The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by supannee supannee, 2019-12-03 05:51:01

แผนหน่วยที่ 3 การแยกสาร

แผการสอน 6 แผน

แผนการจัดการเรียนรู้

กล่มุ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วิชา วิทยาศาสตร์ หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 3

เรอื่ ง สมบัตขิ องสารและการแยกสาร

ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2
ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2562

นางสาวสพุ รรณี จงจิตร
ตำแหนง่ คศ.1

โรงเรียนบา้ นนกงาง

สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาระนอง

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สมบตั ขิ องสารและการแยกสาร

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 1 เวลา 1 ชั่วโมง การระเหยแห้ง
ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 2 ใชส้ อนวันที่ ..............................................

************************************************************************

มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชว้ี ดั

มาตรฐานการเรยี นรู้

ว. 2.1 ม.2/1 อธบิ ายการแยกสารผสมโดยการระเหยแห้ง การตกผลึก การกล่ันอย่างงา่ ย โครมาโท-กราฟี

แบบกระดาษ การสกดั ดว้ ยตวั ทำละลาย โดยใชห้ ลักฐานเชงิ ประจักษ์
ม.2/2 แยกสารโดยการระเหยแหง้ การตกผลึก การกลั่นอย่างง่าย โครมาโทกราฟแี บบกระดาษ การ

สกัดด้วยตัวทำละลาย

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. อธิบายการแยกสารโดยการระเหยแห้งได้ (K)

2. ยกตวั อยา่ งการประยุกต์ใช้การระเหยแหง้ ในการแยกสารในชวี ิตประจำวนั ได้ (K)
3. แยกสารโดยการระเหยแห้งได้ (P)
4. ใช้เคร่ืองมือและอปุ กรณท์ างวิทยาศาสตร์ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง (P)
5. สนใจใฝร่ ใู้ นการศกึ ษา (A)

สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นร้ทู ้องถ่นิ

- การแยกสารผสมให้เป็นสารบริสุทธิ์ทำได้หลายวธิ ี พจิ ารณาตามหลักสตู รของสถานศกึ ษา
ขึ้นอยู่กับสมบัติของสารนั้น ๆ การระเหยแห้งใช้
แยกสารละลายซึ่งประกอบด้วยตัวละลายที่เป็น
ของแข็งในตัวทำละลายที่เป็นของเหลว โดยใช้
ความร้อนระเหยตัวทำละลายออกไปจนหมด
เหลอื แต่ตัวละลาย การตกผลกึ ใชแ้ ยกสารละลายที่
ประกอบดว้ ยตัวละลายที่เป็นของแขง็ ในตัวละลาย
ที่เป็นของเหลว โดยทำให้สารละลายอิ่มตัว
แล้วปล่อยให้ตัวทำละลายระเหยออกไปบางส่วน
ตัวละลายจะตกผลึกแยกออกมา การกลั่นอย่าง
ง่ายใช้แยกสารละลายที่ประกอบด้วยตัวละลาย
และตัวทำละลายที่เป็นของเหลวที่มีจุดเดือด
ต่างกันมาก วิธีนีจ้ ะแยกของเหลวบรสิ ุทธิ์ออกจาก
ส า ร ล ะ ล า ย โ ด ย ใ ห้ ค ว า ม ร ้ อ น ก ั บ ส า ร ล ะ ล า ย
ของเหลวจะเดือดและกลายเป็นไอแยกจาก
สารละลายแล้วควบแนน่ กลบั เปน็ ของเหลวอีกคร้ัง
ขณะที่ของเหลวเดือด อุณหภูมิของไอจะคงที่
โครมาโทกราฟีแบบกระดาษเป็นวิธีการแยกสาร
ผสมที่มีปริมาณน้อยโดยใช้แยกสารที่มีสมบัติการ
ละลายในตัวทำละลายและการถูกดูดซับด้วย
ตัวดูดซับแตกต่างกนั ทำใหส้ ารแตล่ ะชนิดเคลื่อนท่ี

ไปบนตัวดูดซับได้ต่างกัน สารจึงแยกออกจากกัน
ได้ อตั ราส่วนระหว่างระยะทางที่สารองค์ประกอบ
แต่ละชนิดเคลื่อนที่ได้บนตัวดูดซับกับระยะทางท่ี
ตัวทำละลายเคลื่อนที่ได้เป็นค่าเฉพาะตัวของสาร
แต่ละชนิดในตัวทำละลายและตัวดูดซับหนึ่ง ๆ
การสกัดด้วยตวั ทำละลายเป็นวิธกี ารแยกสารผสม
ที่มีสมบัตกิ ารละลายในตัวทำละลายที่ต่างกัน โดย
ชนิดของตัวทำละลายมีผลตอ่ ชนิดและปริมาณของ
สารที่สกัดได้ การสกัดโดยการกลั่นด้วยไอน้ำใช้
แยกสารที่ระเหยง่าย ไม่ละลายน้ำ และไม่ทำ
ปฏิกิริยากับน้ำออกจากสารที่ระเหยยากโดยใช้
ไอนำ้ เป็นตวั พา

สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด

การระเหยแหง้ เป็นการแยกสารละลายท่ีประกอบด้วยตวั ละลายทเี่ ปน็ ของแข็งในตวั ทำละลายที่เป็นของเหลว
โดยใช้ความร้อน ซึ่งตัวทำละลายจะระเหยกลายเป็นไอจนหมด จึงเหลือเฉพาะตัวละลายที่เป็นของแข็ง เช่น การ
ผลติ เกลอื สมุทร

ช้ินงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน รอ่ งรอยแสดงความรู้)

-

กจิ กรรมการเรยี นรู้

กระตุน้ ความสนใจ (Engage)
1. นักเรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 3 การแยกสารผสม
2. นำเกลอื หรือน้ำตาลทรายละลายนำ้ จนมีลักษณะเป็นเน้ือเดียวกนั แลว้ ถามคำถาม Big Question จากหนังสือเรียน

วิทยาศาสตร์ ม.2 กับนักเรยี นว่า สารมากกวา่ 1 ชนดิ ทร่ี วมเปน็ เน้ือเดยี วกนั จะแยกออกจากกันไดอ้ ย่างไร
(แนวตอบ คำตอบขน้ึ อย่กู ับดุลยพินิจของครูผู้สอน จากตวั อยา่ งเป็นการแยกเกลือหรอื น้ำตาลทรายออกจากน้ำ ซ่ึง
อาจใช้วธิ ีการระเหยแห้งหรือการกล่ันแบบธรรมดา)
3. นกั เรยี นทำ Understanding Check จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เพอื่ ตรวจสอบความเข้าใจของตนเองก่อน
เรยี น
4. ถามคำถาม Prior Knowledge จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เพื่อทบทวนความรู้เดิมกับนักเรียนว่า น้ำเชื่อม
ประกอบด้วยสารใดเปน็ ตัวทำละลาย และสารใดเป็นตวั ละลาย
(แนวตอบ น้ำเชื่อมประกอบด้วยนำ้ เป็นตัวทำละลายและน้ำตาลเปน็ ตวั ละลาย)
สำรวจค้นหา (Explore)
1. เกริ่นให้นักเรียนฟังเกี่ยวกับสารผสมวา่ สารผสมเป็นสารบรสิ ุทธิ์ตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมาผสมกันในอัตราส่วนไมค่ งท่ี
ซึ่งสารแต่ละชนดิ ยังคงแสดงสมบตั ขิ องสารเดมิ อยู่ เช่น นำ้ เกลอื ประกอบดว้ ยน้ำและโซเดียม- คลอไรดผ์ สมกนั สาร
ผสมสามารถพบในรูปสารผสมเนือ้ เดยี วและและสารผสมเนื้อผสม
2. ถามคำถามนกั เรยี นว่า นกั เรยี นรู้จกั การแยกสารผสมดว้ ยวธิ ีใดบ้าง
(แนวตอบ นักเรียนสามารถตอบการแยกสารผสมได้หลายวิธี เช่น การกรอง การระเหยแห้ง การตกผลึก การกลัน่
การสกดั ดว้ ยตวั ทำละลาย)
3. นกั เรียนศกึ ษาการระเหยแห้งและหลักการระเหยแห้ง จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 หรือจาก QR Code เร่ือง
การระเหยแหง้

4. นกั เรยี นแบง่ กลุม่ กลุ่มละ 5 คน ทำกจิ กรรม การระเหยแหง้ เพื่อแยกตัวละลายออกจากตวั ทำละลาย โดยวิธีการ
ระเหยแห้ง จากหนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.2

5. นักเรียนศึกษาการผลิตเกลือสมุทร ซึ่งเป็นการประยุกต์ใช้ประโยชน์จากหลักการระเหยแห้ง จากหนังสือเรียน
วทิ ยาศาสตร์ ม.2 หรอื วีดิทศั น์จากส่ือออนไลน์ เรอื่ ง การผลติ เกลือสมทุ ร เชน่

- https://www.youtube.com/watch?v=rDhNly4gL-0
- https://www.youtube.com/watch?v=0vVyw2rVA4Q&t=175s
6. สุ่มเลือกกลุ่มนกั เรียนอยา่ งน้อย 5 กลุ่ม นำเสนอผลการทำกิจกรรม การระเหยแหง้

การวดั และประเมนิ ผล

รายการวัด วธิ วี ดั เครอ่ื งมือ เกณฑ์การประเมิน
- แบบประเมินชิน้ งาน
1. การประเมินช้นิ งาน/ - ตรวจการสรุป เรือ่ ง - ระดบั คุณภาพ 2
ผา่ นเกณฑ์
ภาระงาน (รวบยอด) การระเหยแหง้

2. การประเมินก่อนเรยี น

- แบบทดสอบ - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบ - ประเมนิ ตาม
กอ่ นเรียน สภาพจรงิ
ก่อนเรียนหน่วยการ ก่อนเรียน

เรียนรู้ท่ี 2

3. ประเมินระหวา่ ง - ตรวจ Topic - Topic Question - รอ้ ยละ 60
การจัดกิจกรรม Question ผา่ นเกณฑ์
- แบบฝกึ หัด
การเรยี นรู้ - ตรวจแบบฝกึ หัด - ร้อยละ 60
1) การระเหยแห้ง - แบบประเมิน ผา่ นเกณฑ์
การนำเสนอผลงาน
2) การนำเสนอผลงาน - ประเมินการนำเสนอ - ระดับคณุ ภาพ 2
- แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑ์
ผลงาน ปฏบิ ตั กิ าร
- ระดับคณุ ภาพ 2
3) การปฏิบัตกิ าร - ประเมนิ การ - แบบสงั เกตพฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์
การทำงานรายบุคคล
ปฏบิ ตั กิ าร - ระดบั คุณภาพ 2
- แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ผ่านเกณฑ์
4) พฤติกรรม - สงั เกตพฤติกรรม การทำงานกลุ่ม
- ระดับคุณภาพ 2
การทำงาน การทำงานรายบคุ คล - แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑ์
คณุ ลกั ษณะ
รายบคุ คล อนั พึงประสงค์ - ระดบั คุณภาพ 2
ผา่ นเกณฑ์
5) พฤติกรรม - สังเกตพฤติกรรม

การทำงานกลุ่ม การทำงานกล่มุ

6) คุณลกั ษณะ - สังเกตความมวี ินยั

อนั พึงประสงค์ ใฝเ่ รยี นรู้ และมุ่งมน่ั

ในการทำงาน

สอื่ /แหลง่ การเรยี นรู้

ส่ือการเรียนรู้

1) หนงั สอื เรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 2 การแยกสารผสม

2) PowerPoint เร่อื ง การระเหยแหง้ 3) แหล่งข้อมลู สารสนเทศ

ความเหน็ ของฝา่ ยวิชาการ
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ................................................ ผู้ตรวจสอบ
( นางกุลญารัตน์ พรหมเทพ )

ตำแหน่ง วชิ าการ โรงเรยี นบา้ นนกงาง
ความเหน็ ของผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้านนกงาง
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงช่อื .............................................................
( นายปรีชา อกั ษรพบิ ูลย์ )

ผูอ้ ำนวยการ โรงเรียนบา้ นนกงาง
บันทกึ หลงั การจดั การเรยี นรู้

ผลการจัดการเรยี นรูต้ ามตัวชว้ี ดั
จำนวนนักเรยี นทัง้ หมด ............... คน
- ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ระดบั ดี .............. คน คิดเปน็ ร้อยละ ................
- ผ่านเกณฑก์ ารประเมิน ระดับพอใช้ .............. คน คิดเป็นร้อยละ ................
- ไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมนิ ระดบั ปรับปรุง .............. คน คิดเป็นร้อยละ ................
ผลการประเมินพฤตกิ รรมระหวา่ งเรยี น
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
การปรบั ปรงุ แกไ้ ข
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ขอ้ คดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะเพิ่มเตมิ
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ ................................................ ผ้สู อน
( นางสาวสพุ รรณี จงจติ ร )
ตำแหน่ง ครู คศ.1

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3 สมบตั ิของสารและการแยกสาร

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 2 เวลา 1 ชัว่ โมง การระเหยแห้ง 2
ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 2 ใช้สอนวนั ท่ี ..............................................

************************************************************************

มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ชี้วดั

มาตรฐานการเรยี นรู้

ว. 2.1 ม.2/1 อธบิ ายการแยกสารผสมโดยการระเหยแห้ง การตกผลึก การกลน่ั อยา่ งงา่ ย โครมาโท-กราฟี

แบบกระดาษ การสกัดด้วยตวั ทำละลาย โดยใช้หลักฐานเชงิ ประจักษ์
ม.2/2 แยกสารโดยการระเหยแห้ง การตกผลึก การกลั่นอย่างง่าย โครมาโทกราฟแี บบกระดาษ การ

สกัดดว้ ยตวั ทำละลาย

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. อธิบายการแยกสารโดยการระเหยแห้งได้ (K)

2. ยกตวั อยา่ งการประยกุ ตใ์ ช้การระเหยแหง้ ในการแยกสารในชวี ติ ประจำวันได้ (K)
3. แยกสารโดยการระเหยแหง้ ได้ (P)
4. ใช้เครอ่ื งมือและอปุ กรณ์ทางวทิ ยาศาสตรไ์ ด้อย่างถูกต้อง (P)
5. สนใจใฝ่รู้ในการศึกษา (A)

สาระการเรยี นรู้

สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรู้ท้องถ่นิ

- การแยกสารผสมให้เป็นสารบริสุทธิ์ทำได้หลายวธิ ี พิจารณาตามหลกั สตู รของสถานศกึ ษา
ขึ้นอยู่กับสมบัติของสารนั้น ๆ การระเหยแห้งใช้
แยกสารละลายซึ่งประกอบด้วยตัวละลายที่เป็น
ของแข็งในตัวทำละลายที่เป็นของเหลว โดยใช้
ความร้อนระเหยตัวทำละลายออกไปจนหมด
เหลอื แตต่ วั ละลาย การตกผลกึ ใช้แยกสารละลายที่
ประกอบดว้ ยตวั ละลายที่เป็นของแขง็ ในตัวละลาย
ที่เป็นของเหลว โดยทำให้สารละลายอิ่มตัว
แล้วปล่อยให้ตัวทำละลายระเหยออกไปบางส่วน
ตัวละลายจะตกผลึกแยกออกมา การกลั่นอย่าง
ง่ายใช้แยกสารละลายที่ประกอบด้วยตัวละลาย
และตัวทำละลายที่เป็นของเหลวที่มีจุดเดือด
ต่างกันมาก วิธีนีจ้ ะแยกของเหลวบรสิ ุทธิ์ออกจาก
ส า ร ล ะ ล า ย โ ด ย ใ ห้ ค ว า ม ร ้ อ น ก ั บ ส า ร ล ะ ล า ย
ของเหลวจะเดือดและกลายเป็นไอแยกจาก
สารละลายแล้วควบแน่นกลับเป็นของเหลวอีกครั้ง
ขณะที่ของเหลวเดือด อุณหภูมิของไอจะคงที่
โครมาโทกราฟีแบบกระดาษเป็นวิธีการแยกสาร
ผสมที่มีปริมาณน้อยโดยใช้แยกสารที่มีสมบัติการ
ละลายในตัวทำละลายและการถูกดูดซับด้วย
ตัวดดู ซบั แตกต่างกัน ทำใหส้ ารแต่ละชนิดเคลื่อนที่

ไปบนตัวดูดซับได้ต่างกัน สารจึงแยกออกจากกัน
ได้ อัตราสว่ นระหว่างระยะทางทสี่ ารองค์ประกอบ
แต่ละชนิดเคลื่อนที่ได้บนตัวดูดซับกับระยะทางที่
ตัวทำละลายเคลื่อนที่ได้เป็นค่าเฉพาะตัวของสาร
แต่ละชนิดในตัวทำละลายและตัวดูดซับหน่ึง ๆ
การสกัดด้วยตัวทำละลายเป็นวธิ ีการแยกสารผสม
ที่มีสมบัตกิ ารละลายในตัวทำละลายที่ต่างกัน โดย
ชนิดของตัวทำละลายมีผลต่อชนิดและปริมาณของ
สารที่สกัดได้ การสกัดโดยการกลั่นด้วยไอน้ำใช้
แยกสารที่ระเหยง่าย ไม่ละลายน้ำ และไม่ทำ
ปฏิกิริยากับน้ำออกจากสารที่ระเหยยากโดยใช้
ไอน้ำเป็นตัวพา

สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด

การระเหยแหง้ เป็นการแยกสารละลายที่ประกอบดว้ ยตวั ละลายท่เี ป็นของแขง็ ในตัวทำละลายที่เปน็ ของเหลว
โดยใช้ความร้อน ซึ่งตัวทำละลายจะระเหยกลายเป็นไอจนหมด จึงเหลือเฉพาะตัวละลายที่เป็นของแข็ง เช่น การ
ผลติ เกลอื สมทุ ร

ชิน้ งานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู)้

-

กิจกรรมการเรยี นรู้

อธบิ ายความรู้ (Explain)
1. สมุ่ เลอื กกล่มุ นกั เรียนอยา่ งนอ้ ย 5 กลมุ่ นำเสนอผลการทำกจิ กรรม การระเหยแหง้
2. ถามคำถามทา้ ยกจิ กรรมกับนักเรียน โดยใชค้ ำถามตอ่ ไปน้ี

- ภายหลังการระเหย สารละลายท้ัง 3 ชนิด มกี ารเปล่ยี นแปลงอย่างไร
(แนวตอบ หลมุ ที่บรรจุสารละลายโซเดียมคลอไรด์และหลุมที่บรรจุสารละลายโพแทสเซยี มเปอรแ์ มงกาเนตเกิดผลึก
ของแข็งเหลืออยู่ สว่ นหลมุ ท่บี รรจุสารละลายกรดแอซีติกไมเ่ หลือผลึกของแขง็ เหลืออยู่)
- สารละลายชนิดใดประกอบด้วยตวั ละลายทเ่ี ป็นของแข็ง
(แนวตอบ สารละลายโซเดยี มคลอไรด์และสารละลายโพแทสเซยี มเปอรแ์ มงกาเนตเป็นสารละลายที่มี ตัวละลาย
เป็นของแข็ง เนื่องจากเหลือผลึกของแขง็ อยู่ภายในหลุม ส่วนสารละลายกรดแอซีติกเป็นสารละลายที่มีตัวละลาย
เปน็ ของเหลว ตวั ละลายจึงระเหยออกไปจนหมด จึงไม่เหลอื สารอยใู่ นหลมุ )
3. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายผลกิจกรรม การระเหยแห้ง เพื่อใหไ้ ด้ข้อสรุป ดังนี้ เมื่อให้ความรอ้ นกับสารละลาย
จนน้ำระเหยออกจนหมด หลมุ ที่บรรจุสารละลายโซเดียมคลอไรด์เกิดผลกึ สีขาว หลมุ ทีบ่ รรจุสารละลายโพแทสเซียม
เปอรแ์ มงกาเนตเกดิ ผลกึ สีม่วง สว่ นหลมุ ท่บี รรจสุ ารละลายกรดแอซีติกไมม่ ีผลึกเกิดขึน้ แสดงวา่ สารละลายโซเดียม
คลอไรด์และสารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตเปน็ สารละลายทมี่ ีของแขง็ เปน็ ตัวละลาย สว่ นสารละลายกรด
แอซตี กิ เป็นสารละลายท่มี ีของเหลวเป็นตัวละลาย
4. ถามคำถามนกั เรียน โดยใช้คำถามตอ่ ไปน้ี
- การระเหยแห้งใชแ้ ยกสารประเภทใด
(แนวตอบ การระเหยแห้งใช้แยกสารละลายที่ประกอบด้วยตัวละลายที่เป็นของแข็งออกจากตัวทำละลายที่เป็น
ของเหลว)
- การระเหยแหง้ มหี ลักการอยา่ งไร

(แนวตอบ การระเหยแหง้ อาศยั หลักการระเหยกลายเป็นไอของสาร เมื่อสารละลายได้รับความร้อน สารที่มีจุดเดอื ด
ตำ่ กว่าจะระเหยกลายเปน็ ไอออกมากอ่ น ซึ่งเปน็ ตัวทำละลายท่เี ป็นของเหลวจงึ เหลอื เฉพาะตัวละลายที่เปน็ ของแข็ง)

- การผลติ เกลอื สมทุ รใชห้ ลกั การระเหยแหง้ อย่างไร
(แนวตอบ การผลิตเกลอื สมุทรเปน็ การแยกเกลอื หรือโซเดยี มคลอไรด์ที่ละลายอยู่ในน้ำทะเลในรูปไอออน โดยการใช้

ความร้อนจากแสงอาทิตย์ทำให้น้ำระเหยกลายเป็นไอออกไปจึงเหลือเฉพาะผลึกเกลือสมุทรหรือผลึกโซเดียมคลอ
ไรด์)
5. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการระเหยแห้ง เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า การระเหยแห้งเป็นการแยกสารท่ี

ประกอบด้วยตัวละลายที่เป็นของแข็งในตัวทำละลายที่เป็นของเหลวโดยใช้ความร้อน ทำให้ตัวทำละลายที่เป็น
ของเหลวระเหยกลายเป็นไอออกไปจนหมด เหลือเฉพาะตัวละลายที่เป็นของแข็ง หลักการระเหยแห้งถูกใช้
ประโยชนใ์ นการผลิตเกลือสมุทร เมอื่ นำ้ ทะเลซงึ่ มีไอออนของโซเดียมคลอไรดล์ ะลายอย่ใู นรูปไอออน (Na+ Cl-) ได้รบั
ความร้อนจากดวงอาทิตย์ นำ้ จะระเหยกลายเป็นไอออกไป จงึ เหลอื ผลึกโซเดยี มคลอไรดห์ รอื ผลกึ เกลือสมุทรอยู่ใน
นาเกลอื

ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)

1. นกั เรียนทำ Topic Question ท้ายหัวข้อ เรอ่ื ง การระเหยแห้ง
2. นกั เรยี นทำแบบฝกึ หัดในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ม.2
ตรวจสอบผล (Evaluate)

1. นกั เรยี นและครูรว่ มกันสรุป เร่ือง การระเหยแหง้ โดยมปี ระเด็น ดังนี้
- หลักการระเหยแห้ง

- การประยุกต์ใชป้ ระโยชน์จากการระเหยแหง้
นักเรียนเขียนสรปุ ลงในสมุดบันทึกของนกั เรยี น
2. ตรวจสอบผลจากแบบทดสอบก่อนเรียน หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 3 การแยกสารผสม

3. ตรวจสอบผลจากการสรปุ เรื่อง การระเหยแหง้
4. ประเมินผลจากการทำกิจกรรม การระเหยแหง้

5. ตรวจสอบผลจากการทำ Topic Question ท้ายหัวขอ้ เร่ือง การระเหยแหง้
6. ตรวจสอบผลจากการทำแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ม.2

การวัดและประเมินผล

รายการวดั วิธีวัด เครือ่ งมือ เกณฑ์การประเมนิ
- แบบประเมนิ ชิ้นงาน
1. การประเมินช้ินงาน/ - ตรวจการสรุป เร่ือง - ระดบั คณุ ภาพ 2
ผ่านเกณฑ์
ภาระงาน (รวบยอด) การระเหยแห้ง

2. การประเมินกอ่ นเรยี น

- แบบทดสอบ - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบ - ประเมนิ ตาม
ก่อนเรียน สภาพจริง
ก่อนเรียนหน่วยการ ก่อนเรยี น

เรยี นร้ทู ี่ 3

3. ประเมนิ ระหวา่ ง
การจัดกจิ กรรม
การเรียนรู้

รายการวัด วธิ วี ดั เครือ่ งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ
1) การระเหยแหง้ - Topic Question - ร้อยละ 60
- ตรวจ Topic
Question - แบบฝกึ หัด ผา่ นเกณฑ์
- รอ้ ยละ 60
- ตรวจแบบฝกึ หัด - แบบประเมนิ
การนำเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์
2) การนำเสนอผลงาน - ประเมนิ การนำเสนอ - ระดับคณุ ภาพ 2
- แบบประเมิน
ผลงาน ปฏบิ ัตกิ าร ผ่านเกณฑ์
- ระดบั คุณภาพ 2
3) การปฏบิ ตั กิ าร - ประเมินการ - แบบสังเกตพฤตกิ รรม
การทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์
ปฏิบตั ิการ - ระดบั คณุ ภาพ 2
- แบบสังเกตพฤตกิ รรม
4) พฤตกิ รรม - สงั เกตพฤติกรรม การทำงานกลมุ่ ผ่านเกณฑ์

การทำงาน การทำงานรายบุคคล - แบบประเมิน - ระดบั คุณภาพ 2
คณุ ลักษณะ ผา่ นเกณฑ์
รายบคุ คล อนั พงึ ประสงค์
- ระดับคณุ ภาพ 2
5) พฤตกิ รรม - สังเกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์

การทำงานกลุม่ การทำงานกลุม่

6) คณุ ลักษณะ - สังเกตความมีวนิ ยั

อันพงึ ประสงค์ ใฝเ่ รยี นรู้ และม่งุ มั่น

ในการทำงาน

ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้

สื่อการเรยี นรู้
1) หนงั สอื เรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2 การแยกสารผสม

2) PowerPoint เร่อื ง การระเหยแหง้
3) QR Code เร่ือง การระเหยแหง้

4) หอ้ งเรยี น
5) ห้องสมุด
6) แหลง่ ขอ้ มูลสารสนเทศ

ความเหน็ ของฝา่ ยวิชาการ
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ................................................ ผู้ตรวจสอบ
( นางกุลญารัตน์ พรหมเทพ )

ตำแหน่ง วชิ าการ โรงเรยี นบา้ นนกงาง
ความเหน็ ของผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้านนกงาง
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงช่อื .............................................................
( นายปรีชา อกั ษรพบิ ูลย์ )

ผูอ้ ำนวยการ โรงเรียนบา้ นนกงาง
บันทกึ หลงั การจดั การเรยี นรู้

ผลการจัดการเรยี นรูต้ ามตัวชว้ี ดั
จำนวนนักเรยี นทัง้ หมด ............... คน
- ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ระดบั ดี .............. คน คิดเปน็ ร้อยละ ................
- ผ่านเกณฑก์ ารประเมิน ระดับพอใช้ .............. คน คิดเป็นร้อยละ ................
- ไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมนิ ระดบั ปรับปรุง .............. คน คิดเป็นร้อยละ ................
ผลการประเมินพฤตกิ รรมระหวา่ งเรยี น
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
การปรบั ปรงุ แกไ้ ข
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ขอ้ คดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะเพิ่มเตมิ
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ ................................................ ผ้สู อน
( นางสาวสพุ รรณี จงจติ ร )
ตำแหน่ง ครู คศ.1

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 สมบัติของสารและการแยกสาร

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 3 เวลา 1 ชั่วโมง การตกผลกึ
ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 ใชส้ อนวันท่ี ..............................................

************************************************************************

มาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ชว้ี ัด

มาตรฐานการเรยี นรู้

ว. 2.1 ม.2/1 อธิบายการแยกสารผสมโดยการระเหยแหง้ การตกผลึก การกลนั่ อย่างงา่ ย โครมาโท-กราฟี

แบบกระดาษ การสกัดด้วยตวั ทำละลาย โดยใช้หลกั ฐานเชิงประจักษ์

ม.2/2 แยกสารโดยการระเหยแห้ง การตกผลึก การกลั่นอย่างง่าย โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ การ

สกดั ด้วยตวั ทำละลาย

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. อธิบายการแยกสารโดยการตกผลกึ ได้ (K)

2. ยกตวั อย่างการประยุกตใ์ ช้การตกผลึกในการแยกสารในชีวิตประจำวันได้ (K)

3. แยกสารโดยการตกผลึกได้ (P)

4. ใชเ้ ครื่องมอื และอปุ กรณ์ทางวทิ ยาศาสตรไ์ ด้อย่างถกู ต้อง (P)

5. สนใจใฝ่รู้ในการศึกษา (A)

สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนรทู้ อ้ งถ่ิน

- การแยกสารผสมให้เป็นสารบริสุทธิ์ทำได้หลายวธิ ี พจิ ารณาตามหลักสตู รของสถานศกึ ษา
ขึ้นอยู่กับสมบัติของสารนั้น ๆ การระเหยแห้งใช้

แยกสารละลายซึ่งประกอบด้วยตัวละลายที่เป็น
ของแข็งในตัวทำละลายที่เป็นของเหลว โดยใช้

ความร้อนระเหยตัวทำละลายออกไปจนหมด
เหลอื แต่ตัวละลาย การตกผลกึ ใชแ้ ยกสารละลายท่ี

ประกอบด้วยตวั ละลายท่ีเป็นของแข็งในตัวละลาย

ที่เป็นของเหลว โดยทำให้สารละลายอิ่มตัว

แล้วปล่อยให้ตัวทำละลายระเหยออกไปบางส่วน
ตัวละลายจะตกผลึกแยกออกมา การกลั่นอย่าง

ง่ายใช้แยกสารละลายที่ประกอบด้วยตัวละลาย

และตัวทำละลายที่เป็นของเหลวที่มีจุดเดือด

ต่างกันมาก วิธีนี้จะแยกของเหลวบรสิ ุทธิ์ออกจาก

ส า ร ล ะ ล า ย โ ด ย ใ ห้ ค ว า ม ร ้ อ น ก ั บ ส า ร ล ะ ล า ย

ของเหลวจะเดือดและกลายเป็นไอแยกจาก
สารละลายแล้วควบแนน่ กลบั เปน็ ของเหลวอีกคร้ัง

ขณะที่ของเหลวเดือด อุณหภูมิของไอจะคงที่
โครมาโทกราฟีแบบกระดาษเป็นวิธีการแยกสาร

ผสมที่มีปริมาณน้อยโดยใช้แยกสารที่มีสมบัติการ
ละลายในตัวทำละลายและการถูกดูดซับด้วย

ตวั ดดู ซับแตกต่างกัน ทำใหส้ ารแต่ละชนิดเคลื่อนที่
ไปบนตัวดูดซับได้ต่างกัน สารจึงแยกออกจากกัน

ได้ อัตราส่วนระหว่างระยะทางทส่ี ารองค์ประกอบ

แต่ละชนิดเคลื่อนที่ได้บนตัวดูดซับกับระยะทางที่
ตัวทำละลายเคลื่อนที่ได้เป็นค่าเฉพาะตัวของสาร
แต่ละชนิดในตัวทำละลายและตัวดูดซับหนึ่ง ๆ
การสกัดด้วยตัวทำละลายเป็นวิธกี ารแยกสารผสม
ที่มีสมบัตกิ ารละลายในตวั ทำละลายท่ีต่างกัน โดย
ชนดิ ของตวั ทำละลายมีผลต่อชนดิ และปริมาณของ
สารที่สกัดได้ การสกัดโดยการกลั่นด้วยไอน้ำใช้
แยกสารที่ระเหยง่าย ไม่ละลายน้ำ และไม่ทำ
ปฏิกิริยากับน้ำออกจากสารที่ระเหยยากโดยใช้
ไอน้ำเป็นตวั พา

สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด
การตกผลึกเป็นการแยกสารละลายที่ประกอบด้วยตัวละลายที่เป็นของแข็งในตัวทำละลายที่เป็นของเหลว

โดยทำให้เป็นสารละลายอ่ิมตัว แล้วปล่อยให้ตวั ทำละลายระเหยออกไปบางส่วน ตัวละลายจึง ตกผลึกแยกออกมา
เชน่ การผลติ น้ำตาลทราย
ชนิ้ งานหรอื ภาระงาน (หลกั ฐาน รอ่ งรอยแสดงความรู)้

-
กจิ กรรมการเรยี นรู้
กระตนุ้ ความสนใจ (Engage)
1. นักเรยี นทำ Understanding Check จากหนังสอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ม.2 เพือ่ ตรวจสอบความเข้าใจของตนเองก่อน

เรียน
2. นำน้ำตาลทรายหรือเกลือมาละลายในน้ำ และใส่น้ำตาลทรายหรือเกลือเพิ่มเรื่อย ๆ แล้วถามนักเรียนว่า หากใส่

น้ำตาลทรายหรือเกลือเพิ่มไปเรื่อย ๆ จะเกิดผลอย่างไร (แนวตอบ เมื่อถึงจุดหนึ่ง น้ำตาลทรายหรือเกลือจะไม่
สามารถละลายในนำ้ เพ่มิ ขนึ้ ได้ เรยี กสารละลายนว้ี า่ สารละลายอิ่มตัว)
3. ถามคำถาม Prior Knowledge จากหนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เพอ่ื ทบทวนความรู้เดมิ กบั นกั เรยี นว่า สารละลาย
อ่มิ ตวั หมายถงึ อะไร (แนวตอบ สารละลายทต่ี วั ละลายไมส่ ามารถละลายในตัวทำละลายเพ่ิมได้)
สำรวจคน้ หา (Explore)
1. นำสารละลายนำ้ ตาลอิ่มตวั หรือสารละลายเกลืออ่ิมตัวท่เี ตรยี มไว้มาให้ความรอ้ นและใสน่ ้ำตาลทรายหรือเกลือลงไป
ละลายเพ่มิ ให้นักเรียนสงั เกตการละลายของน้ำตาลทรายหรือเกลือ และถามคำถามนักเรียนว่า สารละลายน้ำตาล
อิ่มตวั ข้างต้นที่ถกู นำมาให้ความรอ้ นสามารถละลายน้ำตาลทรายหรือเกลอื ได้เพ่มิ หรือไม่
(แนวตอบ สารละลายนำ้ ตาลอ่ิมตวั หรอื สารละลายเกลืออิ่มตวั ที่ถูกนำมาให้ความร้อนสามารถละลายน้ำตาลเพิ่มได)้
2. เกร่ินให้นกั เรียนฟงั วา่ สารละลายอ่มิ ตัวเกิดจากสารละลายท่ีตวั ละลายไม่สามารถละลายในตวั ทำละลายเพ่ิมได้ แต่
หากเปลี่ยนแปลงสภาวะจะทำให้ตัวละลายละลายในตัวทำละลายไดเ้ พิ่มขน้ึ แตห่ ากสารละลายกลับสู่สภาวะเดิมจะ
ตกผลกึ ของออกมาอยใู่ นตวั ทำละลาย
3. ถามนักเรยี นว่า สภาวะใดท่ีทำใหต้ วั ละลายละลายในตัวทำละลายได้เพ่ิมขน้ึ
(แนวตอบ การเพิม่ อณุ หภูมิ การเพม่ิ ความดัน)
4. นักเรียนศึกษาการตกผลึกและหลักการตกผลึก จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 หรือวีดิทัศน์จากสื่อออนไลน์
เร่ือง การตกผลกึ เชน่ - https://www.youtube.com/watch?v=FggvNDlkJxo
5. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ทำกิจกรรม การตกผลึก เพื่อแยกสารส้มออกจากสารละลายสารส้มอิ่มตัวโดย
วิธกี ารตกผลกึ จากหนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.2
6. นักเรียนศึกษาการผลิตน้ำตาลทราย ซึ่งเป็นการประยุกต์ใช้ประโยชน์จากหลักการตกผลึก จากหนังสือเรียน
วทิ ยาศาสตร์ ม.2 หรอื วีดิทัศนจ์ ากส่อื ออนไลน์ เรือ่ ง การผลติ น้ำตาลทราย เช่น

- https://www.youtube.com/watch?v=EP_fgp7zYKk

7) ส่มุ เลือกกลุ่มนกั เรียนอย่างน้อย 5 กล่มุ นำเสนอผลการทำกจิ กรรม การตกผลกึ

การวัดและประเมนิ ผล

รายการวัด วิธวี ัด เครอื่ งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ

1. การประเมนิ ช้นิ งาน/ - ตรวจการสรปุ เร่ือง - แบบประเมินชน้ิ งาน - ระดบั คุณภาพ 2

ภาระงาน (รวบยอด) การตกผลกึ ผา่ นเกณฑ์

- ตรวจการสรุป เรื่อง - แบบประเมินชนิ้ งาน - ระดบั คณุ ภาพ 2

ความสัมพันธ์ระหว่าง ผ่านเกณฑ์

การระเหยแห้งและ

การตกผลึกในการผลิต

เกลือสมุทรหรือการ

ผลิตนำ้ ตาลทราย

2. ประเมินระหว่าง - รอ้ ยละ 60

การจัดกิจกรรม - ตรวจ Topic - Topic Question ผา่ นเกณฑ์

การเรียนรู้ Question - ร้อยละ 60

1) การตกผลึก - ตรวจแบบฝกึ หัด - แบบฝึกหดั ผ่านเกณฑ์

2) การนำเสนอ - ประเมินการนำเสนอ - แบบประเมนิ การ - ระดับคณุ ภาพ 2

ผลงาน ผลงาน นำเสนอ ผ่านเกณฑ์

3) การปฏิบัติการ - ประเมินการ - แบบประเมิน - ระดับคุณภาพ 2

ปฏิบัตกิ าร ปฏบิ ัตกิ าร ผ่านเกณฑ์

4) พฤติกรรม - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2

การทำงาน การทำงานรายบคุ คล การทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์

รายบุคคล

5) พฤตกิ รรม - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2

การทำงานกลุ่ม การทำงานกลุ่ม การทำงานกลมุ่ ผ่านเกณฑ์

6) คณุ ลักษณะ - สังเกตความมวี นิ ัย - แบบประเมนิ - ระดับคณุ ภาพ 2

อนั พงึ ประสงค์ ใฝเ่ รียนรู้ และมงุ่ มนั่ คณุ ลักษณะ ผา่ นเกณฑ์

ในการทำงาน อนั พึงประสงค์

สื่อ/แหลง่ การเรียนรู้

ส่ือการเรยี นรู้
1) หนงั สอื เรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 การแยกสารผสม
2) แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ม.2 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 3 การแยกสารผสม

3) PowerPoint เร่ือง การตกผลกึ
4) หอ้ งเรยี น

5) ห้องสมดุ
6) แหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ

ความเหน็ ของฝ่ายวชิ าการ
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงช่ือ ................................................ ผู้ตรวจสอบ
( นางกุลญารัตน์ พรหมเทพ )

ตำแหน่ง วิชาการ โรงเรยี นบ้านนกงาง
ความเหน็ ของผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านนกงาง
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชือ่ .............................................................
( นายปรชี า อักษรพบิ ูลย์ )

ผู้อำนวยการ โรงเรยี นบา้ นนกงาง
บันทกึ หลงั การจดั การเรยี นรู้

ผลการจัดการเรียนรูต้ ามตัวช้ีวดั
จำนวนนักเรยี นทั้งหมด ............... คน
- ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ระดับดี .............. คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ................
- ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ระดับพอใช้ .............. คน คิดเป็นร้อยละ ................
- ไม่ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ระดบั ปรบั ปรุง .............. คน คิดเป็นร้อยละ ................
ผลการประเมินพฤตกิ รรมระหว่างเรียน
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
การปรบั ปรุงแกไ้ ข
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ข้อคดิ เห็นและข้อเสนอแนะเพิม่ เตมิ
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ ................................................ ผู้สอน
( นางสาวสพุ รรณี จงจิตร )
ตำแหน่ง ครู คศ.1

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 3 สมบตั ขิ องสารและการแยกสาร

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 4 เวลา 1 ช่วั โมง การตกผลกึ 2
ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 ใชส้ อนวนั ท่ี ..............................................

************************************************************************

มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชี้วัด

มาตรฐานการเรยี นรู้

ว. 2.1 ม.2/1 อธิบายการแยกสารผสมโดยการระเหยแหง้ การตกผลึก การกลัน่ อยา่ งงา่ ย โครมาโท-กราฟี

แบบกระดาษ การสกดั ด้วยตวั ทำละลาย โดยใช้หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์
ม.2/2 แยกสารโดยการระเหยแห้ง การตกผลึก การกลั่นอย่างง่าย โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ การ

สกดั ดว้ ยตัวทำละลาย

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. อธบิ ายการแยกสารโดยการตกผลึกได้ (K)
2. ยกตวั อย่างการประยกุ ตใ์ ช้การตกผลึกในการแยกสารในชวี ิตประจำวันได้ (K)
3. แยกสารโดยการตกผลึกได้ (P)
4. ใชเ้ ครอ่ื งมือและอปุ กรณ์ทางวทิ ยาศาสตร์ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง (P)

5. สนใจใฝ่รู้ในการศกึ ษา (A)

สาระการเรยี นรู้

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นร้ทู ้องถ่นิ

- การแยกสารผสมให้เป็นสารบริสุทธิ์ทำได้หลายวธิ ี พจิ ารณาตามหลกั สูตรของสถานศึกษา
ขึ้นอยู่กับสมบัติของสารนั้น ๆ การระเหยแห้งใช้
แยกสารละลายซึ่งประกอบด้วยตัวละลายที่เป็น

ของแข็งในตัวทำละลายที่เป็นของเหลว โดยใช้
ความร้อนระเหยตัวทำละลายออกไปจนหมด

เหลอื แต่ตัวละลาย การตกผลึกใชแ้ ยกสารละลายท่ี

ประกอบด้วยตัวละลายที่เปน็ ของแข็งในตัวละลาย

ที่เป็นของเหลว โดยทำให้สารละลายอิ่มตัว

แล้วปล่อยให้ตัวทำละลายระเหยออกไปบางส่วน

ตัวละลายจะตกผลึกแยกออกมา การกลั่นอย่าง
ง่ายใช้แยกสารละลายที่ประกอบด้วยตัวละลาย

และตัวทำละลายที่เป็นของเหลวที่มีจุดเดือด

ต่างกันมาก วิธีนีจ้ ะแยกของเหลวบรสิ ุทธิ์ออกจาก

ส า ร ล ะ ล า ย โ ด ย ใ ห้ ค ว า ม ร ้ อ น ก ั บ ส า ร ล ะ ล า ย
ของเหลวจะเดือดและกลายเป็นไอแยกจาก

สารละลายแลว้ ควบแน่นกลับเปน็ ของเหลวอีกคร้ัง
ขณะที่ของเหลวเดือด อุณหภูมิของไอจะคงที่

โครมาโทกราฟีแบบกระดาษเป็นวิธีการแยกสาร

ผสมที่มีปริมาณน้อยโดยใช้แยกสารที่มีสมบัติการ

ละลายในตัวทำละลายและการถูกดูดซับด้วย
ตัวดดู ซับแตกตา่ งกนั ทำให้สารแต่ละชนิดเคลื่อนท่ี

ไปบนตัวดูดซับได้ต่างกัน สารจึงแยกออกจากกัน

ได้ อตั ราส่วนระหว่างระยะทางท่สี ารองค์ประกอบ
แต่ละชนิดเคลื่อนที่ได้บนตัวดูดซับกับระยะทางที่
ตัวทำละลายเคลื่อนที่ได้เป็นค่าเฉพาะตัวของสาร
แต่ละชนิดในตัวทำละลายและตัวดูดซับหนึ่ง ๆ
การสกัดด้วยตัวทำละลายเป็นวิธีการแยกสารผสม
ที่มีสมบัติการละลายในตวั ทำละลายที่ตา่ งกัน โดย
ชนิดของตวั ทำละลายมีผลตอ่ ชนดิ และปริมาณของ
สารที่สกัดได้ การสกัดโดยการกลั่นด้วยไอน้ำใช้
แยกสารที่ระเหยง่าย ไม่ละลายน้ำ และไม่ทำ
ปฏิกิริยากับน้ำออกจากสารที่ระเหยยากโดยใช้
ไอนำ้ เปน็ ตวั พา

สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด

การตกผลึกเป็นการแยกสารละลายที่ประกอบด้วยตัวละลายที่เป็นของแข็งในตัวทำละลายที่เป็นของเหลว
โดยทำให้เป็นสารละลายอ่ิมตัว แล้วปล่อยให้ตวั ทำละลายระเหยออกไปบางส่วน ตัวละลายจึง ตกผลึกแยกออกมา
เช่น การผลติ นำ้ ตาลทราย
ช้ินงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน รอ่ งรอยแสดงความรู้)

-

กจิ กรรมการเรยี นรู้

อธบิ ายความรู้ (Explain)
1. สมุ่ เลอื กกลุ่มนกั เรียนอย่างนอ้ ย 5 กล่มุ นำเสนอผลการทำกจิ กรรม การตกผลกึ
2. ถามคำถามทา้ ยกิจกรรมกับนกั เรยี น โดยใช้คำถามต่อไปน้ี

- เพราะเหตุใดเมอื่ นำสารละลายสารสม้ ในบีกเกอรล์ งจากตะเกยี งแอลกอฮอล์ แล้วจึงเกดิ การตกผลกึ
(แนวตอบ เมื่อละลายสารส้มในน้ำที่ให้ความร้อนจะได้สารละลายสารสม้ อ่ิมตัว และเมื่อนำบีกเกอร์ลงจากตะเกยี ง
แอลกอฮอล์ ทำใหส้ ารละลายสารส้มอิ่มตัวมีอุณหภมู ลิ ดลง สารส้มจึงตกผลึกแยกออกมาอยใู่ น ตวั ทำละลาย)
- เพราะเหตุใดจึงตอ้ งใช้เสน้ ดา้ ยผกู ผลึกสารสม้ ท่มี ขี นาดเล็ก แล้วนำไปหอ้ ยไว้ในสารละลายเดิม
(แนวตอบ ใช้ผลึกขนาดเล็กมาล่อให้เกิดการตกผลึกมากขึ้น ซึ่งผลึกขนาดเล็กจะถูกใชเ้ ป็นฐานให้เกิดการเกาะของ
ผลึกจนกลายเปน็ ก้อนผลึกขนาดใหญ่)
- ผลกึ ท่ีเกิดจากสารละลายสารส้มท่ีท้งิ ไว้ 1 สปั ดาห์ มลี ักษณะอย่างไร
(แนวตอบ สารละลายสารสม้ ท่ที ้ิงไว้ 1 สัปดาห์ จะเกิดก้อนผลึกท่มี ีขนาดใหญข่ ้นึ )
3. นักเรียนและครูร่วมกนั กันอภิปรายผลการทำกจิ กรรม การตกผลกึ เพื่อใหไ้ ดข้ อ้ สรปุ ดงั น้ี เมื่อนำสารส้มมาละลายใน
นำ้ ท่ีให้ความรอ้ นจนกลายเป็นสารละลายสารส้มอม่ิ ตวั แต่เมื่อหยดุ ให้ความร้อน สารสม้ ทีเ่ ปน็ ตวั ละลายจึงตกผลึก
แยกออกมา ซึ่งจะเกิดผลึกมีลักษณะเป็นพีระมิดคู่ฐานสี่เหลี่ยมและมีขนาดเล็กในช่วงแรก และหากนำผลึกสารส้ม
ขนาดเลก็ มาผูกด้วยเสน้ ด้ายแล้วหอ้ ยในสารละลายเดิม จะเกิดผลึกสารส้มท่ีมีขนาดใหญข่ ้นึ ซงึ่ เกาะตัวเพ่ิมจากผลึก
สารสม้ ทผ่ี กู ด้วยเส้นดา้ ย
4. ถามคำถามนกั เรยี น โดยใช้คำถามตอ่ ไปนี้
- การตกผลึกใช้แยกสารประเภทใด
(แนวตอบ การตกผลึกใช้แยกตัวละลายที่เป็นของแข็งออกจากตัวทำละลายที่เป็นของเหลว ซึ่งอยู่ในสภาพ
สารละลายอมิ่ ตัว)
- การตกผลึกมีหลักการอยา่ งไร

(แนวตอบ เมื่อเพิ่มความร้อนใหก้ ับสารละลายทำให้ตัวละลายสามารถละลายในตัวทำละลายได้เพิ่มขึ้น แต่เมื่อลด
อณุ หภมู ิ ตวั ละลายจะตกผลกึ เปน็ ของแขง็ อย่ใู นตัวทำละลาย)

- การผลิตนำ้ ตาลทรายใชห้ ลักการตกผลึกอย่างไร
(แนวตอบ เมื่อนำน้ำอ้อยมาเคี่ยวเพื่อนำน้ำออกจะได้น้ำอ้อยเข้มข้น ซึ่งเมื่อลดอุณหภูมิลงจะเกิดการตกผลึกเป็น

เกล็ดน้ำตาลทรายแยกออกมา)
5. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเกีย่ วกับการตกผลึก เพื่อให้ได้ข้อสรุป ดังนี้ การตกผลึกเป็นการแยกตัวละลายที่เป็น

ของแข็งออกจากตวั ทำละลายท่เี ป็นของเหลวในสภาพสารละลายอม่ิ ตัว โดยอาศัยความสามารถในการละลายในตัวทำ

ละลายของสารทตี่ อ้ งการตกผลึก ซ่งึ สารทีต่ อ้ งการตกผลกึ ละลายได้น้อยในตัวทำละลายท่อี ุณหภมู ปิ กติ แตล่ ะลายได้ดีท่ี
อุณหภูมิสูง การตกผลึกถูกนำมาใช้ในการผลิตน้ำตาลทราย ซึ่งเมื่อนำน้ำอ้อยมาเคี่ยวเพื่อนำน้ำออกจะได้น้ำอ้อย

เข้มข้น (สารละลายนำ้ ตาลอิ่มตวั ) และเมอื่ ลดอณุ หภมู ิลงทำใหน้ ้ำออ้ ยตกผลกึ เป็นเกลด็ นำ้ ตาลทราย
ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
1. นักเรียนสรปุ ความสัมพนั ธ์ระหว่างการระเหยแห้งและการตกผลึกในการผลิตเกลือสมุทร หรอื การผลิตน้ำตาลทราย

ลงในกระดาษ A4
2. นกั เรียนทำ Topic Question ทา้ ยหวั ขอ้ เรื่อง การตกผลกึ

3. นักเรียนทำแบบฝึกหัดในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ม.2
ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. นักเรยี นและครูร่วมกนั สรุป เร่อื ง การตกผลึก โดยมปี ระเดน็ ดังน้ี

- หลกั การตกผลึก
- การประยุกตใ์ ช้ประโยชน์จากการตกผลกึ

นกั เรียนเขียนสรุปลงในสมุดบนั ทึกของนักเรียน
2. ตรวจสอบผลจากการสรุปความสัมพันธ์ระหวา่ งการระเหยแห้งและการตกผลึกในการผลิตเกลือสมุทรหรอื การผลติ

น้ำตาลทราย

3. ตรวจสอบผลจากการสรุป เรื่อง การตกผลกึ
4. ประเมินจากการทำกิจกรรม การตกผลกึ

5. ตรวจสอบผลจากการทำ Topic Question ทา้ ยหัวขอ้ เร่อื ง การตกผลึก
6. ตรวจสอบผลจากการทำแบบฝึกหัดในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ม.2

การวัดและประเมนิ ผล วิธีวดั เคร่ืองมือ เกณฑก์ ารประเมิน
รายการวัด - ระดับคณุ ภาพ 2
- ตรวจการสรุป เรือ่ ง - แบบประเมินชนิ้ งาน
1. การประเมินชิน้ งาน/ การตกผลกึ ผ่านเกณฑ์
ภาระงาน (รวบยอด) - ระดบั คุณภาพ 2
- ตรวจการสรุป เรื่อง - แบบประเมินช้ินงาน
2. ประเมนิ ระหวา่ ง ความสัมพันธ์ระหว่าง ผา่ นเกณฑ์
การจดั กจิ กรรม การระเหยแห้งและ
การเรียนรู้ การตกผลกึ ในการผลิต - ร้อยละ 60
1) การตกผลึก เกลือสมุทรหรือการ ผ่านเกณฑ์
ผลิตน้ำตาลทราย

- ตรวจ Topic - Topic Question
Question

รายการวัด วธิ ีวดั เครื่องมือ เกณฑก์ ารประเมิน
- ตรวจแบบฝกึ หัด - แบบฝกึ หดั - รอ้ ยละ 60
2) การนำเสนอ
ผลงาน - ประเมินการนำเสนอ - แบบประเมินการ ผ่านเกณฑ์
ผลงาน นำเสนอ
3) การปฏบิ ัตกิ าร - ระดับคณุ ภาพ 2
- ประเมินการ - แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์
4) พฤติกรรม ปฏบิ ัติการ ปฏิบัติการ
การทำงาน - ระดบั คณุ ภาพ 2
รายบุคคล - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ผา่ นเกณฑ์
การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบคุ คล
5) พฤตกิ รรม - ระดับคุณภาพ 2
การทำงานกลุม่ ผ่านเกณฑ์

6) คณุ ลักษณะ - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2
อนั พงึ ประสงค์ การทำงานกลุ่ม
การทำงานกลมุ่ ผา่ นเกณฑ์
- สงั เกตความมวี นิ ัย
ใฝเ่ รยี นรู้ และมุ่งม่ัน - แบบประเมนิ - ระดบั คุณภาพ 2
ในการทำงาน
คณุ ลกั ษณะ ผา่ นเกณฑ์

อันพงึ ประสงค์

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้

ส่อื การเรยี นรู้
1) หนังสอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 2 การแยกสารผสม
2) แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 การแยกสารผสม
3) PowerPoint เรอ่ื ง การตกผลกึ
4) หอ้ งเรียน
5) หอ้ งสมุด
6) แหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ

ความเหน็ ของฝ่ายวชิ าการ
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ ................................................ ผ้ตู รวจสอบ
( นางกุลญารัตน์ พรหมเทพ )

ตำแหนง่ วชิ าการ โรงเรยี นบ้านนกงาง
ความเหน็ ของผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านนกงาง
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชอื่ .............................................................
( นายปรีชา อกั ษรพบิ ูลย์ )

ผอู้ ำนวยการ โรงเรยี นบา้ นนกงาง
บันทกึ หลงั การจดั การเรียนรู้

ผลการจดั การเรยี นรูต้ ามตวั ชว้ี ัด
จำนวนนกั เรยี นทั้งหมด ............... คน
- ผ่านเกณฑ์การประเมิน ระดบั ดี .............. คน คิดเป็นรอ้ ยละ ................
- ผ่านเกณฑ์การประเมิน ระดบั พอใช้ .............. คน คดิ เป็นร้อยละ ................
- ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ระดบั ปรบั ปรงุ .............. คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ................
ผลการประเมินพฤติกรรมระหวา่ งเรยี น
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ปัญหาและอปุ สรรคระหว่างการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
การปรบั ปรุงแก้ไข
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ข้อคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะเพิ่มเตมิ
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงช่อื ................................................ ผูส้ อน
( นางสาวสพุ รรณี จงจิตร )
ตำแหนง่ ครู คศ.1

หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 3 สมบัติของสารและการแยกสาร

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 5 เวลา 1 ชัว่ โมง การกลน่ั 1
ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 ใช้สอนวนั ท่ี ..............................................

************************************************************************

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วัด

มาตรฐานการเรยี นรู้

ว. 2.1 ม.2/1 อธบิ ายการแยกสารผสมโดยการระเหยแหง้ การตกผลึก การกลั่นอยา่ งงา่ ย โครมาโท-กราฟี

แบบกระดาษ การสกดั ดว้ ยตัวทำละลาย โดยใช้หลกั ฐานเชิงประจักษ์
ม.2/2 แยกสารโดยการระเหยแห้ง การตกผลึก การกลั่นอยา่ งงา่ ย โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ การ

สกัดด้วยตวั ทำละลาย

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. อธิบายการแยกสารโดยการกลนั่ ได้ (K)
2. เปรียบเทยี บการแยกสารโดยการกลัน่ แบบธรรมดา การกลัน่ แบบไอน้ำ และการกล่นั ลำดับสว่ นได้ (K)
3. ยกตวั อยา่ งการประยกุ ตใ์ ชก้ ารกล่ันในการแยกสารในชวี ติ ประจำวันได้ (K)
4. แยกสารโดยการกลน่ั แบบธรรมดาได้ (P)
5. ใช้เครอ่ื งมือและอปุ กรณท์ างวทิ ยาศาสตร์ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง (P)

6. สนใจใฝร่ ูใ้ นการศกึ ษา (A)

สาระการเรียนรู้

สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง สาระการเรียนรทู้ ้องถิน่

- การแยกสารผสมให้เป็นสารบริสุทธิ์ทำได้หลายวิธี พจิ ารณาตามหลกั สูตรของสถานศกึ ษา
ขึ้นอยู่กับสมบัติของสารนั้น ๆ การระเหยแห้งใช้

แยกสารละลายซึ่งประกอบด้วยตัวละลายที่เป็น
ของแข็งในตัวทำละลายที่เป็นของเหลว โดยใช้

ความร้อนระเหยตัวทำละลายออกไปจนหมด
เหลอื แต่ตวั ละลาย การตกผลกึ ใชแ้ ยกสารละลายที่

ประกอบดว้ ยตวั ละลายท่ีเป็นของแขง็ ในตัวละลาย

ที่เป็นของเหลว โดยทำให้สารละลายอิ่มตัว

แล้วปล่อยให้ตัวทำละลายระเหยออกไปบางส่วน

ตัวละลายจะตกผลึกแยกออกมา การกลั่นอย่าง

ง่ายใช้แยกสารละลายที่ประกอบด้วยตัวละลาย

และตัวทำละลายที่เป็นของเหลวที่มีจุดเดือด
ต่างกันมาก วิธีนี้จะแยกของเหลวบริสุทธิ์ออกจาก

สารละลายโดยให้ ความร้อนกับสารละลาย
ของเหลวจะเดือดและกลายเป็นไอแยกจาก

สารละลายแลว้ ควบแนน่ กลับเป็นของเหลวอีกคร้ัง
ขณะที่ของเหลวเดือด อุณหภูมิของไอจะคงท่ี

โครมาโทกราฟีแบบกระดาษเป็นวิธีการแยกสาร
ผสมที่มีปริมาณน้อยโดยใช้แยกสารที่มีสมบัติการ

ละลายในตัวทำละลายและการถูกดูดซับด้วย
ตัวดูดซบั แตกต่างกัน ทำใหส้ ารแตล่ ะชนิดเคลื่อนท่ี

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

ไปบนตัวดูดซับได้ต่างกัน สารจึงแยกออกจากกัน

ได้ อัตราส่วนระหวา่ งระยะทางที่สารองค์ประกอบ
แต่ละชนิดเคลื่อนที่ได้บนตัวดูดซับกับระยะทางท่ี
ตัวทำละลายเคลื่อนที่ได้เป็นค่าเฉพาะตัวของสาร
แต่ละชนิดในตัวทำละลายและตัวดูดซับหนึ่ง ๆ
การสกัดด้วยตัวทำละลายเป็นวิธีการแยกสารผสม
ทม่ี สี มบตั กิ ารละลายในตวั ทำละลายท่ีตา่ งกัน โดย
ชนดิ ของตัวทำละลายมผี ลต่อชนิดและปริมาณของ
สารที่สกัดได้ การสกัดโดยการกลั่นด้วยไอน้ำใช้
แยกสารที่ระเหยง่าย ไม่ละลายน้ำ และไม่ทำ
ปฏิกิริยากับน้ำออกจากสารที่ระเหยยากโดยใช้
ไอน้ำเป็นตวั พา

สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด
การกลั่นเปน็ การแยกสารละลายทปี่ ระกอบดว้ ยตัวละลายและตวั ทำละลายที่เปน็ ของเหลว แบ่งออกเป็น

3 ประเภท ได้แก่
- การกลั่นแบบธรรมดา เป็นการแยกสารละลายทีป่ ระกอบด้วยตัวทำละลายที่เปน็ สารระเหยง่ายและมี
จุดเดือดต่ำออกจากตัวละลายที่เป็นสารระเหยยากและมจี ุดเดือดสูง ซึ่งจุดเดือดควรต่างกันตั้งแต่ 30
องศาเซลเซียสขึ้นไป เชน่ การกลั่นแยกเกลอื ออกจากน้ำทะเล
- การกลั่นแบบไอน้ำ เป็นการแยกสารที่มีจุดเดือดต่ำ ระเหยงา่ ย และไม่ละลายน้ำออกจากสารท่ีระเหย
ยาก โดยอาศัยความดนั ไอนำ้ ทำใหส้ ารเดือดกลายเป็นไอและถูกกลัน่ ออกมาพรอ้ มกับไอน้ำ แต่สารท่ีถูก
กล่นั ออกมาจะแยกชน้ั กบั น้ำ เช่น การกล่นั นำ้ มันหอมระเหย
- การกลั่นลำดับส่วน เป็นการแยกสารละลายที่ประกอบด้วยสารที่มีจุดเดือดใกล้เคียงกัน หรือแยก
สารละลายที่มีตัวทำละลายและตัวละลายเป็นสารที่ระเหยง่าย เช่น การกลั่นแยกเอทิล-แอลกอฮอล์
ออกจากน้ำ การกลัน่ น้ำมันดิบ

ช้ินงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความร)ู้

-
กจิ กรรมการเรยี นรู้
กระตนุ้ ความสนใจ (Engage)
1. นักเรียนทำ Understanding Check จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เพื่อตรวจสอบความเข้าใจของตนเอง

กอ่ นเรยี น
2. ถามคำถาม Prior Knowledge จากหนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์ ม.2 เพอ่ื ทบทวนความร้เู ดิมกับนักเรยี นว่า สารท่ีมี

สถานะเดียวกันจะสามารถระบุตวั ทำละลายและตวั ละลายของสารละลายไดอ้ ย่างไร
(แนวตอบ สารละลายท่ีเกิดจากสารท่มี ีสถานะเดยี วกันผสมกัน สารที่มีปริมาณมากกวา่ เปน็ ตัวทำละลาย ส่วนสาร
ทมี่ ีปรมิ าณนอ้ ยกว่าเป็นตวั ละลาย)
3. เกรน่ิ ใหน้ กั เรียนฟงั ว่า การระเหยแห้งสามารถแยกเกลอื ออกจากน้ำทะเลได้ แลว้ ถามนักเรยี นว่า นักเรียนคิดว่ามี
การแยกเกลอื ออกจากนำ้ ทะเลดว้ ยวธิ อี น่ื อีกหรือไม่
(แนวตอบ การกลั่น)
สำรวจค้นหา (Explore)
1. นักเรียนศกึ ษาการหลักการกล่นั จากหนงั สือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.2

2. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละ 5 คน ทำกิจกรรม การกลน่ั แบบธรรมดา เพ่อื แยกน้ำออกจากสารละลาย เกลือแกง
จากหนงั สือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.2

3. นกั เรยี นศกึ ษาการแยกสารโดยการกล่นั แบบธรรมดาและตัวอย่างการกลน่ั แบบธรรมดา เช่น การกล่ันนำ้ ออกจาก
น้ำเกลอื จากหนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.2 หรอื จาก QR Code เร่อื ง การกลนั่ แบบธรรมดา หรือวดี ิทัศน์จากส่ือ

ออนไลน์ เร่ือง การกล่นั แบบธรรมดา เช่น
- https://www.youtube.com/watch?v=xxNfJLMNS4E
- https://www.youtube.com/watch?v=tUabxsvfuPk

การวัดและประเมนิ ผล วิธวี ดั เครื่องมอื เกณฑ์การประเมิน
รายการวดั - แบบประเมนิ ช้ินงาน
- ตรวจการสรปุ เร่ือง - ระดับคณุ ภาพ 2
7.1 การประเมินชนิ้ งาน/ การกล่ัน - แบบประเมินชิน้ งาน ผา่ นเกณฑ์
ภาระงาน (รวบยอด)
- ตรวจแผนผงั เร่ือง - แบบประเมินรายงาน - ระดบั คณุ ภาพ 2
7.2 ประเมนิ ระหว่าง การกล่ัน ผา่ นเกณฑ์
การจดั กิจกรรม
การเรยี นรู้ - ตรวจรายงาน เร่อื ง - ระดับคณุ ภาพ 2
1) การกลนั่ การกล่นั น้ำมันดบิ ผ่านเกณฑ์

2) การนำเสนอ - ตรวจ Topic - Topic Question - รอ้ ยละ 60
ผลงาน Question ผ่านเกณฑ์
- แบบฝึกหดั
3) การปฏบิ ตั ิการ - ตรวจแบบฝกึ หัด - แบบประเมิน - รอ้ ยละ 60
ผ่านเกณฑ์
4) พฤตกิ รรม - ประเมินการนำเสนอ การนำเสนอ
การทำงาน ผลงาน - แบบประเมิน - ระดบั คุณภาพ 2
รายบคุ คล ผ่านเกณฑ์
- ประเมินการ การปฏบิ ัติการ
5) พฤตกิ รรม ปฏบิ ตั ิการ - แบบสังเกตพฤตกิ รรม - ระดับคุณภาพ 2
การทำงานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์
- สังเกตพฤตกิ รรม การทำงานรายบุคคล
6) คณุ ลักษณะ การทำงานรายบคุ คล - ระดับคณุ ภาพ 2
อนั พงึ ประสงค์ ผา่ นเกณฑ์

- สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม - ระดบั คุณภาพ 2
การทำงานกลุ่ม
การทำงานกลมุ่ ผ่านเกณฑ์
- สังเกตความมีวนิ ัย
ใฝ่เรียนรู้ และม่งุ มั่น - แบบประเมนิ - ระดับคณุ ภาพ 2
ในการทำงาน
คุณลกั ษณะ ผ่านเกณฑ์

อนั พงึ ประสงค์

ส่ือ/แหลง่ การเรียนรู้
1. สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรยี นวิทยาศาสตร์ ม.2 หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 3 การแยกสารผสม
2) แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ม.2 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 การแยกสารผสม

3) PowerPoint เร่อื ง การกลนั่
4) ภาพยนตรส์ ารคดีสัน้ Twig
5) QR Code เรอ่ื ง การกล่ันแบบธรรมดา

ความเหน็ ของฝา่ ยวิชาการ
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ................................................ ผู้ตรวจสอบ
( นางกุลญารัตน์ พรหมเทพ )

ตำแหนง่ วชิ าการ โรงเรียนบา้ นนกงาง
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้านนกงาง
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงช่ือ .............................................................
( นายปรชี า อักษรพิบูลย์ )

ผู้อำนวยการ โรงเรยี นบ้านนกงาง
บันทกึ หลงั การจดั การเรียนรู้

ผลการจดั การเรียนรตู้ ามตวั ชี้วดั
จำนวนนักเรียนทงั้ หมด ............... คน
- ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ระดับดี .............. คน คดิ เปน็ ร้อยละ ................
- ผ่านเกณฑก์ ารประเมิน ระดับพอใช้ .............. คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ................
- ไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ระดับปรบั ปรุง .............. คน คิดเป็นรอ้ ยละ ................
ผลการประเมินพฤตกิ รรมระหวา่ งเรียน
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ปัญหาและอปุ สรรคระหว่างการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
การปรบั ปรุงแก้ไข
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ข้อคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เติม
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ................................................ ผู้สอน
( นางสาวสุพรรณี จงจิตร )
ตำแหนง่ ครู คศ.1

หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 3 สมบตั ิของสารและการแยกสาร

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 6 เวลา 1 ช่ัวโมง การกลนั่ 2
ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 2 ใชส้ อนวนั ท่ี ..............................................

************************************************************************

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วัด

มาตรฐานการเรยี นรู้

ว. 2.1 ม.2/1 อธบิ ายการแยกสารผสมโดยการระเหยแหง้ การตกผลึก การกล่ันอย่างงา่ ย โครมาโท-กราฟี

แบบกระดาษ การสกัดดว้ ยตวั ทำละลาย โดยใช้หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์
ม.2/2 แยกสารโดยการระเหยแห้ง การตกผลึก การกลั่นอยา่ งงา่ ย โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ การ

สกัดด้วยตวั ทำละลาย

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. อธิบายการแยกสารโดยการกลนั่ ได้ (K)
2. เปรียบเทยี บการแยกสารโดยการกลน่ั แบบธรรมดา การกล่ันแบบไอน้ำ และการกลั่นลำดับสว่ นได้ (K)
3. ยกตวั อยา่ งการประยกุ ตใ์ ชก้ ารกลน่ั ในการแยกสารในชีวติ ประจำวันได้ (K)
4. แยกสารโดยการกลน่ั แบบธรรมดาได้ (P)
5. ใช้เครอ่ื งมือและอปุ กรณท์ างวทิ ยาศาสตรไ์ ดอ้ ย่างถกู ต้อง (P)

6. สนใจใฝร่ ูใ้ นการศกึ ษา (A)

สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิน่

- การแยกสารผสมให้เป็นสารบริสุทธิ์ทำได้หลายวิธี พจิ ารณาตามหลักสูตรของสถานศกึ ษา
ขึ้นอยู่กับสมบัติของสารนั้น ๆ การระเหยแห้งใช้

แยกสารละลายซึ่งประกอบด้วยตัวละลายที่เป็น
ของแข็งในตัวทำละลายที่เป็นของเหลว โดยใช้

ความร้อนระเหยตัวทำละลายออกไปจนหมด
เหลอื แต่ตวั ละลาย การตกผลกึ ใชแ้ ยกสารละลายท่ี

ประกอบดว้ ยตวั ละลายท่ีเปน็ ของแขง็ ในตัวละลาย

ที่เป็นของเหลว โดยทำให้สารละลายอิ่มตัว

แล้วปล่อยให้ตัวทำละลายระเหยออกไปบางส่วน

ตัวละลายจะตกผลึกแยกออกมา การกลั่นอย่าง

ง่ายใช้แยกสารละลายที่ประกอบด้วยตัวละลาย

และตัวทำละลายที่เป็นของเหลวที่มีจุดเดือด
ต่างกันมาก วิธีนี้จะแยกของเหลวบริสุทธิอ์ อกจาก

สารละลายโดยให้ ความร้อนกับสารละลาย
ของเหลวจะเดือดและกลายเป็นไอแยกจาก

สารละลายแล้วควบแน่นกลับเปน็ ของเหลวอีกครั้ง
ขณะที่ของเหลวเดือด อุณหภูมิของไอจะคงที่

โครมาโทกราฟีแบบกระดาษเป็นวิธีการแยกสาร
ผสมที่มีปริมาณน้อยโดยใช้แยกสารที่มีสมบัติการ

ละลายในตัวทำละลายและการถูกดูดซับด้วย
ตัวดูดซบั แตกต่างกัน ทำให้สารแต่ละชนิดเคลื่อนที่

ไปบนตัวดูดซับได้ต่างกัน สารจึงแยกออกจากกัน
ได้ อัตราส่วนระหวา่ งระยะทางที่สารองค์ประกอบ
แต่ละชนิดเคลื่อนที่ได้บนตัวดูดซับกับระยะทางที่
ตัวทำละลายเคลื่อนที่ได้เป็นค่าเฉพาะตัวของสาร
แต่ละชนิดในตัวทำละลายและตัวดูดซับหนึ่ง ๆ
การสกัดด้วยตัวทำละลายเป็นวิธีการแยกสารผสม
ที่มีสมบัตกิ ารละลายในตัวทำละลายท่ีตา่ งกัน โดย
ชนิดของตัวทำละลายมีผลต่อชนิดและปริมาณของ
สารที่สกัดได้ การสกัดโดยการกลั่นด้วยไอน้ำใช้
แยกสารที่ระเหยง่าย ไม่ละลายน้ำ และไม่ทำ
ปฏิกิริยากับน้ำออกจากสารที่ระเหยยากโดยใช้
ไอนำ้ เปน็ ตัวพา

สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
การกลน่ั เปน็ การแยกสารละลายทปี่ ระกอบดว้ ยตัวละลายและตวั ทำละลายที่เปน็ ของเหลว แบง่ ออกเป็น

3 ประเภท ได้แก่
- การกลั่นแบบธรรมดา เป็นการแยกสารละลายทีป่ ระกอบด้วยตัวทำละลายที่เปน็ สารระเหยง่ายและมี
จุดเดือดต่ำออกจากตัวละลายที่เป็นสารระเหยยากและมีจุดเดือดสูง ซึ่งจุดเดือดควรต่างกันตั้งแต่ 30
องศาเซลเซียสขนึ้ ไป เช่น การกล่นั แยกเกลือออกจากน้ำทะเล
- การกลั่นแบบไอน้ำ เป็นการแยกสารท่ีมีจุดเดือดต่ำ ระเหยง่าย และไม่ละลายน้ำออกจากสารที่ระเหย
ยาก โดยอาศัยความดนั ไอนำ้ ทำใหส้ ารเดอื ดกลายเปน็ ไอและถกู กล่นั ออกมาพร้อมกับไอน้ำ แต่สารท่ีถูก
กล่ันออกมาจะแยกชัน้ กับนำ้ เชน่ การกลน่ั นำ้ มันหอมระเหย
- การกลั่นลำดับส่วน เป็นการแยกสารละลายที่ประกอบด้วยสารที่มีจุดเดือดใกล้เคียงกัน หรือแยก
สารละลายที่มีตัวทำละลายและตัวละลายเป็นสารที่ระเหยง่าย เช่น การกลั่นแยกเอทิล-แอลกอฮอล์
ออกจากน้ำ การกลัน่ น้ำมันดิบ

ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน รอ่ งรอยแสดงความรู้)

-
กจิ กรรมการเรียนรู้
อธิบายความรู้ (Explain)
1. ส่มุ เลือกกลุม่ นักเรยี นอย่างน้อย 5 กลมุ่ นำเสนอผลการทำกิจกรรม การกล่นั แบบธรรมดา
2. ถามคำถามทา้ ยกิจกรรมกับนกั เรยี น โดยใชค้ ำถามต่อไปนี้

- เมอ่ื ต้มสารละลายจนเกือบแหง้ หลอดทดลองท้งั 2 หลอด มกี ารเปล่ยี นแปลงอย่างไร
(แนวตอบ หลอดทดลองขนาดใหญ่เหลือของแขง็ สขี าว สว่ นหลอดทดลองขนาดกลางมีของเหลวท่ถี กู กลั่นออกมา)
- เมอ่ื การกลนั่ ส้ินสุดลง หลอดทดลองแต่ละหลอดประกอบด้วยสารชนดิ ใด
(แนวตอบ เมื่อการกลั่นสิ้นสุดลง หลอดทดลองขนาดใหญ่เหลือผลึกเกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์ ส่วน
หลอดทดลองขนาดกลางมีน้ำที่ถูกกล่ันออกมา)
- นำ้ เยน็ ทีอ่ ยใู่ นบีกเกอร์ทำหน้าท่ใี ด
(แนวตอบ น้ำเย็นทำหน้าที่เป็นเครื่องควบแนน่ เมื่อน้ำระเหยออกมาจากสารละลายโซเดียมคลอไรด์จะเกิดการ
ควบแนน่ เม่อื อณุ หภมู ิของส่ิงแวดล้อมลดลง)
3. นกั เรียนและครรู ่วมกันอภปิ รายกจิ กรรม การกล่นั แบบธรรมดา เพอ่ื ให้ไดข้ อ้ สรุป ดังนี้ เม่ือตม้ สารละลายโซเดียม
คลอไรดใ์ นหลอดทดลองจนเกือบแหง้ หลอดทดลองขนาดใหญ่เหลอื ของแข็งสีขาว คือ เกลือแกงหรือโซเดียมคลอ
ไรด์ สว่ นหลอดทดลองขนาดกลางมีของเหลวใส ไม่มสี ี คือ นำ้ เนื่องจากนำ้ มจี ุดเดอื ด 100 องศาเซลเซียส ซึ่งนอ้ ย

กว่าโซเดยี มคลอไรด์ที่มีจุดเดือด 1,413 องศาเซลเซียส น้ำจึงระเหยกลายเป็นไอออกมาก่อน และควบแน่นกลับ

เปน็ น้ำอกี คร้งั

4. ถามคำถามนกั เรียน โดยใช้คำถามต่อไปน้ี

- การกล่นั แบบธรรมดาใชแ้ ยกสารละลายประเภทใด

(แนวตอบ การกล่นั แบบธรรมดาใช้แยกสารละลายท่ีประกอบด้วยตวั ทำละลายเปน็ สารระเหยง่ายและมี จุดเดือด

ตำ่ ออกจากตัวละลายที่เปน็ สารระเหยยากและมจี ุดเดอื ดสงู )

- สารที่ถูกแยกออกจากกนั โดยการกลัน่ แบบธรรมดา ควรมจี ดุ เดอื ดแตกตา่ งกันอยา่ งน้อยเท่าใด

(แนวตอบ ตวั ทำละลายและตัวละลายควรมีจดุ เดือดต่างกัน 30 องศาเซลเซียสข้นึ ไป)

- การกล่นั น้ำเกลือเหลอื สารชนิดใดอย่ใู นขวดกลัน่ และสารชนิดใดถูกกลน่ั ออกมา

(แนวตอบ สารทีอ่ ยใู่ นขวดกล่ัน คอื เกลอื หรอื โซเดียมคลอไรด์ ส่วนสารที่ถกู กล่นั ออกมา คอื น้ำ เนอื่ งจากน้ำมีจุด

เดอื ดต่ำกวา่ เกลือ จงึ ระเหยกลายเปน็ ไอออกมาก่อนและควบแน่นกลบั เปน็ นำ้ อกี ครงั้ )

5. นักเรียนและครรู ว่ มกันอภิปรายเกี่ยวกับการกล่ันแบบธรรมดาเพ่ือให้ได้ข้อสรุป ดังนี้ การกลั่นแบบธรรมดาเป็น

การแยกสารละลายท่ปี ระกอบด้วยตวั ทำละลายเป็นสารระเหยง่ายและมีจดุ เดอื ดต่ำ ออกจากตวั ละลายที่เป็นสาร

ระเหยยากและมีจดุ เดือดสูง ซึ่งตัวละลายและตัวทำละลายควรมีจดุ เดือดต่างกันตัง้ แต่ 30 องศา-เซลเซียสข้นึ ไป

การกลนั่ แบบธรรมดาถกู นำมาใช้กลัน่ แยกนำ้ ออกจากสารละลายนำ้ เกลอื แกง

การวัดและประเมนิ ผล

รายการวดั วธิ ีวดั เคร่ืองมอื เกณฑก์ ารประเมิน

1. การประเมนิ ช้นิ งาน/ - ตรวจการสรปุ เร่อื ง - แบบประเมินช้นิ งาน - ระดบั คณุ ภาพ 2

ภาระงาน (รวบยอด) การกลัน่ ผ่านเกณฑ์

- ตรวจแผนผงั เร่อื ง - แบบประเมนิ ชน้ิ งาน - ระดับคณุ ภาพ 2

การกลน่ั ผ่านเกณฑ์

- ตรวจรายงาน เรื่อง - แบบประเมินรายงาน - ระดับคณุ ภาพ 2

การกลนั่ นำ้ มันดบิ ผา่ นเกณฑ์

2. ประเมินระหว่าง - รอ้ ยละ 60

การจัดกจิ กรรม - ตรวจ Topic - Topic Question ผา่ นเกณฑ์

การเรยี นรู้ Question - รอ้ ยละ 60

1) การกลัน่ - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบฝึกหัด ผา่ นเกณฑ์

2) การนำเสนอ - ประเมนิ การนำเสนอ - แบบประเมิน - ระดับคุณภาพ 2

ผลงาน ผลงาน การนำเสนอ ผา่ นเกณฑ์

3) การปฏิบตั ิการ - ประเมินการ - แบบประเมิน - ระดับคณุ ภาพ 2

ปฏิบัติการ การปฏบิ ัติการ ผ่านเกณฑ์

4) พฤติกรรม - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม - ระดบั คณุ ภาพ 2

การทำงาน การทำงานรายบคุ คล การทำงานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์

รายบคุ คล

5) พฤติกรรม - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม - ระดับคณุ ภาพ 2

การทำงานกลมุ่ การทำงานกล่มุ การทำงานกล่มุ ผ่านเกณฑ์

6) คุณลกั ษณะ - สงั เกตความมีวินยั - แบบประเมนิ - ระดบั คุณภาพ 2

อันพงึ ประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และม่งุ ม่นั คุณลกั ษณะ ผา่ นเกณฑ์

ในการทำงาน อันพงึ ประสงค์

ส่อื /แหล่งการเรียนรู้
1. ส่อื การเรียนรู้

1) หนังสอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.2 หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 3 การแยกสารผสม
2) แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ม.2 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 การแยกสารผสม

3) PowerPoint เร่ือง การกล่ัน
4) ภาพยนตร์สารคดสี น้ั Twig
5) QR Code เรอื่ ง การกลน่ั แบบธรรมดา

2. แหล่งการเรยี นรู้
1) หอ้ งเรียน

2) ห้องสมุด
3) แหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ

ความเห็นของฝ่ายวิชาการ
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงช่อื ................................................ ผ้ตู รวจสอบ
( นางกลุ ญารตั น์ พรหมเทพ )

ตำแหนง่ วิชาการ โรงเรยี นบ้านนกงาง
ความเหน็ ของผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านนกงาง
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ .............................................................
( นายปรชี า อกั ษรพิบลู ย์ )

ผู้อำนวยการ โรงเรียนบ้านนกงาง
บนั ทกึ หลงั การจัดการเรยี นรู้

ผลการจัดการเรียนรู้ตามตวั ช้ีวัด
จำนวนนักเรียนทง้ั หมด ............... คน
- ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ระดบั ดี .............. คน คิดเป็นร้อยละ ................
- ผ่านเกณฑ์การประเมิน ระดบั พอใช้ .............. คน คิดเป็นรอ้ ยละ ................
- ไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมนิ ระดบั ปรบั ปรุง .............. คน คิดเป็นร้อยละ ................
ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
การปรับปรงุ แกไ้ ข
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ข้อคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะเพิ่มเตมิ
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชื่อ ................................................ ผ้สู อน
( นางสาวสพุ รรณี จงจิตร )
ตำแหนง่ ครู คศ.1

หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 3 สมบตั ิของสารและการแยกสาร

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 7 เวลา 1 ช่ัวโมง การกลนั่ 3
ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 2 ใชส้ อนวนั ท่ี ..............................................

************************************************************************

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วัด

มาตรฐานการเรยี นรู้

ว. 2.1 ม.2/1 อธบิ ายการแยกสารผสมโดยการระเหยแหง้ การตกผลึก การกล่ันอย่างงา่ ย โครมาโท-กราฟี

แบบกระดาษ การสกัดดว้ ยตวั ทำละลาย โดยใช้หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์
ม.2/2 แยกสารโดยการระเหยแห้ง การตกผลึก การกลั่นอยา่ งงา่ ย โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ การ

สกัดด้วยตวั ทำละลาย

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. อธิบายการแยกสารโดยการกลนั่ ได้ (K)
2. เปรียบเทยี บการแยกสารโดยการกลน่ั แบบธรรมดา การกล่ันแบบไอน้ำ และการกลั่นลำดับสว่ นได้ (K)
3. ยกตวั อยา่ งการประยกุ ตใ์ ชก้ ารกลน่ั ในการแยกสารในชีวติ ประจำวันได้ (K)
4. แยกสารโดยการกลน่ั แบบธรรมดาได้ (P)
5. ใช้เครอ่ื งมือและอปุ กรณท์ างวทิ ยาศาสตรไ์ ดอ้ ย่างถกู ต้อง (P)

6. สนใจใฝร่ ูใ้ นการศกึ ษา (A)

สาระการเรียนรู้

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิน่

- การแยกสารผสมให้เป็นสารบริสุทธิ์ทำได้หลายวิธี พจิ ารณาตามหลักสูตรของสถานศกึ ษา
ขึ้นอยู่กับสมบัติของสารนั้น ๆ การระเหยแห้งใช้

แยกสารละลายซึ่งประกอบด้วยตัวละลายที่เป็น
ของแข็งในตัวทำละลายที่เป็นของเหลว โดยใช้

ความร้อนระเหยตัวทำละลายออกไปจนหมด
เหลอื แต่ตวั ละลาย การตกผลกึ ใชแ้ ยกสารละลายท่ี

ประกอบดว้ ยตวั ละลายท่ีเปน็ ของแขง็ ในตัวละลาย

ที่เป็นของเหลว โดยทำให้สารละลายอิ่มตัว

แล้วปล่อยให้ตัวทำละลายระเหยออกไปบางส่วน

ตัวละลายจะตกผลึกแยกออกมา การกลั่นอย่าง

ง่ายใช้แยกสารละลายที่ประกอบด้วยตัวละลาย

และตัวทำละลายที่เป็นของเหลวที่มีจุดเดือด
ต่างกันมาก วิธีนี้จะแยกของเหลวบริสุทธิอ์ อกจาก

สารละลายโดยให้ ความร้อนกับสารละลาย
ของเหลวจะเดือดและกลายเป็นไอแยกจาก

สารละลายแล้วควบแน่นกลับเปน็ ของเหลวอีกครั้ง
ขณะที่ของเหลวเดือด อุณหภูมิของไอจะคงที่

โครมาโทกราฟีแบบกระดาษเป็นวิธีการแยกสาร
ผสมที่มีปริมาณน้อยโดยใช้แยกสารที่มีสมบัติการ

ละลายในตัวทำละลายและการถูกดูดซับด้วย
ตัวดูดซบั แตกต่างกัน ทำให้สารแต่ละชนิดเคลื่อนที่

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นร้ทู ้องถิน่

ไปบนตัวดูดซับได้ต่างกัน สารจึงแยกออกจากกัน

ได้ อัตราส่วนระหวา่ งระยะทางท่ีสารองค์ประกอบ
แต่ละชนิดเคลื่อนที่ได้บนตัวดูดซับกับระยะทางท่ี
ตัวทำละลายเคลื่อนที่ได้เป็นค่าเฉพาะตัวของสาร
แต่ละชนิดในตัวทำละลายและตัวดูดซับหนึ่ง ๆ
การสกัดด้วยตัวทำละลายเป็นวิธกี ารแยกสารผสม
ทีม่ สี มบัติการละลายในตัวทำละลายท่ีต่างกัน โดย
ชนิดของตวั ทำละลายมผี ลตอ่ ชนิดและปริมาณของ
สารที่สกัดได้ การสกัดโดยการกลั่นด้วยไอน้ำใช้
แยกสารที่ระเหยง่าย ไม่ละลายน้ำ และไม่ทำ
ปฏิกิริยากับน้ำออกจากสารที่ระเหยยากโดยใช้
ไอนำ้ เปน็ ตวั พา

สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด
การกลั่นเปน็ การแยกสารละลายที่ประกอบด้วยตัวละลายและตวั ทำละลายท่ีเปน็ ของเหลว แบง่ ออกเป็น

3 ประเภท ไดแ้ ก่
- การกลั่นแบบธรรมดา เป็นการแยกสารละลายที่ประกอบด้วยตัวทำละลายที่เปน็ สารระเหยง่ายและมี
จุดเดือดต่ำออกจากตัวละลายที่เป็นสารระเหยยากและมจี ุดเดือดสูง ซึ่งจุดเดือดควรต่างกนั ตั้งแต่ 30
องศาเซลเซยี สขน้ึ ไป เช่น การกล่ันแยกเกลือออกจากนำ้ ทะเล
- การกลั่นแบบไอน้ำ เป็นการแยกสารท่ีมีจดุ เดือดต่ำ ระเหยง่าย และไม่ละลายน้ำออกจากสารที่ระเหย
ยาก โดยอาศยั ความดนั ไอน้ำทำใหส้ ารเดอื ดกลายเป็นไอและถูกกล่ันออกมาพร้อมกบั ไอน้ำ แต่สารที่ถูก
กลน่ั ออกมาจะแยกชัน้ กบั น้ำ เชน่ การกล่นั นำ้ มันหอมระเหย
- การกลั่นลำดับส่วน เป็นการแยกสารละลายที่ประกอบด้วยสารที่มีจุดเดือดใกล้เคียงกัน หรือแยก
สารละลายที่มีตัวทำละลายและตัวละลายเป็นสารที่ระเหยง่าย เช่น การกลั่นแยกเอทิล-แอลกอฮอล์
ออกจากนำ้ การกลั่นนำ้ มันดบิ

ชิน้ งานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

-
กจิ กรรมการเรียนรู้
สำรวจค้นหา (Explore)
1. ทบทวนความรู้จากช่ัวโมงที่แล้วใหน้ ักเรียนทราบพอสังเขปว่า การกลั่นแบบธรรมดาใช้แยกสารท่ี ตัวทำ

ละลายเปน็ สารระเหยง่ายและมจี ดุ เดือดต่ำ ออกจากตวั ละลายที่เปน็ สารระเหยยากและมจี ุดเดอื ดสงู ซ่ึงตวั ละลาย
และตวั ทำละลายควรมจี ุดเดอื ดตา่ งกันตงั้ แต่ 30 องศาเซลเซียสขึ้นไป
2. นกั เรยี นแบ่งกลมุ่ กลุม่ ละ 4 คน รว่ มกันศึกษาการกลั่นแบบไอน้ำและตัวอย่างการกลนั่ แบบไอน้ำ เช่น การกล่ัน
น้ำมันหอมระเหย จากหนังสือเรยี นวิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หรือวีดิทัศน์จากสือ่ ออนไลน์ เรื่อง การกลั่นแบบไอ
น้ำ เชน่

- https://www.youtube.com/watch?v=OVQC-6qIq-Y
และศึกษาการกลั่นลำดับส่วนและตัวอย่างการกลั่นแบบลำดับส่วน เช่น การกลั่นเอทิลแอลกอฮอล์ออกจากน้ำ
และการกล่นั น้ำมันดิบ จากหนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.2 หรอื วีดิทัศน์จากสอ่ื ออนไลน์ เร่อื ง การกล่ันลำดับส่วน
เช่น

- https://www.youtube.com/watch?v=FTYAS9LDqII

อธบิ ายความรู้ (Explain)
1. สุ่มเลอื กกล่มุ นกั เรยี น 2 กลุม่ อธบิ ายหลักการกล่นั แบบไอนำ้ และกลมุ่ นกั เรียนอกี 2 กลมุ่ อธบิ ายหลัก การกล่ัน

ลำดับสว่ น
2. ถามคำถามนักเรียน โดยใช้คำถามตอ่ ไปน้ี

- การกล่ันแบบไอนำ้ ใชแ้ ยกสารประเภทใด
(แนวตอบ การกลั่นแบบไอน้ำใช้แยกสารที่มีจุดเดือดต่ำ ระเหยง่าย และไม่ละลายน้ำ ออกจากสารที่ระเหยยาก
โดยอาศัยความดันจากไอนำ้ ทำให้สารเดือดกลายเป็นไอ แลว้ ถกู กลน่ั ออกมาพรอ้ มกบั ไอน้ำ)

- สารจากใบพืชถูกกลนั่ ออกมาไดอ้ ย่างไร
(แนวตอบ สารจากใบพืชถูกกล่ันออกมาโดยอาศัยความดันจากไอนำ้ ทำให้สารเดอื ดกลายเปน็ ไอและกล่ันออกมา

พรอ้ มกบั ไอนำ้ )
- สารท่ีถกู กลั่นออกมาโดยการกล่ันแบบไอน้ำมีลักษณะอยา่ งไร
(แนวตอบ สารที่ถูกกล่ันออกมาพร้อมกับไอน้ำ เมื่อควบแน่นกลับเป็นของเหลวจะแบ่งออกเป็น 2 ชั้น ได้แก่ ชั้น

ล่างเปน็ สารทถ่ี กู กล่ัน และช้นั บนเปน็ น้ำ)
- การกลนั่ ลำดบั ส่วนใชแ้ ยกสารประเภทใด

(แนวตอบ การกลั่นลำดบั สว่ นใชแ้ ยกสารละลายที่ประกอบดว้ ยสารทม่ี ีจุดเดอื ดใกล้เคยี งกนั หรือแยกสารละลายที่
มีตัวละลายและตวั ทำละลายเปน็ สารระเหยงา่ ยท้ังคู่)
- การกลั่นลำดับสว่ นแตกตา่ งจากการกลนั่ แบบธรรมดาอย่างไร

(แนวตอบ การกลั่นลำดับส่วนมลี ักษณะเหมือนการกลั่นแบบธรรมดา แต่จะผ่านการกลั่นแบบธรรมดาซ้ำ ๆ กัน
หลายคร้งั )

- เพราะเหตใุ ดการแยกน้ำมันชนดิ ต่าง ๆ ออกจากน้ำมนั ดบิ จึงใชก้ ารกล่ันลำดับสว่ น
(แนวตอบ เน่ืองจากน้ำมันดบิ ประกอบดว้ ยนำ้ มันตา่ ง ๆ หลายชนดิ เช่น น้ำมันหล่อลนื่ นำ้ มนั ดเี ซล น้ำมนั เบนซิน
แก๊สปิโตรเลยี ม ซ่งึ นำ้ มนั แต่ละชนิดมีจดุ เดอื ดใกล้เคียงกนั จึงถกู กลัน่ ออกมาท่รี ะดับอุณหภมู แิ ตกต่างกนั )

3. ถามคำถามท้าทายการคิดขั้นสูงกับนักเรียนว่า สารละลายประกอบด้วยตัวละลายที่มีจุดเดือด 172 องศา -
เซลเซียส และตัวทำละลายที่มีจุดเดือด 150 องศาเซลเซียส หากต้องการแยกตัวละลายออกจากตัวทำ-ละลาย

ควรเลือกใชก้ ารกล่ันแบบใด เพราะเหตุใด และส่วนทีแ่ ยกออกมาคอื ตวั ทำละลายหรือตัวละลาย เพราะเหตใุ ด
(แนวตอบ การกล่ันลำดับส่วน เนือ่ งจากสารละลายประกอบด้วยตวั ทำละลายและตัวละลายทม่ี ีจุดเดือดใกล้เคียง
กัน (ต่างกันน้อยกว่า 30 องศาเซลเซียส) ซึ่งสารที่ถูกกลัน่ ออกมาก่อน คือ ตัวทำละลาย เนื่องจากมีจุดเดือดต่ำ

กว่าตัวละลาย จึงระเหยกลายเปน็ ไอออกมากอ่ น)
4. นักเรยี นและครูร่วมกันอภิปรายเก่ียวกบั การกล่ันแบบไอนำ้ และการกลัน่ ลำดบั ส่วนเพื่อใหไ้ ด้ขอ้ สรปุ ดงั นี้ การกลั่น

แบบไอนำ้ ใชแ้ ยกสารท่มี ีจุดเดือดต่ำ ระเหยงา่ ย และไม่ละลายน้ำ ออกจากสารท่ีระเหยยาก โดยอาศยั ความดันจากไอ
น้ำทำใหส้ ารทตี่ ้องการแยกเดอื ดกลายเป็นไอ และถกู กล่นั ออกมาพรอ้ มกับไอน้ำ สว่ นการกลัน่ ลำดบั ส่วนใช้แยกสาร
ทป่ี ระกอบดว้ ยตวั ทำละลายและตัวละลายที่มีจดุ เดือดใกล้เคียงกนั หรอื เปน็ สารระเหยง่ายท้ังคู่ ซึง่ การกลั่นลำดับ

สว่ นมลี ักษณะเหมือนการกลน่ั แบบธรรมดา แตจ่ ะผ่านการกลัน่ แบบธรรมดาซำ้ ๆ กัน หลายคร้งั

การวดั และประเมินผล วิธวี ัด เครือ่ งมอื เกณฑ์การประเมนิ
รายการวัด - แบบประเมนิ ชิ้นงาน
- ตรวจการสรปุ เรอ่ื ง - ระดับคุณภาพ 2
1 การประเมินชิน้ งาน/ การกลน่ั - แบบประเมนิ ชน้ิ งาน ผา่ นเกณฑ์
ภาระงาน (รวบยอด)
- ตรวจแผนผัง เร่อื ง - แบบประเมนิ รายงาน - ระดบั คุณภาพ 2
2 ประเมนิ ระหว่าง การกลน่ั ผ่านเกณฑ์
การจัดกจิ กรรม
การเรียนรู้ - ตรวจรายงาน เรือ่ ง - ระดับคุณภาพ 2
1) การกลัน่ การกลน่ั นำ้ มันดิบ ผา่ นเกณฑ์

2) การนำเสนอ - ตรวจใบงาน - ใบงาน - ร้อยละ 60
ผลงาน ผ่านเกณฑ์
- ตรวจ Topic - Topic Question
3) การปฏบิ ัติการ Question - ร้อยละ 60
- แบบฝึกหัด ผ่านเกณฑ์
4) พฤติกรรม - ตรวจแบบฝกึ หัด
การทำงาน - แบบประเมิน - รอ้ ยละ 60
รายบคุ คล - ประเมินการนำเสนอ การนำเสนอ ผ่านเกณฑ์
ผลงาน
5) พฤตกิ รรม - แบบประเมิน - ระดบั คุณภาพ 2
การทำงานกลุม่ - ประเมนิ การ การปฏบิ ตั กิ าร ผา่ นเกณฑ์
ปฏบิ ตั กิ าร
6) คณุ ลักษณะ - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคณุ ภาพ 2
อนั พงึ ประสงค์ - สังเกตพฤตกิ รรม การทำงานรายบคุ คล ผ่านเกณฑ์
การทำงานรายบคุ คล
- ระดบั คุณภาพ 2
ผา่ นเกณฑ์

- สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม - ระดบั คณุ ภาพ 2
การทำงานกล่มุ
การทำงานกลุม่ ผ่านเกณฑ์
- สงั เกตความมีวินยั
ใฝ่เรียนรู้ และมงุ่ มน่ั - แบบประเมนิ - ระดบั คุณภาพ 2
ในการทำงาน
คุณลกั ษณะ ผ่านเกณฑ์

อันพงึ ประสงค์

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. สื่อการเรียนรู้
1) หนงั สอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ม.2 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3 การแยกสารผสม

2) แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.2 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3 การแยกสารผสม
3) PowerPoint เรื่อง การกลนั่

4) ภาพยนตร์สารคดสี ้นั Twig
5) QR Code เรอื่ ง การกล่นั แบบธรรมดา
2. แหล่งการเรยี นรู้

1) ห้องเรียน
2) ห้องสมุด

3) แหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ

ความเหน็ ของฝ่ายวชิ าการ
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงช่ือ ................................................ ผตู้ รวจสอบ
( นางกลุ ญารตั น์ พรหมเทพ )

ตำแหน่ง วชิ าการ โรงเรยี นบ้านนกงาง
ความเหน็ ของผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านนกงาง
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชอื่ .............................................................
( นายปรชี า อกั ษรพิบลู ย์ )

ผูอ้ ำนวยการ โรงเรยี นบ้านนกงาง
บันทกึ หลงั การจดั การเรยี นรู้

ผลการจัดการเรียนรูต้ ามตัวช้ีวดั
จำนวนนักเรยี นทั้งหมด ............... คน
- ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ระดับดี .............. คน คิดเป็นรอ้ ยละ ................
- ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ระดับพอใช้ .............. คน คิดเป็นร้อยละ ................
- ไม่ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ระดบั ปรบั ปรุง .............. คน คิดเปน็ ร้อยละ ................
ผลการประเมินพฤตกิ รรมระหว่างเรียน
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
การปรบั ปรุงแกไ้ ข
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ข้อคดิ เห็นและข้อเสนอแนะเพิม่ เตมิ
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ................................................ ผูส้ อน
( นางสาวสุพรรณี จงจติ ร )
ตำแหน่ง ครู คศ.1


Click to View FlipBook Version