The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สไลด์ประกอบเนื้อหาเรื่อง Introduction of Biology

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by todsapon, 2021-04-15 21:53:10

Introduction of Biology

สไลด์ประกอบเนื้อหาเรื่อง Introduction of Biology

Keywords: biology,ชีววิทยา

INTRODUCTION of

BIOLOGY

1 • ความหมายของ “ชวี วิทยา” Introduction of
• ขอบเขตการศึกษาทางชีววทิ ยา
• แขนงของวชิ าชีววิทยา BIOLOGY

2 • คุณสมบตั ขิ องสิง่ มชี ีวิต
• ชวี จรยิ ธรรม

3 • กระบวนการทางชวี วิทยา
• ประเภทของความรู้

INTRODUCTION of

BIOLOGY
PART 1

What is “BIOLOGY”

ความหมายของ “ชีววทิ ยา”

• เป็นแขนงหน่ึงของวิชา • Bios = สง่ิ มชี ีวติ • Biology = การศึกษา
• Logos = การศกึ ษา เกี่ยวกบั สิ่งมีชวี ิต
วทิ ยาศาสตร์
• วิทยาศาสตร์ชีวภาพ • ต้องอาศัย ความรู้ และ
กระบวนการทาง
(Biological science) วิทยาศาสตร์

Tissue Community Biomes 10

1
2 Organ
Cell 3 system 79
6 8 Biosphere
4
Organ 5 Ecosystem
Population

Organism

ขอบเขตการศกึ ษาทางชีววิทยา

Cell

• หนว่ ยที่เลก็ ที่สดุ ของสิ่งมชี วี ติ

Tissue

• กลุ่มของเซลล์หลายชนิดที่มารวมตัวกัน
และทาหน้าที่เดียวกัน

Organ

• กลุ่มของเนื้อเยื่อหลายชนิดท่ีมารวมตัว
กันและทาหน้าที่เดยี วกัน

Organ system

• กลุ่มของอวัยวะที่มารวมตัวกันและทา
หนา้ ทีเ่ ดยี วกัน

Organism

• ผู้จัดกา รระบบ อวัย วะ ต่ าง ๆ หรื อ
สิ่งมีชวี ิต

Population

• สิ่งมีชวี ติ มากกว่า 2 ตวั ข้ึนไป มารวมตัว
กนั ในสถานที่หน่ึง ในชว่ งเวลาหนึ่ง

Community

• กลุ่มประชากรสิ่งมีชีวิตมากกว่า 2 ชนิด
(Species) ขึ้นไป มารวมตัวกันใน
สถานที่หน่ึง ในช่วงเวลาหนึ่ง

Ecosystem

• กลุ่มของสังคมส่ิงมีชีวิตหลายๆ กลุ่มท่ี
อาศัยอยูใ่ นท่อี ย่อู าศยั แบบต่างๆ

Biomes

• กลมุ่ ของระบบนเิ วศที่อยู่ในเขตภมู ิศาสตร์
เดยี วกัน

Biosphere

• สถานทๆ่ี มีสง่ิ มชี ีวิตอาศยั อยู่ (โลก)

Entomology Ichthyology Anatomy Histology
Morphology Physiology
Zoology Ornithology

ชนดิ ของ Topic of เก่ียวข้องกบั
สิง่ มีชวี ิต Biology สง่ิ มชี ีวติ

Botany Evolution Genetic
Virology Ethology Ecology

Mycology Microbiology

BREAK

INTRODUCTION of

BIOLOGY
PART 2

1 Specific organization

2 Metabolism

3 Reproduction and heredity

4 Growth and development

5 Homeostasis

คณุ สมบตั ิ 6 Adaptation
ของส่งิ มีชีวิต 7 Sensitivity and interaction
8 Evolution

คณุ สมบัตขิ องส่งิ มีชวี ติ Specific organization

• มกี ารจัดระบบโครงสรา้ งท่ีแน่นอน
• สิ่งมีชีวิตมีรูปร่าง โครงสร้าง ที่แตกต่างกัน ทาให้สามารถ

ระบลุ กั ษณะของสิง่ มชี วี ิตได้

Chemical structure

• ประกอบข้ึนจากธาตุหลัก ได้แก่ C H O N รวม
เป็นโมเลกุลท่ีใหญ่ขน้ึ

Cellular structure

• ส่ิงมีชีวิตประกอบข้ึนจากเซลล์ ซ่ึงเป็นหน่วย
พน้ื ฐานของสิ่งมีชวี ิต

คณุ สมบตั ขิ องส่งิ มีชวี ติ Metabolism

• มปี ฏิกิรยิ าเคมีในรา่ งกาย
• เพื่อทาให้เกิดกระบวนการทางเคมีต่างๆ เช่น การให้ได้มา

ซึ่งพลังงาน การเปลี่ยนโครงสรา้ งของสาร เปน็ ตน้

Catabolism

• การสลายสารโมเลกุลใหญ่ให้เล็กลง เพื่อคาย
พลงั งานออกมา

Anabolism

• การสร้างสารโมเลกุลใหญ่จากสารโมเลกุลเล็ก
เพื่อดดู พลงั งานไปเกบ็ ไวใ้ นพนั ธะเคมี

คณุ สมบตั ขิ องส่งิ มีชวี ติ Reproduction and heredity

• มีการสบื พันธุแ์ ละถ่ายทอดพันธุกรรม เพ่ือให้เผ่าพันธุ์ของตนเอง
ยังคงดารงอยูต่ ่อไปได้

• เน้นท่ีการส่งต่อสารพันธุกรรม (DNA หรือ RNA) จากรุ่นหนึ่ง
ไปสูอ่ ีกรุ่นหนึง่

Asexual reproduction

• ไม่อาศัยเซลล์สืบพันธุ์ โดยสร้างส่ิงมีชีวิตตัวใหม่
จากเซลลร์ ่างกาย (somatic cell)

Sexual reproduction

• อาศัยเซลล์สืบพันธ์ุ (gamete) ท่ีเกิดจากการ
แบง่ เซลล์แบบ Meiosis

Growth and development

• เมือ่ สงิ่ มชี วี ิตมกี ารสร้างและสะสมสารภายในเซลล์ จะส่งผล
ให้เกิดกระบวนการเจรญิ เตบิ โต ดังนี้

Cell division Growth

• แบ่งเซลล์แบบ Mitosis มี • เม่ือเซลล์ไดร้ ับสารอาหารอย่าง
วัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มจานวน เพียงพอ เซลล์จะมีมวลและ
เซลล์ (Cell multiplication) ขนาดท่เี พม่ิ ขึ้น

คณุ สมบัตขิ องสิ่งมชี วี ิต Morphogenesis Cell differentiation

• เม่ือเซลล์เปลี่ยนสภาพจะทาให้ • เซลล์มีการเปล่ียนแปลงรูปร่าง
รู ป ร่ า ง ข อ ง สิ่ ง มี ชี วิ ต และหน้าที่ไปจากเดิมเพื่อทา
เปลี่ยนแปลง ทั้งน้ีเป็นผลมา หน้าที่เฉพาะอย่าง
จากพนั ธุกรรม

Homeostasis

• มีการรกั ษาสมดุลของสง่ิ แวดลอ้ มภายในรา่ งกาย
• เพื่อให้สภาวะแวดล้อมภายในเซลล์หรือในร่างกายอยู่ใน

ภาวะที่สมดุล ส่งผลให้กระบวนการต่างๆ ภายในร่างกาย
เกิดขึน้ และเปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพ

คณุ สมบตั ิของส่งิ มีชวี ติ

Adaptation

• มีการปรบั ตัวใหเ้ ข้ากับสิง่ แวดล้อม
• เพื่อความอยู่รอดในส่ิงแวดล้อมและทาให้เกิดวิวัฒนาการ

(Evolution)

คณุ สมบัตขิ องส่งิ มีชวี ติ

Sensitivity and interaction

• สามารถรับรู้และตอบสนองต่อสิ่งเร้าจากส่ิงแวดล้อมท่ี
อาศัยอยู่ในลกั ษณะต่างๆ กันได้

• เพื่อทาให้สามารถดารงชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่มีปัจจัย
ต่างๆ เปลยี่ นแปลงตลอดเวลาไดโ้ ดยไมไ่ ดร้ บั อันตราย

คณุ สมบัตขิ องสิ่งมชี วี ิต

Evolution

• หมายถงึ กลไกการเปลยี่ นแปลงทางพันธุกรรมทีเ่ กิดในระดบั
ประชากรของสิง่ มีชีวิต

• เปน็ ผลลพั ธ์ของการปรบั ตวั ของส่งิ มชี วี ติ
• ทาให้สิ่งมีชีวิตมีโอกาสรอดและสามารถส่งต่อพันธุกรรม

ไปสลู่ กู หลานได้

คณุ สมบัตขิ องส่งิ มีชวี ติ

Virus สืบพนั ธุ์ไดห้ รือไม่?

Bioethics

ชวี จริยธรรม

• หมายถึง การปฏิบัติต่อส่ิงมีชีวิตอย่างมี
คุณธรรม ไม่ทาร้าย หรือทาอันตรายต่อ
สัตว์ หรือมนษุ ย์เพื่อการศกึ ษาหรือการวจิ ยั

• นอกจากนี้ยังรวมถึง จริยธรรมของการนา
ความรู้ใหม่ๆ เก่ียวกับพันธุกรรม (หรือยีน)
ของมนุษย์ และส่ิงมีชีวิตอื่น ๆ ไปใช้ให้
ถกู ต้อง (อยา่ งมศี ีลธรรมและคุณธรรม) อีก
ดว้ ย

จรรยาบรรณในการใชส้ ัตวท์ ดลอง

สานกั งานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ ได้
กาหนดจรรยาบรรณการใช้สัตว์เพื่องานวิจัย
งานสอน งานทดสอบและงานผลิตชวี วัตถไุ วด้ งั น้ี
1. ผใู้ ช้สตั ว์ตอ้ งตระหนักถงึ คณุ คา่ ของชวี ิตสตั ว์
2. ผู้ใช้สัตว์ต้องตระหนักถึงความแม่นยาของ

ผลงานโดยใช้สตั วจ์ านวนน้อยท่ีสดุ
3. การใช้สัตว์ป่าต้องไม่ขัดต่อกฎหมายและ

นโยบายการอนุรกั ษ์ปา่
4. ผู้ใช้สัตว์ต้องตระหนักว่าสัตว์เป็นส่ิงมีชีวิต

เช่นเดียวกับมนษุ ย์
5. ผู้ใช้สัตว์ต้องบันทึกการปฏิบัติต่อสัตว์ไว้เป็น

หลักฐานอยา่ งครบถ้วน

อาวธุ ชีวภาพ (Biological weapons)

เทคโนโลยีชีวภาพ หมายถึง การนาเอา
สิง่ มชี ีวิตหรือชิ้นส่วนของสิ่งมีชีวิตมาปรับปรุงทา
ใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงท่เี ปน็ ประโยชน์มากข้ึนโดย
ใช้เทคโนโลยี

เทคโนโลยีชีวภาพก็เหมือนเทคโนโลยีอื่นๆ ท่ีมี
ผู้นาประโยชน์ของเทคโนโลยีไปใช้ในทางลบ เช่น
นาเอาส่ิงมีชีวิตที่เป็นอันตรายต่อพืช สัตว์
โดยเฉพาะมนุษย์มาใช้เป็นอาวุธทาลายล้างกัน ที่
เรยี กวา่ อาวธุ ชีวภาพ

อาวธุ ชีวภาพ (Biological weapons)

อาวุธชีวภาพ เป็นมหันตภัยท่ีคุกคามมวล
มนุษย์อย่างมาก สิ่งมีชีวิตที่นามาใช้เป็นอาวุธ
ชีวภาพได้แก่พวกจุลินทรีย์ท่ีเป็นเชื้อโรค รวมท้ัง
ชิ้นส่วนของจุลินทรีย์ เช่น สปอร์ หรือเส้นใยของ
ราหรือแบคทีเรีย รวมท้ังพรีออน และสารพิษท่ี
สกดั จากสิง่ มชี วี ิต

อาวธุ ชวี ภาพมฤี ทธแ์ิ ละพษิ ภัยร้ายแรงมากกว่า
สารเคมีหลายเท่า เรามอง ไม่เห็น ไม่รู้รส และ
ไม่ได้กลิ่น รับเข้าสู่ร่างกายโดยไม่รู้ตัว การ
ปอ้ งกันจึงทาได้ยาก

การโคลนนิ่ง (Cloning)

หมายถึง การสร้างสิ่งมีชีวิตใหม่ที่มีลักษณะ
ทางพนั ธุกรรมเหมอื นเดิมทุกประการ

การโคลนมนุษย์ เปน็ ประเด็นที่วิพากษ์วิจารณ์
กันมาก เพราะมนุษย์ที่เกิดจากการโคลนไม่มีพ่อ
และแม่ท่ีแท้จริง และอาจมีอุปนิสัยใจคอต่างไป
แม้จะมีรูปร่างหน้าตาเหมือนกับบุคคลเจ้าของ
เซลลต์ น้ กาเนิด อาจก่อให้เกิดปญั หาทางสงั คม

ในวงการแพทย์มีการวิจัยการโคลนเอ็มบริโอ
ของคน โดยมีเปา้ ประสงคเ์ พอื่ นาอวยั วะไปทดแทน
ผู้ป่วย แต่ก็เป็นการทาให้มนุษย์โคลนมีอวัยวะไม่
ครบ บางประเทศจงึ ไม่สนบั สนุน

การทาแทง้ (Abortion)

หลายประเทศมีความเห็นว่าเด็กในครรภ์เป็น
ส่ิงมีชีวิตที่จะถือกาเนิดมาเป็นมนุษย์ การทาแท้ง
ถือเป็นฆาตกรรมอยา่ งหนึ่ง

ในประเทศไทยมีการอนุมัติให้ขายยา RU 486
ท่ีทาให้เกิดการแท้ง และมีกฎหมายอนุญาตให้ทา
แท้งได้ 2 กรณี คือ
1. สุขภาพกาย สุขภาพจิตของหญิงผู้เป็นแม่

และสุขภาพของทารกในครรภ์ ไม่ดี เช่น ติด
เช้ือ HIV เป็นโรคต่อมไร้ท่อ โรคหัวใจ
โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง โรคธาลัสซีเมีย มี
ภาวะปญั ญาอ่อน
2. การต้ังครรภ์เพราะถูกขม่ ขนื

ส่งิ มชี ีวติ ดดั แปลงพนั ธุกรรม (GMOs)

GMOs สงิ่ มชี วี ิตตดั แต่งพนั ธุกรรม ย่อมาจาก
คาว่า Genetically Modified Organisms
หมายถึงสิ่งมีชีวิตท่ีมีการตัดและต่อยีนด้วย
เทคนิคพนั ธวุ ศิ วกรรม (Genetic Engineering)
ทาใหม้ ีลกั ษณะพันธุกรรมตามที่ต้องการ

มีประโยชน์มากมาย เช่น จากสารท่ีผลิตโดย
จุลินทรีย์แปลงพันธ์ุ เช่น แบคทีเรียสังเคราะห์
Insulin, จากสารท่ีผลิตโดยพืชแปลงพันธ์ุ เช่น
มะละกอมีความทนทานต่อไวรัสโรคใบด่าง และ
จากสารที่ผลิตโดยสัตว์แปลงพันธ์ุ เช่นวัวผลิต
GH ฮอร์โมนช่วยเพ่มิ ผลผลติ นา้ นม เปน็ ต้น

ส่งิ มชี ีวติ ดดั แปลงพนั ธุกรรม (GMOs)

อันตรายจากอาหารที่ไดจ้ ากสงิ่ มีชวี ติ ดดั แปลง
พันธุกรรมแม้จะยังไม่มีขอ้ มูลรายงานชัดเจน แต่ก็
ก่อให้เกิดความหวั่นวิตกเกรงจะเกิดภัยอันตราย
แก่มนุษย์แต่เราในฐานะผู้บริโภคควรระวังตนไว้
ก่อน ถ้าไม่จาเป็นก็ควรหลีกเลี่ยงการบริโภค
กรณนี จ้ี ดั เป็นปฏิทรรศน์ทย่ี ังไม่ซบั ซ้อน

ยังมแี งม่ ุมอื่นๆ ท่ียังถกเถียงในเรื่องชีวจริย

ธรรมอยา่ งกวา้ งขวางในยุคปจั จุบนั เช่น
• การอมุ้ บญุ
• ทวั ร์อวสานชวี ติ
• การใช้สารเร่งการเจริญเติบโตในพืชหรือใน

สัตว์
• การใช้สารต่างๆ ในการปรับปรุงคุณภาพ

ของอาหาร

BREAK

INTRODUCTION of

BIOLOGY
PART 3

การศกึ ษาทางชวี วทิ ยา

Knowledge

• ความรูจ้ ากส่งิ มีชีวิต

BIOLOGY

Process

• กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

Conclusion Observation

Collecting and ?Scientific Ask the
analysis data question
Method

Testing the Construct a
hypothesis hypothesis

การสงั เกต
(Observation)

• คือการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ฉนั ไดก้ ล่นิ ไข่เจยี ว ฉนั ได้กลน่ิ ไขเ่ จยี ว
ลอยมาจาก หอมมากนา่ กิน
ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น และ ห้องครัว มากๆ ทเี ดยี ว

ผิวหนัง ในการเก็บข้อมูล
อยา่ งตรงไปตรงมา → คอื ไม่

นา เอ า ควา มคิด อ า ร มณ์

ความรู้สกึ เขา้ มาเกี่ยวขอ้ ง
• เป็นทักษะการเริ่มต้นท่ีสาคัญ

ทจ่ี ะทาให้เกิดการตัง้ คาถาม

การต้ังคาถาม จากการสังเกตและต้งั คาถามของนวิ ตนั นามาซ่งึ การคน้ ควา้ หาขอ้ มูล
(Ask the จนเกดิ ทฤษฎีเรอื่ ง “แรง” ขน้ึ
question)

• จากการสังเกต จะทาให้มี

หลากหลายคาถามเกดิ ข้ึน
• บางคาถามหาคาตอบง่าย

บางคาถามหาคาตอบยาก
เกินไป → เป็นท่ีมาของการ

ค้ น ห า ค า ต อ บ ด้ ว ย วิ ธี ก า ร

ต่างๆ
• การสังเกต เป็นจุดเริ่มต้นทา

ให้เกิดปัญหาหรือคาถาม และ

น า ม า ซ่ึ ง ก า ร ค้ น ห า ค า ต อ บ

ทางวิทยาศาสตร์

การตงั้ สมมติฐาน จากภาพท่กี าหนด ให้นักเรยี นลองตัง้ คาถามจากภาพและลองคาดเดา
(Construct a คาตอบล่วงหนา้ (อาจมากกวา่ 1 คาตอบ)
hypothesis)

• เป็นการตอบคาถามหรือข้อ

ส ง สั ย โ ด ย ค า ด เ ด า ห รื อ

พยากรณ์ล่วงหน้าจากข้อมูล

หรือประสบการณ์เดิมท่ีเรามี

อยู่
• สมมติฐาน อาจมีมากกว่า 1

ก็ได้
• ยังไม่ใช่คาตอบของปัญหาที่

ถูกต้อง แต่จะนาไปสู่ การ

สารวจ ตรวจสอบ การ

ทดลอง และการเก็บข้อมลู

การตรวจสอบ การทดลอง
สมมตฐิ าน
(Testing the การเก็บ สมมติฐาน
hypothesis) ขอ้ มลู การสารวจ

• เมื่อต้ังสมมติฐานแล้ว การที่ ตัวอยา่ งของการสารวจ ตัวอย่างของการเกบ็ ข้อมลู
จะยืนยันได้ว่าสมมติฐานท่ีเรา • สว่ นสูงของเด็กนักเรียนช้ัน • รสนิยมการแต่งกายของ
ต้ังถูกต้องหรือไม่ จาเป็นต้อง
มกี ารตรวจสอบเสียก่อน ม. 1 เด็กวัยร่นุ

• มี ก า ร อ อ ก แ บ บ วิ ธี ก า ร
ต ร ว จ ส อ บ ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม กั บ
สมมตฐิ านทต่ี ั้งไว้

ตวั แปร (Variable)

Independent Dependent variable Controlled variable
variable
ตัวแปรตาม หมายถึง ส่ิงที่ ตัวแปรควบคุม หมายถึง
ตัวแปรต้น หรือตัวแปร จะเกิดขึ้นเม่ือทดลองกับตัว ปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลต่อการ
อิสร ะ ห มาย ถึง สิ่งท่ี เร า แปรต้น (ผลการทดลอง) ทดลอง เช่น อาจทาให้การ
ต้องการศกึ ษา ทดลอ งคลา ดเคลื่ อนเมื่ อ
ปริมาณไม่เท่ากัน ดังน้ันจึง
ต้ อ ง ค ว บ คุ ม ใ ห้ มี ป ริ ม า ณ ท่ี
คงท่ใี นทุกๆ กล่มุ การทดลอง

เวลาในการตไี ขม่ ีผลตอ่ ความฟูของไขห่ รือไม?่

ย่ิงใชเ้ วลาในการตไี ขม่ าก ไข่เจียวยิ่งฟู

ตัวแปรตน้ ตัวแปรตาม ตัวแปรควบคุม
• เวลา • ความฟูของไข่ • ความร้อน
• ไข่ • น้ามนั
เจยี ว • ความแรงใน

การตีไข่

การรวบรวม • จากการตรวจสอบสมมติฐานด้วยวิธีต่างๆ จะได้ ข้อมูล (Data) →
ขอ้ มูลและ
วเิ คราะห์ข้อมลู จะต้องมีการอธบิ ายขอ้ มลู ท่ีไดม้ าว่าเกิดขึน้ ไดอ้ ย่างไร
(collecting • ตอ้ งอาศัยการค้นคว้าขอ้ มูลเพิม่ เตมิ จากแหล่งอื่นๆ เพ่ือนามาอธิบาย
and analysis
data) และวิเคราะห์ถึงสาเหตุที่ได้ข้อมูลดังกล่าว → นาไปสู่กระบวนการ

ทางวทิ ยาศาสตรข์ น้ั สุดท้าย

การสรุปผล • เป็นการสรปุ ถึงสง่ิ ที่เราตรวจสอบจากสมมติฐานและอธบิ ายข้อมลู ที่
(Conclusion)
เกดิ ขึ้นอกี ครัง้
• เปน็ การยนื ยันว่าสมมตฐิ านที่เราตัง้ ขึ้น ถูกหรอื ผดิ

ต้ังสมมติฐานใหม่เพ่อื หา ควรตรวจสอบซา้ หลายๆ
คาตอบที่ถกู ต้อง คร้ังเพอื่ ตรวจสอบความ
ถูกตอ้ งของขอ้ มูลทีเ่ กิดข้นึ

สงั เกต

ต้ังคาถาม

ต้งั สมมติฐาน

ทาการตรวจสอบซา้ตรวจสอบสมมตฐิ าน
หลายๆ คร้ัง

ต้งั สมมตฐิ านใหม่อีกครั้ง
รวบรวมข้อมูลและวเิ คราะหข์ อ้ มลู

สรปุ ผล

สมมตฐิ านผดิ สมมตฐิ านถูก

เกิดความรู้


Click to View FlipBook Version