9.ความกตัญญูคือ ควำมรู้คุณ หมำยถึงควำมเป็นผู้มีใจกระจ่ำง มีสติ มีปัญญำบริบูรณ์ รู้อุปกำร คุณที่ผู้อื่นกระท ำแล้วแก่ตน ผู้ใดก็ตำมที่ท ำคุณแก่ตนแล้ว ไม่ว่ำจะมำกก็ตำม น้อยก็ตำมแล้วก็ตำม ระลึกนึกถึงด้วยควำมซำบซึ้งไม่ลืมเลย 37 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5
กิจกรรมท้ายบทที่ 3 เบญจศีลและคุณธรรม 9 ประการ ค าสั่ง…ให้ผู้เรียนท ากิจกรรมท้ายบทต่อไปนี้ 1. เบญจศีล คือ -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 2. การรักษาเบญจศีล สามารถท าได้ย่างไร -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 3. ผู้ที่รักษาศีลจะได้รับอานิสงค์ อย่างไร -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 4. ข้อห้ามของผู้รักษาศีล 5 มีอะไรบ้าง -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 38 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5
บทที่ 4 คุณธรรมในการครองเรือน สาระส าคัญ กำรครองเรือน หรือ กำรใช้ชีวิตสมรส คือ กำรที่ฝ่ำยชำยและฝ่ำยหญิงมีควำมพอใจซึ่ง กันและกัน ตกลงใจ ที่จะใช้ชีวิตคู่ร่วมกัน พร้อมที่จะเผชิญปัญหำและมีควำมสุขร่วมกัน กำรมำ อยู่ร่วมกันของคนสองจะต้อง มีกำรปรับตัวเข้ำหำซึ่งกันและกันแล้ว จ ำเป็นต้องมีสิ่งยึดเหนี่ยวที่ ช่วยให้ทั้งสองฝ่ำยได้ใช้ชีวิตคู่จนแก่เฒ่ำ ตำมสุภำษิตโบรำณที่ว่ำ “ ถือไม้เท้ำยอดทอง ตระบอง ยอดเพชร“ มีหลักคุณธรรมกำรครองเรือนของ ทั้งสองฝ่ำยตำมหลักพุทธศำสนำ กำรใช้ธรรมะใน กำรเลือกคู่ครองมีผลที่จะท ำให้กำรใช้ชีวิตคู่ด ำเนินไป ได้อย่ำงรำบรื่นและอยู่จนแก่เฒ่ำ เป็นกำร เลือกโดยมองเห็นด้วยตำ ใช้ธรรมะ สมชีวิธรรม 4 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. ผู้เรียนบอกควำมหมำยคุณธรรมในกำรครองเรือน 2. อธิบำยถึงหลักธรรมของกำรใช้ชีวิตคู่ได้ 3. ศึกษำหลักธรรมและน ำไปปรับใช้ในกำรด ำเนินชีวิต ขอบข่ายเนื้อหา เรื่องที่ 1 คุณธรรมในกำรครองเรือน เรื่องที่ 2 สมชีวิธรรม 4 เรื่องที่ 3 ฆรำวำสธรรม 4 39 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5
เรื่องที่ 1 คุณธรรมในการครองเรือน การครองเรือน หรือ ชีวิตสมรส คือกำรที่ชำยและหญิงมีควำมพอใจในรสสัมผัสซึ่งกัน และกัน ตกลงใจที่จะใช้ชีวิตคู่ร่วมกัน จะเผชิญกับปัญหำร่วมกัน และมีควำมพยำยำมที่จะด ำเนิน ชีวิตร่วมกันเพื่อควำมสุขในกำรครองเรือน กำรที่บุคคล 2 คน ซึ่งต่ำงก็มีพื้นฐำนจำกครอบครัวเดิม ต่ำงกัน มีควำมคิด ค่ำนิยม รสนิยมต่ำงกัน มำอยู่ร่วมกัน ย่อมก่อให้เกิดปัญหำครอบครัวจะมีสุข ได้ เพรำะด้วยเหตุจำกกำรประพฤติตนของสำมีและภรรยำ บุคคลทั้งสองนี้เป็นผู้ที่มีควำมสำมำรถ ดลบันดำลให้ครอบครัวนั้น ๆ เป็นสวรรค์ที่น่ำอยู่หรือเป็นนรกก็ได้ ดังนั้นการเลือกใครมาเป็นคู่ครองของตนนั้น พระพุทธเจ้าทรงแสดงสมชีวิกถา 4 ข้อ คือเหตุที่ท าให้คู่สมรสครองเรือนได้ยืดยาว 1. สมศรัทธา ให้เลือกบุคคลที่มีควำมเชื่อเลื่อมใสในศำสนำหรือสิ่งเคำรพบูชำต่ำง ๆ เหมือนกัน มีควำมคิดเห็นในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเหมือนกัน มีจุดมุ่งหมำยในชีวิตเหมือนกัน ตลอดจน มีรสนิยมตรงกัน 2. สมศีลา ให้เลือกบุคคลที่มีควำมประพฤติ ศีลธรรม จรรยำมำรยำท มีพื้นฐำนกำร อบรมพอเหมำะสอดคล้องกัน ไปกันได้ หรืออยู่ในระดับเดียวกัน จะได้ไม่เป็นเหตุให้เกิดควำมรัง เกียจิซึ่งกันและกัน 3. สมจาคา ให้เลือกบุคคลที่มีควำมเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ โอบอ้อมอำรี มีใจกว้ำง มีควำม เสียสละ มีควำมพร้อมที่จะช่วยเหลือเกื้อกูลผู้อื่น บุคคลที่เสมอกันด้วยจำคะนี้จะท ำให้ครอบครัว อยู่เย็นเป็นสุข เพรำะเมื่อคนเรำอยู่ด้วยกันก็ต้องเสียสละทั้งทรัพย์สินเสียสละควำมสุขของตน เพื่อ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน 4. สมปัญญา ให้เลือกบุคคลที่มีปัญญำเสมอกัน คือ รู้จักเหตุ รู้จักผล รู้จักดี รู้จักชั่ว รู้จัก สิ่งที่เป็นประโยชน์ สิ่งที่ไม่ใช่ประโยชน์ มีกำรใช้ควำมคิดเพื่อแก้ปัญหำ นอกเหนือจำกกำรเลือกคู่โดยใช้หลักสมชีวิกถำ 4 แล้ว พระพุทธเจ้ำทรงสอนให้เลือกคน ที่มีลักษณะ 4 อย่ำงดังต่อไปนี้มำเป็นคู่ครอง เพื่อประโยชน์สุขในปัจจุบันชำติ (ทิฏฐธัมมิกัตถ ประโยชน์) 1. เลือกบุคคลที่มีควำมขยันในกำรประกอบอำชีพ 2. เลือกบุคคลที่เป็นคนประหยัด รู้จักออมทรัพย์ 3. เลือกบุคคลที่รู้จักคบคนดีเป็นเพื่อน 4. เลือกบุคคลที่มีกำรเลี้ยงชีวิตตำมสมควรแก่ก ำลังทรัพย์ที่หำมำได้ ไม่ให้ฝืดเคืองนัก ไม่ให้ฟุ้งเฟ้อนัก 40 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5
เรื่องที่ 2 สมชีวิธรรม 4 สมชีวิธรรม 4 คือ หลักธรรมคู่ชีวิต เป็นหลักธรรมที่ท ำให้คู่สมรสใช้ชีวิตอยู่ด้วยกันจนเฒ่ำ จนแก่มีดังนี้ 1.สมศรัทธา เลือกบุคคลที่มีควำมเลื่อมใสในศำสนำ หรือเคำพรบูชำสิ่งต่ำงๆเหมือนกันมี ควำมคิดเห็นเหมือนกัน มีรสนิยมตรงกัน มีจุดมุ่งหมำยในชีวิตเหมือนกัน หรือถ้ำจะนับถือศำสนำ ต่ำงกันต้องให้เกียรติและเคำรพสิทธิควำมเชื่อของอีกฝ่ำยหนึ่ง ไม่ดูถูกเหยียดหยำม หรือก้ำวก่ำย ควำมเชื่อถือของอีกฝ่ำยหนึ่ง สรุปได้ว่ำกำรมีศรัทธำสมกันจะมีแนวคิด มีควำมเชื่อ มีค่ำนิยม และมี เจตคติไปทำงเดียวกันและที่ส ำคัญคือ ยอมรับฟังควำมคิดเห็นของคนอื่น ไม่ดื้อดึงดันว่ำควำมคิด ของตนเองถูกต้อง 2.สมศีล เลือกบุคคลที่มีควำมประพฤติ มีศีลธรรม จรรยำมำรยำท และมีพื้นฐำนกำร ด ำรงชีวิตที่คล้ำยคลึงกัน หรืออยู่ในระดับเดียวกัน ฝ่ำยหนึ่งท ำบุญตักบำตรประจ ำ อีกฝ่ำยจะท ำ หรือไม่ท ำก็ได้ ไม่บังคับซึ่งกันและกัน ส่วนเรื่องที่ไม่ถูกต้องหรือไม่ดีงำมที่เคยประพฤติก่อนแต่งงำน ต้องปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้น เช่น กำรเที่ยวกลำงคืน กำรดื่มสุรำ เป็นต้น 3.สมวาจา เลือกบุคคลที่มีควำมเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีจิตใจโอบอ้อมอำรี มีใจกว้ำง มีควำม เสียสละและมีควำมพร้อมที่จะช่วยเหลือเกื้อกูลผู้อื่น บุคคลที่มีลักษณะเช่นนี้ จะท ำให้คนใน ครอบครัวอยู่เย็นเป็นสุข คนเรำอยู่ด้วยกันจะต้องมีกำรเสียสละทั้งทรัพย์สิน เสียสละควำมสุขส่วน ตนและช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน 4.สมปัญญา เลือกบุคคลที่มีสติปัญญำเท่ำกัน หรือใกล้เคียงกัน เป็นผู้ที่รู้จักเหตุ รู้จักผล รู้จักชั่ว รู้จักว่ำสิ่งที่มีประโยชน์และสิ่งใดไม่เป็นประโยชน์ใช้ควำมคิดในกำรแห้ไขปัญหำ ยอมรับฟัง เหตุผล 41 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5
เรื่องที่ 3 ฆาราวาสธรรม ค ำว่ำ ครอบครัว เป็นค ำที่ส ำคัญและมีควำมหมำยซ่อนปริศนำธรรมอยู่ภำยใน แยกมำจำกค ำ ว่ำ ครอบ กับค ำว่ำ ครัว ค ำว่ำ ครอบ มีควำมหมำยว่ำ กำรเอำของที่มีลักษณะภำยในโปร่งคล้ำยๆ ขันคว่ ำปิดเอำไว้ และ ค ำว่ำ ครัว มีควำมหมำยว่ำ เรือนหรือโรงท ำกับข้ำว ในที่นี้คือ บ้ำนหรือเรือน นั่นเอง ดังนั้น ครอบครัว หมำยถึง กำรครอบคนสองคนไว้ในบ้ำนหรือเรือนเดียวกันไม่ให้จำกกันไป ไหน เมื่อทรำบควำมหมำยอย่ำงนี้แล้ว ก็จะท ำให้เห็นภำพชัดว่ำ กำรมีครอบครัวก็คือกำรใช้ชีวิตอยู่ ร่วมกันภำยใต้หลังคำบ้ำนหรือเรือนเดียวกันไปจนกว่ำชีวิตจะหำไม่ กำรที่คนสองคนใช้ชีวิตอยู่ด้วยกันนั้น ย่อมเป็นเรื่องที่ยำกพอสมควร เพรำะควำมคิดเห็นของ คนทั้งสองอำจมีไม่เหมือนกัน จ ำเป็นต้องมีกำรปรับหรือจูนควำมคิดเห็นเข้ำหำกัน เพื่อลดควำม บำดหมำงกัน หรือโกรธเคืองกัน หำกสำมำรถสร้ำงควำมคิดเห็นให้เป็นอย่ำงเดียวกันได้ ก็จะน ำไปสู่ กำรสร้ำงครอบครัวให้มีควำมสุข ดังนั้น จึงควรทรำบหลักธรรมที่ใช้ส ำหรับกำรด ำเนินชีวิตครอบครัว เพื่อสร้ำงควำมรัก ควำมเข้ำใจกันให้มำกขึ้น หลักธรรมที่อยำกจะน ำมำเสนอไว้ในที่นี้คือ หลัก ฆราวาสธรรม (ธรรมะส ำหรับผู้ครองเรือน) ประกอบด้วย ฆาราวาสธรรม ค ำว่ำ “ฆำรำวำส” หมำยถึงคนทั่วๆไปที่ไม่ใช่นักบวช ได้แก่ ผู้ครองเรือน ฆำรำวำสธรรม หมำยถึง ธรรมของผู้ครองเรือน เป็นข้อปฏิบัติส ำหรับกำรมีชีวิตอยู่ร่วมกับคนอื่นได้ อย่ำงมีควำมสุข ฆาราวาสธรรม ที่ส าคัญ มี 4 ประการ คือ 1. สัจจะ มีควำมสัตย์ต่อตนเอง มีควำมรับผิดชอบ ประพฤติปฏิบัติต่อผู้อื่น 2. ทมะ ได้แก่ กำรฝึกฝนตนเองและข่มใจตนเองในด้ำนต่ำงๆปรับปรุงตนให้เจริญก้ำวหน้ำ ยับยั้งจิตใจตนเองไม่ให้หลงมัวเมำในอบำยมุขต่ำงๆ 3. ขันติ มีควำมอดทนต่อควำมยำกล ำบำกทั้งกำยและจิตใจ 4. จาคะ มีควำมเสียสละ จิตใจกว้ำงขวำง เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เสียสละทรัพย์สินสิ่งของส่วนตนเพื่อประโยชน์ส่วนรวม 42 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5
หน้าที่ที่ต้องปฏิบัติต่อกันของสามี-ภรรยา เมื่อผ่ำนขั้นตอนกำรเลือกคู่แล้ว กำรอยู่ร่วมกันเป็นสำมีภรรยำ ทั้งคู่จะต้องมีหน้ำที่ที่ต้องปฏิบัติต่อ กัน ดังนี้ สามีมีหน้าที่ 5 ประการ 1. ให้ควำมนับถือ ยอมรับฐำนะแห่งภรรยำ 2. ยกย่องให้เกียรติ ไม่ดูหมิ่นเหยียดหยำม 3. มีควำมซื่อสัตย์ ไม่นอกใจ 4. มอบควำมเป็นใหญ่ 5. หำเครื่องประดับ เครื่องแต่งกำยมำมอบให้ ภรรยามีหน้าที่ 5 ประการ 1. จัดดูแลงำนบ้ำนให้เรียบร้อย 2. ใส่ใจสงเครำะห์คนข้ำงเคียงของสำมี 3. ซื่อสัตย์ ไม่ประพฤติผิดนอกใจ 4. ช่วยประหยัดดูแลรักษำทรัพย์ที่หำมำได้ 5. ขยัน ไม่เกียจคร้ำนในงำนทั้งปวง 43 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5
สำมีภรรยำเป็นบุคคลที่พึ่งเป็นพึ่งตำยซึ่งกันและกัน ฉะนั้น พระพุทธเจ้ำจึงทรงสั่งสอนให้มี ควำมซื่อสัตย์ต่อกัน ไม่ประพฤตินอกใจกันและกัน เพรำะกำรท ำเช่นนั้นเป็นกำรท ำร้ำยจิตใจของ กันและกัน ท่ำนทรงสอนให้คู่สมรสมีสัจจะคือจริงใจ หรือซื่อสัตย์ต่อกัน สอนให้มีจำคะ เสียสละ ให้ปันกัน ได้ทรัพย์มำก็จัดสรรทรัพย์ที่หำได้ร่วมกัน ใช้ร่วมกัน ไม่ตระหนี่ถี่เหนียว ท่ำนทรงสอนให้ มีทมะ คือรู้จักข่มใจ รู้จักควบคุมอำรมณ์ ระงับอำรมณ์ หรือควำมรู้สึกต่อเหตุบกพร่องของกันและ กัน และเมื่ออยู่ร่วมกันบำงช่วงของชีวิตคู่ คนใดคนหนึ่งอำจจะเจ็บป่วยประสบเครำะห์กรรมต่ำง ๆ คู่สมรสก็ต้องมีควำมอดทน(ขันติ) ต่อเหตุกำรณ์ต่ำงๆ อดทนต่อกัน คุณธรรมทั้ง 5 นี่ คือ ฆรำวำสธรรม ซึ่งถ้ำสำมีภรรยำปฏิบัติตำมแล้ว ครอบครัวก็จะมีควำมสุข และควำมสุขของคู่ครอง ไม่มีอะไรมำกไปกว่ำ 1. สุขที่เกิดจำกกำรมีทรัพย์ 2. สุขที่เกิดจำกกำรใช้จ่ำยทรัพย์ 3. สุขที่เกิดจำกควำมไม่เป็นหนี้ 4. สุขที่เกิดจำกกำรท ำงำนไม่เป็นโทษ เมื่อปรำรถนำที่จะครองชีวิตคู่ให้มีควำมสุขแล้ว ทั้งสำมีและภรรยำคงต้องหมั่นหำทรัพย์ โดยทำงสุจริต เพรำะกำรท ำงำนสุจริต และกำรมีทรัพย์เป็นควำมสุข จำกนั้นคงต้องอดทนต่อ กิเลส ควำมอยำกได้วัตถุสิ่งของต่ำง ๆ ที่เกินควำมจ ำเป็น ควำมอยำกได้นี้ผ่ำนมำทำงกำรโฆษณำ ทำงทีวี จำกเพื่อนฝูง และระบบกำรขำยของเงินผ่อน มิฉะนั้นจะท ำให้มีกำรจ่ำยทรัพย์ที่เกินต่อ ฐำนะของครับครัว ก่อควำมเป็นหนี้ ท ำให้ไม่มีควำมสุข คอยแต่จะคิดหมุนเงิน จัดสรรเงิน ผ่อน นั่น ผ่อนนี่ จนเงินเดือนไม่พอใช้ ก่อให้เกิดทุกข์ เมื่อมนุษย์ยังมีกิเลสตัณหำอยู่ ควำมสุขจำกกำรครองเรือนเป็นควำมสุขที่มนุษย์แสวงหำ และแทบจะกล่ำวได้ว่ำเป็นจุดมุ่งหมำยของชีวิตทุกชีวิต ที่ปรำรถนำจะได้คู่ครองที่ดีมีควำมสุขจำก กำรครองเรือน เมื่อมีควำมปรำรถนำเช่นนี้อยู่ก็ต้องสร้ำงเหตุปัจจัย เพรำะควำมสุขของครอบครัว อยู่ที่กำรกระท ำ หรือควำมประพฤติของสำมีและภรรยำเป็นหลัก บุคคลทั้งสองต้องมีคุณธรรม ดังกล่ำวแล้วข้ำงต้น จึงจะเป็นเหตุซึ่งน ำผลมำให้คือควำมสุขในกำรครองเรือน 44 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5
กิจกรรมท้าย บทที่ 4 คุณธรรมในการครองเรือน ค าสั่ง…ให้ผู้เรียนท ากิจกรรมท้ายบทต่อไปนี้ 1. จงบอกถึงความส าคัญของการครองเรือน -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 2. จงบอกหลักธรรมที่ท าให้ชีวิตคู่สมรสประสบความสุขมีอะไรบ้าง -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 3. ฆาราวาสธรรม คือ -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 4. หน้าที่ที่ต้องปฏิบัติต่อกันของสามี-ภรรยา -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 45 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5
สาระส าคัญ มนุษย์เป็นสัตว์สังคมที่อยู่ร่วมกันเป็นกลุ่ม มนุษย์กับสังคมจึงแยกกันไม่ได้ เพรำะ มนุษย์เกิดมำต้องอำศัยสังคม พึ่งพำอำศัยและมีควำมสัมพันธ์ต่อกัน มีกำรจัดระเบียบในกำรมี ชีวิตอยู่ร่วมกันอย่ำงมีแบบแผน เพื่อเป็นหลักในกำรด ำเนินชีวิตและกำรอยู่รอด และสร้ำงควำม เจริญก้ำวหน้ำให้แก่ตนเองและสังคมเพรำะมนุษย์มีแบบแผนในกำรด ำรงชีวิต ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีควำมรู้เกี่ยวกับกำรด ำเนินชีวิตในสังคมไทยได้ 2. อธิบำยควำมต้องกำรอยู่ร่วมกันของมนุษย์และท ำหน้ำที่ต่อสังคมได้ 3. เพื่อให้ผู้เรียนมีควำมรู้ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับสำเหตุกำรเกิดปัญหำในกำรด ำเนินชีวิต 4. ผู้เรียนมีควำมรู้ควำมเข้ำในกำรแก้ปัญหำในกำรเนินชีวิตและสำมำรถน ำไปปรับใช้ กับชีวิตประจ ำวันได้ ขอบข่ายเนื้อหา เรื่องที่ 1 ทิศ 6 ปัจฉิมทิศ. เรื่องที่ 2 ควำมรับผิดชอบของสมำชิกในครอบครัว เรื่องที่ 3 กำรสร้ำงประชำธิปไตยในครอบครัว เรื่องที่ 4 กำรวำงแผนเลี้ยงดูสมำชิกในครอบครัว บทที่ 5 ทิศ 6 ปัจฉิมทิศ 46 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5
เรื่องที่ 1 ทิศ 6 ปัจฉิมทิศ ทิศ 6 ปัจฉิมทิศ บุคคลประเภทต่ำงๆที่เรำต้องเกี่ยวข้องสัมพันธ์ ดุจทิศที่อยู่รอบตัวจัดเป็น 6 ทิศ ดังนี้ 1. ปุรัตถิมทิส ทิศเบื้องหน้ำ ได้แก่ บิดำ มำรดำ 2. ทักขิณทิส ทิศเบื้องขวำ ได้แก่ ครูอำจำรย์ 3. ปัจฉิมทิส ทิศเบื้องหลัง ได้แก่ สำมี ภรรยำ 4. อุตตรทิส ทิศเบื้องซ้ำย ได้แก่ มิตรสหำย 5. อุปริมทิส ทิศเบื้องบน ได้แก่ พระสงฆ์ สมณพรำหมณ์ 6. เหฏฐิมทิส ทิศเบื้องล่ำง ได้แก่ ลูกจ้ำงกับนำยจ้ำง 1. ปุรัตถิมทิส ทิศเบื้องหน้า ได้แก่ บิดา มารดา มารดาบิดาอนุเคราะห์บุตรธิดา ดังนี้ บุตรธิดาพึงบ ารุงมารดาบิดา ดังนี้ 1. ห้ามปรามจากความชั่ว 1. ท่านเลี้ยงเรามาแล้วเลี้ยงท่านตอบ 2. ให้ตั้งอยู่ในความดี 2. ช่วยท ากิจของท่าน 3. ให้ศึกษาศิลปวิทยา 3. ด ารงวงศ์สกุล 4. ประพฤติตนให้เหมาะสมกับความเป็น ทายาท 4. หาคู่ครองที่สมควรให้ 5. มอบทรัพย์สินสมบัติให้ในโอกาสอัน สมควร 5. เมื่อท่านล่วงลับไปแล้วท าบุญอุทิศให้ท่าน 47 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5
2. ทักขิณทิส ทิศเบื้องขวา ได้แก่ ครูอาจารย์ ครูอาจารย์อนุเคราะห์ศิษย์ ดังนี้ ศิษย์พึงบ ารุงครูอาจารย์ ดังนี้ 1. ฝึกฝนแนะนะให้เป็นคนดี 1. ลุกต้อนรับแสดงความเคารพ 2. สอนให้เข้าใจแจ่มแจ้ง 2. เข้าไปหา 3. สอนศิลปวิทยาให้สิ้นเชิง 3. ใฝ่ใจเรียน 4. ยกย่องให้ปรากฏในหมู่เพื่อน 4. ปรนนิบัติ 5. สร้างเครื่องคุ้มครองกันภัยในสารทิศ คือ สอนให้ศิษย์ปฏิบัติได้จริง น าวิชาไปประกอบ อาชีพท าการงานได้ 5. เรียนศิลปวิทยาโดยเคารพ 3. ปัจฉิมทิส ทิศเบื้องหลัง ได้แก่ สามี ภรรยา สามีพึงบ ารุงภรรยา ดังนี้ ภรรยาอนุเคราะห์สามี ดังนี้ 1. ยกย่องสมฐานะภรรยา 1. จัดงานบ้านให้เรียบร้อย 2. ไม่ดูหมื่น 2. สงเคราะห์ญาติมิตรทั้งสองฝ่ายด้วยดี 3. ไม่นอกใจ 3. ไม่นอกใจ 4. มอบความเป็นใหญ่งานในบ้านให้ 4. รักษาสมบัติที่หามาได้ 5. หาเครื่องประดับมาให้เป็นของขวัญ 5. ขยันไม่เกียจคร้านในงานทั้งปวงตามโอกาส 48 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5
4. อุตตรทิส ทิศเบื้องซ้าย ได้แก่ มิตรสหาย พึงบ ารุงมิตรสหาย ดังนี้ มิตรสหายอนุเคราะห์ตอบ ดังนี้ 1. เผื่อแผ่แบ่งปัน 1. เมื่อเพื่อนประมาทช่วยรักษาป้องกัน 2. พูดจามีน้ าใจ 2. เมื่อเพื่อนประมาทช่วยรักษาทรัพย์สมบัติของเพื่อน 3. ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน 3. ในคราวมีภัย เป็นที่พึ่งได้ 4. มีตนเสมอร่วมสุขร่วมทุกข์ด้วย 4. ไม่ละทิ้งในยามทุกข์ยาก 5. ซื่อสัตย์จริงใจต่อกัน 5. นับถือตลอดถึงวงศ์ญาติของมิตร 5. อุปริมทิส ทิศเบื้องบน ได้แก่ พระสงฆ์ สมณพราหมณ์ คฤหัสถ์พึงบ ารุงพระสงฆ์ ดังนี้ พระสงฆ์อนุเคราะห์คฤหัสถ์ ดังนี้ 1. จะท าสิ่งใดก็ท าด้วยเมตตา 1. ห้ามปรามจากความชั่ว 2. จะพูดสิ่งใดก็พูดด้วยเมตตา 2. ให้ตั้งอยู่ในความดี 3. จะคิดสิ่งใดก็คิดด้วยเมตตา 3. อนุเคราะห์ด้วยความปรารถนาดี 4. ต้อนรับด้วยความเต็มใจ 4. ให้ได้ฟังสิ่งที่ยังไม่เคยฟัง 5. อุปถัมภ์ด้วยปัจจัย 4 5. ท าสิ่งที่เคยฟังแล้วให้แจ่มแจ้ง 6. บอกทางสวรรค์ สอนวิธีด าเนินชีวิตให้ประสบ ความสุขความเจริญ 49 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5
นายจ้างพึงบ ารุงลูกจ้าง ดังนี้ ลูกจ้างอนุเคราะห์นายจ้าง ดังนี้ 1. จัดการงานให้ท าตามก าลังความสามารถ 1. เริ่มท างานก่อน 2. ให้ค่าจ้างรางวัลสมควรแก่งานและความเป็นอยู่ 2. เลิกงานทีหลัง 3. จัดสวัสดิการดีมีช่วยรักษาพยาบาลในยามเจ็บไข้ 3. เอาแต่ของที่นายให้ 4. ได้ของแปลกๆพิเศษมาก็แบ่งปันให้ 4. ท าการงานให้เรียบร้อยและดียิ่งขึ้น 5. ให้มีวันหยุดและผักผ่อนหย่อนใจตามโอกาสอันควร 5. น าความดีของนายไปเผยแพร่ 6. เหฏฐิมทิส ทิศเบื้องล่าง ได้แก่ ลูกจ้างกับนายจ้าง 50 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5
เรื่องที่ 2 ความรับผิดชอบของสมาชิกในครอบครัว ความรับผิดชอบของสมาชิกในครอบครัว มีดังนี้ 1. การศึกษา บิดำ มำรดำ มีหน้ำที่ที่จะต้องให้กำรศึกษำแก่บุตร เพื่อเป็นพื้นฐำนในกำร ประกอบสัมมำชีพในอนำคตและบุตรพึงมีหน้ำที่ที่จะต้องศึกษำเล่ำเรียนด้วยควำมเอำใจใส่และ พำกเพียรให้ส ำเร็จสมดังที่บิดำมำรดำปูพื้นฐำนส่งเสียให้เล่ำเรียน 2. การเลี้ยงดู นับตั้งแต่กำรให้อำหำรและจัดอำหำรถูกหลักโภชนำกำร กำรดูแลสุขภำพ อนำมัย ที่อยู่อำศัยสะอำด จัดบรรยำกำศบ้ำนให้อบอุ่น เอำใจใส่แก่ลูกและสมำชิกในครอบครัว ไม่ให้เกิดควำมรู้สึกว่ำถูกทอดทิ้ง พ่อแม่ต้องเข้ำใจพัฒนำกำรของเด็ก และควำมต้องกำรของเด็ก เพื่อช่วยให้ไม่เกิดควำมคับข้องใจดูแลให้มีเครื่องใช้ที่จ ำเป็นครบถ้วนและให้ค่ำใช้จ่ำยเหมำะสมกับ ฐำนะ 3. การักษาความปลอดภัยของสมาชิกในครอบครัวเป็นสิ่งส าคัญยิ่ง บิดำ มำรดำ จะต้อง ระมัดระวังรอบคอบในกำรเก็บรักษำเครื่องมือเครื่องใช้ต่ำง ๆ ซ่อมแซมเครื่องมือเครื่องใช้ที่ช ำรุด ให้อยู่ในสภำพที่ใช้กำรได้ แนะน ำวิธีกำรใช้สิ่งของต่ำงๆ และฝึกกำรใช้ที่ถูกต้องจนเป็นนิสัย แนะน ำกำรป้องกันอันตรำยที่พึงเกิดขึ้นได้ และรู้จักแหล่งที่จะขอควำมช่วยเหลือ ทั้งนี้เพื่อให้ สมำชิกปลอดภัยจำกอุบัติเหตุทั้งปวง 4. ไม่มีลูกมาก เพรำะถ้ำมีลูกมำกเกินไป กำรเลี้ยงดูให้กำรศึกษำ และกำรอบรมบ่มนิสัย อำจท ำได้ไม่เต็มที่ 5. ร่วมกันพัฒนา คุณภำพของครอบครัวและคุณภำพของสังคม ถ้ำหำกคุณภำพของ สังคมดีก็ย่อมไม่เดือดร้อนถึงครอบครัว และท ำนองเดียวกันถ้ำหำกคุณภำพของสังคมทุกครอบครัว ดีสังคมก็อยู่เย็นเป็นสุข 6. พาไปสู่คุณธรรม สังคมจะเป็นสุขได้ต่อเมื่อทุกคนมีคุณธรรม ถ้ำพ่อแม่เป็นบุคคลไม่มี่ คุณธรรมก็ย่อมจะท ำให้ครอบครัวเดือดร้อน และสมำชิกในครอบครัวก็จะเตลิดไปสู่ควำมชั่ว ทั้งหลำย 51 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5
เรื่องที่ 3 การสร้างประชาธิปไตยในครอบครัว การสร้างประชาธิปไตย คือ กำรรับฟังควำมคิดเห็นของครอบครัว พ่อแม่ควรจะเข้ำใจว่ำ แม้เด็กจะมีอำยุยังน้อย แต่ควำมคิด ควำมอ่ำน อำรมณ์ละจิตใจ ร่ำงกำยและควำมต้องกำร เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลำก้ำวหน้ำไปสู่วุฒิภำวะตำมขั้นตอนของอำยุ ต้องเผชิญกับควำม เปลี่ยนแปลงในตัวเองตำมวัย ยังจะต้องเผชิญกับควำมเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมอย่ำงรวดเร็ว แม้แต่พ่อแม่เองก็ยังปรับตัวแทบไม่ทันต่อควำมเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม ดังนั้น พ่อแม่ควร จะต้องยอมรับฟังควำมคิดเห็นและกำรกระท ำบำงอย่ำงซึ่งเป็นกำรเรียนรู้และประสบกำรณ์ของเด็ก เองและในขณะเดียวกันให้เด็กมีโอกำสรับรู้ควำมคิดเห็นของพ่อแม่ และพิจำรณำดุตำมเหตุตำมผล ร่วมกันคิดว่ำคิดว่ำท ำอย่ำงไรจึงจะอยู่ร่วมกันด้วยควำมสุขเป็นที่พอใจของทุกฝ่ำย โดยกำรสร้ำง กติกำของครอบครัวร่วมกัน พ่อแม่ควรปฏิบัติต่อลูกว่ำลูกมีควำมสำมำรถ มีควำมรู้สึกนึกคิด เพียงแต่ตะล่อมให้ถูกท ำนองคลองธรรม 52 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5
เรื่องที่ 4 การวางแผนเลี้ยงดูสมาชิกในครอบครัว เพื่อจะให้ครอบครัวมีควำมสุขไม่เกิดควำมขัดแย้งและกำรแตกแยก จึงจ ำเป็นอย่ำงยิ่งที่ จะมีกำรวำงแผนล่วงหน้ำ มิใช่เพียงแต่แก้ปัญหำเฉพำะหน้ำไปวันหนึ่งๆเท่ำนั้น กำรวำงแผน จะต้องค ำนึงถึง 1. เศรษฐกิจของครอบครัวในปัจจุบันและอนาคต มีกำรเก็บออมส ำหรับวันข้ำงหน้ำ เช่น กำรฝำกเงิน สะสมเพื่อกำรศึกษำของบุตร เป็นต้น 2. การวางแผนครอบครัว ว่ำควรจะมีบุตรกี่คน จึงจะสำมำรถสร้ำงบุตรให้เป็น พลเมืองที่มีคุณภำพได้ในอนำคต เพรำะบุตรจะต้องมีสุขภำพแข็งแรง จะต้องมีกำรศึกษำดี มี กำรกินดีอยู่ดีพอสมควร 53 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5
กิจกรรมท้าย บทที่ 6 ทิศ 6 ปัจฉิมทิศ ค าสั่ง…ให้ผู้เรียนท ากิจกรรมท้ายบทต่อไปนี้ 1. ทิศ ทั้ง 6 มีอะไรบ้าง จงอธิบายโดยสังเขป -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 2. ท่านมีแนวคิดในความรับผิดชอบของสมาชิกในครอบครัวอย่างไร -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 3. ท่านมีแนวคิดในการสร้างประชาธิปไตยในครอบครัวอย่างไร -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 4.ท่านมีแนวคิดในการวางแผนเลี้ยงดูสมาชิกในครอบครัวอย่างไร -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 54 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5
แบบทดหลังก่อนเรียน ค าสั่ง…..ให้ผู้เรียนเลือกข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ถ้าพ่อแม่ทะเลาะวิวาทท าให้ส่งผลต่อลูกอย่างไร ก. สุขภาพจิตไม่ดี ข. สุขภาพกายไม่ดี ค. ได้รับผลกระทบทั้งด้านร่างกายและจิตใจ ง. ไม่มีผลต่อลูกเพราะเคยชินกับสถานการณ์ 2. ผู้แก้ปัญหาครอบครัวคือใคร ก. พ่อ-แม่ ข. พ่อ-ลูก ค. แม่-ลูก ง. ทุกคนในครอบครัว 3. กรณีเพื่อนนักศึกษามีปัญหาครอบครัวไม่อบอุ่น นักศึกษาจะท าอย่างไรกับเพื่อน ก. ชวนเพื่อนมานอนที่บ้าน ข. ชวนเพื่อนหนีออกจากบ้าน ค. รับฟังและให้ค าปรึกษา ง. ชวนเพื่อนไปเที่ยวเพื่อคลายเครียด 4. ครอบครัวไม่อบอุ่นตรงกับสาเหตุข้อใด ก. ฐานะยากจน ข. ขาดความเข้าใจซึ่งกันและกัน ค. ขาดการศึกษา ง. สิ่งแวดล้อม 5. การป้องกันปัญหาครอบครัวไม่อบอุ่น สอดคล้องกับข้อใด ก. สมาชิกทุกคนมีงานท า ข. สมาชิกทุกคนอยู่ด้วยกันตลอดเวลา ค. สร้างฐานะให้ความร่ ารวย ง. รักห่วงใยและมีเวลาให้กันเสมอ 6. การวางตัวได้ถูกต้องและเหมาะสมกับเพศ ตรงกับความหมายข้อใด ก. เด็กชายช่วยถือหนังสือช่วยอาจารย์ ข. เด็กหญิงใส่กระโปรงสั้นไปวัด ค. เด็กชายให้เด็กหญิงช่วยผ่าฟืนให้ ง. เด็กชายหอมแก้มเด็กหญิงเพราะเป็นแฟนกัน 7. คุณลักษณะที่เพศหญิงพึงปฏิบัติ คือข้อใด ก. หัวเราะเสียงดังเมื่อพอใจ ข. พูดจาอ่อนหวานกับคนที่รักกันเท่านั้น ค. รักนวลสงวนตัว ง. พูดส่อเสียดเมื่อไม่พอใจ 8. คุณลักษณะที่เพศชายพึงปฏิบัติ คือข้อใด ก. พูดขาอ่อนหวาน ข. ไม่รังแกผู้ที่อ่อนแอกว่า ค. น้ าเสียงห้วนเมื่อไม่พอใจ ง. พูดจาสุภาพเฉพาะกับผู้ใหญ่ 9. เพศหญิงและเพศชายถ้าวางตัวในสังคมได้เหมาะสม เกิดผลต่อสังคมอย่างไร ก. สังคมน่าอยู่มากขึ้น ข. สังคมวุ่นวาย ค. สังคมได้รับการพัฒนา ง. สังคมไม่มีปัญหา 55 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5
10. เพศหญิงไม่รักนวลสงวนตัว เกิดผลอย่างไร ก. การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ข. การทะเลาะเบาะแว้ง ค. สังคมวุ่นวาย ง. การแปลงเพศ 11. บุคคลในข้อใดไม่จัดเป็นฆราวาส ก. พระภิกษุสามเถร ข. ชาวไร่ ชาวนา ค. นักเรียน นักศึกษา ง. ข้าราชการ 12. ฆราวาสธรรม 4 ประการ คือข้อใด ก. สัจจะ ทมะ ขันติ วิริยะ ข. สัจจะ ทมะ สติ จาคา ค. สัจจะ ทมะ ขันติ จาคะ ง. สัจจะ วิริยะ ขันติ จาคะ 13. ความอดทนตรงกับความหมายข้อใด ก. สัจจะ ข. ขันติ ค. ทมะ ง. จาคะ 14. มีความเสียสละ จิตใจกว้างขวางมีความหมายตรงกับข้อใด ก. ขันติ ข. จาคะ ค. ทมะ ง. สัจจะ 15. สามีไม่ควรปฏิบัติต่อภรรยาอย่างไร ก. ยกย่องภรรยา ให้ความอบอุ่น ข. ไม่ประพฤตินอกใจภรรยา ค. ดูหมิ่นภรรยาด้วยค าพูด ง. ให้ภรรยาแต่งตัวตามฐานะ 16. ภรรยาไม่ควรปฏิบัติต่อสามีอย่างไร ก. สงเคราะห์คนข้างเคียงของสามี ข. ดูแลการงานให้เรียบร้อย ค. ไม่ประพฤตินอกใจสามี ง. น าทรัพย์สินของสามีให้มารดาตน 17. หลักธรรมส าหรับผู้ครองเรือน คือข้อใด ก. อิทธิบาท 4 ข. พรหมวิหาร 4 ค. สังคหะวัตถุ 4 ง. ฆราวาส 4 18. ข้อใดไม่ใช่นิสัยของสามีที่น าไปสู่การหย่าร่าง ก. อารมณ์เสียง่าย หงุดหงิดบ่อยๆ ข. ชอบชวนทะเลาะ ข. หาความสุขนอกบ้าน ง. อยู่ในศีลธรรม 56 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5
19. สาเหตุข้อใดของภรรยาที่น าไปสู่การหย่าร้าง ก. เป็นคนกว้างขวาง ชอบข่มสามี ข. ไม่เอาใจใส่ในบ้าน ค. มีความประหยัด ง. เป็นคนเจ้าอารมณ์ 20. การข่มใจตนเอง หมายถึงข้อใด ก. ทมะ ข. วิริยะ ค. จิตตะ ง. สัจจะ 21.สิ่งใดที่สมาชิกทุกคนในครอบครัวควรมี ก. ความจริงใจ ข. ความขยัน ค. ความรับผิดชอบ ง. ความเพียร 22. สิ่งใดที่จะช่วยให้ครอบครัวอยู่กันอย่างเรียบร้อย ก. กติกา ข. เงินทอง ค. ความรัก ง. สุขภาพสมบูรณ์ 23. ประชาธิปไตยในครอบครัวมีลักษณะอย่างไร ก. การมอบงานให้คนหนึ่งคนใด ข. การท างานแต่พียงคนเดียว ค. การแบ่งงานกันท า ง. มีคนคอยสั่งให้ท างาน 24. ข้อใดมีความหมายตรงกับ “คารวธรรม” ก. การเคารพซึ่งกันและกัน ข. การกราบไหว้ ค. การเคารพผู้ใหญ่โดยไม่ค านึงถึงเหตุผลอื่นๆ ง. การถ่อมตน 25. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของบิดา มารดา ที่พึงมีต่อบุตร ก. อบรมสั่งสอน ข. เลี้ยงดูบุตรให้ปัจจัยสี่ ค. ให้ความรัก ง. ให้ทรัพย์ เงินทอง ไปเที่ยว 26. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของสามีที่มีต่อภรรยา ก. มอบความเป็นใหญ่ให้ ข. ให้เครื่องแต่งตัว ค. รักษาทรัพย์ที่หามาได้ไม่สุรุ่ยสุร่าย ง. ด้วยความไม่ดูหมิ่น 27. หน้าที่ของบุตรที่ดีในฐานะเป็นสมาชิกในครอบครัว คือข้อใด ก. เรียนหนังสืออย่างเกียจคร้าน ข. ช่วยงานบ้านแบบขอไปที ค. ก่อเรื่องร าคาญมาให้เสมอ ง. ช่วยวานบ้านรับใช้บิดา-มารดา 57 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5
28. บิดา-มารดา ต้องรับผิดชอบต่อความเจริญของลูกทุกด้านยกเว้นข้อใด ก. ความปลอดภัย ข. การศึกษา ค. การเลือกคู่ครอง ง. สุขภาพอนามัย 29. เมตตาธรรม หมายถึงข้อใด ก. เคารพซึ่งกันและกัน ข. มีความช่วยเหลือกับปรารถนาดีต่อกัน ค. สมาชิกในครอบครัวสามัคคีกัน ง. ใช้ปัญญาในการแก้ไขปัญหาต่างๆ 30. สิ่งใดที่บิดา-มารดา ถือว่าเป็นพื้นฐานที่ลูกจะไปประกอบอาชีพในอนาคตได้ดี ก. การมีร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ ข. การมีสติปัญญาดี ค. ความปลอดภัย ง. การให้การศึกษา 58 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5
1 ค 11 ก 21 ค 2 ง 12 ค 22 ก 3 ค 13 ข 23 ค 4 ข 14 ข 24 ก 5 ง 15 ค 25 ง 6 ก 16 ง 26 ค 7 ค 17 ง 27 ง 8 ข 18 ง 28 ค 9 ค 19 ค 29 ข 10 ก 20 ก 30 ง เฉลยแบบทดสอบก่อน/หลังเรียน 59 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5
เอกสารอ้างอิง สุทธิธรรม เลขำวิวัฒน์. พัฒนาสังคมและชุมชน ระดับประถมศึกษา. บริษัท นวตสำร จ ำกัด : สำม เจริญพำณิชย์(กรุงเทพ)จ ำกัด ,2548 วิไล ทรงโฉม. พัฒนาสังคมและชุมชน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น. บริษัท นวตสำร จ ำกัด : สำม เจริญพำณิชย์(กรุงเทพ)จ ำกัด ,2548 สภำคณำจำรย์และข้ำรำชกำร มหำวิทยำลัยรำชภัฏสวนดุสิต. คุณธรรมในการครองเรือน .(htt://dusithost.dusit.ac.th/-ipc/homeethic.htm จ ำรัส แม้นเหมือน ภูมิปัญญำท้องถิ่น หนังสือเรียนวิชำเลือก สำระกำรพัฒนำสังคม รำยวิชำ คุณธรรมในกำรด ำเนินชีวิต รหัส สค 23018 ระดับ มัธยมศึกษำตอนต้น จัดท ำโดย กศน.อ ำเภอศรีส ำโรง ส ำนักงำน กศน. จังหวัดสุโขทัย 60 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5
ที่ปรึกษา/ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเนื้อหา 1. พระครูโพธิปรีชา เจ้าอาวาสวัดศรีมหาโพธิ์ 2. พระครูวินัยธรอนุรักษ์ วิสุทฺธิร ษี รองเจ้าอาวาสวัดศรีมหาโพธิ์ ที่ปรึกษา นางสาวจิรวรรณ จันทไชย ผู้อ านวยการศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ อ าเภอเมืองสุโขทัย ผู้เขียน/ผู้เรียบเรียง และบรรณาธิการ นายอุดมศักดิ์ ชูยิ้ม ครู ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ต าบลบ้านหลุม ผู้พิมพ์ต้นฉบับ/หนังสือ Electronics (E-Book) นายอุดมศักดิ์ ชูยิ้ม ครู ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ต าบลบ้านหลุม ผู้จัดท าภาพประกอบ/ออกแบบปก นายอุดมศักดิ์ ชูยิ้ม ครู ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ต าบลบ้านหลุม คณะผู้จัดท า 61 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5
กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5