The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chumphon.doae, 2022-04-28 02:58:26

กัญชา_กัญชง

กัญชา_กัญชง

คู่ม่� ือื สำ�ำ หรับั เกษตรกร
การปลููกและขึ้�น้ ทะเบีียนเกษตรกรผู้ป�้ ลูกู กััญชา กััญชง และกระท่่อม
พิิมพ์์ครั้้�งที่่� 1 : จำำ�นวน 2,500 เล่ม่ กุมุ ภาพัันธ์์ พ.ศ.2565
จััดพิิมพ์์ : กรมส่ง่ เสริมิ การเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์
พิมิ พ์์ที่่� : บริษิ ััท นิิวธรรมดาการพิมิ พ์์ (ประเทศไทย) จำำ�กััด

คำ�ำ นำ�ำ

ด้้วยนโยบายของรััฐบาล มุ่่�งสนัับสนุุนให้้เกษตรกรมีีรายได้้จากการผลิิตและจำ�ำ หน่่าย
ผลผลิิตทางการเกษตรที่่�มีีคุุณภาพ รวมทั้้�งส่่งเสริิมและสนัับสนุุนการวิิจััยและพััฒนาการผลิิต
พืืชเศรษฐกิิจใหม่่ของประเทศ หลัังจากที่่�กฎหมายได้้อนุุญาตให้้ประชาชน วิิสาหกิิจชุุมชน สหกรณ์์
การเกษตร สามารถขออนุุญาตผลิิตกััญชา กััญชง และกระท่่อมได้้ ในส่่วนของกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์์จึึงได้้เดิินหน้้าส่่งเสริิมสนัับสนุุนการปลููกพืืชเศรษฐกิิจใหม่่โดยเฉพาะ กััญชา กััญชง
และกระท่่อม เพื่่�อส่่งเสริิมการผลิิต และสร้้างรายได้้จากการผลิิตพืืชแห่่งอนาคต (Future Crop)
รวมถึึงเร่่งการพััฒนาเกษตรกร วิิสาหกิิจชุุมชน สถาบัันเกษตรกร และผู้�ประกอบการเกษตรให้้มีี
ความรู้้�ความเข้้าใจในทุุกมิิติิ ตั้้�งแต่่การปลููกให้้ได้้คุุณภาพ จนถึึงกฎหมายข้้อระเบีียบที่่�เกี่�ยวข้้อง
เพื่่อ� สร้้างโอกาสทางอาชีพี และรายได้ท้ ี่่�มั่่น� คง
เอกสาร คู่่�มืือสำ�ำ หรัับเกษตรกร การปลููกและขึ้้�นทะเบีียนเกษตรกรผู้�้ปลููกกััญชา กััญชง
และกระท่่อม ฉบัับนี้้� ได้้รวบรวมองค์์ความรู้้�จากหน่่วยงานภายใต้้สัังกััดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์์
ได้้แก่่ กรมส่่งเสริิมการเกษตร กรมวิิชาการเกษตร กรมส่่งเสริิมสหกรณ์์ สำำ�นัักงานเศรษฐกิิจการเกษตร
สำ�ำ นัักงานปลััดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์์ และหน่่วยงานที่่�เกี่�ยวข้้องในการส่่งเสริิมสนัับสนุุน
การปลูกู กััญชา กััญชง และกระท่่อม โดยมีีเนื้้อ� หาประกอบด้ว้ ย ลักั ษณะทางพฤกษศาสตร์์ วงจรชีีวิิต
พัันธุ์์� การผลิิตกล้้าพัันธุ์�์ การปลููก ต้้นทุุนการผลิิต การเก็็บเกี่�ยวผลผลิิต อาการผิิดปกติิที่่�พบ
ในการปลููก แนวทางการขึ้�นทะเบีียน การจดทะเบีียนวิิสาหกิิจชุุมชนและเครืือข่่ายวิิสาหกิิจชุุมชน
และการจดทะเบีียนจััดตั้้�งสหกรณ์์การเกษตร สำ�ำ หรัับรองรัับการปลููกพืืชดัังกล่่าวตามที่่�กฎหมายกำำ�หนด
เพื่่อ� ให้เ้ กษตรกร และผู้�สนใจสามารถศึกึ ษาและใช้เ้ ป็็นแนวทางในการผลิติ พืชื เศรษฐกิิจเหล่่านี้้�
คณะผู้้�จััดทำ�ำ ขอขอบคุุณแหล่่งข้้อมููลต่่าง ๆ และทุุกท่่านที่่�เกี่�ยวข้้องในการจััดทำำ�คู่่�มืือฉบัับนี้้�
และหวัังว่่าคู่่�มืือฉบัับนี้้�จะเป็็นประโยชน์์แก่่เกษตรกร วิิสาหกิิจชุุมชน สหกรณ์์การเกษตร ประชาชน
ทั่่�วไป และผู้�ที่�เกี่�ยวข้้อง หากข้้อมููลฉบัับนี้้�มีีข้้อผิิดพลาดประการใดทางคณะผู้้�จััดทำ�ำ ยิินดีีน้้อมรัับ
และจะนำำ�ไปปรัับปรุุงต่่อไป

คณะทำ�ำ งานส่่งเสริมิ และสนัับสนุุน
การปลููกกััญชง กััญชา และกระท่่อม

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์

กุุมภาพันั ธ์์ 2565

สารบัญั

หน้้า
1การปลููกกัญั ชา กััญชง กระท่่อม และการใช้้ประโยชน์์..........................................
กััญชา กััญชง 2.........................................................................................................................................................................
1. ลัักษณะทางพฤกษศาสตร์์ 2...............................................................................................................................
2. วงจรชีวี ิติ 6............................................................................................................................................................................
3. พันั ธุ์์�พืชื สกุุลกัญั ชา 14...............................................................................................................................................
4. การผลิิตกล้า้ พัันธุ์�์ 16..................................................................................................................................................
5. การปลูกู 18...........................................................................................................................................................................
5.1 สภาพแวดล้อ้ มที่่�เหมาะสมต่่อการปลูกู ......................................................................... 18
5.2 การปลูกู ในระบบเปิดิ /สภาพแปลง.................................................................................... 23
5.3 การปลูกู ในระบบปิิด (Indoor) 24...............................................................................................
5.4 การปลูกู ในระบบกึ่ ง� ปิิด (Semi - indoor or Greenhouse).............26

หน้้า
6. ต้น้ ทุุนการผลิิต 27.........................................................................................................................................................
7. การเก็บ็ เกี่ ย� วผลผลิิต 29..........................................................................................................................................
8. อาการผิิดปกติทิ ี่่�พบในการปลููกพืืชสกุุลกััญชา...................................................................... 34
9. การใช้้ประโยชน์์จากพืชื สกุุลกััญชา................................................................................................... 49
กระท่่อม 50...................................................................................................................................................................................
1. ลัักษณะทางพฤกษศาสตร์์ 50...........................................................................................................................
2. สารสำำ�คััญจากกระท่่อม 52..................................................................................................................................
3. การปลููกกระท่่อม 52..................................................................................................................................................
3.1 ต้น้ พัันธุ์�ก์ ระท่่อม 52.....................................................................................................................................
3.2 การเตรีียมต้้นกล้้า 54.................................................................................................................................
3.3 การปลููก 54............................................................................................................................................................
3.4 การเก็็บเกี่ �ยวผลผลิิต 56..........................................................................................................................
4. การใช้ป้ ระโยชน์์จากกระท่่อม 57.................................................................................................................

หน้้า

แนวทางการขออนุญุ าตปลููกกัญั ชา สำ�ำ หรับั วิสิ าหกิิจชุมุ ชน

59และสหกรณ์์การเกษตร.........................................................................................................................................
n การขออนุุญาตปลูกู กััญชาในรูปู แบบวิิสาหกิจิ ชุุมชน....................................................60
n การขออนุุญาตปลููกกัญั ชาในรูปู แบบสหกรณ์์การเกษตร.........................................64

แนวทางการขออนุุญาตปลููกกัญั ชง สำำ�หรับั เกษตรกร

69วิสิ าหกิิจชุุมชน และสหกรณ์์การเกษตร....................................................................................
คุุณสมบัตั ิิของผู้ �ขออนุุญาต 70n .........................................................................................................................
การขออนุุญาตปลูกู 71n ............................................................................................................................................
n ขั้้น� ตอนการขออนุุญาตปลููกกัญั ชง..................................................................................................... 72

แนวทางการขึ้�้นทะเบีียนเกษตรกรผู้ป�้ ลููกกััญชา กัญั ชง

77และกระท่่อม.............................................................................................................................................................................
คุณุ สมบััติิทั่่�วไป 78n ........................................................................................................................................................
n คุณุ สมบััติิเฉพาะเกษตรกรผู้�ปลููกกัญั ชา กััญชง และกระท่่อม............................80
n กรอบระยะเวลาการขึ้ �นทะเบียี นและปรัับปรุุงทะเบียี นเกษตรกร..................80
n จำำ�นวนเนื้้อ� ที่่�และจำำ�นวนขั้้�นต่ำำ��ที่่ร� ัับขึ้�นทะเบียี น
และปรัับปรุุงทะเบียี นเกษตรกร 81...........................................................................................................
n ขั้้�นตอนการขึ้ น� ทะเบีียนและปรับั ปรุุงทะเบียี นเกษตรกร.........................................82

หน้้า
การจดทะเบีียนวิิสาหกิิจชุุมชนและเครืือข่่ายวิิสาหกิจิ ชุุมชน...................... 87
n คุณุ สมบััติแิ ละหลัักเกณฑ์์ของวิสิ าหกิิจชุุมชนและเครืือข่่าย
วิิสาหกิจิ ชุุมชน 88..........................................................................................................................................................
n การขอจดทะเบียี นวิิสาหกิิจชุุมชนและเครือื ข่่ายวิิสาหกิิจชุุมชน......................89

93การจดทะเบีียนจััดตั้้�งสหกรณ์์การเกษตร..............................................................................
การขอจัดั ตั้้ง� สหกรณ์์การเกษตร 94n ...........................................................................................................
การรับั จดทะเบีียนสหกรณ์์ 96n .........................................................................................................................

100เอกสารอ้้างอิิง................................................................................................................................................................

105ภาคผนวก...............................................................................................................................................................................
คำำ�สั่่�งแต่่งตั้้�งคณะทำ�ำ งาน 106n ...........................................................................................................................
n รายชื่�อหน่่วยงานที่่ไ� ด้ร้ ับั ใบอนุุญาตประเภทต่่าง ๆ
จากสำำ�นักั งานคณะกรรมการอาหารและยา....................................................................... 108
n รายชื่�อผู้�ได้ร้ ับั ใบอนุุญาตนำ�ำ เข้า้ เมล็ด็ พัันธุ์์�กัญชา กัญั ชง
ตามพระราชบัญั ญัตั ิิพันั ธุ์์�พืืช พ.ศ. 2518 จากกรมวิิชาการเกษตร............115

คณะผู้�้จััดทำำ� คู่่�มือื สำำ�หรัับเกษตรกร การปลูกู และขึ้�น้ ทะเบียี น

119เกษตรกรผู้้ป� ลูกู กัญั ชา กัญั ชง และกระท่่อม...................................................................



การปลูกู

กััญชา กัญั ชง กระท่่อม
และการใช้้ประโยชน์์

คู่่�มือื สำำ�หรับั เกษตรกร 1
การปลูกู และขึ้้�นทะเบียี นเกษตรกร ผู้�ป้ ลููกกััญชา กััญชง และกระท่่อม

กััญชา กััญชง

การปลููกพืื ชสกุุลกััญชาในบริิเวณคาบสมุุทรอิินโดจีีน มีีหลัักฐานการปลููกมาตั้้�งแต่่
คริิสต์์ศตวรรษที่่� 19 สำ�ำ หรัับประเทศไทย พบหลัักฐานทางประวััติิศาสตร์์ที่่�มีีการบัันทึึกไว้้ในสมััย
สมเด็็จพระนารายณ์์มหาราชอยู่�ระหว่่างปีีพุุทธศัักราช 2199 - 2231 ผ่่านบัันทึึกตำ�ำ ราพระโอสถ
พระนารายณ์์ เป็็นตำ�ำ รัับยาที่่�แพทย์์ประกอบถวาย พบว่่ามีีส่่วนประกอบของพืืชสกุุลกััญชา
เป็็นส่่วนประกอบหลััก 2 ตำ�ำ รัับ ได้้แก่่ ตำ�ำ รัับยาทิิพกาศ มีีส่่วนประกอบเป็็นใบ 16 ส่่วน และตำ�ำ รัับยา
ศุุขไสยาศน์์ มีีส่่วนประกอบเป็็นใบ 12 ส่่วน (Picheansoonth et al., 1999) นอกจากนี้้�ยัังพบ
การปลููกเพื่่�อนำ�ำ เส้้นใยมาใช้้ประโยชน์์ ส่่วนใหญ่่จะปลููกบนพื้้�นที่่�สููงทางภาคเหนืือ โดยชาวเขาเผ่่าม้้ง
ลีซี อ และอาข่่า นำำ�เส้้นใยพืืชสกุุลกัญั ชามาใช้ท้ อผ้า้ ตััดเย็็บเครื่่อ� งนุ่ง่� ห่่ม ทอเป็็นถุุงย่่าม และทำำ�เป็น็ เชือื ก
อเนกประสงค์์ใช้้งานในชีีวิิตประจำำ�วััน ซึ่�งพืืชสกุุลกััญชาเป็็นพืืชที่่�ผููกพัันและเป็็นส่่วนหนึ่่�งของวิิถีีชีีวิิต
ของกลุ่ม่� ชาวเขามาตั้้�งแต่่อดีตี (ส่่วนสำำ�รวจและรายงาน สำ�ำ นัักงาน ปปส. ภาคเหนืือ, 2544)

1. ลัักษณะทางพฤกษศาสตร์์

พืืชสกุุลกัญั ชา มีกี ารจัดั หมวดหมู่่�ตามลักั ษณะไว้้ ดังั นี้้� (Chandra et al., 2017)
Kingdom : Plantae (plants)
Subkingdom : Tracheobionta (vascular plants)
Superdivision : Spermatophyta (seed plants)
Division : Magnoliophyta (flowering plants)
Class : Magnoliopsida (dicotyledons)
Subclass : Hamamelididae
Order : Urticales
Family : Cannabaceae
Genus : Cannabis
Species : sativa L.

2 กรมส่่งเสริมิ การเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์

1.1 การจำ�ำ แนกโดยใช้้ลักั ษณะทางสัณั ฐานวิิทยา (Plant morphology) การปลููกกััญชา กััญชง
และการใช้้ประโยชน์์
สามารถแยกออกได้้ 2 กลุ่ม่� ดังั นี้้�
1.1.1 กลุ่่�มที่เ�่ ป็็นยา (Drug type) ทรงต้้นเป็น็ พุ่�ม่ รูปู ทรงคล้า้ ยพีีระมิิด และมีีกิ่�งใหญ่่
ที่่ฐ� านของลำำ�ต้น้
1.1.2 กลุ่่�มที่เ�่ ป็็นเส้้นใย (Fiber type) ทรงต้น้ ผอมสููง แตกกิ่�งน้้อย

1.2 การจำำ�แนกโดยใช้้ลัักษณะตามแหล่่งกำำ�เนิิดที่่ม� ีีลัักษณะเฉพาะ
เป็น็ ของตนเอง (Polytypic nature, multiple-species)

แบ่่งเป็็น 3 species คืือ Cannabis sativa  Cannabis indica และ
Cannabis ruderalis ทั้้�ง 3 species มีีลัักษณะใกล้้เคีียงกััน ซึ่�งในปััจจุุบัันจึึงใช้้ชื่�อว่่า
Cannabis sativa L. ส่่วนลัักษณะที่่�แตกต่่างกััน ให้้ใช้้เป็็นความแตกต่่างในระดัับ variety
(Chanda et al., 2019) ดังั นี้้�
1.2.1 Cannabis sativa L. var. sativa
1.2.2 Cannabis sativa L. var. indica
1.2.3 Cannabis sativa L. var. ruderalis
จากข้้อมููลการศึึกษาทางสััญฐานวิิทยาเกี่�ยวกัับพืืชสกุุลกััญชา พบความแตกต่่างของต้้น
และใบในแต่่ละ variety ดัังแสดงในตารางที่่� 1 ดังั นี้้�

ตารางที่่� 1  แสดงลัักษณะของพืืชสกุลุ กััญชาในแต่่ละ Variety

Variety ความสููง ระยะห่่าง ใบ จำ�ำ นวนแฉก
Sativa ระหว่า่ งข้้อ บนแผ่่นใบ
Indica ต้น้ สูงู , ข้อ้ ใบห่่าง, ใบเรียี วแหลม 6 - 12 แฉก/ใบ
1.5 - 4.5 เมตร 7 - 15 เซนติิเมตร ไม่่มีีลาย 3 - 7 แฉก/ใบ
Ruderalis ต้้นเตี้้ย� , ข้้อใบสั้ �น, ใบกว้า้ ง สั้น�
0.15 - 1.5 เมตร น้อ้ ยกว่่า และกลม 4 - 6 แฉก/ใบ
7 เซนติเิ มตร มีีลายลักั ษณะ
คล้า้ ยหินิ อ่่อน
ต้้นเตี้้ย� , ข้อ้ ใบสั้น� และถี่ก� ว่่า ใบเล็ก็ หนา
0.15 - 1.5 เมตร Indica

คู่ม�่ ือื สำำ�หรัับเกษตรกร 3
การปลูกู และขึ้�้นทะเบีียนเกษตรกร ผู้ป�้ ลูกู กัญั ชา กััญชง และกระท่่อม

ภาพที่่� 1 ลัักษณะต้น้ และใบ ของ Sativa และ Indica types

ที่่ม� า : Anderson (1980)

4 กรรมมส่ส่่งเสริมิ การเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์

1.3 การจำ�ำ แนกโดยใช้้ลักั ษณะการใช้้ประโยชน์์ตามปริมิ าณสารสำำ�คััญ การปลููกกััญชา กััญชง
และการใช้้ประโยชน์์
สามารถแบ่่งได้้ 3 แบบ ดัังนี้้�
1.3.1 การใช้้ประโยชน์์เป็็นยา (Drug type) มีีสาร THC มากกว่่า 1.0 % และ
สาร CBD น้้อยกว่่า 0.5%
1.3.2 รููปแบบผสม (Intermediate type) มีีสาร CBD เป็็นส่่วนใหญ่่ และ
มีีสััดส่่วนของ THC ที่่�แตกต่่างกันั
1.3.3 การใช้้ประโยชน์์จากเส้้นใย (Fiber-type หรืือ hemp) มีีสาร THC
ในปริมิ าณต่ำ��ำ กว่่า 1.0%

1.4 การจำำ�แนกตามพระราชบัญั ญััติยิ าเสพติดิ ให้้โทษ ฉบัับที่่� 7 พ.ศ. 2562
และตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขุ เรื่่อ� ง ระบุชุ ื่่อ� ยาเสพติิดให้้โทษ
ในประเภท 5 พ.ศ. 2563

ได้้กำำ�หนดความแตกต่่างระหว่่างกััญชาและกััญชงไว้้ ดังั นี้้�
1.4.1 กััญชา (cannabis) มีีปริิมาณสาร THC ในช่่อดอก มากกว่่า 1.0%
โดยน้ำ��ำ หนัักแห้้ง และได้้กำ�ำ หนดให้ส้ ่่วนของพืืช ไม่่จัดั เป็น็ ยาเสพติดิ ให้โ้ ทษในประเภท 5 ดัังต่่อไปนี้้�
n เปลืือก ลำำ�ต้น้ เส้น้ ใย กิ่ �งก้า้ น และราก
n ใบ ซึ่�งไม่่มีียอดหรืือช่่อดอกติดิ มาด้ว้ ย
n สารสกัดั ที่่�มีีสาร CBD เป็็นส่่วนประกอบ และต้อ้ งมีีสาร THC ไม่่เกิิน 0.2%
โดยน้ำำ��หนักั แห้้ง
n กากหรืือเศษเหลืือจากการสกััดกััญชา ต้้องมีีสาร THC ไม่่เกิิน 0.2%
โดยน้ำำ��หนักั แห้้ง
1.4.2 กััญชง (hemp) มีีปริิมาณสาร THC ในช่่อดอกไม่่เกิิน 1.0% โดยน้ำ��ำ หนัักแห้้ง
และได้้กำำ�หนดให้้ส่่วนของพืชื ไม่่จัดั เป็็นยาเสพติิดให้้โทษในประเภท 5 ดังั ต่่อนี้้�
n เปลืือก ลำำ�ต้น้ เส้น้ ใย กิ่ ง� ก้า้ น และราก
n ใบ ซึ่�งไม่่มีียอดหรือื ช่่อดอกติดิ มาด้ว้ ย
n สารสกััดที่่�มีีสาร CBD เป็็นส่่วนประกอบ และต้้องมีีสาร THC ไม่่เกินิ 0.2%
โดยน้ำำ��หนัักแห้้ง
n เมล็็ดกััญชง (hemp seed) น้ำำ��มัันจากเมล็็ดกััญชง (hemp seed oil)
หรืือ สารสกัดั จากเมล็็ดกัญั ชง (hemp seed extract)
n กากหรืือเศษเหลืือจากการสกััดกััญชา ต้้องมีีสาร THC ไม่่เกิิน 0.2%
โดยน้ำ��ำ หนัักแห้้ง

คู่่ม� ืือสำำ�หรับั เกษตรกร 5
การปลูกู และขึ้น้� ทะเบีียนเกษตรกร ผู้ป�้ ลููกกัญั ชา กััญชง และกระท่่อม

2.  วงจรชีวี ิิต

พืืชสกุุลกััญชา เป็็นพืืชที่่�มีีดอกตััวผู้�และดอกตััวเมีียแยกกัันคนละต้้น โดยทั่่�วไปจะแยก
ความแตกต่่างของต้้นตััวเมีียและต้้นตััวผู้�ได้้ยาก แต่่สามารถแยกได้้ในช่่วงที่่�ก่่อนออกดอก
(pre-flowering) ที่่จ� ะเห็็นลักั ษณะความแตกต่่างของดอกเพศผู้�และเพศเมียี ได้้ชััดเจน
การเข้้าใจระยะต่่าง ๆ ของการเจริิญเติิบโตของพืืชสกุุลกััญชาเป็็นส่่วนที่่�สำำ�คััญในการผลิิต
พืืชสกุุลกััญชาได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพ เนื่่�องจากพืืชสกุุลกััญชาเป็็นพืืชวัันสั้้�น ซึ่�งจำ�ำ นวนแสงต่่อวััน
มีีอิทิ ธิิพลต่่อการเจริิญเติิบโตในแต่่ละระยะ ดังั นั้้�น การปลููกพืชื สกุุลกัญั ชา จำำ�เป็น็ ต้อ้ งทราบวงจรชีวี ิิต
ของพืืชสกุุลกััญชาในระยะต่่าง ๆ เพื่่�อวางแผนการปลููกได้้อย่่างถููกต้้องเหมาะสมและมีีประสิิทธิิภาพ
ในการผลิิต สามารถแบ่่งเป็น็ 2 ระยะ คืือ
n ระยะการเจริิญเติิบโตทางลำำ�ต้้น (vegetative stage) ภายใต้้สภาวะเมื่่�อได้้รัับแสง
14 - 20 ชั่ว� โมงต่่อวันั
n ระยะออกดอก (flowering stage) ภายใต้้สภาวะเมื่่�อได้ร้ ัับแสงน้้อยกว่่า 12 ชั่�วโมงต่่อวันั

2.1 ระยะการเจริญิ เติบิ โตทางลำำ�ต้้นและใบ (Vegetative growth)

2.1.1 ระยะการงอกของเมล็ด็ (Germination stage)

เมล็็ดกััญชา กััญชง เมื่่�อได้้รัับความชื้้�นอย่่างเพีียงพอ เมล็็ดจะดููดน้ำ�ำ� กระตุ้้�น
ปฏิิกิิริิยาภายในเมล็็ดส่่งผลให้้เมล็็ดพองตััว เปลืือกเมล็็ดฉีีกขาด จากนั้้�นมีีรากแก้้ว (Tap root)
เจริญิ ออกมา ตามมาด้้วยใบเลี้�ยง 1 คู่่�
: ปริมิ าณแสงที่่ไ� ด้้รับั 16 ชั่ว� โมงต่่อวันั
: ระยะเวลา 2 - 10 วันั

ภาพที่่� 2  เมล็็ดพืืชสกุุลกัญั ชา

ที่่ม� า : คณะเกษตร มหาวิิทยาลัยั เกษตรศาสตร์์

6 กรมส่่งเสริิมการเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์

การปลููกกััญชา กััญชง
และการใช้้ประโยชน์์

ภาพที่�่ 3  การงอกของเมล็ด็

ที่่ม� า : คณะเกษตร มหาวิทิ ยาลัยั เกษตรศาสตร์์

ภาพที่่� 4  การเกิดิ ใบเลี้�ยงคู่่�แรก

ที่่�มา : คณะเกษตร มหาวิทิ ยาลัยั เกษตรศาสตร์ ์

คู่่�มืือสำำ�หรัับเกษตรกร 7
การปลูกู และขึ้น้� ทะเบีียนเกษตรกร ผู้ป�้ ลูกู กััญชา กััญชง และกระท่่อม

2.1.2 ระยะต้้นกล้้า (Seedling stage)

ระยะต้้นกล้้าเริ่�มตั้้�งแต่่ระยะที่่�ต้้นกล้้าสร้้างใบจริิง (Fan leave) ขึ้�นมาคู่่�แรก
จนถึึงระยะที่่�มีีใบจริิงจำ�ำ นวน 4 - 5 คู่่� ซึ่�งในระยะนี้้�เป็็นระยะที่่�ต้้นกล้้าอ่่อนแอต่่อเชื้�อรา
และสภาพแวดล้้อม โดยเฉพาะหากวััสดุุปลููกมีีการระบายน้ำ��ำ ที่่�ไม่่ดีี อาจทำำ�ให้้ต้้นกล้้าอ่่อนแอ
และเกิดิ การเข้า้ ทำำ�ลายของโรคซ้ำ�ำ�
: ปริมิ าณแสงที่่ไ� ด้้รัับ 16 ชั่�วโมงต่่อวันั
: ระยะเวลา 2 - 3 สัปั ดาห์์

ภาพที่�่ 5  การเกิดิ ใบจริิง (Fan leave)

ที่่�มา : คณะเกษตร มหาวิทิ ยาลัยั เกษตรศาสตร์์

ภาพที่�่ 6  ระยะสุุดท้้ายของระยะต้น้ กล้า้ (ระยะใบจริิง (Fan leave) จำ�ำ นวน 4 คู่่)�
ก่่อนเข้า้ สู่�ระยะการเจริิญทางลำำ�ต้้นและใบ (Vegetative stage)

ที่่ม� า : https://2fast4buds.com/news/common-cannabis-seedling-problems-and-how-to-fix-them

8 กรมส่่งเสริิมการเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์

2.1.3 ระยะการเจริญิ ทางลำ�ำ ต้้นและใบ (Vegetative stage) การปลููกกััญชา กััญชง
และการใช้้ประโยชน์์
ในระยะนี้้�ต้้นพืืชมีีการเจริิญเติิบโตเพิ่่�มขึ้้�นทั้้�งในส่่วนของความสููง และขนาด
ทรงพุ่�่มของต้้น ดัังนั้้�น พืืชต้้องการน้ำำ�� แสงและธาตุุอาหาร โดยเฉพาะธาตุุไนโตรเจนเพิ่่�มขึ้้�น เพื่่�อใช้้
ในการเจริิญเติิบโต และช่่วงนี้้�เป็็นช่่วงเวลาที่่�เหมาะสมในการตััดแต่่งกิ่�ง เพื่่�อให้้ได้้ปริิมาณผลผลิิตที่่�สููง
เมื่่�อเข้้าสู่�ระยะออกดอก (Flowering stage) ระยะการเจริิญทางลำำ�ต้้นและใบ โดยปกติิใช้้ระยะเวลา
4 - 6 สัปั ดาห์์ แต่่ในบางกรณีอี าจใช้้ระยะเวลา 15 สัปั ดาห์์ เพื่่อ� ให้ม้ ีกี ารสร้้างกิ่ง� เพิ่่ม� เป็น็ จำ�ำ นวนมาก
เป็็นการเพิ่่�มผลผลิิตต่่อต้้น จำำ�เป็็นต้้องให้้พืืชสกุุลกััญชามีีการเจริิญเติิบโตทางลำำ�ต้้นและใบเป็็นระยะ
เวลานาน (ประมาณ 15 สััปดาห์์)
: ปริิมาณแสงที่่ไ� ด้้รัับ 18 ชั่ว� โมงต่่อวันั
: ระยะเวลา 4 - 15 สััปดาห์์

ภาพที่�่ 7 ต้น้ พืืชสกุุลกััญชาในระยะการเจริิญทางลำำ�ต้น้ และใบ (Vegetative stage)

ที่่ม� า : คณะเกษตร มหาวิทิ ยาลััยเกษตรศาสตร์์

ภาพที่�่ 8  การเพิ่่ม� ปริมิ าณจำ�ำ นวนกิ่่ง� ก้า้ นของพืชื สกุุลกัญั ชา โดยวิิธีี Sea of green

ที่่ม� า : คณะเกษตร มหาวิิทยาลััยเกษตรศาสตร์์

คู่ม่� ืือสำำ�หรัับเกษตรกร 9
การปลูกู และขึ้น�้ ทะเบีียนเกษตรกร ผู้ป�้ ลููกกััญชา กััญชง และกระท่่อม

2.2 ระยะการเจริญิ เติิบโตทางการแพร่่ขยายพัั นธุ์์� (Reproductive Growth)

2.2.1 ระยะก่่อนออกดอก (Pre-flowering Stage)

เป็็นระยะที่่�เกิิดขึ้้�นจากผลของการเปลี่�ยนแปลงจำำ�นวนชั่่�วโมงแสงที่่�ได้้รัับต่่อวััน
จาก 18 ชั่ว� โมงต่่อวันั ไปสู่� 12 ชั่ว� โมงต่่อวััน เป็น็ ระยะเวลา 1 - 3 สััปดาห์์ ต้น้ พืชื สกุุลกัญั ชามีกี ารสร้้าง
ฮอร์์โมนเพื่่�อไปกระตุ้้�นให้้เกิิดการออกดอก โดยในระยะนี้้�ต้้นพืืชจะสร้้างตาดอกซึ่ �งอยู่�บริิเวณกึ่�งกลาง
ของซอกตาใบ ซึ่�งตาดอกที่่�พััฒนาขึ้�นสามารถแยกต้้นตััวผู้�และต้้นตััวเมีียออกจากกััน โดยต้้นตััวผู้�
(ภาพที่่� 10) พบลัักษณะกระเปาะกลม เรียี กว่่า อับั เกสรเพศผู้� (Pollen sac) ส่่วนต้น้ ตัวั เมีีย (ภาพที่่� 11)
พบลัักษณะชั้�นกลีีบเลี้ย� ง (Calyx) และ เส้้นขนสีขี าว หรือื เกสรเพศเมียี (Pistil) ออกมาจากกลีีบเลี้�ยง
ซึ่�งในระยะนี้้�เป็็นระยะที่่�สำำ�คััญในการคััดเลืือกที่่�จะทำำ�ลายต้้นตััวผู้�ที่�อยู่�ในแปลง หากเป็็นการผลิิตพืืช
เพื่่�อใช้้ประโยชน์์จากช่่อดอก เนื่่�องจากหากเกิิดการผสมของเกสร จะทำำ�ให้้ปริิมาณสารสำ�ำ คััญ
ในช่่อดอกลดลง
: ปริมิ าณแสงที่่ไ� ด้้รับั น้้อยกว่่า 12 ชั่ว� โมงต่่อวันั
: ระยะเวลา 1 - 3 สัปั ดาห์์

ภาพที่�่ 9 การเปรียี บเทีียบความแตกต่่างของส่่วนประกอบ
ของดอกตัวั ผู้�และดอกตััวเมียี ในระยะก่่อนออกดอก

ที่่�มา : https://cannasos.com/news/authors/how-to-tell-female-and-male-
plants-apart

10 กรมส่่งเสริมิ การเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์

การปลููกกััญชา กััญชง
และการใช้้ประโยชน์์

ภาพที่่� 10  ตาดอกของต้น้ พืชื สกุุลกัญั ชาในระยะก่่อนออกดอกของต้น้ ตััวผู้� มีลี ักั ษณะกระเปาะกลม

ที่่�มา : https://homesteadandchill.com/sexing-cannabis-plants-male-vs-female/

ภาพที่�่ 11 ตาดอกของกััญชาในระยะก่่อนออกดอกของต้น้ ตััวเมีีย มีเี ส้้นขนสีีขาว
หรือื เกสรเพศเมียี (Pistil) ออกมาจากกลีบี เลี้ย� ง (Calyx)

ที่่�มา : https://homesteadandchill.com/sexing-cannabis-plants-male-vs-female/ 

คู่่�มืือสำำ�หรัับเกษตรกร 11
การปลูกู และขึ้น้� ทะเบีียนเกษตรกร ผู้�ป้ ลูกู กััญชา กัญั ชง และกระท่่อม

2.2.2 ระยะออกดอก (Flowering stage)

เป็็นระยะที่่�ต้้นพืืชมีีการเจริิญเติิบโตทางด้้านลำ�ำ ต้้นและใบที่่�ลดลง และมีีการ
สร้้างช่่อดอก ซึ่�งต้้นพืืชต้้องการธาตุุฟอสฟอรััสเพิ่่�มขึ้้�น และไนโตรเจนลดลง ในระยะนี้้�มีีการพััฒนา
ช่่อดอกเพิ่่�มขึ้้�น

ภาพที่่� 12  ต้้นพืืชในระยะออกดอก (Flowering stage)
ที่่�มา : คณะเกษตร มหาวิทิ ยาลัยั เกษตรศาสตร์์

ช่่อดอกที่่�พััฒนาขึ้�นในระยะนี้้� จะมีีการผลิิต Trichome (เป็็นส่่วนที่่�มีีรููปร่่าง
คล้้ายเห็็ด และส่่วนหััวประกอบด้้วย Resin gland ซึ่�งบรรจุุสารสำำ�คััญ ได้้แก่่ Cannabinoids terpenes
และ Flavonoids) เพิ่่�มขึ้้�น ต่่อมาการพััฒนาของช่่อดอกช้้าลง และใบ (Fan leaves) เปลี่�ยนจาก
สีีเขีียวเป็็นสีีเหลืือง ส่่วนของเกสรเพศเมีีย (Pistil) สีีขาวเปลี่�ยนเป็็นสีีแดง/ส้้ม เหี่่�ยวลง และสีีของ
Trichome เปลี่ย� นจากสีขี าว (Clear) ไปเป็็น สีคี ล้้ายนม (Milky) และสุุดท้า้ ยเป็น็ สีอี ำ�ำ พััน (Amber)

ภาพที่่� 13 ลัักษณะของ Trichome ในแต่่ละระยะ ได้แ้ ก่่
สีขี าว (Clear) สีคี ล้้ายนม (Milky) และสีีอำ�ำ พันั (Amber)

ที่่ม� า : คณะเกษตร มหาวิิทยาลัยั เกษตรศาสตร์์

สำ�ำ หรับั การผลิติ พืชื สกุุลกัญั ชาเพื่่อ� ใช้ป้ ระโยชน์จ์ ากช่่อดอก ระยะนี้้จ� ะมีสี ารสำำ�คัญั
ให้้มากที่่�สุุดการพััฒนาการด้า้ นการเจริญิ เติบิ โตจะสิ้�นสุุดในระยะนี้้�
: ปริมิ าณแสงที่่�ได้้รับั 12 ชั่�วโมงต่่อวันั
: ระยะเวลา 7 - 14 สัปั ดาห์์
  12
กรมส่่งเสริมิ การเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์

2.2.3 ระยะผลิิตเมล็ด็ (Seed set) การปลููกกััญชา กััญชง
และการใช้้ประโยชน์์
เป็็นระยะที่่�ต่่อเนื่่�องมาจากข้้อ 2 เมื่่�อตาดอกที่่�แสดงลัักษณะของดอกตััวผู้�
และตััวเมีียปรากฏ ประมาณ 2 - 3 อาทิิตย์์ เกสรจากต้้นตััวผู้�และเกสรตััวเมีียพร้้อมที่่�จะผสมเกสร
เมื่�อเกิิดการผสมเกสรจะเริ่�มเข้้าสู่�กระบวนการในการสร้้างเมล็็ด ซึ่�งจะใช้้ระยะเวลาประมาณ 6 สััปดาห์์
จึึงสามารถเก็็บเกี่�ยวได้้ โดยการสุุกแก่่ของช่่อดอกจะเริ่�มจากด้้านล่่างของช่่อดอกไปจนถึึงด้้านบน
ช่่อดอก และเปลืือกหุ้้�มเมล็็ด (Seed bract) เปลี่ �ยนเป็็นสีีน้ำ��ำ ตาล และแตกออก เป็็นสััญญาณของ
การสุุกแก่่ของเมล็็ด
: ปริิมาณแสงที่่�ได้้รับั 12 ชั่�วโมงต่่อวันั
: ระยะเวลา 6 สััปดาห์์

ภาพที่่� 14  ช่่อดอกต้้นพืืชสกุุลกััญชาเข้า้ สู่�ระยะสุุกแก่่

ที่่�มา : https://www.no-tillfarmer.com/articles/8534-industrial-hemp-serves-
up-new-no-till-market-opportunity 

คู่ม่� ืือสำำ�หรับั เกษตรกร 13
การปลูกู และขึ้้น� ทะเบีียนเกษตรกร ผู้�ป้ ลูกู กััญชา กัญั ชง และกระท่่อม

3. พัั นธุ์์�พืื ชสกุุลกััญชา

พัันธุ์�์ของพืชื สกุุลกัญั ชามีคี วามหลากหลาย เมื่�อแบ่่งตามการใช้ป้ ระโยชน์์ คืือ ยา อาหาร และเส้้นใย
สามารถแบ่่งได้้ ดังั นี้้�

3.1 พัั นธุ์์�สำำ�หรัับใช้้ประโยชน์์ทางการแพทย์์

พัันธุ์์�ที่ �ใช้้ประโยชน์์ทางการแพทย์์มีีหลากหลายตามการปรัับปรุุงพัันธุ์�์ของแต่่ละแหล่่งผลิิต
ทั่่�วโลก ปััจจุุบัันมีีประมาณ 600 สายพัันธุ์�์ (Bailey Rahn, 2016) และเพิ่่�มมากขึ้�นตามการ
ปรับั ปรุุงพัันธุ์�์ โดยทั่่ว� ไปพัันธุ์ท์� างการค้า้ จะพัฒั นามาจากฐานพันั ธุุกรรม 9 กลุ่่�ม ดัังนี้้�

3.1.1 กลุ่่ม� Thai

เป็็นเชื้�อพัันธุุกรรมท้้องถิ่น� ของประเทศเอเซีียตะวัันออกเฉีียงใต้้ และฐานพัันธุุกรรม
ของ C. sativa var.sativa เช่่น พัันธุ์์�หางกระรอก ฝอยทอง หมื่่�นศรีี ตะนาวศรีี และด้้ายแดง
ใช้เ้ ป็น็ ฐานเชื้อ� พัันธุุกรรมของสายพัันธุ์์�ต่าง ๆ รวมถึงึ Original haze

3.1.2 กลุ่่�ม Afghani #1

เป็็นเชื้�อพัันธุุกรรมท้้องถิ่�นของประเทศเอเซีียตะวัันออกเฉีียงใต้้ และฐานพัันธุุกรรม
ของ C. sativa var. sativa เช่่น พัันธุ์์�หางกระรอก ฝอยทอง หมื่่�นศรีี ตะนาวศรีี และด้้ายแดง
ใช้เ้ ป็น็ ฐานเชื้�อพัันธุุกรรมของสายพันั ธุ์์�ต่าง ๆ รวมถึงึ Original haze

3.1.3 กลุ่่�ม Mexican sativa

เป็็นสายพันั ธุ์์�ท้้องถิ่น� ของประเทศเม็ก็ ซิิโก มีฐี านพัันธุุกรรมของ C. sativa var. sativa
และใช้้เป็็นฐานเชื้อ� พัันธุุกรรมของสายพันั ธุ์์� Blueberry lines, Skunk #1 และ Haze

3.1.4 กลุ่่ม� Hindu Kush

เป็็นเชื้�อพัันธุุกรรมท้้องถิ่�นของประเทศอััฟกานิิสถาน และฐานพัันธุุกรรมของ
C. sativa var. Indica และใช้้เป็็นฐานเชื้อ� พันั ธุุกรรมของสายพัันธุ์�์ Kush และ OG Kush

3.1.5 กลุ่่�ม Haze

เป็็นสายพัันธุ์์�ที่�ได้้รัับการพััฒนาในประเทศเนเธอร์์แลนด์์ โดยการผสมพัันธุ์์�
ระหว่่างสายพัันธุ์์�โคลััมเบีีย อิินเดีีย และไทย มีีฐานพัันธุุกรรมของ C. sativa var. indica
เป็น็ ต้น้ กำ�ำ เนิิดของสายพันั ธุ์์� Haze

3.1.6 กลุ่่ม� Skunk #1

เป็็นสายพัันธุ์์�ลููกผสมระหว่่าง อััฟกานิิสถาน เม็็กซิิโก โคลััมเบีีย และไทย
เป็น็ ฐานพันั ธุุกรรมของสายพันั ธุ์�์ Skunk

14 กรมส่่งเสริิมการเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์

3.1.7 กลุ่่ม� Northern lights #5 การปลููกกััญชา กััญชง
และการใช้้ประโยชน์์
เป็็นสายพัันธุ์์�ลููกผสมที่่�พััฒนาในประเทศสหรััฐอเมริิกา ใช้้เป็็นฐานพัันธุุกรรม
ในการปรัับปรุุงพัันธุ์์�ต่าง ๆ ที่่�ประสบความสำำ�เร็็จ

3.1.8 กลุ่่�ม Blueberry

เป็็นสายพัันธุ์์�ที่�ได้้รัับการพััฒนาในประเทศแคนาดา มีีฐานพัันธุุกรรมของ
C. sativa var. indica เป็น็ ต้้นกำ�ำ เนิิดของสายพันั ธุ์์� Blueberry

3.1.9 กลุ่่ม� Grand daddy purple

เป็็นเชื้�อพัันธุุกรรมที่่�ได้้รัับการพััฒนาในประเทศสหรััฐอเมริิกามีีฐานพัันธุุกรรม
ของ C. sativa var.indica เป็น็ ต้น้ กำ�ำ เนิิดของสายพันั ธุ์์�ที่ม� ีสี ีมี ่่วง

3.2 พัั นธุ์์�สำำ�หรับั ใช้้ประโยชน์์ทางเมล็ด็

พัันธุ์์�พืืชสกุุลกััญชาที่่�ใช้้ประโยชน์์จากเมล็็ดส่่วนใหญ่่จะได้้รัับการพััฒนาในยุุโรป
อเมริิกาเหนืือ และจีีน มีีพัันธุ์์�ต่าง ๆ ดัังนี้้� Ermes, Ferdora17, Finola, Futura75, Helena,
Yunma และ Katani

3.3 พัั นธุ์์�สำำ�หรับั ใช้้ประโยชน์์ทางเส้้นใย

พัันธุ์์�พืืชสกุุลกััญชาที่่�ใช้้ประโยชน์์จากเมล็็ดส่่วนใหญ่่จะได้้รัับการพััฒนาในยุุโรป
อเมริิกาเหนืือ และจีีน มีีพัันธุ์์�ต่าง ๆ ดัังนี้้� Beniko, Carmagnola, Carmagnola selezionata,
Carmaleonte, Eletta campana, Felina32, Fibranova, Futura75 และ Yunma
ส่่วนสายพัันธุ์�์ของไทยสำำ�หรัับเส้้นใยได้้รัับการพััฒนาจากมููลนิิธิิโครงการหลวง
และสถาบัันวิิจัยั และพััฒนาพื้้�นที่่ส� ูงู (องค์ก์ ารมหาชน) คืือ RPF1, RPF2, RPF3 และ RPF4

คู่�ม่ ืือสำำ�หรับั เกษตรกร 15
การปลูกู และขึ้น้� ทะเบีียนเกษตรกร ผู้ป�้ ลููกกัญั ชา กััญชง และกระท่่อม

4.  การผลิติ กล้้าพัั นธุ์์�

ปัจั จััยเริ่�มต้้นในการปลูกู กััญชา กัญั ชงให้ป้ ระสบความสำำ�เร็็จ คือื การเตรียี มต้น้ กล้า้ เริ่�มตั้้�งแต่่
การเลืือกพัันธุ์�์ให้้ตรงตามวัตั ถุุประสงค์์ในการปลูกู ซึ่�งแหล่่งที่่�มาของพันั ธุ์์�ต้องเป็น็ แหล่่งที่่ไ� ด้้รัับอนุุญาต
ถูกู ต้อ้ งตามกฎหมาย การผลิิตต้้นกล้า้ พัันธุ์�์ สามารถเตรีียมได้้จาก 2 วิธิ ีี ได้แ้ ก่่

4.1 การผลิติ ต้้นกล้้าจากเมล็็ด

สิ่่�งที่่ค� วรรู้�เบื้้อ� งต้้น คืือ ประเภทของเมล็็ดพัันธุ์�์ (Type of seed) เพื่่�อเป็็นข้อ้ มูลู เบื้้�องต้้น
ในการตััดสิินใจเลืือกตามวััตถุุประสงค์์ในการปลููก ซึ่�งประเภทของเมล็็ดพืืชสกุุลกััญชามีี 3 ชนิิด
(Danko, 2018) ได้้แก่่
n เมล็็ดพัันธุ์�ทั่�วไป (Regular seed)
เมล็็ดทั่่�วไป คืือ เมล็็ดที่่�เกิิดจากการผสมพัันธุ์์�ระหว่่างต้้นตััวผู้้�กัับต้้นตััวเมีีย
มีีโอกาสที่่�จะเกิิดตัวั ตััวผู้�และต้น้ ตัวั เมียี ในอัตั รา 50 : 50 ดัังนั้้น� ในการปลูกู เพื่่อ� ใช้ผ้ ลผลิิตจากช่่อดอก
จำำ�เป็็นต้้องเพิ่่�มจำำ�นวนเมล็็ดเป็็น 2 เท่่า เพื่่�อทดแทนต้้นตััวผู้�ที่�จะถููกกำ�ำ จััดออกจากแปลงเมล็็ดพัันธุ์�์
ลููกผสมชั่่�วแรก (F1) มาจากการนำ�ำ พ่่อแม่่ที่่�เป็็นสายพัันธุ์�์แท้้สองสายพัันธุ์์�ผสมเข้้าด้้วยกััน ข้้อดีีคืือ
มีีความแข็็งแรง อััตราการเจริิญเติิบโต และให้้ผลผลิติ สููง และทุุกเมล็ด็ ที่่น� ำ�ำ ไปปลููกมีีลัักษณะเหมือื นกันั
n เมล็็ดพัันธุ์�เพศเมีีย (Feminized Seeds)
เมล็็ดเพศเมีียเกิิดจากการนำำ�ต้้นตััวเมีียมาทำำ�ให้้เป็็นต้้นกะเทย (มีีเกสรตััวผู้�
และเกสรตััวเมีียในต้้นเดีียวกััน) โดยการใช้้สารเคมีีหรืือสร้้างสภาวะเครีียดให้้แก่่ต้้นตััวเมีีย จากนั้้�น
จึึงนำำ�เกสรตััวผู้�ที่�ได้้จากต้้นตััวเมีียมาผสมกัับเกสรตััวเมีียภายในต้้นเดีียวกัันทำ�ำ ให้้ลููก (เมล็็ด) ที่่�เกิิดขึ้้�น
เป็็นตััวเมีียทั้้�งหมด ซึ่�งเมล็็ดเพศเมีียช่่วยลดการสููญเสีียเวลา พื้้�นที่่� แรงงานในการกำ�ำ จััดต้้นตััวผู้�
ในกรณีีที่่�ปลููกพืืชสกุุลกััญชาเพื่่�อใช้้ผลผลิิตจากช่่อดอก แต่่อย่่างไรก็็ตามเมล็็ดเพศเมีียมีีโอกาส
กลัับมาเป็็นต้้นกะเทยได้้หากมีีการจััดการสภาวะแวดล้้อมที่่�ไม่่เหมาะสมในช่่วงระยะการเปลี่ �ยน
จากระยะการเจริญิ เติบิ โตทางลำำ�ต้น้ และใบไปสู่�ระยะออกดอก
n เมล็ด็ พัันธุ์�ไม่่ไวแสง (Auto flowering)
เมล็ด็ ไม่่ไวแสง เกิิดจากการปรัับปรุุงพัันธุ์โ�์ ดยนำำ� Cannabis sativa var. ruderalis
เข้้ามาร่่วมในการปรัับปรุุงพัันธุ์์� ส่่งผลให้้ลููก (เมล็็ด) มีีลัักษณะพิิเศษ คืือ ไม่่ไวแสง ให้้ผลผลิิต
ตามระยะเวลาการเจริิญเติิบโต และมีีอายุุการเก็็บเกี่�ยวสั้�น มีีผลผลิิตต่ำ��ำ แต่่มีีลัักษณะที่่�แข็็งแรง
ทนทานต่่อการเข้้าทำ�ำ ลายของโรคได้ด้ ีี

16 กรมส่่งเสริิมการเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์

การปลููกกััญชา กััญชง
และการใช้้ประโยชน์์

4.2 การผลิิตต้้นกล้้าจากการตััดชำ�ำ

การตััดชำำ� เป็็นวิิธีีการที่่�สะดวก ไม่่ซัับซ้้อน ทำ�ำ ได้้ง่่าย ทำ�ำ ให้้ได้้ต้้นกล้้ามีีลัักษณะ
เหมือื นต้้นแม่่ และลดเวลาในการปลููกได้้มาก
กิ่่�งที่่�เหมาะต่่อการตััดชำำ�ต้้องมีีตาใบ ไม่่น้้อยกว่่า 2 ใบขึ้�นไป โดยตััดกิ่่�งในตำ�ำ แหน่่ง
ใต้้ตาใบ ให้้รอยปาดทำำ�มุุม 45 องศา ยาวประมาณ 2 - 2.5 เซนติิเมตร แล้้วรีีบนำำ�ไปแช่่น้ำำ��ทัันทีี
เพื่่อ� ป้้องกัันการเกิิดฟองอากาศอุุดตัันภายในท่่อน้ำำ�� ท่่อลำำ�เลีียง (embolism) ทำ�ำ ให้ก้ิ่ง� ชำำ�เหี่่ย� วและตาย
วััสดุุปลููกที่่�เหมาะต่่อการชำำ�กิ่่�ง แนะนำำ�ให้้ใช้้พีีทมอสและเพอไรท์์ ในอััตรา 60:40
โดยปริิมาตร รดน้ำำ��ให้้ชุ่่�ม ทิ้้�งไว้้ 30 นาทีี จากนั้้�นนำ�ำ กิ่่�งที่่�ได้้ลงปลููกในกระถาง เก็็บไว้้ในภาชนะ
แบบปิดิ สนิทิ เช่่น ถุุงพลาสติิก ถุุงซิิป หรืือแก้้วที่่ม� ีีฝาปิิด ตั้้�งให้อ้ ยู่ภ� ายใต้้แสง 16 ชั่ว� โมงต่่อวันั
หลัังจากปัักชำ�ำ ไป 7 วััน กิ่�งจะออกราก ให้้เจาะรููที่่�ภาชนะ เพื่่�อปรัับสภาพอากาศ
ให้้ใกล้เ้ คียี งภายนอก ทิ้้ง� ไว้้ต่่ออีีก 3 วััน แล้้วจึึงนำ�ำ ออกจากภาชนะ

ข้อ้ ควรระวัังเมื่อ�่ ปลูกู ด้้วยกิ่่�งชำำ� : ต้้นกล้า้ ที่่ไ� ด้้จากการตััดชำำ�มีีแต่ร่ ากแขนง (secondary root)
ไม่่มีีรากแก้้ว (taproot) ระบบรากไม่่แข็็งแรงหรืือลงใต้ด้ ิินเท่า่ กับั การเพาะเมล็็ด
ทำ�ำ ให้้ไม่ส่ ามารถทนต่่อสภาพอากาศแล้้งได้น้ าน

คู่�ม่ ือื สำำ�หรัับเกษตรกร 17
การปลูกู และขึ้น้� ทะเบีียนเกษตรกร ผู้ป�้ ลููกกััญชา กััญชง และกระท่่อม

5.  การปลูกู

สามารถปลููกได้้ทั้้�งในระบบเปิิดหรืือสภาพแปลง (Outdoor cultivation) โรงเรืือน
(Semi-indoor cultivation) และระบบปิิด (Indoor cultivation) ขึ้�นอยู่�กัับวััตถุุประสงค์์
ในการปลููก ผู้�ปลููกต้้องพิิจารณาปััจจััยทางสภาพแวดล้้อมหลาย ๆ ด้้าน โดยเฉพาะเรื่�อง
ความสั้้�น-ยาวของวััน หรืือปริิมาณแสงที่่�ต้้นพืืชได้้รัับต่่อวัันเพราะเกี่ �ยวข้้องการการออกดอกโดยตรง
การได้้รัับแสงไม่่เหมาะสม ทำ�ำ ให้้ต้้นออกดอกเร็็วเกิินไป ผลผลิิตก็็จะต่ำ��ำ กว่่าที่่�ควรจะเป็็น การพิิจารณา
รููปแบบการปลููกโดยพิจิ ารณาจากวััตถุุประสงค์ท์ ี่่�ปลููก ดัังแสดงในตารางที่่� 2 ดัังนี้้�

ตารางที่่� 2  การปลูกู กัญั ชา กััญชง ในรูปู แบบต่่าง ๆ เพื่่�อวััตถุุประสงค์์ที่่แ� ตกต่่างกันั

วััตถุปุ ระสงค์ร์ ููปแบบ เส้้นใย เมล็็ด สารสำำ�คััญ
(fiber) (grain) (cannabinoids)
สภาพแปลง (outdoor)
โรงเรือื น (semi-Indoor)   
ระบบปิิด (indoor)  


5.1 สภาพแวดล้้อมเหมาะสมต่่อการปลูกู

ผู้้�ปลููกจำำ�เป็็นต้้องทราบสภาพแวดล้้อมที่่�เหมาะสมในการปลููก เพื่่�อใช้้ตััดสิินใจ
และวางแผนการปลููกให้้มีีประสิิทธิิภาพ เหมาะสมกัับศัักยภาพของพื้้�นที่่� และให้้ได้้ผลผลิิตสููง
สภาพแวดล้อ้ มเหมาะสมต่่อการปลููกที่่�ส่่งผลต่่อการเจริิญเติบิ โตของกัญั ชา กัญั ชง มีดี ังั นี้้�

สภาพภููมิอิ ากาศ

n ปริิมาณน้ำำ��ฝน
กััญชา กััญชงต้้องการความชื้้�นมากที่่�สุุดในช่่วง 6 สััปดาห์์แรก เนื่่�องจากเป็็นช่่วงที่่�
เมล็็ดกำำ�ลัังงอก และเมื่่�อหลัังจาก 6 สััปดาห์์หลัังการงอกจากเมล็็ด กััญชา กััญชงสามารถทนต่่อ
สภาพแห้้งแล้้งได้้ เนื่่�องจากต้้นมีีรากที่่�สามารถหยั่่�งลึึกลงในดิิน 2 - 3 เมตร ทำ�ำ ให้้สามารถ
หาความชื้้�นที่่�สะสมอยู่�บริิเวณดัังกล่่าว แต่่อย่่างไรก็็ตาม การอยู่�ในสภาพแวดล้้อมที่่�แห้้งแล้้งรุุนแรง
ส่่งผลให้้การเจริิญเติิบโตลดลงและแคระแกรน ต้้องการปริิมาณน้ำ��ำ ฝนเฉลี่�ย 500 - 600 มิิลลิิเมตร
ต่่อวงจรชีีวิิต โดยต้้องการปริิมาณน้ำ��ำ ฝนเฉลี่�ย 250 - 350 มิิลลิิเมตร ในช่่วงระยะการเจริิญเติิบโต
ทางลำ�ำ ต้้น และความต้้องการน้ำ��ำ ของกััญชา กััญชงมีีความแตกต่่างกัันขึ้้�นอยู่�กัับพัันธุ์�์ ดิิน สภาพอากาศ
และการจัดั การภายในแปลง

18 กรมส่่งเสริิมการเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์

n ความสั้�้น-ยาวของวััน การปลููกกััญชา กััญชง
เป็็นพืืชวัันสั้้�น ความสั้้�น-ยาวของวัันสััมพัันธ์์กัับปริิมาณแสงที่่�ได้้รัับในแต่่ละวััน และการใช้้ประโยชน์์
ซึ่�งปริิมาณแสงต่่อการพััฒนาจากระยะการเจริิญเติิบโตทางลำำ�ต้้นไปสู่�ระยะออกดอก ดัังนั้้�นการวางแผน
การปลููกที่่�เหมาะสมตามช่่วงเวลาสั้�นยาวของวััน จะทำำ�ให้้พืืชที่่�ปลููกมีีผลผลิิตสููง เนื่่�องจากกััญชา
กััญชงมีีช่่วงเวลาการเจริิญเติิบโตทางลำำ�ต้้นที่่�ยาวนานเพีียงพอ ทำำ�ให้้สามารถผลิิตช่่อดอกหรืือผลผลิิต
ที่่�เพิ่่�มขึ้้�น
n อุุณหภููมิิ
อุุณหภููมิิเป็็นปััจจััยที่่�มีีความสำ�ำ คััญต่่อการเจริิญเติิบในแต่่ละระยะของพืืช
สกุุลกััญชา ซึ่�งกััญชา กััญชงสามารถปรัับตััวเจริิญเติิบโตได้้ดีีที่่�อุุณหภููมิิ 19 - 28 องศาเซลเซีียส
มีีการศึึกษาการปลููกพืืชสกุุลกััญชา เพื่่�อผลิิตเส้้นใยในเขตเมดิิเตอร์์เรเนีียน พบว่่า อุุณหภููมิิสะสม
(Growing degree day; GDD) ที่่�เหมาะสมกัับการปลููก เพื่่�อผลิิตเส้้นใยอยู่�ระหว่่าง
1,900 - 2,000 องศาเซลเซีียส และอุุณหภููมิิสะสมสำ�ำ หรัับการปลููกเพื่่�อผลิิตเมล็็ด (Grain)
อยู่ร� ะหว่่าง 2,700 - 3,000 องศาเซลเซียี ส (Adesina et al., 2020)

ที่่ต� ั้้ง� และคุุณสมบัตั ิดิ ินิ

n ที่ต�่ ั้�ง้
ที่่�ตั้้ง� ของประเทศไทยตั้้�งอยู่ร� ะหว่่างละติจิ ููดที่่� 5 องศา ถึึง 20 องศา ซึ่�งความแตกต่่าง
ของตำ�ำ แหน่่งละติิจููด ส่่งผลต่่อปริิมาณแสงอาทิิตย์์ที่่�ได้้รัับในแต่่ละฤดููกาลที่่�แตกต่่างกััน
ละติิจููดที่่�สููงจะมีีความแตกต่่างของชั่ �วโมงแสงที่่�ได้้รัับในแต่่ละฤดููกาลมากกว่่าพื้้�นที่่�ที่่�ตั้้�งอยู่ �ในละติิจููด
ที่่�ต่ำำ�� กว่่า ซึ่�งในการปลููกกััญชา กััญชงปริิมาณช่่วงแสงที่่�ได้้รัับในแต่่ละเดืือนจะมีีผลต่่อการวางแผน
ในการผลิิต เนื่่�องจากกััญชา กััญชงเป็็นพืืชวัันสั้้�น หากมีีการปลููกในช่่วงที่่�มีีปริิมาณแสงต่ำ��ำ กว่่า
12 ชั่�วโมงต่่อวััน จะทำำ�ให้้มีีระยะเวลาในการสร้้างการเจริิญเติิบโตของลำำ�ต้้นไม่่เพีียงพอ ย่่อมส่่งผล
ให้้ได้้ผลผลิิตต่ำำ�� ซึ่�งจากภาพที่่� 15 แสดงให้้เห็็นว่่า จัังหวััดเชีียงใหม่่ ตั้้�งอยู่�ในละติิจููดที่่� 18 องศา
ซึ่�งอยู่�ในละติิจููดที่่�สููงกว่่ายะลา (ตั้้�งอยู่�ในละติิจููดที่่� 6 องศา) มีีความแตกต่่างของจำำ�นวนชั่่�วโมงแสง
ที่่�ได้้รัับในแต่่ละฤดููกาลสููงกว่่าจัังหวััดยะลา ซึ่�งอยู่�ในละติิจููดที่่�ต่ำ��ำ กว่่า ดัังนั้้�นสภาพที่่�ตั้้�งจึึงเป็็นปััจจััย
ที่่�สำำ�คััญในการวางแผนการผลิิต 

คู่ม�่ ือื สำำ�หรับั เกษตรกร 19
การปลูกู และขึ้�น้ ทะเบียี นเกษตรกร ผู้ป�้ ลููกกัญั ชา กััญชง และกระท่่อม

ภาพที่่� 15  แสดงปริิมาณชั่�วโมงของแสงที่่�ได้้รัับในช่่วงเวลากลางวันั ของจังั หวัดั เชียี งใหม่่
พิษิ ณุุโลก ขอนแก่่น กรุุงเทพฯ สระแก้ว้ ประจวบคีีรีีขันั ธ์์ ชุุมพร ภููเก็ต็ กระบี่่�
นครศรีธี รรมราช ยะลา และนราธิวิ าส

ที่่ม� า : ลอย ชุุนพงษ์์ทอง

n ความลาดชััน
ความลาดชัันเป็็นปััจจััยที่่�มีีความสััมพัันธ์์ในการจััดการแปลงและการเก็็บเกี่ �ยว
โดยพื้้�นที่่�ที่่�มีีความลาดชัันมากกว่่า 35% ไม่่ควรปลููกกััญชา กััญชง เนื่่�องจากมีีปััญหาในด้้านการ
เก็็บเกี่�ยว ทั้้�งนี้้�ความลาดชัันในอุุดมคติิที่่�เหมาะสมกัับการปลููกกััญชา กััญชง คืือ ความลาดชัันที่่� 5%
และหากมีีความลาดชัันเกินิ 5% จะทำ�ำ ให้้เกิดิ การชะล้้างหน้้าดินิ ในช่่วงฤดูฝู น
n คุุณสมบััติดิ ิิน
สามารถเจริิญเติิบโตได้้ดีีในดิินที่่�ลัักษณะดิินที่่�มีีโครงสร้้างร่่วนซุุย (Loose) ระบายน้ำ��ำ ได้้ดีี
และมีีอิินทรีียวััตถุุสููง ซึ่�งสภาพดิินที่่�เหมาะสมควรมีีค่่าความเป็็นกรด-ด่่าง อยู่�ระหว่่าง 5.8 - 6
และเนื้้อ� ดิินที่่เ� หมาะสมในการปลููก คืือ เนื้้�อดินิ ร่่วนปนทราย (Sandy loam) แต่่เนื้้�อดินิ ที่่ค� วรหลีีกเลี่ย� ง
คืือ ดิินเหนียี วจััด (Heavy clay) เนื่่อ� งจากมีีการระบายน้ำ��ำ และอากาศไม่่ดีี และดินิ ทราย (Sandy soil)
มีีข้้อจำ�ำ กััดเรื่�องของการอุ้้�มน้ำ�ำ� และในพื้้�นที่่�ปลููกกััญชา กััญชง สภาพดิินไม่่ควรมีีชั้�นดานภายในแปลง
นอกจากจะทำ�ำ ให้้รากของพืืชเมื่่�อเจริิญไปถึึงชั้�นดาน รากจะมีีลัักษณะเป็็นรููปตััว L ทำ�ำ ให้้การดููดใช้้น้ำ�ำ�
และธาตุุอาหารมีีประสิิทธิิภาพลดลง และนอกจากนี้้� ชั้�นดานส่่งผลให้้เกิิดการระบายน้ำ�ำ�ไม่่ดีี
เกิิดสภาพน้ำ�ำ� ขัังใต้้ผิิวดิิน (Water logging) ทำำ�ให้้เกิิดรากเน่่าของต้้นพืืชภายในแปลง โดยเฉพาะ
ในระยะต้น้ กล้า้

20 กรมส่่งเสริิมการเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์

ตารางที่่� 3  แสดงระดัับความต้้องการปััจจััยของกััญชา กััญชง (Crop requirement of Cannabis) การปลููกกััญชา กััญชง
และการใช้้ประโยชน์์
ระดัับความต้้องการปััจจััยของพืชื ค่า่ พิสิ ััย
คุุณลัักษณะของที่�ด่ ินิ ปัจั จััยในการเจริญิ เติบิ โต หน่่วย S1 S2 S3 N

อุณหภููมิิ (t) ค่ากลางอุณหภูมู ิิ c 24 - 28 29 - 33 34 - 38 >38
ในช่่วงการเจริิญเติบิ โต 23 - 19 19 - 15 <15

ความชุ่ม�่ ชื้้�นที่่�เป็็นประโยชน์ต์่อพืชื (m) ปริิมาณน้ำ��ำ ฝนประจำำ�ปีี mm.

ความต้อ้ งการน้ำ��ำ ในช่่วง mm. 500 - 600 600 - 700 700 - 800 >800
ระยะการเจริิญเติบิ โต 400 - 500 300 - 400 <300

ความเป็น็ ประโยชน์์ของออกซิเิ จนต่่อรากพืชื (o) การระบายน้ำ�ำ� class 6, 5 4 3 1, 2

ความเป็น็ ประโยชน์ข์ องธาตุอาหาร (s) N (total) %
P ppm
K ppm
อิินทรียี วัตั ถุ %

ปริิมาณธาตุ อาหาร class VH,H,M L

ความจุุในการดูดู ยึดึ ธาตุอาหาร (n) CEC ดิินล่่าง meq/100g >10 <10 <3

BS ดิินล่่าง % >35 <35

สภาวะการหยั่่ง� ลึึกของราก (r.) ความลึึกของดินิ cm. >100 50 - 100 25 - 50 <25

ปริิมาณก้้อนหินิ % <15 15 - 40 40 - 80 >80

การหยั่่ง� ลึึกของราก class 1,2 3 4

ความเสีียหายจากน้ำ�ำ� ท่่วม (f) ความถี่่� ปี/ี ครั้้�ง 10/1 6 - 9/1 3 - 5/1 1 - 2/1

การมีีเกลืือมากเกิินไป (x) EC. Of saturation mmho/cm <1 1 - 2.5 2.6 - 3.5 >3.5

สารพิิษ (z) ความลึกึ ของชั้�นจาโรไซต์์ cm. >150 100 - 150 50 - 100 <50
ปฏิิกิิริยิ าในสภาวะน้ำำ��แช่่ขังั pH 6.5 - 7.5 7.6 - 8.0 8.1 - 8.5 >8.6

6.0 - 6.4 5.5 - 5.9 <5.4

สภาวะเกษตรกรรม (k) ชั้�นความยากง่ายในการเขตกรรม class 1, 2 3 4

ศัักยภาพการใช้เ้ ครื่่อ� งจัักร (w) ความลาดชันั class ABC D E >E

ปริิมาณหินิ กรวด class 1 2 3 4

ปริิมาณก้อ้ นหินิ class 1 2 3 4

ความเสียี หายจาก ความลาดชันั class A,B C D >D
การกร่อนดินิ (e.) การสูญู เสียี หน้า้ ดินิ ton/rai/yrs <2 2 - 4 4 - 12 >12

หมายเหตุุ : ความสั้้�น - ยาวของวััน : เข้า้ สู่�ระยะออกดอก เมื่�อความยาวแสงต่ำ��ำ กว่่า 12 ชั่ว� โมง,
ช่่วงเวลาในการเจริิญเติิบโต : 150 - 180 วััน
ช่่วงวิิกฤต (ความชื้้น� ) : ระยะ Vegetative growth ,
เนื้อ� ดินิ ที่่เ� หมาะสมต่่อการเจริิญเติิบโตของพืชื - sl fsl,
อื่่�น ๆ อ่่อนแอต่่อความชื้้�นในดินิ ที่่�มากเกิินไป และสภาพน้ำ�ำ�ขัังใต้้ผิวิ ดิิน (Water logging)

คู่ม่� ืือสำำ�หรับั เกษตรกร 21
การปลูกู และขึ้้น� ทะเบีียนเกษตรกร ผู้ป�้ ลูกู กัญั ชา กัญั ชง และกระท่่อม

อย่่างไรก็็ตาม กรมวิิชาการเกษตรได้ร้ ่่วมมืือกัับกรมพััฒนาที่่�ดิินทำำ�การศึึกษา (ในระหว่่างเดืือน
มีีนาคม ถึึง เมษายน 2564) เพื่่�อพััฒนาแผนที่่�ความเหมาะสมสำ�ำ หรัับปลููกกััญชา กััญชงในสภาพ
แปลงปลููกกลางแจ้ง้ ของประเทศไทย แยกตามระดัับความเหมาะสม (ภาพที่่� 16) สามารถจำ�ำ แนกได้้ ดังั นี้้�
1. ความเหมาะสมสููง (S1) จำ�ำ นวน 6,273,298 ไร่่
2. มีคี วามเหมาะสมปานกลาง (S2) จำำ�นวน 33,173,383 ไร่่
3. มีคี วามเหมาะสมเล็็กน้้อย (S3) จำำ�นวน 28,989,620 ไร่่
4. ไม่่เหมาะสม (N) จำำ�นวน 133,484,303 ไร่่
รายละเอีียดสามารถสืบื ค้น้ ได้ท้ ี่่� https://fc.doa.go.th/hemp

ภาพที่�่ 16  แผนที่่ค� วามเหมาะสมของการปลูกู กัญั ชา กััญชงในสภาพกลางแจ้ง้ ของประเทศไทย

22 กรมส่่งเสริิมการเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์

5.2 การปลููกในระบบเปิดิ /สภาพแปลง (outdoor) การปลููกกััญชา กััญชง
และการใช้้ประโยชน์์
การเตรีียมดิินและการปลูกู

n การเตรีียมดิิน
การเตรียี มดินิ ควรไถพรวนอย่่างน้อ้ ย 2 ครั้้ง� ครั้้�งแรกเป็น็ การไถดะ ด้้วยผาน 3 หรือื
ผาน 4 ให้้ความลึกึ ประมาณ 30 เซนติิเมตร และตากดินิ ไว้้ประมาณ 10 - 15 วันั เพื่่อ� ทำ�ำ ลายวััชพืืช
และศััตรููพืืชในดิินบางชนิิด ครั้้�งที่่�สองเป็็นการไถแปรเพื่่�อให้้ดิินแตกละเอีียด ด้้วยผาน 7 โดยไถ
ขวางรอยเดิิม แล้้วยกร่่องระบายน้ำ��ำ ความสููงประมาณ 50 เซนติิเมตร และแต่่ละแถวมีีระยะห่่างกััน
100 เซนติเิ มตร เพื่่อ� การระบายน้ำ��ำ ที่่ด� ีีขึ้น� ด้ว้ ย
n การปลููก
วิธิ ีีการปลููกในระบบเปิดิ หรืือสภาพแปลงปลูกู สามารถปลููกได้้ 2 แบบ คืือ
1) การปลููกแบบด้้วยวิิธีีการหว่่าน เหมาะสำำ�หรัับการปลููกเพื่่�อผลิิตเส้้นใย (Fiber)
ในประเทศไทยนิิยมปลููกในช่่วงเดืือนมิิถุุนายนถึึงเดืือนกัันยายน ขึ้�นอยู่�กัับพื้้�นที่่�และสภาพแวดล้้อม
โดยเฉพาะปริิมาณน้ำ��ำ ฝนของแต่่ละภููมิิภาค โดยมีีอััตราการใช้้เมล็็ดพัันธุ์์�สำ�หรัับการปลููกเพื่่�อผลิิตเส้้นใย
ประมาณ 10 กิโิ ลกรััมต่่อไร่่ (ปปส. มปป.)
2) การปลููกแบบด้้วยวิิธีีการหยอดหลุุมด้้วยเมล็็ดและต้้นกล้้า (แบบประณีีต)
เหมาะสำำ�หรัับการปลููกเพื่่อ� การผลิิตเมล็ด็ (Grain) และช่่อดอก โดยทั่่�วไปนิยิ มปลููกเพื่่อ� ผลิติ เมล็็ดพันั ธุ์์�
ในช่่วงเดืือนกรกฎาคมถึึงเดืือนมกราคม และมีีอััตราการใช้้เมล็็ดพัันธุ์�์ ประมาณ 2 กิิโลกรััมต่่อไร่่
(ปปส. มปป.) ส่่วนการปลููกเพื่่อ� ผลิิตช่่อดอกในสภาพแปลงปลููกยังั ไม่่เคยมีีรายงานมาก่่อน
n ระยะปลููกการปลููก
ระยะปลููกที่่�เหมาะสม คืือ ระยะปลููกระหว่่างแถว 100 เซนติิเมตร และระยะห่่าง
ระหว่่างต้้น 30 - 60 เซนติิเมตร (García-Tejero et al., 2019) จะได้้จำำ�นวนต้้น เท่่ากัับ
2,666 - 5,333 ต้้นต่่อไร่่ การปลููกด้้วยเมล็็ด ควรหยอดหลุุมละ 3 - 5 เมล็็ด ลึึกไม่่เกิิน
1 - 2 เซนติิเมตร ส่่วนการปลููกด้้วยต้้นกล้้าควรใช้้ต้้นกล้้าอายุุไม่่เกิิน 4 สััปดาห์์ และมีีการ
กระตุ้้�นต้้นกล้้าให้้แข็็งแรงก่่อนย้้ายปลููก (hardening) เช่่น การงดน้ำ��ำ ก่่อนย้้ายปลููก 1 วันั

ภาพที่่� 17  สภาพการปลูกู ในระบบเปิดิ (Outdoor)

ที่่ม� า : https://420beginner.com/how-to-grow-hemp/ 

คู่ม่� ือื สำำ�หรับั เกษตรกร 23
การปลูกู และขึ้น้� ทะเบีียนเกษตรกร ผู้�ป้ ลูกู กััญชา กััญชง และกระท่่อม

n การใส่่ปุ๋๋�ย
การใส่่ปุ๋๋�ยเคมีีควรแบ่่งใส่่ 3 ครั้้�ง ตามระยะการเจริิญเติิบโตของต้้นกััญชา กััญชง
เพื่่�อให้ม้ ีีธาตุุอาหารเพีียงพอกัับการเจริญิ เติบิ โตและสร้้างผลผลิิตได้เ้ ต็ม็ ที่่� (García-Tejero et al., 2019)
(ตารางที่่� 4)

ตารางที่่� 4  การใส่่ปุ๋๋ย� กััญชา กััญชง

ระยะเวลาหลัังปลููก (วััน) ปริิมาณธาตุุอาหาร (กิโิ ลกรััมต่่อไร่)่
N P2O5 K2O
15 7.20 2.40 7.20
30 6.56 4.30 9.76
ก่่อนออกดอก 1.92 1.92 3.84

5.3 การปลูกู ในระบบปิดิ (Indoor)

การปลููกในโรงเรืือนปิิดควบคุุม (Plant factory) โดยการปลููกภายใต้้สภาพแวดล้้อม
ที่่�ควบคุุมทั้้�งหมด ได้้แก่่ แสง อุุณหภููมิิ ความชื้้�น ปริิมาณธาตุุอาหารและน้ำำ�� ทำ�ำ ให้้จััดการเรื่�อง
การระบาดของโรคและแมลงได้้ดีี ลดการใช้้สารเคมีี อาจจะปลููกด้้วยวััสดุุปลููกหรืือระบบไฮโดรโพนิิกส์์ก็็ได้้
ทำำ�ให้้ได้้กััญชาที่่�มีีคุุณภาพเหมาะสมสำ�ำ หรัับนำำ�ไปใช้้ประโยชน์์ทางการแพทย์์ มีีความแม่่นยำ�ำ สููง
และราคาต้น้ ทุุนก็็สูงู ขึ้�นเช่่นกันั

ภาพที่�่ 18  โรงเรือื นแบบปิดิ แบบอาคารปลููกพืชื (Plant factory)
ที่่�มา : คณะเกษตร มหาวิทิ ยาลัยั เกษตรศาสตร์์

24 กรมส่่งเสริมิ การเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์

การปลููกกััญชา กััญชง
และการใช้้ประโยชน์์

ภาพที่่� 19  โรงเรือื นแบบปิดิ แบบตู้้�คอนเทรนเนอร์์
ที่่�มา : https://www.pngkey.com/detail/u2e6w7w7a9y3e6u2_grow-like-
the-pros-container-farm/

การปลููกในระบบปิิด (Indoor) ผู้�ปลููกจำำ�เป็็นต้้องทราบถึึงปััจจััยเบื้้�องต้้นที่่�สำำ�คััญสำำ�หรัับ
การปลููกในระบบปิิดตามระยะการเจริิญเติิบโตของกััญชา กััญชง เพื่่�อเป็็นข้้อมููลเบื้้�องต้้นประกอบ
การปลููกอย่่างมีีประสิิทธิิภาพให้้ได้้ผลผลิิตสููงสุุดและลดต้้นทุุนการผลิิตต่่อหน่่วยพื้้�นที่่�ลง โดยมีี
รายละเอียี ดของแต่่ละปัจั จััยตามระยะการเจริิญเติบิ โตของกัญั ชา กัญั ชง ดังั ตารางที่่� 5

ตารางที่่� 5  การควบคุุมปััจจััยสภาพแวดล้้อมตามระยะการเจริิญเติิบโตของกััญชา กััญชง

ระยะต้้นกล้้า ระยะเจริญิ เติบิ โต ระยะก่่อน ระยะ
ทางลำ�ำ ต้้น ออกดอก ออกดอก

ระยะเวลา (วััน) 14 21 - 42 3 - 7 48 - 70

ความเข้้มแสง 150 - 200 450 - 500 450 - 500 700 - 800
(ไมโครโมลต่่อตารางเมตร ค่่อยปรัับให้ถ้ ึึง
ต่่อวิินาทีี) 700 - 800

ความยาวของชั่�วโมงแสงต่่อวันั 18 18 12 12
(ชั่ว� โมง)

อุุณหภูมู ิิห้้อง (องศาเซลเซียี ส) 21 - 23 26 - 29 26 - 29 26 - 29

ความชื้้�นสัมั พัทั ธ์์ (%) 100 75 - 80 55 - 67 55 - 67

ความเข้้มข้น้ ของ CO2 (ppm) 400 1,200 - 1,500 1,200 - 1,500 400

คู่่ม� ืือสำำ�หรับั เกษตรกร 25
การปลูกู และขึ้น�้ ทะเบีียนเกษตรกร ผู้�ป้ ลูกู กัญั ชา กััญชง และกระท่่อม

5.4 การปลูกู ในระบบกึ่่�งปิดิ (Semi-indoor or Greenhouse)

ระบบการปลููกพืืชสกุุลกััญชาในระบบกึ่�งปิิด เป็็นการปลููกภายในสภาพโรงเรืือน
ที่่�มีีการควบคุุมสภาพแวดล้้อมและปััจจััยสำ�ำ หรัับการเจริิญเติิบโตเพีียงบางส่่วน โดยยัังมีีความต้้องการ
ใช้้ประโยชน์์จากปััจจััยควบคุุมการเจริิญเติิบโตตามธรรมชาติิในการปลููกกััญชา กััญชงตามฤดููกาลปกติิ
เช่่น แสงและความยาวแสง การปลููกในระบบกึ่�งปิิดสามารถเพิ่่�มประสิิทธิิภาพของการผลิิต
ให้้กัับผู้�ปลููก โดยการขยายฤดููปลููก (ซึ่�งปกติิมีีเพีียงหนึ่่�งครั้้�งต่่อปีี) ให้้สามารถปลููกได้้มากขึ้�น
ตามความต้้องการของผู้�ปลููก นอกจากนี้้�การปลููกพืืชกััญชา กััญชงภายใต้้ระบบกึ่ �งปิิดยัังจะเป็็น
การใช้้ประโยชน์์โรงเรืือนในการปกป้้องพืืชทั้้�งในระยะเยาว์์วััย (Seedling stage) ที่่�ค่่อนข้้างมีี
ความอ่่อนแอ และระยะเจริญิ เติิบโต ด้า้ นการสร้า้ งกิ่�ง ใบ ก้า้ น (Vegetative stage) และการพัฒั นาช่่อดอก
(Flowering stage) จากสภาพแวดล้้อมและศััตรููพืืชในธรรมชาติิ รููปแบบของโรงเรืือนแบบกึ่ �งปิิด
ที่่�นิยิ มใช้โ้ ดยทั่่ว� ไปมีีหลายแบบตามความสามารถในการลงทุุนและวััตถุุประสงค์์ของผู้�ปลููกเป็น็ สำ�ำ คัญั

ภาพที่่� 20  โรงเรือื นแบบกึ่ง� ปิดิ สำำ�หรับั การเพาะขยายพัันธุ์์�และอนุุบาลต้้นกล้้า

ที่่ม� า : https://www.vpr.org/post/vermonts-third-hemp-growing-season-more-acreage-
new-products#stream/0

ภาพที่�่ 21  โรงเรืือนแบบกึ่�งปิดิ สำำ�หรับั การเจริิญเติิบโตและการพัฒั นาช่่อดอก

ที่่ม� า : https://kindseeds.net/best-strains-to-grow-in-a-greenhouse/

26 กรมส่่งเสริมิ การเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์

6. ต้้นทุุนการผลิิต การปลููกกััญชา กััญชง
และการใช้้ประโยชน์์

6.1 ต้้นทุนุ การผลิติ ในสภาพแปลงกลางแจ้้ง

การปลููกแบบสภาพแปลงมีีต้้นทุุนการผลิิตแตกต่่างกัันตามวััตถุุประสงค์์ในการปลููก
ดัังแสดงในตารางที่่� 6 ดัังนี้้�

ตารางที่่� 6 ต้้นทุุนการผลิติ การปลูกู แบบกลางแจ้้ง

รายการ ปลููกเพื่่อ� ผลิติ เมล็็ด ปลููกเพื่่อ� ผลิติ เส้้นใย
ต้น้ ทุุนแปรผััน 2,861.83 2,267.58
ต้้นทุุนคงที่่� 863.51 575.67
ต้้นทุุนต่่อไร่่ 8,242.51 9,028.82
ต้้นทุุนต่่อกิิโลกรััม 47.1 2.01
ผลผลิติ ต่่อไร่่ (กก./ไร่่) 175 4,500
ราคาผลผลิิต (บาท/กก) 150 5
รายได้้ (บาทต่่อไร่่) 26,250 22,500
รายได้้สุุทธิิ (บาทต่่อไร่่) 18,007.82 13,471.18

6.2 ต้้นทุนุ การผลิติ การปลูกู แบบระบบปิดิ

การลงทุุนของระบบปิิดสำำ�หรัับปลููกพืืชสกุุลกััญชาในช่่วงแรกมีีการลงทุุนที่่�ค่่อนข้้างสููง
ทั้้�งในส่่วนของระบบควบคุุมและเครื่่�องมือื ต่่าง ๆ โดยเฉลี่ย� ประมาณ 35,000 - 50,000 บาทต่่อตารางเมตร
ซึ่ง� ยัังไม่่รวมวััสดุุสิ้้�นเปลืืองทางการเกษตรที่่ใ� ช้ส้ ำำ�หรับั การปลููกกัญั ชา กัญั ชง

6.3 ต้้นทุนุ การผลิิตการปลูกู แบบระบบกึ่่�งปิดิ
(Semi-indoor or Greenhouse)

ต้้นทุุนการผลิิตการปลููกแบบโรงเรืือนแบบกึ่ �งปิิดหรืือ Green house ราคาจะถููกกว่่า
และใช้พ้ ลังั งานไฟฟ้้าน้้อยกว่่าโรงเรืือนแบบระบบปิิด มีีต้น้ ทุุนการผลิิตเฉลี่ย� ประมาณ 800 - 1,000 บาท
ต่่อตารางเมตร

คู่่ม� ือื สำำ�หรัับเกษตรกร 27
การปลูกู และขึ้น�้ ทะเบียี นเกษตรกร ผู้ป�้ ลูกู กััญชา กััญชง และกระท่่อม

จากข้้อมููลที่่�กล่่าวมาข้้างต้้นสามารถนำำ�มาสรุุปเปรีียบเทีียบข้้อดีีและข้้อเสีียของระบบการปลููก
พืชื สกุุลกััญชา ปรากฎดังั ตารางที่่� 7

ตารางที่่� 7  การเปรียี บเทียี บรูปู แบบของระบบการปลูกู พืืชกััญชา กัญั ชง

รููปแบบ ข้้อดีี ข้้อเสีีย ข้้อพิิจารณา
ระบบเปิิด  ต้้นทุุนต่ำ�ำ� เนื่่�องจาก  ปลูกู ได้เ้ พียี งหนึ่่�งครั้้�งต่่อปีี  เหมาะกัับเกษตรกร ในพื้้น� ที่่�
ระบบปิิด  ไม่่สามารถควบคุุมปััจจัยั ต่่าง ๆ
ใช้ส้ ภาพแวดล้อ้ ม ที่่�มีคี วามเหมาะสมสูงู (S1)
ระบบกึ่่�งปิิด ตามธรรมชาติิ โดย ได้้ทำำ�ให้เ้ กิดิ ความเสี่�ยงจาก สำ�ำ หรับั ปลููกพืชื สกุุลกััญชา
ไม่่มีกี ารควบคุุมใด ๆ สภาพแวดล้้อม โรคและแมลง  เหมาะกัับระบบการผลิติ
 สามารถปลูกู ได้ท้ ุุกที่่�  ต้้นทุุนการผลิิตสูงู ที่่�สุุด พืชื สกุุลกัญั ชาระดับั
โดยไม่่มีขี ้อ้ จำำ�กัดั ของ เนื่่อ� งจากต้้องใช้อ้ ุุปกรณ์์ อุุตสาหกรรม เพื่่�อใช้้
สภาพแวดล้้อม ควบคุุมปััจจััยการผลิิต ประโยชน์์ทางการแพทย์์
 สามารถปลูกู และเก็บ็ เกี่ �ยว ที่่จ� ำำ�เป็น็ ทั้้ง� หมด ซึ่ง� ต้อ้ งการผลผลิิตที่่ม� ีี
ผลผลิติ ได้้หลายรอบต่่อปีี  อาจมีขี ้อ้ จำำ�กัดั ของ ความสม่ำ�ำ� เสมอและ
 สามารถควบคุุมปััจจัยั เรื่อ� งระบบไฟฟ้้า มีคี ุุณภาพสููง
การผลิิตได้้ทุุกอย่่าง และควรมีีระบบบริหิ าร
 ผลผลิิตมีคี วามสม่ำ�ำ� เสมอ จััดการความเสี่ย� ง  เหมาะกัับพื้้น� ที่่ท� ี่่ม� ีีปริมิ าณ
และมีคี ุุณภาพสูงู แสง/ช่่วงความยาวแสง
 ป้อ้ งกันั การโดนทำำ�ลาย  ต้น้ ทุุนสููงกว่่าระบบเปิิด ต่่อวันั ที่่เ� หมาะสมสำ�ำ หรับั
จากสภาพแวดล้อ้ ม โรค แต่่น้อ้ ยกว่่าระบบปิิด ปลููกพืืชสกุุลกัญั ชา
และแมลงได้เ้ ป็น็ อย่่างดีี เนื่่อ� งจากอาจมีีการติดิ ตั้้�ง เนื่่อ� งจากระบบกึ่ง� ปิิด
 ระบบรัักษาความปลอดภััย อุุปกรณ์์ควบคุุมปััจจัยั ยังั คงใช้ป้ ระโยชน์์จาก
ได้้มาตรฐานและ การผลิิตที่่จ� ำำ�เป็น็ เพิ่่�มเติมิ แสงธรรมชาติเิ ป็น็ หลััก
มีปี ระสิทิ ธิภิ าพสูงู สุุด เช่่น แสงเทียี ม
 สามารถเพิ่่�มรอบการปลูกู
และเก็บ็ เกี่ย� วผลผลิิตได้้
มากกว่่าหนึ่่�งครั้้ง� ต่่อปีี
 ควบคุุมปัจั จัยั การผลิิต
ได้บ้ างส่่วน
 ป้้องกันั การโดนทำำ�ลาย
จากสภาพแวดล้้อม เช่่น
ฝน ลม และพายุุ
 ควบคุุมการระบาดของโรค
และแมลงได้้ระดับั หนึ่่ง�

28 กรมส่่งเสริิมการเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์

7. การเก็็บเกี่่�ยวผลผลิิต การปลููกกััญชา กััญชง
และการใช้้ประโยชน์์
การเก็็บเกี่�ยวผลผลิิตนัับเป็็นช่่วงเวลาสำ�ำ คััญที่่�เกษตรกรเฝ้้ารอและคาดหวัังความสำำ�เร็็จของ
กระบวนการปลููกตั้้�งแต่่เริ่ �มต้้นจนกระทั่่�งพืืชเจริิญเติิบโตและสามารถเก็็บเกี่ �ยวผลผลิิตได้้ในที่่�สุุด
ซึ่�งกััญชา กััญชง มีีการเก็็บเกี่�ยวที่่�แตกต่่างกัันไปทั้้�งช่่วงเวลาและวิิธีีการปฏิิบััติิ โดยการเก็็บเกี่�ยวขึ้�นอยู่�กัับ
วัตั ถุุประสงค์์ของการปลูกู เป็น็ สำำ�คัญั

7.1 การเก็็บเกี่่ย� วเส้้นใย

ในประเทศไทยยัังไม่่มีีการปลููกเชิิงอุุตสาหกรรม การเก็็บเกี่�ยวเพื่่�อผลิิตเส้้นใยจะใช้้
แรงงานคนเป็น็ หลักั (ภาพที่่� 22) แตกต่่างกับั ในต่่างประเทศที่่�มีีการปลููกและผลิติ กัญั ชงเชิิงอุุตสาหกรรม
(Industrail hemp) เป็็นการปลููกในพื้้�นที่่�ขนาดใหญ่่ทำ�ำ ให้้ง่่ายและคุ้้�มค่่าในการใช้้เครื่่�องจัักรกล
เพื่่อ� ดำ�ำ เนิินการเก็็บเกี่�ยวผลผลิิต (ภาพที่่� 23)

ภาพที่่� 22  การเก็็บเกี่ย� วผลผลิิตต้น้ สดกััญชงเพื่่อ� ผลิิตเส้น้ ใยของชาวเขาในประเทศไทย

ที่่ม� า : https://www.oncb.go.th/ncsmi/doc3

ภาพที่�่ 23  การเก็บ็ เกี่ย� วผลผลิิตต้น้ สดกัญั ชงเพื่่�อผลิติ เส้น้ ใย
ที่่�มา : https://budsfeed.com/product/hempflax-modified-john-deere-t660i-double-
cut-combine--1568553920792x253278131975094270 

คู่ม�่ ือื สำำ�หรัับเกษตรกร 29
การปลูกู และขึ้้�นทะเบียี นเกษตรกร ผู้ป�้ ลููกกัญั ชา กััญชง และกระท่่อม

7.2 การเก็บ็ เกี่่ย� วเมล็็ด

การปลููกกััญชงเพื่่�อการผลิิตเมล็็ดในประเทศไทย เป็็นการผลิิตขึ้�นเพื่่�อใช้้เป็็นเมล็็ดพัันธุ์์�
สำำ�หรัับปลููกในฤดููกาลถััดไป ไม่่ปรากฎการปลููกเพื่่�อผลิิตเมล็็ด (Grain) สำ�ำ หรัับการบริิโภค
เหมืือนในต่่างประเทศ โดยทั่่�วไปการปลูกู กััญชงเพื่่อ� ผลิติ เมล็ด็ พัันธุ์จ�์ ะนิิยมปลููกในช่่วงเดืือนกรกฎาคม
และเก็็บเกี่�ยวช่่วงเดืือนมกราคม (ปปส.,มปป.) สำ�ำ หรัับการปลููกกััญชงเพื่่�อผลิิตเมล็็ดสำ�ำ หรัับบริิโภค
ในต่่างประเทศ การกำำ�หนดช่่วงเวลาในการเก็็บเกี่�ยวเมล็็ดกััญชงเพื่่�อการบริิโภคนั้้�นมีีความสำ�ำ คััญยิ่�ง
เนื่่�องจากเป็็นเป้้าหมายหลัักในการเพิ่่�มทั้้�งปริิมาณผลผลิิตและคุุณภาพของเมล็็ดให้้สููงที่่�สุุด
ซึ่�งการเก็็บเกี่�ยวที่่�เร็็วเกิินไปจะทำ�ำ ให้้ได้้เมล็็ดที่่�ไม่่สามารถใช้้งานได้้ และมีีคุุณค่่าทางโภชนาการต่ำำ��
ขณะที่่�การเก็็บเกี่�ยวล่่าช้้าเกิินไปจะส่่งผลให้้ได้้รัับผลตอบแทนที่่�ลดลง เนื่่�องจากเมื่่�อเมล็็ด
มีีการเจริิญเติบิ โตเต็็มที่่ก� าบเมล็็ดที่่ย� ึึดเมล็็ดจะแห้้งลงและเมล็็ดร่่วงหล่่นออกจากช่่อดอก ส่่งผลให้้เกิดิ
การสููญเสีียผลผลิิตในที่่�สุุด (https://www1.agric.gov.ab.ca) การสุุกของเมล็็ดจะเริ่�มที่่�ด้้านล่่าง
ของหััวเมล็็ดที่่�ติิดกัับขั้�วเมล็็ดและเคลื่่�อนตััวขึ้�นไป ส่่งผลให้้เมล็็ดที่่�แก่่เต็็มที่่�อยู่�ด้้านล่่างและเมล็็ดสีีเขีียว
ที่่�ยัังไม่่สุุกอยู่�ด้้านบนของหััวเมล็็ด เมล็็ดจะสุุกเมื่่�อเปลืือกหุ้้�มเมล็็ดแข็็งและมีีลัักษณะเป็็นหิินอ่่อน
(ภาพที่่� 24) ดัังนั้้�น เมื่ �อเมล็็ดส่่วนใหญ่่ในบริิเวณตรงกลางของช่่อดอกสุุก ควรเริ่�มเก็็บเกี่�ยวโดยเร็็วที่่�สุุด
และเมล็็ดควรแห้ง้ ในระยะเก็บ็ เกี่ย� ว โดยมีีความชื้้น� ต่ำ�ำ�กว่่า 12% (Bócsa and Karus, 1999)

ภาพที่่� 24 ช่่อดอกที่่�มีเี มล็ด็ มีคี วามสุุกพร้อ้ มสำ�ำ หรับั การเก็็บเกี่ย� ว

ที่่�มา : https://colognoisseur.com/tag/clean-reserve-avant-garden-collection/

30 กรมส่่งเสริิมการเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์

7.3 การเก็็บเกี่่ย� วช่่อดอก การปลููกกััญชา กััญชง
และการใช้้ประโยชน์์
7.3.1 ระยะเก็็บเกี่่�ยวที่่เ� หมาะสม

ในการเก็็บเกี่�ยวมีสีิ่ง� ที่่บ� ่่งชี้�ว่่า กัญั ชาสามารถเก็็บเกี่�ยวได้้ คืือ กลิ่น� จะมีคี วามรุุนแรง
(More intense) มากขึ้�นและส่่วนของ Pistils จะเปลี่ �ยนจากสีีขาวไปสู่�สีีแดง/น้ำ��ำ ตาล และเหี่่�ยวย่่น
แต่่สิ่่�งที่่�บ่่งชี้�ได้้ดีีที่่�สุุด คืือ ส่่วนของ Glandular trichomes (อยู่�ในส่่วนของช่่อดอก)
จะมีีการเปลี่�ยนแปลงของสีีจากใส (Clear) ไปสู่�ขุ่่�น (Cloudy/Milky) และสุุดท้้าย คืือ สีีอำำ�พััน
(Amber) โดยระยะการเก็็บเกี่�ยวที่่�ดีีที่่�สุุด คืือ ระยะขุ่่�น (Milky) ช่่อดอกที่่�อยู่�ใกล้้แสงไฟ
มีแี นวโน้้มที่่จ� ะสุุกก่่อนช่่อดอกที่่�อยู่�ต่ำำ�� ลงมา (Cervantes, 2006)

ภาพที่่� 25  แสดงลักั ษณะของช่่อดอก

ที่่�มา : คณะเกษตร มหาวิิทยาลัยั เกษตรศาสตร์์

ก่่อนจะทำำ�การเก็็บเกี่�ยวควรมีีการเตรีียมพื้้�นที่่�รองรัับผลผลิิต โดยพื้้�นที่่�จะต้้องสะอาด
มีีแสงสว่่างที่่�เพีียงพอ อุุปกรณ์์ตััดแต่่ง เก้้าอี้� สถานที่่�ตััดแต่่งผลผลิิตต้้องแห้้งและเย็็น อุุณหภููมิิที่่�ใช้้
ไม่่ควรเกิิน 21 องศาเซลเซีียส เนื่่�องจากความร้้อนจะทำำ�ลายน้ำ��ำ มัันหอมระเหย กลิ่�น และรสชาติิ
ของช่่อดอก

7.3.2 การเก็บ็ เกี่่�ยวผลผลิิตในแต่่ละช่่วงเวลามีีผลต่่อสาระสำำ�คััญ

การแก่่ของช่่อดอกมีผี ลต่่อสารสำำ�คััญ ซึ่�งการเก็บ็ ในแต่่ละระยะมีีผล ดังั นี้้�
n การเก็็บเกี่�ยวในช่่วงที่่� Trichomes มีีสีีใส (Clear) มีีปริิมาณสาร CBD
และสาร THC ปานกลาง
n การเก็บ็ เกี่�ยวในช่่วงที่่� Trichomes มีสี ีีขุ่น่� (Milky) เป็็นส่่วนใหญ่่ ประกอบกัับ
มีี Trichomes สีใี ส และสีอี ำ�ำ พัันปนอยู่�เล็็กน้้อย สาร THC จะอยู่ใ� นช่่วงที่่�สููงสุุด
n การเก็็บเกี่�ยวในช่่วงที่่� Trichomes มีีสีีอำำ�พััน (Amber) สาร CBD จะสููง
และสาร THC จะเริ่�มลดลง

คู่่�มืือสำำ�หรับั เกษตรกร 31
การปลูกู และขึ้�้นทะเบีียนเกษตรกร ผู้�ป้ ลููกกัญั ชา กัญั ชง และกระท่่อม

7.3.3 เก็็บเกี่่ย� วด้้วยความระมััดระวังั

การเก็็บเกี่�ยวและตััดแต่่งต้้องหลีีกเลี่�ยงวิิธีีการที่่�อาจจะส่่งผลต่่อส่่วนยอด
ของ Trichome ซึ่�งประกอบไปด้้วยน้ำ�ำ�มััน และควรหลีีกเลี่�ยงสิ่�งที่่�ส่่งผลกระทบต่่อช่่อดอก ได้้แก่่
การให้้ช่่อดอกถููกแสงโดยตรง การถููกลมพััดช่่อดอก และความชื้้�นสููง ช่่วงเวลาที่่�ดีีที่่�สุุดในการเก็็บเกี่�ยว
คืือ ช่่วงเช้้าก่่อนที่่�มีแี สงยามเช้า้ ซึ่ง� เป็็นช่่วงที่่น� ้ำ�ำ� มันั หอมระเหยมีีปริิมาณสููงสุุด

7.4 การตััดแต่่ง

ขั้้�นแรก คืือ การตััดใบ Fan leaves ออก และตััดใบที่่�อยู่�รอบตาใบออก และขั้น� ต่่อมา
ตััดใบ Sugar leaves ออก ซึ่�งใบในส่่วนนี้้�สามารถนำำ�มาใช้้ประโยชน์์ได้้ในภายหลััง และเมื่่�อมีี
การตััดแต่่งไประยะหนึ่่�งจะพบว่่า กรรไกรที่่�ใช้้มีียางจากช่่อดอกติิดอยู่� ซึ่�งส่่วนที่่�ติิดอยู่�สามารถนำำ�ไป
ใช้้ประโยชน์์ได้้ (Scissor hash) และเมื่่อ� ขูดู ยางที่่ต� ิดิ ออก ให้้เช็ด็ กรรไกรด้้วยแอลกอฮอล์์

ภาพที่่� 26  ภาพแสดงวิิธีกี ารเก็็บเกี่�ยวช่่อดอก

ที่่�มา : คณะเกษตร มหาวิทิ ยาลัยั เกษตรศาสตร์์

32 กรมส่่งเสริมิ การเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์

7.5 การเก็็บรัักษา การปลููกกััญชา กััญชง
และการใช้้ประโยชน์์
หลัักในการเก็็บรัักษา ควรเก็็บรัักษาในที่่�แห้้ง เย็็น และทึึบแสง ซึ่�งการเก็็บในถุุงซิิป
เป็็นสิ่่�งที่่�ไม่่ควรทำ�ำ เนื่่�องจากช่่อดอกอาจจะหัักจากการเคลื่่�อนย้้ายและอาจจะมีีอากาศไหลเวีียน
เข้้าออกทำำ�ให้้กลิ่�นและความชื้้�นเกิิดการแลกเปลี่�ยน ส่่งผลในเรื่�องคุุณภาพของช่่อดอก ควรเก็็บ
ในภาชนะสุุญญากาศทึึบแสงและไม่่ซ้้อนช่่อดอกให้้แน่่นเกิินไป โดยเลืือกภาชนะที่่�ไม่่ใหญ่่เกิินไป
ในการเก็็บช่่อดอก เพราะเมื่่�อมีีอากาศข้้างในมากจะทำำ�ให้้ช่่อดอกเกิิดการแห้้งเร็็วเกิินไป
ไม่่ควรเก็็บช่่อดอกไว้้ในตู้้�เย็็น เนื่่�องจากอุุณหภููมิิและความชื้้�นภายในตู้้�เย็็นต่่างจากภายนอกมาก
ทำ�ำ ให้้คุุณภาพเสีียไป และห้้ามเก็็บไว้้ในช่่องแช่่แข็็ง เพราะจะทำ�ำ ให้้ส่่วนของ Trichome หลุุดออกมา
จากช่่อดอก

ภาพที่่� 27  การเก็็บรัักษาช่่อดอกในภาชนะสุุญญากาศ

ที่่ม� า : https://www.westword.com/marijuana/how-to-safely-humidify-
dry-weed-11754302

คู่่�มือื สำำ�หรับั เกษตรกร 33
การปลูกู และขึ้้�นทะเบีียนเกษตรกร ผู้�ป้ ลูกู กัญั ชา กััญชง และกระท่่อม

8. อาการผิดิ ปกติทิ ี่่�พบในการปลููกพืื ชสกุลุ กัญั ชา

อาการผิดิ ปกติิของต้้นพืชื สกุุลกัญั ชา แบ่่งตามสาเหตุุออกเป็็น 3 ส่่วน คืือ สิ่ง� แวดล้อ้ ม ธาตุุอาหาร
โรคและแมลง ดัังนั้้�นในการปลููกพืืชสกุุลกััญชาควรหมั่่�นสำ�ำ รวจแปลงสม่ำ��ำ เสมออย่่างน้้อย 2 อาทิิตย์์
ต่่อครั้้�งเพื่่�อประเมิินอาการของความผิิดปกติิว่่าเกิิดจากสาเหตุุใดนำำ�ไปสู่�การแก้้ไขได้้ทัันเวลา ซึ่�งอาการ
ผิิดปกติิที่่เ� กิดิ ขึ้้น� ในพืชื สกุุลกััญชาเกิิดจากสาเหตุุ ดัังนี้้�

8.1 สิ่่ง� แวดล้้อม

8.1.1 ช่่อดอกฝ่่อ (Airy and loose buds)

สาเหตุุ :  ได้ร้ ับั แสงที่่�น้อ้ ยเกินิ ไปในช่่วงระยะออกดอก
 ได้้รัับอุุณหภููมิทิ ี่่ส� ูงู ในช่่วงระยะออกดอก
 การขาดธาตุุอาหาร
อาการ : ช่่อดอกมีีน้ำ��ำ หนัักเบา ฝ่่อ และพบ
Trichome เพียี งเล็็กน้้อยในช่่อดอก
การจััดการ
n เพิ่่�มปริิมาณชั่�วโมงของแสงในระยะออกดอก
n ลดอุุณหภููมิิภายในทรงพุ่�่มของต้้น โดยการ
เพิ่่�มระยะห่่างระหว่่างต้้นและระยะห่่างจากหลอดไฟ เพื่่�อลดความร้้อน
เมื่�อปลููกในสภาพโรงเรืือน ส่่วนในสภาพแปลงการวางแผนวัันปลููก
ให้้หลีีกเลี่�ยงช่่วงที่่�อุุณหภููมิิสููงในระยะออกดอก เพื่่�อลดปััญหาที่่�เกิิดขึ้้�น
n เพิ่่�มปริิมาณธาตุุโพแทสเซีียม ในช่่วงระยะ
กลางและท้า้ ยของระยะการออกดอก ภาพที่่� 28 อาการช่่อดอกฝ่อ่
(Airyand loose buds)
ที่่�มา : Rosenthal (2019)
8.1.2 ลำำ�ต้้นและกิ่่�งหััก

สาเหตุุ : เนื่่�องจากการมีีกิ่�ง
จำำ�นวนมากของต้้นพืืชสกุุลกััญชาเมื่่�อเกิิดฝน
และลม ทำ�ำ ให้ก้ิ่�งมีนี ้ำ�ำ�หนักั เพิ่่�มขึ้้น� และฉีกี ขาด
อาการ : กิ่�งหัักจากลำ�ำ ต้้นเอน
การจััดการ
n การใช้้ไม้้หรืือวััสดุุในการ
ค้ำ��ำ ยันั หรืืออาจใช้ต้ าข่่ายไม้เ้ ลื้อ� ยพยุุงต้น้ ภาพที่่� 29  การหัักของกิ่ง� ต้น้ พืชื สกุุลกััญชา

ที่่ม� า : https://www.autoflowering-cannabis.com/
fixing-broken-branches-from-lst/

34 กรมส่่งเสริิมการเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์

8.1.3 ใบไหม้้จากหลอดไฟ การปลููกกััญชา กััญชง
และการใช้้ประโยชน์์
สาเหตุุ : ระยะห่่างระหว่่างใบพืืชสกุุลกััญชากับั หลอดไฟ
อาการ : ใบเป็็นรอยไหม้้สีนี ้ำำ��ตาล เนื่่อ� งจากถููกความร้อ้ นจากหลอดไฟ
การจััดการ
n ควรเพิ่่�มระยะห่่างระหว่่างต้้นกัับหลอดไฟ อย่่างน้้อย 5 เซนติิเมตร และ
หมั่่�นตรวจสอบต้้นพืืชอย่่างสม่ำำ��เสมอ หากเกิิดการไหม้้ของใบให้้ตััดส่่วนที่่�ไหม้้ออก เพื่่�อลดการสะสม
ของเชื้อ� ราที่่�จะเกิดิ ขึ้้น� ในอนาคต

ภาพที่่� 30  อาการไหม้้ของใบที่่เ� กิดิ จากหลอดไฟ

ที่่ม� า : Rosenthal (2019)

8.1.4 ต้้นยืืดยาวผิดิ ปกติใิ นต้้นกล้้า

สาเหตุุ : การได้้รัับแสงที่่ไ� ม่่เพีียงพอ
อาการ : ต้น้ กล้้ายืดื ยาวผิดิ ปกติิ
การจััดการ
n การเพิ่่�มปริิมาณแสง หรืือการปรัับระยะของหลอดไฟให้้ใกล้้กัับต้้นกล้้าเพิ่่�มขึ้้�น

ภาพที่�่ 31 ต้น้ ยืืดยาวผิิดปกติใิ นต้น้ กล้้า

ที่่�มา : Rosenthal (2019)

คู่ม�่ ืือสำำ�หรับั เกษตรกร 35
การปลูกู และขึ้น้� ทะเบีียนเกษตรกร ผู้�ป้ ลูกู กััญชา กัญั ชง และกระท่่อม

8.2 ธาตุุอาหาร

อาการผิิดปกติิที่่�เกิิดจากธาตุุอาหาร สามารถสัังเกตอาการผิดิ ปกติทิ ี่่�เกิดิ ขึ้้�นได้้ 2 ส่่วน คือื
8.2.1 อาการผิิดปกติิที่่�ใบอ่่อน เกิิดจากธาตุุโบรอน แคลเซีียม ทองแดง เหล็็ก
แมงกานีสี โมลิิบดีีนััม กำ�ำ มะถันั และสัังกะสีี เนื่่�องจากเป็น็ ธาตุุอาหารที่่ไ� ม่่เคลื่่อ� นย้้าย
8.2.2 อาการผิิดปกติิที่่�ใบแก่่ เกิิดจากธาตุุไนโตรเจน ฟอสฟอรััส โพแทสเซีียม
และแมกนีีเซีียม
ดัังนั้้น� อาการผิดิ ปกติิที่่เ� กิิดขึ้้�นสามารถเป็น็ แนวทางในการวินิ ิจิ ฉัยั อาการขาดธาตุุอาหาร

ภาพที่่� 32  แสดงลัักษณะของใบพืืชที่่เ� กิิดจากการขาดธาตุุอาหาร ของใบพืืชสกุุลกััญชา
ที่่เ� กิิดจากการขาดธาตุุอาหารต่่าง ๆ เพื่่อ� เป็น็ แนวทางในการวินิ ิจิ ฉััยอาการขาดธาตุุ

ที่่�มา : Thomas (2012)

36 กรมส่่งเสริิมการเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์

8.3 โรคและแมลง การปลููกกััญชา กััญชง
และการใช้้ประโยชน์์
8.3.1 โรคราแป้ง้ (White Powdery Mildew)

สาเหตุุ : เชื้อ� รา Sphaerotheca macularis และ Leveillula taurica
อาการ : เริ่�มต้้นจะเกิิดจุุดสีีเหลืืองอ่่อน บริิเวณผิิวใบ และพััฒนาเป็็นเส้้นใย
สีีขาวปกคลุุมบริิเวณแผลดัังกล่่าว ต่่อมาใบจะเปลี่ �ยนเป็็นสีีเหลืือง และแห้้งอย่่างรวดเร็็ว นอกจากนี้้�
เชื้�อราสามารถเข้้าทำ�ำ ลายกิ่�ง และลำ�ำ ต้้นกััญชา กััญชง ได้้เช่่นกััน ซึ่�งสภาพที่่�ก่่อให้้เกิิดการระบาด
ของโรค คืือ สภาพอากาศเย็็น และความชื้้น� สููง (ความชื้้น� ในอากาศ (Humidity) สููงกว่่าร้้อยละ 50
และอุุณหภูมู ิิต่ำำ��กว่่า 30 องศาเซลเซียี ส)
การจััดการ
n การใช้้สารเคมีี ได้แ้ ก่่
1) ไดโนแคป (Dinocap) 19.5% WP 40 กรััมต่่อน้ำำ�� 20 ลิติ ร พ่่นทุุก 5 - 7 วััน
2) คอปเปอร์์ซััลเฟต (Copper(II) sulfate) 30% WP 12.5 - 25 กรััม
ต่่อน้ำ�ำ� 20 ลิติ ร พ่่นทุุก 5 - 7 วันั
3) เฮกซะโคนาโซล (Hexaconazole) 5% EC 20-30 มิิลลิิลิิตร ต่่อน้ำำ��
20 ลิิตร พ่่นทุุก 5 - 7 วันั
4) คาร์์เบนดาซิมิ (Carbendazim) 50% SC 10 มิลิ ลิิลิติ ร ต่่อน้ำ��ำ 20 ลิติ ร
พ่่นทุุก 7 วััน

ภาพที่�่ 33  การเข้้าทำำ�ลายของราแป้ง้

ที่่�มา : https://www.growopportunity.ca/minding-mildew-32338/

คู่ม่� ือื สำำ�หรัับเกษตรกร 37
การปลูกู และขึ้�้นทะเบียี นเกษตรกร ผู้ป�้ ลูกู กััญชา กัญั ชง และกระท่่อม

8.3.2 โรคใบจุุด

สาเหตุุ : Alternaria spp.
อาการ : เป็็นโรคที่่�เกิิดขึ้้�นกัับกััญชา กััญชงได้้ทุุกส่่วน และทุุกระยะ
ของการเจริิญเติิบโต ซึ่�งสภาวะที่่�เหมาะสมกัับการเกิิดโรค คืือ ช่่วงอากาศมีีความชื้้�นสููงหรืือมีีฝนตก
โดยในต้้นอ่่อนจะมีีแผลสีีน้ำ��ำ ตาล บริิเวณลำ�ำ ต้้น และใบ ส่่งผลให้้ต้้นชะงัักการเจริิญเติิบโต และ
ในส่่วนของต้้นในระยะการเจริิญเติิบโตทางลำ�ำ ต้้นถึึงระยะเก็็บเกี่�ยว เชื้�อเข้้าทำ�ำ ลายบนใบ ก้้าน
ทำำ�ให้้เกิิดแผลเป็็นจุุดสีีเหลืืองต่่อมาเปลี่�ยนเป็็นสีีน้ำ��ำ ตาล ซึ่�งลัักษณะแผลที่่�เกิิดขึ้้�นมีีลัักษณะ
ค่่อนข้้างกลม เชื้�อสาเหตุุสามารถพัักตััวอยู่�ในดิิน แพร่่ระบาดไปตามลม น้ำ��ำ และติิดไปกัับเมล็็ดพัันธุ์�์
(Seed-borne)
การจััดการ
n การแช่่เมล็็ดในน้ำ��ำ อุ่�่นประมาณ 50 องศาเซลเซีียส (การเตรีียมน้ำ��ำ อุ่�่น
โดยต้้มน้ำ�ำ�ให้เ้ ดือื ดแล้้วเติิมน้ำ�ำ� ธรรมดาลงไปหนึ่่�งเท่่า) นาน 20 - 30 นาทีี
n การใช้้ชีีวภัณั ฑ์์ ได้แ้ ก่่ Bacillus subtilis 50 กรััมต่่อน้ำ��ำ 20 ลิิตร
n การใช้ส้ ารเคมีี ได้้แก่่
1) ไอโพรไดโอน (Iprodione) 50% WP 5 - 10 กรััม ต่่อเมล็็ดพัันธุ์์�
1 กิิโลกรัมั คลุุกเมล็ด็ ก่่อนปลูกู
2) ไดฟีีโนโคนาโซล (Difenoconazole) 25% EC 30 - 40 มิิลลิิลิิตร
ต่่อน้ำำ�� 20 ลิิตร แช่่ต้้นกล้้าก่่อนปลูกู นาน 15 - 20 นาทีี
3) ไอโพรไดโอน (Iprodione) 50% WP 30 - 40 มิิลลิลิ ิิตร ต่่อน้ำ�ำ� 20 ลิิตร
แช่่ต้น้ กล้า้ ก่่อนปลููกนาน 15 - 20 นาทีี

ภาพที่�่ 34 ความเสีียหายที่่เ� กิดิ จากโรคใบจุุด

ที่่�มา : https://manoxblog.com/2020/03/28/alternaria-in-the-
cannabis-crop/  

38 กรมส่่งเสริิมการเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์

8.3.3 โรคเน่่าคอดินิ การปลููกกััญชา กััญชง
และการใช้้ประโยชน์์
สาเหตุุ : Pythium spp.
อาการ : เชื้�อราเข้้าทำำ�ลายบริิเวณลำำ�ต้้นในส่่วนของโคนต้้นระดัับดิิน ทำำ�ให้้เกิิดแผล
และเน่่าแห้้งไปอย่่างรวดเร็ว็ ส่่งผลให้้ต้้นกล้า้ หักั พัับตาย
การจััดการ
n การใช้้วััสดุุเพาะสะอาดที่่ป� ราศจากเชื้�อที่่ก� ่่อให้เ้ กิดิ โรค
n การแช่่เมล็็ดในน้ำำ��อุ่�่นประมาณ 50 องศาเซลเซีียส (การเตรีียมน้ำำ��อุ่�่น
โดยต้้มน้ำ��ำ ให้้เดือื ดแล้ว้ เติิมน้ำ�ำ� ธรรมดาลงไปหนึ่่ง� เท่่า) นาน 20 - 30 นาทีี
n การใช้้เชื้อ� Trichoderma spp. 15 - 25 กรัมั ต่่อต้น้ หรืือ 50 - 100 กรัมั
ต่่อตารางเมตร หรืือ Trichoderma + รำ�ำ ข้้าว + ปุ๋๋�ยคอก 1:4:10 โดยน้ำำ��หนััก ในอััตรา 50 กรััม
ต่่อตารางเมตร คลุุกเคล้้าส่่วนผสมให้้เข้้ากััน แล้้วนำ�ำ ส่่วนผสมของเชื้�อราดัังกล่่าวโรยลงดิิน ในพื้้�นที่่�
รัศั มีีทรงพุ่�่ม หรือื ใช้ร้ องก้้นหลุุมก่่อนปลููก
n การใช้ส้ ารเคมีี ได้แ้ ก่่
1) อีีไตรไดอะโซล (Etridiazole) 24% W/V EC 20 มิิลลิิลิิตรต่่อน้ำำ�� 20 ลิิตร
ราดดิินทุุก 5 วัันอย่่างน้้อย 2 ครั้้ง�
2) อีไี ตรไดอะโซล (Etridiazole) + ควิินโตซีนี (Quintozene) 6% + 24%
W/V EC 30 - 40 มิลิ ลิลิ ิติ รต่่อน้ำ��ำ 20 ลิติ ร ราดดิิน ทุุก 5 วันั อย่่างน้อ้ ย 2 ครั้้�ง

ภาพที่่� 35  อาการที่่�เกิดิ จากโรคเน่่าคอดิิน

ที่่�มา : https://www.reddit.com/r/microgrowery/comments/g9ln8w/very_thin_
stem_is_this_a_damping_offfungus_issue/

คู่ม�่ ืือสำำ�หรัับเกษตรกร 39
การปลูกู และขึ้้น� ทะเบียี นเกษตรกร ผู้�ป้ ลูกู กััญชา กัญั ชง และกระท่่อม

8.3.4 โรคเหี่่�ยว

สาเหตุุ : Fusarium spp.
อาการ : ต้้นจะเริ่�มแสดงอาการเหี่่�ยว และมีีอาการใบเหลืืองจากบริิเวณโคนต้้น
และต่่อมาจะมีีอาการเหี่่�ยวรุุนแรงขึ้�นจนแห้้งตายในที่่�สุุด โดยที่่�บริิเวณโคนต้้นไม่่ปรากฏเส้้นใย
แต่่เมื่่อ� ผ่่าลำำ�ต้น้ พบว่่าท่่อน้ำ��ำ ท่่ออาหารเป็็นสีนี ้ำ��ำ ตาลแดง
การจััดการ
n การใช้้วััสดุุเพาะสะอาดที่่�ปราศจากเชื้อ� ที่่ก� ่่อให้เ้ กิดิ โรค
n การใช้เ้ ชื้อ� Trichoderma spp. 15 - 25 กรัมั ต่่อต้น้ หรือื 50 - 100 กรััม
ต่่อตารางเมตร หรืือ Trichoderma + รำ�ำ ข้้าว + ปุ๋๋�ยคอก 1:4:10 โดยน้ำ��ำ หนััก ในอััตรา 50 กรััม
ต่่อตารางเมตร คลุุกเคล้้าส่่วนผสมให้้เข้้ากััน แล้้วนำำ�ส่่วนผสมของเชื้�อราดัังกล่่าวโรยลงดิิน ในพื้้�นที่่�
รััศมีที รงพุ่�ม่ หรืือใช้้รองก้้นหลุุมก่่อนปลููก
n การใช้ส้ ารเคมีี ได้แ้ ก่่
1) คาร์์บอกซิิน (Carboxin) 75% WP 15 กรััมต่่อน้ำ�ำ� 20 ลิิตร ราดดิิน
ทุุก 5 วััน อย่่างน้อ้ ย 2 ครั้้�ง
2) โทลโคลฟอส-เมทิิล 50% WP 20 กรััมต่่อน้ำ�ำ� 20 ลิติ ร ราดดินิ ทุุก 5 วันั
อย่่างน้้อย 2 ครั้้�ง

ภาพที่่� 36  อาการที่่�เกิิดจากโรคเหี่่ย� ว

ที่่ม� า : Punja et al. (2018)

40 กรมส่่งเสริมิ การเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์


Click to View FlipBook Version