๕๔๘ ผู้ใหญ่ถนอม พรหมแก้ว ได้ดําเนินการนำไฟฟ้าเข้าหมู่ที่ ๘ บ้านห้วยใหญ่ เพิ่มเติมเข้าโซนจากหมู่ที่
๘ ไปจนถึงบอ่ นำ้ ร้อน

๒) เก็บขอ้ มูลไทมไ์ ลนผ์ ลิตภณั ฑใ์ นชุมชน ในส่วนผลติ ภณั ฑ์ของชุมชน ไม่มผี ลติ ภัณฑใ์ นชุมชน
๓) เก็บข้อมลู ไทม์ไลนผ์ ลิตภณั ฑ์แหล่งท่องเทีย่ วในชุมชน ในส่วนของแหล่งท่องเท่ียวในชมุ ชน คือ บ่อน้ำ
ร้อน มีมานานมากแล้วจําไม่ไดว้ ่าต้ังแต่ พ.ศ. ไหน น้ำตกเหนอื เหวธรรมชาติสร้างมาเป็น ๑๐๐ กว่าปีแล้ว เพิ่งจะ
ได้ปรับปรุงเป็นแหล่งท่องเที่ยว ในปี พ.ศ๒๕๕๐ เป็นครั้งล่าสุด สมัยก่อนเรียกน้ำตกเหนือเหว เพราะมีน้ำตก
ขึ้นอย่เู หนอื เหวเลยได้เรียกกันว่านำ้ ตกเหนือเหวมาจนถงึ ปจั จุบนั ได้นำเสนอโครงการส่งเสริมและอนุรักษ์แหล่ง
ท่องเทย่ี วเชงิ อนรุ กั ษส์ ิ่งแวดล้อมน้ำตกเหนือเหว เน่ืองจากสถานทีน่ ีเ่ ปน็ แหล่งธรรมชาติ จึงเลง็ เหน็ ถงึ ความสำคัญ
ของชุมชนในการทะนุบำรุงแหล่งต้นน้ำ และสิ่งแวดล้อม น้ำตกเหนือเหวเป็นนำ้ ตกที่ห่างจากชุมชนค่อนข้างมาก
และขาดการดูแล ในโครงการนี้จะเป็นการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมโดยชุมชนมีส่วนร่วมทั้งหมด เช่น
หลาดน้ำ – ตกเหนือเหว, เที่ยวกันแค่หนึ่งวนั (One day trip) ไม่ว่าจะเป็นการแนะนำสถานที่ เป็นไกด์นำเที่ยว
เพื่อส่งเสริมรายได้ การร่วมกลุ่ม การรักและรักษาป่าของชุมชนให้ยั่นยืนต่อไปเพื่อส่งต่อความอุดมสมบูรณ์สู่รุ่น
ลูกรนุ่ หลาน

๑.๕ ภาพแหลง่ ท่องเที่ยวน้ำตกเหนอื เหว

หม่ทู ่ี 9 บา้ นสรา้ งสมบูรณ์ ประชาชน ๑๑๖ ครวั เรือน ชาย ๑๑๓ คน หญงิ ๑๑๖ คน รวม ๒๒๙ คน
๑) เก็บข้อมูลไทม์ไลน์ของหมู่บ้าน จากการลงพื้นที่พบว่า หมู่ที่ ๙ ได้แยกหมู่บ้านมาจากหมู่ที่ ๒ ช่วง
ประมาณปี พ.ศ.๒๕๕๘ เหตุที่ได้ตัง้ ชื่อหมูบ้านสร้างสมบูรณ์ มาจากการตั้งช่ือตามบคุ คลท่ีทําประโยชนใ์ ห้ชมุ ชน
ใหม้ ไี ฟฟ้า นำ้ ประปาไดม้ ีทุกครัวเรอื น
๒) เก็บข้อมูลไทม์ไลน์ผลิตภัณฑ์ในชุมชน ในส่วนผลิตภัณฑ์ของชุมชน คือ ข้าวตอก ทุเรียนกวน มังคุด
กวน และกล่มุ ของชุมชน คือ ข้าวตอก ทุเรยี นกวน มงั คดุ กวน และกลุม่ ปยุ๋ อนิ ทรียจ์ ดั ต้งั กลุ่มข้ึนมาประมาณ ๑๕
คน ไม่ทราบปีพ.ศ. ท่จี ัดตง้ั
๓) เกบ็ ขอ้ มูลไทม์ไลน์ผลิตภัณฑแ์ หลง่ ท่องเท่ียวในชมุ ชน ในส่วนของแหลง่ ท่องเท่ียวในชุมชน ไม่มีแหล่ง
ทอ่ งเทย่ี ว



ได้นำเสนอโครงการส่งเสริมสร้างอาชีพสร้างรายได้ในชุมชนมีรายได้เสริมจากอาชีพหลัก โดยจัดทำปุ๋ย
อินทรีย์จากแหนแดง โดยให้ชุมชนร่วมกลุ่มในการเลี้ยงแหนแดงจากภาชนะใกล้ตัว เพื่อนำมาทำปุ๋ยและอาหาร
สัตว์ เพื่อลดต้นทุนทางการเกษตรและสามารถนำจำหน่ายเพื่อสร้างรายได้เสริมในครัวเรือน ทั้งนี้ครัวเรือน
ยากจน จะเป็นการร่วมกลุ่มต้นแบบในการพัฒนาและก่อตั้งเพื่อให้ผู้สนใจสามารถนำไปต่อยอด และเรียนรู้การ
ทำปุ๋ยและอาหารสตั ว์จากแหนแดง

ทั้งนี้มีการจัดทำคัดเลือกครัวเรือนยากจน ๑๕ ครัวเรือน ได้จัดทำโครงการส่งเสริมสร้างอาชีพสร้าง
รายได้ในชุมชนมีรายได้เสริม จากการฝึกอบรมทำขนมไทย เครื่องแกง และไตปลาแห้ง การเพาะเห็ด ร่วมไปถึง
ส่งเสริมแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อน้อมนำเกษตรทฤษฎีใหม่มาประยุกต์ใช้เพื่อให้
ตำบลอยรู่ อดสตู่ ำบลมงุ่ เปา้ (“ความพอเพียง สู่ ความย่ังยนื ”)

๑.๖ ภาพศนู ยก์ ารเรียนรปู้ รชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่

๑.๓ สภาพทางสังคม
การศึกษา

๑) โรงเรยี นขยายโอกาส ๒ แห่ง ๒) โรงเรยี นประถมศึกษา ๒ แห่ง
๓) ศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เล็ก ๒ แหง่ ๔) ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ๑ แห่ง

สถาบนั และองค์กรทางศาสนา
๑) วดั /สำนกั สงฆ์ ๓ แหง่ ๒) ศาลเจา้ ๑ แหง่

สาธารณสุข
๑)โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบล ๑ แหง่ ๒)ศูนยส์ าธารณสขุ มลู ฐาน ๙ แห่ง
๓)อตั ราการมีและการใช้ส้วมราดนำ้ ๙๙%

ความปลอดภยั ในชีวิตและทรพั ยส์ ิน
๑) ท่ีพักสายตรวจ ๑ แห่ง



๑.๔ อาชพี

ประชากรสว่ นใหญ่ของตำบลปังหวาน ประกอบอาชพี เกษตรกรรม ดังนี้

๑) การทำสวนกาแฟ ๒) การทำสวนปาล์มน้ำมนั

๓) การทำสวนทุเรยี น ๔) การทำสวนยางพารา

๕) การทำสวนผลไม้ตา่ ง ๆ เชน่ เงาะ ส้มโชกุนมังคดุ ลางสาด ลองกอง กลว้ ย

อาชีพ

5%
30% 23%
17% 25%

กาแฟ ปาลม์ นา้ มนั ทเุ รียน ผลไมต้ า่ งๆ ยางพารา

หน่วยธรุ กจิ ในเขต อบต. ๒) รา้ นสะดวกซอ้ื ๓๖ แห่ง
๑) ปัม๊ นำ้ มนั และก๊าซ ๑ แหง่

๑.๕ การบริการพื้นฐาน
การคมนาคม ตำบลปงั หวานมเี ส้นทางคมนาคมหลักอยสู่ ายเดียว คือ ถนนสายหลังสวน - ราชกรูด ตัด
ผ่านตำบลปังหวาน ขนานไปกับแม่นำ้ หลงั สวน ตามแนวทศิ ตะวนั ออก - ไปสูท่ ศิ ตะวนั ตก แมน่ ้ำหลังสวนไหลตัด
ผ่านพนื้ ที่หมู่ที่ ๑,๒,๕ และถนนในตำบลปงั หวานส่วนใหญเ่ ป็นถนนดนิ ลกู รัง โดยเฉพาะหมู่ท่ี ๒,๔,๗ และ ๘ การ
คมนาคมไม่สะดวก โดยเฉพาะในฤดูฝน นอกจากนี้ถนนบางส่วนได้มีการลาดยางบ้างแล้ว เช่น ถนนสี่แยกปัง
หวาน - วดั ปังหวาน หมู่ท่ี ๕ ถนนสแี่ ยกปงั หวาน - บ้านท่าแพ หมทู่ ี่ ๖ - บ้านคลองนนู หม่ทู ี่ ๔
การโทรคมนาคม
๑) ท่ที ำการไปรษณยี ์โทรเลข - แหง่ ๒) สถานีโทรคมนาคมอื่นๆ - แห่ง
การไฟฟา้
๑) จำนวนหมูบ่ า้ นท่ไี ฟฟ้าเข้าถึง ๙ หมบู่ ้าน
แหล่งนำ้ ธรรมชาติ
๑) แมน่ ำ้ ๑ สาย ๒) ลำคลอง ๕ สาย
แหลง่ นำ้ ทสี่ รา้ งขึ้น
๑) ฝาย ๓ แห่ง



๒. ระบบกลไกที่ใช้ในการขับเคล่อื นการดำเนินงานโครงการ U2T ในตำบลปงั หวาน
กลไกที่ใช้ในการขับเคลื่อนตำบลปังหวาน โดย “แนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอีกอย่างหนึ่ง

เรียกว่า ‘การระเบิดจากข้างใน’ คือ พัฒนาชุมชนให้อยู่รอด พอมีพอกิน เข้มแข็ง และมีความพร้อมต่อการ
เปลี่ยนแปลงเสียก่อน รัฐบาลไทยได้ขับเคลื่อนการพัฒนาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อสร้างความ
เข้มแข็งเริ่มจากในระดับหมู่บ้านอย่างเป็นรูปธรรมกว่า ๒๕,๐๐๐ หมู่บ้าน สร้างวิสาหกิจชุมชน ธุรกิจชุมชน
สหกรณ์ สร้างมูลค่าเพิ่มให้ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น จัดสรรกองทุนหมู่บ้าน เมื่อระบบเศรษฐกิจและสังคมใน
ระดับพื้นฐานของประเทศมีความเข้มแขง็ แล้วก็จะขยายผลในวงกว้างออกไปสู่ระดับจังหวัด ภูมิภาค ทั้งประเทศ
จนถงึ ขยายสูป่ ระเทศเพอ่ื นบ้าน ระบบเศรษฐกจิ ของภมู ภิ าคและของโลกต่อไป”

การลงพื้นท่ีชุมชนตำบลปังหวานเพื่อเข้าไปศึกษาวิถีชมุ ชน บรบิ ท การเปน็ อยู่ รวมถึง ลักษณะทางสังคม
ที่อยู่ร่วมกัน การศึกษาค้นคว้าข้อมูลให้เม่นยำและเท็จจริงที่สุด จะต้องคำนึงถึงแหล่งข้อมูล ได้ศึกษาข้อมูลจาก
ผนู้ ำชุมชน เจ้าหนา้ ทร่ี ัฐ ร่วมไปถงึ การเลา่ ขานต่อๆกันมา จากบุคคลสำคัญในชุมชน

เมื่อได้ข้อมูลบริบทสังคม ทางวิศวกรตำบลทำการสำรวจข้อมูล โดยยึดหลักการมีส่วนร่วมของชุมชน
และเห็นชอบของคณะกรรมการหมู่บ้าน ว่าเห็นพ้องถึงกลุ่มครัวเรือนยากจน จำนวน 15 ครัวเรือน และจะใช้
แทนครัวเรือนต้นแบบ เพื่อนำไปเป็นแบบอย่างในการเรียนรู้และนำไปประกอบอาชีพและรสร้างรายได้ให้แก่
ครอบครัวและชมุ ชนอยา่ งสูงสุด

กลไกและกลยุทธ์ในการพัฒนาและส่งเสริมโครงการต่าง ๆ ให้ขับเคลื่อนไปในทิศทางที่ตั้งเป้า โดยใช้
เครื่องมือ เหล่านี้ คือ ทำเวทีประชาคม การสนทนากลุ่ม (Focus group) กระบวนการวิเคราะห์ SWOT
กระบวนการ A-I-C ซงึ่ เปน็ วิธีการท่ีรจู้ ักและใช้กันอยา่ งแพร่หลาย

กระบวนการในการเผยแพรแ่ นวความคิด
การจัดเวทีประชาคม คือ การรวมตัวของสมาชิกในชุมชนเพื่อร่วมกันทำกิจกรรมต่างๆของชุมชนด้วย
ตนเอง เป็นเวทีของการพูดคยุ แลกเปลยี่ นถกแถลง( ไม่ใชโ้ ตเ้ ถียง) เกี่ยวกบั ขอ้ มลู เชน่ การแก้ไขปัญหาในชุมชน
การวางแผนพัฒนาชุมชน การกำหนดข้อตกลงร่วมกัน โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ที่มี
วัตถุประสงค์หรือสนใจในเรื่องเดียวกัน เป็นการรวมตัวกันตามสถานการณ์หรือสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นมี ๒
ลักษณะ คือ ๑) อย่างเปน็ ทางการ โดยการจัดเวทหี รอื การจัดประชุม

๒) อยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ เช่นการสนทนากล่มุ เลก็ ในศาลาวัด การพบปะพูดคยุ อาจเปน็ ครั้งคราว
การสนทนากลุ่ม (focus group) คือ การสัมภาษณ์ในอีกรูปแบบหนึ่งที่รวบรวมข้อมูลจากการสนทนา
กับกลุ่มผู้ให้ข้อมลู ในประเด็นปัญหาที่เฉพาะเจาะจง โดยมีผู้ดำเนนิ การสนทนากลุ่ม (Moderator) เป็นผู้คอยจดุ
ประเด็นในการสนทนา เพื่อชักจูงให้กลุ่มเกิดแนวคิดและแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือแนวทางการสนทนา
อย่างกว้างขวางละเอียดลึกซ้ึง โดยมีผูเ้ ขา้ ร่วมสนทนาในแต่ละกลุ่มประมาณ ๖-๑๐ คน ซึง่ เลือกมาจากประชากร
เปา้ หมายท่กี ำหนดเอาไว้ โดยใชใ้ นการสัมภาษณก์ ารเป็นอยู่ อาชพี รายได้ รวมไปถงึ สภาพจติ ใจในการเป็นอยู่ใน
สภาวการณ์โรคระบาด โควดิ -๑๙ ในขณะน้ี



การให้ความรู้แก่คณะกรรมการหมู่บ้าน คณะกรรมการชุมชน กลุ่มองค์กร เครือข่ายต่างๆ ในการใช้
เทคนิค กระบวนการวิเคราะห์ SWOT ในการวิเคราะห์ชุมชน SWOT เป็นคำย่อมาจากคำว่า Strengths,
Weaknesses, Opportunities, and Threats โดย

Strengths คือ จุดแข็ง หมายถึง ความสามารถและสถานการณ์ภายในองค์กรที่เป็นบวก ซึ่งองค์กร
นำมาใช้เป็นประโยชน์ในการทำงานเพื่อบรรลวุ ัตถุประสงค์ หรือหมายถึง การดำเนินงานภายในที่องค์กรทำได้ดี
ซึ่งในชุมชนตำบลปังหวาน มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ เช่น น้ำตกเหนือเหว แหล่งเรียนรู้เกษตรพอเพียง
โรงเรยี น ชุมชน และผูน้ ำ

Weaknesses คือ จุดอ่อน หมายถึง สถานการณ์ภายในองค์กรที่เป็นลบและด้อยความสามารถ ซ่ึง
องค์กรไม่สามารถนำมาใช้เป็นประโยชน์ในการทำงานเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ หรือหมายถึง การดำเนินงาน
ภายในที่องค์กรทำได้ไม่ดี ซึ่งในชุมชนยังขาดการมีส่วนร่วมในการร่วมกลุ่ม เนื่องจากเศรษฐกิจหลายคนต้องหา
งานอนื่ ทำ ไม่มเี วลา และในสถานการณโ์ รคระบาดตอนน้ีด้วย

Opportunities คือ โอกาส หมายถึง ปัจจัยและสถานการณ์ภายนอกที่เอื้ออำนวยให้การทำงานของ
องค์กรบรรลุวัตถุประสงค์ หรือหมายถึง สภาพแวดล้อมภายนอกที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินการขององ ค์กร
ซึ่งขณะนี้ได้รับโอกาสจากโครงการ ๑ ตำบล ๑ มหาวิทยาลัย ฯจากภาครัฐโดยได้ให้ทีมวิศวกรสังคมซึ่งเป็น
ตัวแทนจากโครงการเข้ามาชว่ ยขับเคลื่อนวัตถุประสงคใ์ หบ้ รรลเุ ปา้ หมาย และสนับสนนุ ความต้องการของชุมชน
ท่ีพึงประสงค์ เพอ่ื นำไปเปน็ ต้นแบบในการพฒั นาสตู่ ำบลพอเพียงและย่ังยนื ต่อไป

Threats คือ อุปสรรค หมายถึง ปัจจัยและสถานการณ์ภายนอกที่ขัดขวางการทำงานขององค์กรไม่ให้
บรรลุวัตถุประสงค์ หรือหมายถึงสภาพแวดล้อมภายนอกที่เป็นปัญหาต่อองค์กร จากได้ศึกษาข้อมูลหลายๆ
โครงการยงั ไมส่ ามารถดำเนิดไดต้ ามวัตถปุ ระสงค์ โดยเหตุงบประมาณท่ีไม่เพียงพอ กำลงั จองชุมชนยังไม่สามารถ
ดำเนิดการเองได้ และสถานการณ์โรคระบาดที่ไม่สามารถคาดการณ์ได้ จึงทำให้โครงการไม่เป็นไปตาม
วตั ถุประสงค์ไดพ้ อสมควร

A-I-C เทคนิคกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วม Appreciation-Influence-Control (A-I-C) แนวคิด
ของการเขียน แผนงาน / โครงการอย่างมีสว่ นรว่ ม ต้องมีความเชือ่ มโยงกนั อย่างดรี ะหว่าง…

A • แกนกลาง คือ สภาพแวดล้อมทุกด้าน เมื่อได้ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน บริบท ความต้องการ และจัดทำ
โครงการตา่ ง ๆ ตามจุดมุ่งหมายทชี่ ุมชนต้องการ

I • กรอบนอกออกไป คือ พลังของความมสี ัมพันธภาพ เน้นการเข้ารว่ ม การมสี ่วนรว่ มในทุก ๆ ด้าน ทั้ง
การออกความคดิ นำเสนอ แกไ้ ข ตดิ ตาม และสรปุ ผล

C • กรอบนอกสุด คือ พลังของการทำงานของผู้ทำงาน ที่มีความมุ่งหมายเดียวกัน ผลสัมฤทธิ์ของ
โครงการ เป้าประสงค์ ในการทำโครงการ เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วม และมีรายได้จากชุมชนโดยน้อมนำ
หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง มาใช้ในการดำเนินชวี ิตเพอ่ื ความปกตผิ าสุก

๑๐

ระบบกลไกโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ หรือ ๑ ตำบล ๑
มหาวิทยาลัย มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับเศรษฐกิจ และสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ ในพื้นที่บริ หารของ
มหาวิทยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎร์ธานี ประกอบด้วย จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี จงั หวัดชุมพรและจังหวัดระนอง จึงได้จดั ตั้ง
ศูนย์ประสานงานฯ เพื่อทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการติดต่อสื่อสาร ระหว่างมหาวิทยาลัย อาจารย์ที่ปรึกษา ผู้
ไดร้ ับการจา้ งงาน ประชาชน และหน่วยงานภายนอก

ดำเนินกจิ กรรมโครงการพัฒนาตำบล ๕ กจิ กรรม ประกอบดว้ ย
๑) กิจกรรมการผลติ วิศวกรสังคม
๒) กจิ กรรมวิศวกรสังคมเก็บรวบรวมข้อมลู
๓) กิจกรรมวศิ วกรสงั คม ระดมความคิดเหน็ เพ่ือบรู ณาการผสานองค์ความรู้
๔) กิจกรรมวิศวกรสังคมร่วมกับทุกศาสตร์ของมหาวิทยาลัยและชุมชนลงพื้นที่ยกระดับผลิตภัณฑ์

ชมุ ชน และการท่องเที่ยวชมุ ชน
๕) กจิ กรรมวิศวกรสงั คมรว่ มสร้างนวตั กรรมเพือ่ สร้างความย่ังยนื แก่ชุมชนทั้ง ๘๒ ตำบล
ถือเป็นการแก้ไขปัญหาความยากจนอย่างย่ังยนื โดยอาศัยความรู้และนวัตกรรมต่าง ๆจากมหาวิทยาลยั
นอกจากนั้นยังดำเนินการเรื่องการประชาสัมพันธ์โครงการทั้งในการปฏิบัติงานภายในมหาวิทยาลัยและ
ภาคสนามในพนื้ ทที่ ่รี บั ผิดชอบทง้ั ๘๒ พื้นทท่ี างมหาวิทยาลัยไดม้ แี นวคิด “วศิ วกรสงั คม” ขึน้ มา ซ่ึงคำวา่ วิศวกร
สังคมนั้น จะสร้างให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์เป็นระบบมีเหตุและผล สามารถลงพื้นที่ในชุมชนเพื่อสร้างความ
เชื่อมโยงตอ่ ชุมชน เพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการบุคลากรในการพัฒนาประเทศ โดยมีคณุ ลกั ษณะหลกั ๔ ประการ
ได้แก่ ๑) มที ักษะการคดิ วิเคราะห์เชงิ เหตุและผลเหน็ ปญั หาเป็นเร่ืองท้าทาย ๒) มที ักษะในการสื่อสารองค์ความรู้
เพื่อแก้ปัญหา ๓) มีทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่นโดยปราศจากข้อขัดแย้ง สามารถระดมทรัพยากรและสรรพ
กำลังในท้องถิ่นมาร่วมแก้ปัญหา ๔) มีทักษะการสร้างนวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหาบนฐานข้อมูลชุมชน โดยประสาน
ความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายในท้องถิ่นเพื่อเป็นพลังขับเคลื่อน สร้างความเชื่อมโยงต่อชุมชนในการสร้างสรรค์
พฒั นาทอ้ งถน่ิ และเพิม่ ศกั ยภาพประชาชนให้สังคมเป็นสุขอยา่ งย่ังยืน
ระบบกลไกที่ใช้ในการขับเคลื่อนการดำเนนิ งานโครงการ U2T ในตำบลปังหวาน
เพื่อยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับเศรษฐกิจ โดยการนำ
เครื่องมือมาใช้ในชุมชน เช่น การจัดทำนาฬิกาชีวิต จัดทำไทม์ไลน์ชีวิต สำรวจข้อมูลพื้นฐาน จปฐ. วิถีชีวิต ได้
เขา้ ถงึ ชีวิตประจำวันของชาวบ้านเพ่อื การแกป้ ัญหาใหต้ รงจุดและรู้จักความเปน็ อยู่ของชาวบ้านตำบลปังหวาน
U2T มรส. ส่งต่อองค์ความรู้สู่ชุมชน บูรณาการศาสตร์สร้างสัมมาชีพ ยกระดับคุณภาพชีวิตมุ่งเน้น
แก้ปัญหาความยากจนเพื่อต่อยอดองค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมตามศาสตร์ที่มีอยู่สร้างสัมมาชีพช่วย
บริการชุมชน เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน ๑๕ ครัวเรือนในพื้นที่ ตำบลปังหวาน ในโครงการมหาวิทยาลัยสู่
ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ University to Tambon (U2T) สู่การบูรณาการยกระดับเศรษฐกิจและสังคม
ลดความยากจนอย่างมเี ป้าหมายทชี่ ัดเจนเพ่ือสร้างความม่ันคงในการใชช้ ีวิต เสรมิ องคค์ วามรู้สู่การสร้างรายได้ที่

๑๑

ยังยืน ซึ่งมหาวิทยาลัย จะทำหน้าที่พัฒนาสร้างคนให้คนไปสร้างงานเพื่อยกระดับเศรษฐกิจและสังคมเพื่อแก้ไข
ปัญหา เยียวยา และฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคม ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นไปตามความต้องการของ
พื้นท่อี ย่างแท้จรงิ

โดยในครั้งนี้มหาวิทยาลัยได้สร้างหลักสูตรสัมมาชีพจากสาขาวิชาต่างๆเพื่อแก้ไขปัญหาความยา กจน
จากสาขาวิชาธุรกิจอาหาร คณะวิทยาการจัดการ ได้แก่ หลักสูตรอาหารและโภชนาการ หลักการประกอบ
อาหาร สุขาภิบาลและกฎหมายอาหาร อาหารไทย ขนมไทย อาหารนานาชาติ เบเกอรี่ อาหารเพอื่ สขุ ภาพ การ
บริหารและวางแผนในธุรกิจอาหาร จากคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาเทคโนโลยีการประมง ได้แก่
หลักสูตรเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ สาขาวิชาชีววิทยา ได้แก่ หลักสูตรการผลิตปุ๋ยชีวภาพ การทำก้อนเชื้อเห็ด การผลิต
ชีวภณั ฑ์ควบคุมโรคพชื สาขาวิชานวตั กรรมอาหารและโภชนาการ ไดแ้ ก่ การแปรรปู ผลิตภัณฑ์จากผักและผลไม้
การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์และสัตว์น้ำ การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าวและธัญชาติ การแปรรูปเครื่องดื่ม
การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์สำหรับอาหารแปรรูป การยืดอายุผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป หลักเกณฑ์
วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร (GHP,GMP) สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม ได้แก่ หลักสูตรการปลูกผัก
ด้วยระบบหมุนเวียนบอ่ เล้ียงปลาด้วยพลงั ไฟฟ้าโซลารเ์ ซลล์

คณะนิติศาสตร์ สาขาวิชานิติศาสตร์ ได้แก่ หลักสูตรการให้ความรู้ทางด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการ
ประกอบอาชีพ และกฎหมายทั่วไปที่เกี่ยวข้อง วิทยาลัยนานาชาติการท่องเที่ยว สาขาวิชาอุตสาหกรรมบริการ
วิชาเอกการโรงแรม ไดแ้ ก่หลักสูตรสง่ เสรมิ อาชีพการทำขนมไทย ส่งเสรมิ อาชพี ผลิตภัณฑเ์ บเกอร่ีและการแปรรูป
ส่งเสริมอาชพี การทำเคร่ืองแกงและอาหารแปรรูปพร้อมทาน คณะพยาบาลศาสตร์ สาขาวชิ าการพยาบาลผู้ใหญ่
และผู้สงู อายุ ไดแ้ ก่ หลกั สตู รการนวดเพือ่ สุขภาพ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวชิ าจติ รกรรม ได้แก่
หลักสูตรการเขียนสีน้ำมันบนผ้าชนะต่าง การเขียนภาพทั่วไป สาขาวิชา การเมืองการปกครอง ได้แก่ หลักสูตร
ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง และสำนกั จัดการทรพั ยส์ นิ ในหลกั สูตรการจำหนา่ ยนำ้ ดื่มราชพฤกษ์ รวมกว่ากวา่ ๓๐
หลกั สูตร

ทั้งนี้ตำบลปังหวานได้สำรวจความต้องการของครัวเรือนยากจน 15 ครัวเรือน ให้สอดคล้องกับระบบ
กลไกเพือ่ ใช้ในการขบั เคลื่อนโครงการต่าง ๆ ตามจุดประสงค์และเปา้ หมายสู่ตำบลความพอเพยี งและยงั่ ยืนต่อไป

๓. ผลการประเมินสถานภาพตำบลตาม ๑๖ เป้าหมาย ก่อนเริ่มโครงการตำบลปังหวาน อำเภอพะโต๊ะ
จงั หวดั ชุมพร

จากการประเมินสภาพตำบลตามเป้าหมาย ๑๖ เป้าหมาย ก่อนการเริม่ โครงการตำบลปังหวาน โดยการ
ใช้กลไกการทำงานเชิงรุก โดยสอบถามและสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างรวมไปถึงผู้นำชุมชนต่าง ๆ ที่สามารถแก้ไข
ปัญหาและตอบโจทย์ความต้องการของชุมชนได้ตรงจุด และข้อมูล จปฐ. การวิเคราะห์เพื่อการพัฒนาท้องถ่ิน
(Swot analysis) การประเมินสถานการณ์สภาพแวดลอ้ มภายนอกทเ่ี กยี่ วข้อง การนำแผนพฒั นาท้องถิน่ ไปสู่การ
ปฏิบัติ

๑๒

๓.๑ ขอ้ มลู จปฐ. (TPMAP) เกยี่ วกบั ประชากร

หมทู่ ี่ ชอื่ หมู่บา้ น จำนวนครวั เรอื น จำนวนประชากร รวม (คน)

ชาย (คน) หญิง (คน)

๑ บ้านส้มควาย ๑๓๗ ๑๓๔ ๑๔๒ ๒๗๖

๒ บ้านพังเหา ๓๖๒ ๔๒๖ ๔๐๗ ๘๓๓

๓ บ้านคลองเหนก ๒๖๔ ๒๘๒ ๓๐๐ ๕๘๒

๔ บา้ นคลองนนู ๓๙๐ ๕๑๗ ๔๖๖ ๙๘๓

๕ บา้ นทอนพงษ์ ๑๖๖ ๑๔๘ ๑๗๑ ๓๑๙

๖ บ้านท่าแพ ๔๓๖ ๔๖๒ ๔๔๑ ๙๐๓

๗ บ้านคลองอาร์ ๓๐๔ ๓๔๘ ๓๒๖ ๖๗๔

๘ บา้ นหว้ ยใหญ่ ๒๔๒ ๓๐๗ ๒๙๐ ๕๙๗

๙ บา้ นสร้างสมบูรณ์ ๑๑๖ ๑๑๓ ๑๑๖ ๒๒๙

รวม ๒,๔๑๗ ๒,๗๓๗ ๒,๖๕๙ ๕,๓๙๖

ขอ้ มูลประชากรจากฝ่ายยทะเบียน อำเภอพะโต๊ะเมื่อเดือนเมษายน ๒๕๖๓

สัดส่วน "คนจนเปา้ หมาย" ในตำบลปงั หวาน อำเภอพะโต๊ะ คือ คนจนทีต่ ้องการความชว่ ยเหลือเร่งด่วน

เนื่องจากเป็นคนที่ได้รับการสำรวจว่าจน (survey-based) จากข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) จำนวน ๑๕

ครวั เรือน

ครวั เรอื นทไ่ี ด้รบั การสำรวจ (จปฐ ๒,๔๑๗ ครัวเรือน

ครวั เรือนยากจน (จปฐ) ๑๕ ครัวเรือน

คิดเป็นสดั ส่วนเปา้ หมาย ๐.๗๗ %

๑๓

ความยากจนสามารถวัดได้ ๕ มิติ ความยากจนสามารถวัดได้จากดัชนีความยากจนหลายมิติ หรือ ดัชนี MPI
(Multidimensional Poverty Index) ที่พิจารณาจาก ๕ มิติ ได้แก่ ด้านสุขภาพ ด้านความเป็นอยู่ ด้าน
การศึกษา ด้านรายได้ และดา้ นการเขา้ ถงึ บรกิ ารรัฐ โดยท่คี นจน ๑ คน มีปญั หาไดม้ ากกว่า ๑ ดา้ น

๑๔

๓.๒ การวิเคราะหเ์ พ่ือการพัฒนาทอ้ งถนิ่ (Swot analysis)
การวิเคราะห์กรอบการจดั ทำยทุ ธศาสตร์ขององค์การบริหารสว่ นตำบลปังหวาน

จดุ แขง็ (S-Strenge)
๑) องค์การบริหารส่วนตำบลปังหวานเป็นพื้นที่กลางน้ำมีทรัพยากรป่าไม้ น้ำ มีพื้นที่ทางการเกษตรท่ี
ควรพัฒนาด้านการเกษตรอยา่ งจริงจัง โดยเฉพาะผลไม้ตามฤดูกาล เช่น ทุเรยี น เงาะ มังคุด และพชื เศรษฐกจิ ที่
สำคญั ได้แก่ ยางพาราและปาล์มน้ำมนั
๒) พื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลปังหวานมีเส้นทางคมนาคมหลักที่เข้าออกสายเดียว น่าจะพัฒนาให้
เปน็ พนื้ ที่เพอ่ื การคา้ ขายได้
๓) มีแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ เช่น น้ำตกขนาดเล็กอยู่หลายแห่ง ประชาชนให้ความร่วมมอื กับองค์การ
บริหารสว่ นทอ้ งถน่ิ เป็นอยา่ งดี ในการร่วมกิจกรรมตา่ ง ๆ

จดุ ออ่ น (W-Weekness)
๑) เส้นทางคมนาคมส่วนใหญ่เป็นถนนลูกรัง การขนส่งผลผลิตทางการเกษตรเกิดความเสียหาย เป็น
เหตใุ หถ้ กู กดราคา
๒) ขาดการจัดการที่เอาจริงเอาจังในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติป่าไม้ ป่าไม้จึงถูกทำลายลง และมี
แนวโน้มวา่ จะมกี ารบุกรุกพืน้ ทีป่ า่ เพ่มิ มากขึ้น
๓) ประชากรยงั ขาดจติ สำนกึ ในการอนรุ กั ษป์ ่าไม้และตน้ นำ้
๔) ผู้นำกลุม่ ยอ่ ยขาดความมนั่ ใจในการตัดสินใจมกั จะมแี นวโนม้ ในการตดั สินใจคลอ้ ยตามผ้นู ำระดับสงู
๕) ขาดการบริหารจัดการขยะ
๖) ขาดการจดั ทำขอ้ ตกลงของตำบล
๗) ขาดการจดั ทำทะเบียนเสน้ ทาง

โอกาส (O-opportunity)
๑) พื้นที่โดยรวมเป็นพื้นที่ทางการเกษตรโดยเฉพาะผลไม้ น่าจะเป็นศูนย์กลางการซื้อขายผลไม้ ซึ่งจะ
นำไปสู่การพัฒนาด้านเศรษฐกจิ และรายไดข้ องประชาชนเป็นอย่างดี
๒) ความต้องการของนักท่องเที่ยวในรูปแบบโฮมเสตย์มีมากขึ้น การขอความร่วมมือจากคนในชุมชนที่
ทำการเกษตรในการปรับเปลี่ยนให้มีการท่องเที่ยวในท้องถิ่น น่าจะเป็นอีกทางเลือกที่จะสร้างรายได้ให้คนใน
ชุมชน
๓) ผู้บรหิ ารมีความเขม้ แข็ง มศี กั ยภาพในการบรหิ ารจดั การ

อุปสรรค (T-Terible)
๑) พ้นื ท่ีใกลเ้ คยี งมแี หลง่ ท่องเทยี่ วทีส่ วยงามและนา่ สนใจกวา่
๒) ตำบลปังหวานเป็นทางผา่ นของพืน้ ที่ท่ีไม่มีจดุ ขายพอที่จะดึงดดู นกั ท่องเท่ียวให้หยดุ แวะชม
๓) ขาดงบประมาณในการดำเนนิ การในโครงการขนาดใหญ่

๑๕

๓.๓ การประเมินสถานการณส์ ภาพแวดลอ้ มภายนอกที่เกี่ยวข้อง
ด้านการพัฒนาโครงสร้างพน้ื ฐานและสาธารณปู โภค

๑) เส้นทางคมนาคม ถนนซอยในหมู่บ้านยังมีสภาพเป็นถนนลูกรังทำให้เกิดละอองฝุ่นหนาทึบ เกิด
มลภาวะทางอากาศ และเป็นหลุมเป็นบ่อ จนเป็นเหตุให้เด็กนักเรียนและประชาชนที่สัญจรไปมา ได้รับความ
เดือดรอ้ น ซึ่งมีปรมิ าณของยานพาหนะผา่ นไปมามากพอสมควร

๒) ทางระบายน้ำลำคลอง บางแห่งยังมีสภาพแคบและต้ืนเขิน ลำน้ำมีวชั พืชปกคลุมทอ่ ระบายน้ำยังถูก
นำ้ กัดเซาะพังทลายต้องแก้ไขปญั หาทุกปี และบางแห่งทอ่ ระบายน้ำเล็กทำให้การระบายน้ำในช่วงฤดูน้ำหลากไม่
ทนั ทำใหเ้ กดิ ปัญหาน้ำทว่ มขัง

๓) ขาดแคลนไฟฟ้าในพื้นท่ี เนื่องจากในเขตตำบลปังหวานประชาชนยังไม่มีไฟฟ้าใช้ครบทุกครัวเรือน
ตอ้ งการมีกระแสไฟฟ้าใชใ้ หท้ วั่ ถึงทกุ หมบู่ า้ นทกุ ครวั เรอื น

๔) ปัญหาภัยแล้ง โดยในพื้นที่ตำบลปังหวาน จะเกิดปัญหาภัยแล้งช่วงกลางเดือน กุมภาพันธ์ –
พฤษภาคม ของทุกปี และถึงแม้ว่าองค์การบริหารส่วนตำบลปังหวาน จะมีการให้บริการประปา หมู่บ้านครบทุก
หมู่บ้าน แต่ยังไม่ครบทุกครัวเรอื น และจะเกิดปัญหาในฤดูแลง้ ไมส่ ามารถใหบ้ ริการนำ้ ได้ท่วั ถงึ

ดา้ นการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตและความเปน็ อยู่ทด่ี ี
๑) เด็กและเยาวชนในเขตตำบลปังหวาน ขาดการปลูกจิตสำนึกในด้านรักบ้านเกิด รักในอาชีพของพ่อ
แม่ ประชาชนในพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่นอกพื้นที่ ไปศึกษาเล่าเรียน หรือไปทำงานที่อื่น ทั้งที่พื้นที่ทำการเกษตรมี
มากมาย แต่ขาดแรงงานทีส่ ำคัญในการสานต่อ สืบทอดอาชพี เกษตรกรรม
๒) สินคา้ ทางการเกษตรตกต่ำขาดการรวมกลมุ่ ท่ีมีเอกภาพ
ดา้ นสาธารณสุข นนั ทนาการและกฬี า
๑) ในเขตพื้นที่ตำบลปังหวาน ส่วนใหญ่มีอากาศร้อนชื้น มักเกิดโรคไข้เลือดออก ชิคุนกุนย่า และ
มาลาเรีย ในแต่ละปี สถติ ิการเกิดโรคไข้เลือดออกมีจำนวนเพิ่มมากขนึ้
๒) ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลปังหวาน มีสถานที่ในการเล่นกีฬาหรือนันทนาการที่ได้มาตรฐาน
น้อย ขาดอุปกรณ์กีฬาที่เพียงพอ ที่กลุ่มเสี่ยงในการติดสารเสพติดต้องการอย่างแท้จริงหรือขาด พื้นที่ในการใช้
เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ รวมทั้งปัญหาจากการว่างงานของเยาวชน ทำให้เด็กและเยาวชนมีเวลาว่างมากปัญหา
นี้ต้องได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายในการแก้ไข มิฉะนั้น จากปัญหาผู้ติดยาเสพติดก็จะมีปัญหา ด้าน
อาชญากรรมตามมาอกี ด้วย
๓) ปัญหาด้านยาเสพติด เป็นปัญหาที่รัฐบาลได้กำหนดให้เป็นวาระแห่งชาติ แต่ปัญหานี้กลับไม่ลด
น้อยลงเลย เพราะกลุ่มเสี่ยงส่วนใหญ่ จะมาจากลูกหลานในชุมชน/หมู่บ้าน การปกปิดปัญหาหรือไม่มี ข้อมูลท่ี
เปน็ จริง จงึ ยากแกก่ ารแก้ไข จงึ ควรมกี ารกำหนดมาตรการท่ีชัดเจน

๑๖

ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและการทอ่ งเท่ียว
๑) เนื่องจากประชาชนในเขตตำบลปังหวาน มีพื้นที่เป็นแหล่งเกษตรกรรมการปลูก การดูแลผลผลิต
ทางการเกษตร ส่วนใหญ่ประชาชนยังพึ่งสารเคมีในการเพิ่มผลผลิตหรือทำลายศัตรูพืช จนทำให้ ระบบนิเวศน์
ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ถกู ทำลาย ประชาชนยังไม่เลง็ เหน็ ความสำคัญของการ อนุรักษ์ ป้องกัน
และดแู ลเรือ่ งทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม
๒) แหล่งน้ำเพื่อการเกษตร เกษตรกรส่วนใหญ่อาศัยน้ำตามธรรมชาติ ทำการเกษตรบางครั้งเกิดปัญหา
ภัยแล้งทำให้นำไม่เพียงพอต่อการเกษตร เกษตรกรแก้ไขปัญหาโดยการขุดเจาะบ่อบาดาล และบ่อในพื้นที่ของ
ตนเองทำให้เพม่ิ ตน้ ทุนการผลติ
ด้านการบรหิ ารจัดการ
๑) ปัญหาประชาชนขาดความรใู้ นด้านการเมอื ง การบรหิ าร
๒) ปัญหาระบบขน้ั ตอนในการบรหิ ารงานขององค์การบรหิ ารสว่ นตำบลปังหวาน
มีความล่าชา้
๓) ประชาชนขาดความตระหนกั ความกระตอื รือร้น ในการมสี ่วนรว่ มทางการเมือง
การบริหารอย่างจรงิ จัง
๔) สถานที่ เครื่องมือ เครื่องใช้ ในการปฏิบตั ิงานไมเ่ พียงพอและไมท่ ันสมัย

๓.๔ ผลการประเมนิ สถานภาพตำบลตาม ๑๖ เป้าหมาย กอ่ นเรม่ิ โครงการของตำบลปังหวาน
เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน มุ่งม่นั ทจ่ี ะขจัดความหิวโหยและความอดอยากทุกรูปแบบ ให้แล้วเสร็จ
ภายในปี ๒๕๗๓ เพื่อให้แน่ใจว่าทุกคน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กและผู้ด้อยโอกาสจำนวนมาก ได้รับการเข้าถึง
อาหารที่เพียงพอและมีคุณค่าทางโภชนาการตลอดทั้งปี เป้าหมายนี้ยังเกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการเกษตรอย่าง
ยั่งยืน การปรับปรุงชีวิตความเป็นอยู่และกำลังการผลิตของเกษตรกรรมขนาดเล็ก ท่ีช่วยให้เข้าถึงแหล่งที่ดินทำ
กิน เทคโนโลยีและการตลาดอย่างเท่าเทยี ม นอกจากนี้ความร่วมมือระหว่างประเทศก็เปน็ สิ่งสำคญั ท่ีสร้างความ
เชือ่ มน่ั ในการลงทนุ ในโครงสร้างพื้นฐานและเทคโนโลยเี พอ่ื เพิ่มผลผลติ ทางการเกษตร
การประสบความสำเร็จครอบคลุมถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ ซ่ึงตอกย้ำความเชื่อที่พิสูจน์แล้วการศึกษา
เปน็ หนึง่ ในแรงขับเคลื่อนท่ีมปี ระสิทธิภาพสำหรับการพฒั นาอย่างยงั่ ยืน เป้าหมายน้ที ำให้แน่ใจว่าเด็กผู้หญิงและ
เด็กผู้ชายทุกคนจะได้รับสำเร็จศึกษาฟรีในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา นอกจากนี้ยังมี
วตั ถุประสงค์เพ่ือจัดใหม้ ีการฝึกอบรมอาชีพในราคาท่ีเหมาะสมอยา่ งเท่าเทยี มกนั และขจัดความไม่เสมอภาคทาง
เพศและความเหลื่อมล้ำ ด้วยความมุ่งหมายที่จะประสบผลสำเร็จในการเข้าถึงหลักสากลเพื่อการศึกษาที่สูงขึ้น
อย่างมคี ณุ ภาพ

๑๗

การเชือ่ มโยงหลักการ ๑๖ เป้าหมาย ตำบลที่อยูร่ อด

ที่ เปา้ หมาย ๑๖ ประการ เป็นตามเปา้ หมาย สภาพปัญหา

๑ พัฒนาชมุ ชนใหม้ ีสมรรถนะ การรวมกลุ่มไม่อย่างยัง่ ยืน และไมต่ ่อเน่ือง

ในการจดั การสูง เท่าทีค่ วร

๒ ช่วยใหเ้ กดิ การจดั การ แหล่งท่องเท่ียวขาดการดูแลทรดุ โทรมไม่

ทรัพยากรอย่างเป็นระบบ เป็นทส่ี นใจ

๓ ช่วยให้สามารถ วเิ คราะห์ ขาดการทำการบันทึกรายรบั -รายจ่าย

วิสาหกิจชุมชนและสถาบันการเงนิ ชมุ ชน และกองทนุ หมบู่ ้าน

๔ ชว่ ยในการสรา้ งสมั มาอาชพี ในพนื้ ท่ี เกิดการวา่ งงานรายได้ไมเ่ พียงพอ

๕ สง่ เสริมเกษตรพอเพียงและอาหารปลอดภัย ไมส่ ามารถผลติ อาหารเองได้เพียงพอ

๖ ชว่ ยให้มีแหลง่ นำ้ ประจำครอบครวั ✅
๗ ช่วยจดั การวิสาหกชิ มุ ชน กลุม่ วิสาหกิจดำเนนิ กิจกรรมไม่ต่อเน่ือง

๘ ฝกึ อบรมทักษะอาชพี ชมุ ชนยงั ไมม่ ีการถ่ายทอดองค์ความรู้

๙ มกี ารจดั การโครงสรา้ งพ้ืนฐานกายภาพ ✅
สง่ิ แวดลอ้ ม พลังงาน

๑๐ ส่งเสริมความปลอดภยั ในพน้ื ท่ี ✅
๑๑ พัฒนาคณุ ภาพกลุ่มเปราะบาง
๑๒ พัฒนาระบบสุขภาพคนในพ้ืนที่ ✅
๑๓ ส่งเสรมิ ศนู ย์เรียนรตู้ ำบล

มีศนู ยก์ ารเรยี นรู้ที่ขาดการพัฒนา

๑๔ สง่ เสริมระบบยตุ ิธรรมในชุมชน ✅

๑๕ สง่ เสรมิ ระบบสือ่ สารในชุมชน ✅

๑๖ ส่งเสริมชมุ ชนทำความดี ✅

เปน็ ไปตามเปา้ หมาย ๘ ตำบลที่อยู่รอด

ตำบลทีอ่ ยูร่ อด บรรลุ ๘ ใน ๑๖ เปา้ หมาย

ตารางที่ ๓.๑ ผลการประเมนิ สภาพตำบลก่อนเรมิ่ โครงการตำบลปังหวาน

๑๘

๔. การนำแผนพัฒนาทอ้ งถิ่นไปสู่การปฏบิ ัติ
ยุทธศาสตร์การพฒั นาและแผนงาน

ที่ ยุทธศาสตร์ ด้าน แผนงาน หน่วยงาน หนว่ ยงาน

รับผดิ ชอบ สนบั สนุน

หลกั

๑ การพัฒนาโครงสร้าง -การเศรษฐกิจ -แผนงาน - กองช่าง - กรมส่งเสรมิ ฯ

พื้นฐานและ -บรกิ ารชุมชนและสังคม อตุ สาหกรรม - อบจ.

สาธารณปู โภค -การเศรษฐกจิ และการโยธา -ชลประทาน

-บริการชุมชนและสงั คม

-บริการชุมชนและสงั คม - แผนงานเคหชุมชน - กองชา่ ง - กรมสง่ เสรมิ ฯ

- ไฟฟ้า - กรมส่งเสรมิ ฯ - อบจ.

- อบจ - ชลประทาน

- ชลประทาน

-การเศรษฐกิจ - แผนงานงพาณิชย์ - กองช่าง - กรมสง่ เสริมฯ

-ประปา - อบจ.

- ชลประทาน

๒ ดา้ นการส่งเสรมิ - บรกิ ารชุมชนและสังคม -แผนงานการศึกษา -สำนักงานปลดั ฯ -พ.ม.

คุณภาพ -แผนงาน -รพสต.

ชีวติ และความเป็นอยู่ สาธารณสขุ -กรมสง่ เสริมฯ

ท่ีดี - แผนงานสังคม - สำนักงานตำรวจฯ

สงเคราะห์ - กรมสง่ เสรมิ ฯ

- บรหิ ารท่วั ไป -แผนงานรกั ษา -สำนกั งานปลัดฯ - สำนกั งานตำรวจฯ

ความสงบภายใน - กรมส่งเสริมฯ

-แผนงานสรา้ งความ

เข้มแข็งชุมชน

- การเศรษฐกิจ -แผนงานการเกษตร -สำนกั งานปลัดฯ - เกษตรอำเภอ

-กองช่าง

- การดำเนนิ งานอน่ื ๆ -แผนงานงบกลาง -สำนกั งานปลดั ฯ - กรมสง่ เสรมิ ฯ

๓ ดา้ นสาธารณสุข - บรกิ ารชมุ ชน -แผนงานสาธารณสุข -สำนักงานปลัด ฯ - รพสต.
นนั ทนาการ และกีฬา และสงั คม -แผนงานการศาสนา

๑๙

วัฒนธรรม และ - กระทรวงการ

นนั ทนาการ ท่องเท่ียวและกีฬา

- การเศรษฐกจิ -แผนงาน - กองช่าง - กรมสง่ เสริมฯ

อุตสาหกรรม - อบจ.

และการโยธา - ชลประทาน

- เกษตรอำเภอ

๔ ดา้ น - การเศรษฐกิจ -แผนงานการเกษตร -สำนักงานปลัดฯ - เกษตรอำเภอ

ทรพั ยากรธรรมชาติ - กองชา่ ง

และ สงิ่ แวดลอ้ มและ - บริการชมุ ชนและสังคม-แผนงานสาธารณสขุ -สำนักงานปลดั ฯ - รพ.สต.

การท่องเที่ยว - การเศรษฐกิจ -แผนงาน - กองชา่ ง - กรมสง่ เสรมิ ฯ

อตุ สาหกรรม - อบจ.

และการโยธา - ชลประทาน

- กรมสง่ เสริมฯ

๕ ดา้ นการบริหาร - บริหารงานทว่ั ไป -แผนงานบริหารงาน -สำนกั งานปลัดฯ - กรมส่งเสรมิ ฯ

จดั การ ท่ัวไป

- การเศรษฐกจิ -แผนงาน - กองชา่ ง - กรมสง่ เสรมิ ฯ

อตุ สาหกรรม - อบจ.

และการโยธา - ชลประทาน

- กรมสง่ เสรมิ ฯ

- บริการชุมชนและสงั คม -แผนงานสรา้ ง -สำนกั งานปลดั ฯ - กรมส่งเสรมิ ฯ

ความเข้มแข็งชมุ ชน

รวม ๕ ยทุ ธศาสตร์ ๕ ด้าน ๑๐ แผนงาน

๒๐

๕. สรปุ กจิ กรรมท่ดี ำเนนิ การเพื่อยกระดับในแต่ละศักยภาพตำบลและผลทีไ่ ด้
สรปุ กิจกรรมเชอื่ มโยงหลักการ ๑๖ เปา้ หมาย ตำบลท่ีอยู่รอดส่ตู ำบลมุ่งสพู่ อเพียง

✅ตำบลมีอยู่แล้ว ☑เกิดขึ้นแล้วจากการดำเนินการกิจกรรมน้ี ❎คาดว่าจะเกิดขึ้นเมื่อดำเนินการ

กิจกรรมนี้

ที่ เปา้ หมาย ๑๖ ประการ กจิ กรรมท๑่ี กิจกรรมท๒่ี กิจกรรมท่ี๓ กิจกรรมท๔ี่

พฒั นาผลิตภัณฑป์ ลาดุก ส่งเสริมการ พฒั นาสมั มาชีพเดมิ ส่งเสริมและ

ร้า นำ้ ผ้งึ โพรง และ ท่องเที่ยวเชิง และสร้างองคค์ วาม อนรุ กั ษ์

กระเป๋าผ้าปาเตะ๊ และ อนุรกั ษส์ ่งิ รู้สัมมาชีพใหม่ เพือ่ สง่ิ แวดลอ้ ม

สง่ เสริมการขาผลิตภณั ฑ์ แวดลอ้ ม เพ่ิมรายไดห้ มนุ เวียน

ด้วยส่ือออนไลน์ ของชุมชน ให้แกช่ มุ ชน

๑ พัฒนาชมุ ชนให้มีสมรรถนะ ❎ ❎❎✅
ในการจดั การสงู

๒ ช่วยให้เกิดการจดั การ ❎ ❎❎✅
ทรัพยากรอย่างเปน็ ระบบ

๓ ชว่ ยใหส้ ามารถ วเิ คราะห์ ❎ ✅✅✅
วสิ าหกิจชมุ ชนและสถาบัน

การเงนิ ชมุ ชน

๔ ชว่ ยในการสร้างสมั มาอาชีพ ❎ ❎❎❎
ในพ้นื ท่ี

๕ สง่ เสรมิ เกษตรพอเพยี งและ ❎ ✅❎❎
อาหารปลอดภัย

๖ ช่วยใหม้ ีแหลง่ นำ้ ประจำ ✅ ✅✅✅
ครอบครัว

๗ ช่วยจัดการวิสาหกิจชมุ ชน ❎ ❎✅

๘ ฝกึ อบรมทักษะอาชพี ❎ ❎❎❎

๙ มีการจัดการโครงสรา้ งพน้ื ฐาน ✅ ✅ ✅ ❎

กายภาพสง่ิ แวดล้อม พลังงาน

๑๐ สง่ เสริมความปลอดภัยในพนื้ ที่

๑๑ พัฒนาคุณภาพกลมุ่ เปราะบาง ❎ ❎❎❎
๑๒ พฒั นาระบบสขุ ภาพคนในพน้ื ท่ี ✅ ✅✅❎

๒๑

๑๓ ส่งเสรมิ ศูนยเ์ รียนรตู้ ำบล ❎ ❎❎❎
๑๔ สง่ เสรมิ ระบบยตุ ิธรรมในชมุ ชน

๑๕ สง่ เสริมระบบส่อื สารในชมุ ชน

๑๖ ส่งเสรมิ ชมุ ชนทำความดี

เป็นไปตามเป้าหมาย ตำบลที่อยู่รอด ตำบลมงุ่ สู่พอเพียง

ตำบลม่งุ ส่คู วามพอเพียง ๑๒ ใน ๑๖ เป้าหมาย

สรปุ กิจกรรมทด่ี ำเนนิ การผลทไ่ี ด้

๑) เพอ่ื สง่ เสรมิ การแปรรปู ผลติ ภัณฑ์ทางการเกษตร เชน่ การทำปลาดุกร้า น้ำผ้ึง

๒) เพอ่ื สรา้ งอาชีพ เพิ่มรายได้แกช่ ุมชน ครัวเรือน ผลิตภณั ฑป์ ลาดกุ รา้ สบูน่ ้ำผง้ึ ถุงผา้ ปาเตะ๊

๓) เพื่อการร่วมกลุ่มอย่างย่ังยนื มสี ่วนรว่ ม การร่วมมอื และมีน้ำใจะร้อมชว่ ยเหลือแบ่งปัง พึ่งพาซึ่งกัน

และกนั ในชุมชน

๔) เพื่อพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ น้ำตกเหนือเหว ให้มีศักยภาพพร้อมทั้งเป็น

แหล่งท่องเที่ยวเชงิ อนรุ ักษโ์ ดยชมุ ชน

๕) เพื่อการมีส่วนร่วมพัฒนาถิ่นบ้านเกิดให้มีอุดมสมบูรณ์พร้อมทั้งสามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ทาง

ธรรมชาตไิ ด้

๖) เพอ่ื สง่ เสรมิ ศนู ย์การเรียนให้มคี วามก้าวหน้า ทนั ตอ่ การเปลยี่ นแปลง เป็นแหลง่ ใหค้ วามร้ขู องคนใน

ชุมชนและขา้ งเคยี งได้

๗) เพื่อให้ชมุ ชนมรี ายได้และอาชีพเตม็ พื้นที่ของชุมชน

๘) เพื่อสง่ เสริมผลิตภณั ฑช์ มุ ชนให้มคี ุณภาพและเป็นทนี่ ิยมเหมาะแก่การเปน็ ของฝากได้

๙) เพอ่ื ให้ชมุ ชนเปน็ แหล่งผลิตอาหารที่อุดมสมบูรณ์ ลดรายจ่ายเพมิ่ รายไดแ้ ก่ครัวเรือน

๑๐) ส่งเสริมอาชพี ด้งั เดิมและสนบั สนนุ กลุ่มอาชพี ใหมอ่ ยา่ งสร้างสรรค์

๑๑) เพื่อเป็นศนู ยก์ ารเรยี นรสู้ ่งเสริมอาชพี แก่รุ่นต่อไป

๑๒) เพื่อลดตน้ ทนุ ให้ชุมชนในการนำเขา้ ปยุ๋ เคมี

๑๓) เพ่อื นำพืชในชมุ ชนมาใช้ประโยนช์สงู สดุ ในชมุ ชน

๑๔) เพอ่ื สร้างความและพร้อมนำไปถ่ายทอดอยา่ งถูกต้อง

๑๕) เพอ่ื สง่ เสริมและสนับสนนุ ศูนย์การเรียนรู้แกช่ มุ ชนตอ่

๒๒

สรุปกิจกรรมท่ีดำเนนิ การเพอื่ ยกระดับในแต่ละศักยภาพตำบลและผลท่ไี ด้

กจิ กรรม ผลท่ไี ดร้ บั

การยกระดบั ผลติ ภัณฑ์ การยกระดบั ผลิตภัณฑ์

๑)การยกระดับผลิตภณั ฑป์ ลาดกุ ร้า ๑) ผลติ ภณั ฑม์ คี วามต้องการตรงกับตลาด และมกี ารเพ่มิ

ใหไ้ ด้คุณภาพ มลู ค่าโดยมกี ารใชบ้ รรจุภัณฑ์ทม่ี คี ณุ ภาพมากขนึ้ ดว้ ยวิธีการซี

๒)การออกแบบเพอื่ ต่อยอด นถงุ เพื่อดดู สญุ ญากาศทำใหผ้ ลติ ภัณฑ์สามารถเก็บไว้ได้นาน

ผลิตภัณฑ์ถุงผา้ ปาเต๊ะเพื่อสร้างคอล และยังคงมีรสชาติเดมิ พร้อมทั้งมฉี ลากท่บี รรจุภณั ฑ์และยงั

แล็คชน่ั ใหมใ่ ห้กบั ผผู้ ลิตสินคา้ ผา้ การทำให้เป็นทรี่ จู้ ักเพ่ิมมากข้ึนจากการทำตลาดออนไลน์

ปาเตะ๊ ๒)ผลิตภัณฑถ์ ุงผ้าปาเต๊ะ มีรปู แบบและลวดลายท่ีทนั สมยั ข้ึน

๓)การแปรรูปผลิตภัณฑน์ ำ้ ผงึ้ โพรง โดยปะกอบด้วย ๓ ลวดลายทำให้เป็นทน่ี ่าสนใจมากข้นึ จาก

เพ่อื พฒั นาอาชพี ท่ยี ่ังยนื โดยการ การทำตลาดออนไลน์

ถา่ ยทอดเทคโนโลยกี ารเลีย้ งผึ้งและ ๓) มกี ารจำหน่ายออกไปมากขนึ้ เปน็ ทีต่ อ้ งการของผู้บริโภค

การแปรรูปเพ่ือสร้างเสริมรายไดใ้ ห้ ชาวบ้านในชุมชนมรี ายไดเ้ พ่ิมมากข้ึน

ชาวสวน สง่ เสรมิ การท่องเท่ียวเชิงอนุรกั ษส์ ง่ิ แวดล้อมของ ชุมชน

ส่งเสรมิ การท่องเที่ยวเชิงอนุรกั ษ์ ๔) นกั ท่องเท่ียวเพ่ิมมากข้ึนและเปน็ การเผยแพร่

สง่ิ แวดล้อมของชุมชน ประชาสมั พันธ์ให้แพรห่ ลายทำให้ชาวบา้ นในชมุ ชนมรี ายได้

ตำบลอยู่ ๔)ตลาดน้ำ – น้ำตกเหนือเหว ชุมชน และมีอาชพี เสริม

รอด ปงั หวาน ๕) มีชาวบา้ นท่สี นใจดำเนนิ ชีวติ แบบเศรษฐกจิ พอเพยี งเพม่ิ

มุ่งสู่ ๕)พฒั นาศนู ย์การเรียนรปู้ รัชญา มากขนึ้

ตำบล เศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎี พัฒนาสัมมาชีพเดิม และสร้างองค์ความรสู้ มั มาชพี ใหม่

ความ ใหม่ เพอ่ื เพ่มิ รายไดห้ มุนเวียนให้แกช่ ุมชน

พอเพียง พฒั นาสัมมาชีพเดมิ และสร้างองค์ ๖)เกดิ การสร้างงาน สรา้ งอาชีพเสรมิ ทำให้สามารถเพม่ิ รายได้

ความรสู้ มั มาชีพ ใหม่ เพื่อเพิม่ ลดรายจา่ ยในครัวเรือน

รายไดห้ มุนเวยี นให้แก่ชุมชน ๗) ชาวบ้านรู้วิธกี ารลดต้นทุนทางการเกษตร และสามรถนำ

๖)การทำก้อนเห็ด ความรไู้ ปปรบั ใช้ในการเกษตรในครอบครัวได้

๗)การทำป๋ยุ หมักชีวภาพ ๘) ผู้ทำผลติ ภณั ฑม์ ีความรู้ความเข้าใจในการพฒั นาสินคา้ และ

๘)ส่งเสริมอาชพี การทำขนมไทย รปู แบบบรรจภุ ณั ฑต์ รงกบั ความตอ้ งการตลาดทำให้เปน็ ที่รู้จัก

๙)ส่งเสริมอาชีพการทำเคร่ืองและ เพม่ิ ขึ้น

อาหารแปรรูปพร้อมทาน ๙) พฒั นารูปแบบของเคร่ืองแกงและผลติ ภณั ฑจ์ ากเครอื่ งแกง

ส่งเสริมและอนรุ กั ษส์ ่ิงแวดล้อม เพ่ือทำใหเ้ คร่ืองแกง มรี ปู แบบท่ีหลากหลายและเกบ็ รักษาหรือ

ทำการขนส่งไดส้ ะดวกมากข้ึน

๒๓

๑๐)ส่งเสริมและอนุรักษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม สง่ เสริมและอนุรกั ษส์ ่ิงแวดล้อม

โดยการเพาะเลี้ยงแหนแดงเพ่ือผลิต ๑๐) ชาวบา้ นหันมาใชป้ ุย๋ ชวี ภาพเพ่ิมมากข้ึน และลดตน้ ทุน

ปุ๋ยชีวภาพ ทางการเกษตร

๑๑)สง่ เสรมิ และอนุรักษส์ ่ิงแวดลอ้ ม ๑๑)ชาวบ้านสามารถลดตน้ ทุน ในการเลย้ี งสตั ว์

โดยการเพาะเลี้ยงแหนแดงเพื่อผลิต

อาหารสัตว์

๖. ผลลพั ธต์ ามวัตถปุ ระสงค์ของโครงการ

๑) เกิดการยกระดบั เศรษฐกจิ และสังคมรายตำบลแบบบรู ณาการ โดยมีมหาวิทยาลัยราชภฏั สุราษฎร์
ธานี เปน็ System Integrator

๒) เกดิ การการจา้ งงานประชาชน บณั ฑติ จบใหม่ และนกั ศึกษาให้มงี านทำและฟ้นื ฟเู ศรษฐกจิ ชมุ ชนของ
ตำบลปังหวาน ท้งั หมด ๒๒ คน ดังนี้

บณั ฑติ จบใหม่ ๑๑ คน

นางสาวสพุ ิชชา วงษ์สุเทพ นางสาวสุภาวดี ฉิมวารี

นางสาวเทพิน โทอบุ ล นางสาวนภสร แสงบางกา

นางสาวรงุ่ นภา คงนคร นางสาวเลศิ ลักษณ์ ธรรมธวัช

นางสาวปรียานชุ ทรงศรี นางสาวเกสริน ชะนะ

นายเอกรนิ ทร์ ร่มศรี นางสาวกนกนาฏ น้อยนาค

นายวราวฒุ ิ โสมมาก

ประชาชน ๕ คน

นางสาวกรี ตา พลพิชยั นางสาวปราณตี ช่นื ชม

นางสาวธิดารตั น์ อนิ ทรร์ ว่ ง นางเยาวรตั น์ นิ่มรักษ์

นางสาวปลายฟ้า คงชืน่

นักศึกษา ๖ คน

นางสาวฐาปนี ชูมี นางสาวสมุ าตรา มะลิพันธ์

๒๔

นางสาวสุพัตรา ครฑุ เพชร นางสาวปารฉิ ตั ร เฉียบแหลม

นางสาววชริ าภรณ์ ชะนะ นางสาวอทติ ญา ภูพ่ ยัคฆ์

๓) เกดิ การพฒั นาทักษะในการเสริมสร้างอาชีพใหมใ่ นชุมชน ดังนี้

- การทำก้อนเห็ด

- การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ

- ส่งเสรมิ อาชีพการทำขนมไทย

- สง่ เสริมการทำเครื่องและอาหารแปรรปู พร้อมทาน

- เกิดการจัดการขอ้ มูลขนาดใหญ่ของชมุ ชน เชน่ การสร้างเพจประชาสมั พนั ธ์ ลงในเพจ Facebook

๗. ขอ้ เสนอแนะในการพัฒนาต่อ

ปัจจยั ทีท่ ำใหโ้ ครงการประสบผลสำเรจ็ หรือไมป่ ระสบผลสำเร็จ

ปจั จัยทที่ ำใหโ้ ครงการประสบผลสำเร็จ
คำว่าปจั จยั ความสำเร็จของโครงการ หรอื Project Success Factor น้นั หมายถงึ สิ่งท่โี ครงการต้องมีหรือควรมี
เพื่อให้โครงการประสบความสำเร็จ ปัจจัยที่สง่ ผลต่อความสำเรจ็ ของโครงการนัน้ มีมากมายหลายปัจจัย แต่หาก
เราใหค้ วามสนใจกับปจั จัยท่ีมีผลต่อความสำเรจ็ ของโครงการอย่างมีนัยสำคัญ เราเรียกปจั จัยเหล่านัน้ วา่ Critical
Success Factor ซึ่งเป็นสิ่งที่ Project Manager มืออาชีพต้องตระหนักอย่างมากถึงวิธีการที่จะได้มาซึ่งปัจจัย
เหล่านี้ เพราะนั่นหมายถงึ โอกาสทมี่ ากขึ้นท่ีโครงการจะสำเร็จตามเปา้ หมาย โดยท่วั ไป Project Manager มกั จะ
มีความเห็นในเรื่องปัจจัยความสำเร็จของโครงการในมุมมองที่แตกต่างกัน ส่งผลให้รูปแบบและลักษณะการ
บริหารโครงการมีความแตกต่างกันออกไป เช่น Project Manager บางคนให้ความสำคัญกับการสร้างทีมงาน
บางคนให้ความสำคัญกับการบริหารการสื่อสาร หรือบางคนให้ความสำคัญกับการได้รับการสนับสนุนจาก
ผบู้ รหิ ารและผ้มู สี ว่ นไดส้ ่วนเสยี ในโครงการ

ลำดับ ปัจจัยความสำเร็จของโครงการ
๑ ความเขา้ ใจในรายละเอียดโครงการเป็นอย่างดี
๒ ทกั ษะและความสามารถของทมี งาน
๓ การส่อื สารทมี่ ีประสทิ ธภิ าพ
๔ การประเมินเวลาและตน้ ทุนของโครงการท่สี อดคล้องกบั บริบทของโครงการ
๕ การควบคมุ ท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ
๖ การประเมินความเสีย่ งทด่ี ี

๒๕

๗ การได้รบั ทรพั ยากรที่พอเพียง
๘ การทำงานเปน็ ทีม
๙ การวางแผนที่ดี
๑๐ การแกป้ ัญหาอยา่ งมีประสิทธิภาพ
จะเหน็ ไดว้ ่า ความร้คู วามเข้าใจในรายละเอียดของโครงการ และทักษะของคนในโครงการ รวมถึงการ
สือ่ สารท่ีดี เป็นปจั จัยสำคัญลำดับตน้ ๆ ที่จะกำหนดความสำเร็จของโครงการ และพอจะสามารถกำหนดเปน็ แนว
ปฏบิ ตั ิสำหรับองค์กรที่ต้องการสรา้ งความสำเร็จในการบริหารโครงการได้ และทีมงานใหเ้ ขา้ ใจองค์ความรูแ้ ละ
ทกั ษะในการบรหิ ารโครงการ หรอื กำหนดกระบวนการในการยืนยันรายละเอียดในโครงการให้มีความชัดเจนก่อน
เรมิ่ โครงการซ่ึงจะสง่ ผลใหโ้ ครงการมีโอกาสประสบความสำเรจ็ มากขึน้
ปจั จยั ท่ีทำให้โครงการไม่ประสบผลสำเรจ็
ความต้องการที่แท้จริงของโครงการนั้น ไม่ได้มีการเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบและชัดเจนเพียงพอความ
ต้องการที่แท้จริงของโครงการ จะเป็นสิ่งที่บ่งบอกได้อย่างชัดเจนว่าโครงการนั้นๆ ถูกสร้างมาเพื่อประโยชน์
อะไร? กับองค์กร…ซึ่งสิ่งที่จะทำให้ผู้ที่รับผิดชอบในโครงการเข้าถึงข้อมูลเพื่อสร้างประโยชน์นั้นได้ ย่อมมาจาก
การเก็บข้อมูลที่เป็นระบบและชัดเจนเพียงพอ มิฉะนั้นแล้วหากความต้องการมีความคลาดเคลื่อน อาจทำให้
โครงการสะดดุ กลางคนั ได้

๑) ความต้องการมกี ารปรบั เปลีย่ นอยู่ตลอดเวลา

ความต้องการของผู้บริหาร และผู้ที่รับผิดชอบทั้งหมดในโครงการ เมื่อได้ทำการสรุปเป็นอย่างดีและตก
ลงเรียบร้อยแล้ว จำเป็นต้องมีความแน่วแน่ในการดำเนินการ เพราะมิฉะนั้น เมื่อความต้องการปรับเปลี่ยน
แนวทางดำเนนิ การตา่ งๆย่อมเปลีย่ นตาม ซงึ่ หากปรบั เปลย่ี นบ่อย กจ็ ะทำใหโ้ ครงการไม่แลว้ เสร็จได้

๒) ผู้บรหิ ารยังไม่ทำการสนบั สนุนโครงการน้ันๆอย่างเตม็ ที่
หากโครงการที่ได้ถูกคัดเลอื กมาเป็นอย่างดีจากทางองค์กร ซึ่งการดำเนินงานของผู้ท่ีรับผิดชอบทั้งหมด
ในโครงการ ย่อมจะต้องเผชิญกับการบริหารจัดการทรัพยากร การแก้ไขปัญหาต่างๆ ทั้งที่คาดการณ์ได้และ
คาดการณ์ได้ยาก ซง่ึ จำเปน็ อยา่ งย่งิ ท่จี ะต้องได้รบั ความสนบั สนุนจากทางผูบ้ ริหารอยา่ งเต็มที่เพ่ือให้ภารกิจลุล่วง
ไปได้

- ขาดทรพั ยากรทส่ี ำคญั ๆในการทำโครงการ

สิ่งที่เป็นปัจจยั หลักอย่างหน่ึงในการทำโครงการ ก็คือทรัพยากรสำคัญ ซึ่งเป็นปัจจยั หลักในความสำเร็จ
ของโครงการ ซึ่งหากโครงการดังกล่าวเป็นโครงการที่มีความสำคัญ ทางผู้รับผิดชอบในโครงการจะต้องทำการ
วางแผน เพื่อให้ได้มาซึ่งทรัพยากรนั้นหรือหาทางปรับเปลี่ยนเป็นทรัพยากรที่สามารถทดแทนกันให้ได้ใน
ทา้ ยท่ีสดุ

๒๖

- ผลลพั ธ์ท่ไี ดจ้ ากโครงการไม่ตอบสนองผูใ้ ช้งานอย่างแทจ้ ริง
“ความง่าย” ในการใช้งานจากผลลัพธข์ องโครงการ เปน็ สิ่งที่ผใู้ ช้งานพึงคาดหวงั เป็นอย่างมาก และสิ่งน้ี
จะเปน็ ส่ิงท่ชี ีช้ ดั ได้ว่าโครงการนนั้ จะประสบความสำเร็จมากน้อยเพยี งใด โดยเฉพาะในยคุ ปจั จุบัน ที่ผู้ใช้งานได้มี
ประสบการณ์ มีทางเลือกในการใช้งานในส่ิงต่าง ๆรอบตัว ด้วยความง่าย ความสะดวกเป็นสำคัญกลไกในการ
ขับเคลื่อน

การยกระดับผลติ ภณั ฑ์
๑) การยกระดับผลติ ภณั ฑป์ ลาดกุ รา้ ให้ไดม้ าตรฐานผลติ ภณั ฑ์ชมุ ชน
๒) การออกแบบเพอ่ื ต่อยอดผลิตภัณฑถ์ ุงผา้ ปาเต๊ะเพือ่ สร้างคอลเเล็คช่นั ใหม่ใหก้ ับผู้ผลิตสนิ คา้ ผ้าปาเตะ๊
๓) การแปรรูปผลิตภัณฑ์น้ำผ้ึงโพรงเพื่อพัฒนาอาชีพทย่ี ่ังยนื โดยการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเล้ียงผึ้งและ
การแปรรูปเพอ่ื สรา้ งเสริมรายไดใ้ หช้ าวสวน
ส่งเสรมิ การท่องเท่ยี วเชิงอนรุ ักษ์สิง่ แวดล้อมของชุมชน
๔) ตลาดน้ำ – นำ้ ตกเหนือเหว ชมุ ชนปังหวาน
๕) พฒั นาศูนย์การเรยี นรปู้ รัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม่
พฒั นาสมั มาชีพเดิม และสรา้ งองค์ความรสู้ มั มาชพี ใหม่ เพือ่ เพม่ิ รายได้หมนุ เวียนให้แก่ชุมชน
๖) การทำกอ้ นเห็ด
๗) การทำปยุ๋ หมักชีวภาพ
๘) ส่งเสรมิ อาชพี การทำขนมไทย
๙) สง่ เสรมิ อาชีพการทำเคร่อื งและอาหารแปรรปู พรอ้ มทาน
สง่ เสริมและอนุรกั ษ์ส่ิงแวดล้อม
๑๐) ส่งเสริมและอนุรกั ษ์สิ่งแวดลอ้ มโดยการเพาะเลีย้ งแหนแดงเพื่อผลติ ป๋ยุ ชวี ภาพ
๑๑) สง่ เสริมและอนุรกั ษ์ส่ิงแวดลอ้ มโดยการเพาะเลยี้ งแหนแดงเพ่ือผลติ อาหารสัตว์
กลไกในการขับเคลื่อนทั้งหมดนี้ ทำให้ช่วยสร้างการมีส่วนร่วมของฐานรากชุมชน เพื่อขับเคลื่อน
โครงการมหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ เพื่อสร้างแนวทางการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมให้
ย่งั ยืนต่อไป

๘. ผลสรุปศักยภาพตำบล
ตำบลปังหวาน แตเ่ ดิมเรียกช่อื วา่ บา้ นมะปรางหวาน ซึง่ มีความเป็นมา ดงั น้ี เมื่อก่อนการคมนาคม

ส่วนมากจะเป็นทางน้ำ โดยมีแม่น้ำสายหลัก คือ แม่น้ำหลงั สวน และมนี ำ้ ท่ใี หญ่มาก มหี าดทรายกว้าง เปน็ ท่ีจอด
เรือและแพเพ่ือพักแรม และทานอาหาร โดยที่ท่านำ้ ทีม่ ีผูม้ าจอดพักมตี น้ มะปรางหวานต้นใหญ่อย่ตู ้นหนงึ่ ซ่งึ เรียก
ทา่ นำ้ นี้ว่า ท่านำ้ มะปรางหวาน นามมากเ็ พย้ี นมาเปน็ บ้านปงั หวาน

๒๗

สภาพพ้นื ทต่ี ำบลปังหวาน ประกอบดว้ ยเทือกเขาสลับซับซอ้ น มที ร่ี าบอยู่บา้ ง ๙ หมบู่ ้าน ได้แก่ หมู่ ๑
บา้ นสม้ ควาย หมู่ ๒ บ้านพังเหา หมู่ ๓ บ้านคลองเหนก หมู่ ๔ บ้านคลองนนู หมู่ ๕ บา้ นทอนพงษ์ หมู่ ๖ บ้าน
ทา่ แพ หมู่ ๗ บา้ นคลองอารักษ์ หมู่ ๘ บ้านห้วยใหญ่ และหมู่ ๙ บา้ นสร้างสมบรู ณ์

ผลิตภัณฑแ์ ละแหล่งทอ่ งเที่ยวเชงิ อนุรกั ษ์
หมู่ ๑ ผลติ ภณั ฑ์ในชมุ ชน ไดแ้ ก่ ผลิตภณั ฑแ์ ปรรปู กลว้ ยฉาบ ผลิตภัณฑ์ขนมไทยหลายชนิด ผลติ ภณั ฑ์
แปรรปู จากกะลามะพรา้ ว ผลิตภัณฑป์ ลาดุกร้า
หมู่ ๑ แหล่งทอ่ งเท่ยี วในชมุ ชน คือ ศนู ยเ์ รียนรู้ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและ ศนู ย์เรียนรูป้ รชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงและ เกษตรทฤษฎใี หมป่ ระจําตําบลปังหวาน
หมู่ ๓ สถานทีท่ ่ี สามารถพฒั นาเปน็ แหลง่ ท่องเทย่ี วได้คอื “เขอ่ื นน้ำลน้ ”
หมู่ ๔,๕ ผลติ ภัณฑ์ของชมุ ชน คอื ทุเรยี นทอด
หมู่ ๘ แหล่งท่องเทยี่ วในชุมชน คอื บอ่ นน้ำร้อน นำ้ ตกเหนือเหว
หมู่ ๙ ผลิตภัณฑ์ ของชุมชน คือ ขา้ วตอก ทเุ รยี นกวน มงั คุดกวน และกลมุ่ ของชุมชน คือ ข้าวตอก
ทเุ รยี นกวน มงั คดุ กวน และกลมุ่ ปุ๋ย อนิ ทรยี ์
ชมุ ชนบา้ นปงั หวาน สนั นิษฐานว่า เริ่มมผี ู้คนเขา้ มาตั้งชมุ ชนสมัยเม่อื สงครามโลกคร้ังท่ี ๑ และเริ่ม
หนาแน่นข้นึ เม่ือสมัยสงครามโลกครง้ั ที่ ๒ แต่เดิมน้นั สว่ นมากจะอยูท่ ่ีริมแม่นำ้ หลงั สวนเป็นส่วนใหญ่
กลไกการทำงานในตำบลปังหวาน
๑) มวี ตั ถุประสงคเ์ พ่ือยกระดับเศรษฐกจิ โดยการนำเครอ่ื งมือมาใชใ้ นชุมชน เช่น การจดั ทำนาฬกิ าชวี ติ
จัดทำไทม์ไลนช์ ีวติ สำรวจขอ้ มลู พน้ื ฐาน จปฐ. วิถีชีวติ ได้เข้าถงึ ชวี ติ ประจำวนั ของชาวบ้านเพือ่ การแก้ปัญหาให้
ตรงจุดและรจู้ ักความเปน็ อยขู่ องชาวบ้านตำบลปังหวาน
๒) ใชเ้ ทคโนโลยแี ละนวัตกรรมตามศาสตร์ท่ีมีอยู่สรา้ งสมั มาชพี ชว่ ยบริการชมุ ชน เพื่อแก้ไขปัญหาความ
ยากจน 15 ครัวเรอื นในพื้นท่ีปังหวาน
๓) สรา้ งหลกั สูตรสมั มาชีพจากสาขาวิชาตา่ งๆเพ่ือแก้ไขปญั หาความยากจนในตำบลปังหวาน
๔) ชุมชนปังหวานไดส้ ำรวจความต้องการของครัวเรอื นยากจน 15 ครัวเรอื น ให้สอดคลอ้ งกบั ระบบ
กลไกเพื่อใช้ในการขบั เคล่ือนโครงการตา่ ง ๆ ตามจดุ ประสงค์และเปา้ หมายสูต่ ำบลความพอเพยี งและยงั่ ยนื ต่อไป
การประเมิน ๑๖ เป้าหมาย ของตำบลปงั หวาน
กิจกรรมที่ ๑ พฒั นาผลติ ภณั ฑ์ปลาดกุ รา้ นำ้ ผงึ้ โพรง และกระเป๋าผ้า และสง่ เสริมการขายผลติ ภณั ฑ์ด้วย
สอ่ื ออนไลน์
๑) พัฒนาชมุ ชนใหม้ สี มรรถนะในการจัดการสงู
๒) ช่วยใหเ้ กดิ การจดั การทรพั ยากรอยา่ งเปน็ ระบบ
๓) ชว่ ยในการสร้างสมั มาอาชพี ในพืน้ ท่ี
๔) ชว่ ยจัดการวสิ าหกจิ ชมุ ชน

๒๘

๕) ฝึกอบรมทักษะอาชพี
กจิ กรรมที่ ๒ สง่ เสริมการท่องเที่ยวเชงิ อนรุ กั ษส์ งิ่ แวดลอ้ มของชมุ ชนโดยชุมชนเพ่อื ชุมชน
๑) พัฒนาชมุ ชนให้มสี มรรถนะในการจัดการสงู
๒) ช่วยใหเ้ กิดการจัดการทรัพยากรอยา่ งเป็นระบบ
๓) ชว่ ยในการสรา้ งสมั มาอาชีพในพื้นที่
๔) ช่วยจดั การวสิ าหกจิ ชมุ ชน
๕) ฝกึ อบรมทักษะอาชีพ
กิจกรรมที่ ๓ พัฒนาสัมมาชพี เดมิ และสรา้ งองค์ความร้สู ัมมาชพี ใหม่
๑) เพอื่ เพม่ิ รายไดห้ มุนเวียนให้แก่ชมุ ชน
๒) พฒั นาชุมชนให้มสี มรรถนะในการจัดการสูง
๓) ชว่ ยให้เกิดการจัดการทรัพยากรอยา่ งเป็นระบบ
๔) ช่วยในการสรา้ งสัมมาอาชีพในพื้นที่
๕) สง่ เสริมเกษตรพอเพยี งและอาหารปลอดภยั
๖) ช่วยจดั การวสิ าหกิจชมุ ชน
๗) ฝกึ อบรมทกั ษะอาชีพ
กจิ กรรมท่ี ๔ สง่ เสรมิ และอนุรกั ษ์ส่ิงแวดลอ้ มโดยการใช้แหนแดงในการทำปยุ๋ และเล้ียงสัตวแ์ ละเปน็
แหลง่ เรยี นรู้
๑) ช่วยในการสร้างสัมมาอาชีพในพื้นท่ี
๒) ส่งเสริมเกษตรพอเพยี งและอาหารปลอดภยั
๓) ฝึกอบรมทกั ษะอาชพี
๔) สง่ เสริมศูนยเ์ รยี นร้ตู ำบล
กิจกรรมทด่ี ำเนนิ การในตำบลปังหวาน
● การยกระดับผลิตภัณฑป์ ลาดกุ รา้ ให้ได้มาตรฐานผลติ ภณั ฑช์ ุมชน
● การออกแบบเพ่ือต่อยอดผลิตภณั ฑถ์ งุ ผา้ ปาเต๊ะเพ่อื สร้างคอลเเล็คชั่นใหม่ให้กบั ผูผ้ ลติ สินคา้ ผา้ ปาเตะ๊
● การแปรรูปผลิตภัณฑน์ ้ำผง้ึ โพรงเพื่อพัฒนาอาชีพท่ียงั่ ยืนโดยการถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารเล้ียงผึง้ และ
การแปรรูปเพ่ือสรา้ งเสรมิ รายได้ให้ชาวสวน
● หลาดน้ำ – ตกเหนือเหว ชมุ ชนปังหวาน
● พฒั นาศูนย์การเรยี นร้ปู รชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่
● การทำก้อนเห็ด
● การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ
● ส่งเสรมิ อาชีพการทำขนมไทย

๒๙

● ส่งเสรมิ อาชีพการทำเคร่ืองและอาหารแปรรูปพร้อมทาน
● สง่ เสริมและอนรุ กั ษส์ ิ่งแวดลอ้ มโดยการเพาะเล้ียงแหนแดงเพื่อผลติ ปุย๋ ชวี ภาพและอาหารสัตว์
ผลตามตวั ชว้ี ัด ๑๔ ตัวช้ีวัด
เป็นโจทยก์ ารพัฒนาเพื่อแก้ไขความยากจนภายใต้เป้าหมาย ๑๖ เปา้ หมาย
๑) โดยใช้ข้อมูล จปฐ. กชช2ค ทะเบียนราษฎร์ ข้อมลู จากองค์กรท้องถนิ่ และหน่วยงานรัฐในพน้ื ที่
๒) ขอ้ มลู ในการวเิ คราะหส์ ถานะสภาพปญั หาของพนื้ ท่ีเป้าหมายประกอบกับขอ้ มูลท่หี นว่ ยงานต่าง ๆ

เข้าไปดำเนนิ กิจกรรมเพื่อนำมากำหนดโจทยก์ ารพัฒนาท่ีมหาวิทยาลยั สตู่ ำบลเขา้ ไปดำเนินการ
๓) โครงการพัฒนาตำบลแบบกำหนดประชากรเปา้ หมาย
๔) ผู้ทเี่ ปน็ ผปู้ ฏิบัติการหลัก (Key actors)และผ้ขู บั เคลอื่ นปฏิบัตกิ ารในพ้ืนท่ี
๕) ผลของการมีสว่ นรว่ มของประชากรกลุ่มเป้าหมาย
๖) การสง่ เสรมิ การสร้างธรุ กิจใหม่
๗) แหล่งเรยี นรแู้ ละหลักสตู รการเรยี นรู้เพอ่ื แก้ไขความยากจน

ผลท่ีคาดวา่ จะไดท้ ้งั ท่ีวดั ไดแ้ ละวดั ไมไ่ ด้
ผลทว่ี ดั ได้
๑) เพอ่ื ยกระดบั เศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ โดยมมี หาวิทยาลัยในพน้ื ท่เี ปน็ System
Integrator
๒) เพ่อื ใหเ้ กดิ การจ้างงานประชาชนท่ัวไป บัณฑิตจบใหม่ และนักศกึ ษา ใหม้ งี านทำและฟ้นื ฟเู ศรษฐกจิ
ชมุ ชน
๓) เพ่ือให้เกิดการพัฒนาตามปญั หาและความต้องการของชุมชน ได้แก่ การพฒั นาสัมมาชพี และสรา้ ง
อาชีพใหม่ (การยกระดับสนิ ค้า OTOP/อาชพี อน่ื ๆ) การสร้างและพฒั นา Creative Economy (การ
ยกระดับการท่องเทย่ี ว) การนำองค์ความรู้ไปช่วยบรกิ ารชุมชน (Health Care/เทคโนโลยดี า้ นต่างๆ)
แใละการสง่ เสรมิ ดา้ นสงิ่ แวดล้อม/Circular Economy (การเพมิ่ รายได้หมนุ เวียนให้แก่ชมุ ชน)
๔) เพอื่ ให้เกดิ การจดั ทำขอ้ มูลขนาดใหญ่ของชุมชน (Community Big Data) เพื่อเปน็ ข้อมูลในการ
วิเคราะหแ์ ละตดั สินใจในการแกไ้ ขปญั หาความยากจนแบบมเี ป้าหมายชดั เจน
ผลท่ีวัดไม่ได้
๑) การรับฟงั ความคิดเหน็ ของชุมชนเปน็ การเปิดโอกาสให้ชมุ ชนมสี ว่ นร่วมในการใหข้ ้อมลู ทเ่ี ป็น
ขอ้ เทจ็ จริง ทราบถึงปัญหาที่แทจ้ ริงของชุมชน
๒) กระบวนการเรียนรูร้ ว่ มกันช่วยกันคดิ ชว่ ยกันทำในการแกไ้ ขปญั หาลองผดิ ลองถูกในชุมชนกันเอง มี
อิสระในการคดิ ซ่ึงอาจจะเรียกวา่ มีการวางแผนร่วมกันก็ได้
๓) การมเี ป้าหมายเดยี วกนั ในการร่วมกันแก้ไขปญั หา

๓๐

๔) มีการปฏิบัติตามแนวทางท่รี ว่ มกนั คิดในชุมชนนน้ั ๆไปในแนวทางเดียวกัน
๕) หลงั จากปฏบิ ตั ิแล้วนำส่ิงทไ่ี ด้หรือปัญหาที่เกิดข้นึ มาพูดคยุ กันและมีการแกไ้ ขปัญหาทเี่ กิดขึน้ รว่ มกนั

เพ่ือให้ไดใ้ นสง่ิ ทดี่ ที ีส่ ุดสำหรับการปฏบิ ตั ขิ องชุมชน

๓๑

บรรณานกุ รม

องค์การบรหิ ารส่วนตำบลปงั หวาน. แผนพัฒนาทอ้ งถ่ิน. (ออนไลน)์ . 2563. แหลง่ ท่มี า
http://www.pangwan.go.th/ [ 2 ตุลาคม 2564]

๓๒

ประวัติปราชญ์ชาวบา้ น

ชื่อ-นามสกุล : นายอรรถพล กล่อมทรง
ทอ่ี ยู่ : 9/3 ม.1 ต.ปงั หวาน อ.พะโต๊ะ จ.ชมุ พร
การศกึ ษา : มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3
อาชีพ : เกษตรกร
ความชำนาญ : เกษตรผสมผสาน

ปัจจบุ นั นายอรรถพล กล่อมทรง เปน็ ผู้พัฒนาและดูแลศนู ย์การเรยี นรู้เศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตร
ทฤษฎีใหม่ ประจำตำบลปังหวาน โดยไดร้ ับแรงบนั ดาลใจจากการศึกษาดูงานตามแนวทางพระราชดำริ “หลัก
ปรชั ญาเศรฐกจิ พอเพียง” โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวรชั กาลที่ 9 ซ่งึ ได้นำ
ความรู้ที่มใี ช้ในการพัฒนาศนู ย์การเรียนรู้ตลอดจนการถ่ายทอดองค์ความรูใ้ หแ้ ก่บคุ คลในชมุ ชน เชน่ การปลกู
พชื ผกั ปลอดสารพษิ การทำไตรโคเดอร์มา เปน็ ต้น

๓๓


Click to View FlipBook Version