The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปบทเรียนวิชาคุณธรรมในการดำเนินชีวิต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

สรุปบทเรียนวิชาคุณธรรมในการดำเนินชีวิต

สรุปบทเรียนวิชาคุณธรรมในการดำเนินชีวิต

สรุปบทเรียนวิชาเลือก สาระการพัฒนาสังคม รายวิชา คุณธรรมในการด าเนินชีวิต รหัส สค23031 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย ส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ


ค าน า ส ำนักงำน กศน.จังหวัดสุโขทัย ได้จัดท ำหนังสือเรียนรำยวิชำคุณธรรมในกำร ด ำเนินชีวิต ระดับมัธยมศึกษำตอนต้น เป็นรำยวิชำเลือก จ ำนวน 3 หน่วยกิต หลักสูตรกำรศึกษำนอกระบบระดับกำรศึกษำขั้นฐำนพุทธศักรำช 2551 ส ำหรับ นักศึกษำได้ใช้ประกอบกำรเรียนขึ้น ซึ่งมีรำยละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหำ และกิจกรรมกำร เรียนรู้ ส ำหรับให้นักศึกษำได้ท ำกิจกรรม หรือแบบฝึกปฏิบัติที่ก ำหนดให้ครบถ้วน จะท ำให้เกิดควำมรู้ ควำมเข้ำใจ และควำมสำมำรถตำมผลกำรเรียนรู้ที่คำดหวังของ หลักสูตร คณะผู้จัดท ำหวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำหนังสือฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อนักศึกษำ ครู และผู้สนใจ ในกำรเรียนตำมหลักสูตรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551 ระดับ ประถมศึกษำ ระดับมัธยมศึกษำตอนต้น และระดับมัธยมศึกษำตอนปลำย ทั้งนี้ ขอขอบคุณผู้มีส่วนร่วมจัดท ำหนังสือเรียนฉบับนี้ให้ส ำเร็จด้วยดีไว้ในโอกำสนี้ด้วย ส ำนักงำน กศน.จังหวัดสุโขทัย ก


สารบัญ เรื่อง หน้า ค าแนะน าในการใช้หนังสือเรียน ฆ โครงสร้างรายวิชา คุณธรรมในการด าเนินชีวิต จ ค าอธิบายรายวิชา สค23031 คุณธรรมในการด าเนินชีวิต ช แบบทดสอบก่อนเรียน ฌ บทที่ 1 ความหมายของคุณธรรม จริยธรรม 1 เรื่องที่ 1 ความหมายของคุณธรรม จริยธรรม 2 เรื่องที่ 2 ลักษณะของผู้มีคุณธรรม จริยธรรม 5 เรื่องที่ 3 ปัญหาและสาเหตุของการขาดคุณธรรม จริยธรรม 7 เรื่องที่ 4 แนวทางการแก้ปัญหาการขาดคุณธรรม จริยธรรม 9 สารบัญ ข ค าน า ก เรื่องที่ 5 ประโยชน์ของคุณธรรม จริยธรรม 10 บทที่ 2 การด าเนินชีวิตตามหลักคุณธรรม จริยธรรม 12 เรื่องที่ 1 คุณธรรม จริยธรรมเพื่อการอยู่ร่วมกัน 13 เรื่องที่ 2 รูปแบบของการด าเนินชีวิต 21 เรื่องที่ 3 การการด าเนินชีวิตตามแนวพุทธธรรม 25 ข


สารบัญ เรื่อง หน้า เรื่องที่ 1 ความหมายความส าคัญของเบญจศีลและคุณธรรม 9 ประการ 29 เรื่องที่ 2 องค์ประกอบของคุณธรรม 9 ประการ 36 บทที่ 4 คุณธรรมในการครองเรือน 39 เรื่องที่ 1 คุณธรรมในการครองเรือน 40 เรื่องที่ 2 สมชีวิธรรม 4 41 เรื่องที่ 3 ฆราวาสธรรม 4 42 บทที่ 5 ทิศ 6 ปัจฉิมทิศ 46 เรื่องที่ 1 ทิศ 6 ปัจฉิมทิศ 47 เรื่องที่ 2 ความรับผิดชอบของสมาชิกในครอบครัว 51 บทที่ 3 เบญจศีลและคุณธรรม 9 ประการ 28 เรื่องที่ 3 การสร้างประชาธิปไตยในครอบครัว 52 เรื่องที่ 4 การวางแผนเลี้ยงดูสมาชิกในครอบครัว 53 แบบทดสอบหลังเรียน 55 เอกสารอ้างอิง 60 คณะผู้จัดท า 61 ค


ค าแนะน าในการใช้หนังสือเรียน หนังสือเรียนสำระกำรพัฒนำสังคม รำยวิชำเลือกคุณธรรมในกำรด ำเนินชีวิต รหัส สค23031 เป็นหนังสือเรียนที่จัดท ำขึ้นส ำหรับผู้เรียนนอกระบบ ในกำรศึกษำหนังสือเรียนสำระกำรพัฒนำสังคม รำยวิชำเลือกคุณธรรมในกำรด ำเนินชีวิต รหัส สค23031 ผู้เรียนปฏิบัติดังนี้ 1. ศึกษำโครงสร้ำงรำยวิชำให้เข้ำใจในหัวข้อและสำระส ำคัญ ผลกำรเรียนรู้ที่คำดหวังและ ขอบข่ำยเนื้อหำของรำยวิชำนั้นๆโดยละเอียด 2. ศึกษำรำยละเอียดเนื้อหำของแต่ละบทอย่ำงละเอียด และท ำกิจกรรมที่ก ำหนด แล้วท ำ ควำมเข้ำใจก่อนที่จะศึกษำเรื่องต่อไป 3. ปฏิบัติกิจกรรมท้ำยเรื่องของแต่ละเรื่อง เพื่อใช้ในกำรสรุปควำมรู้ ควำมเข้ำใจของเนื้อหำ ในเรื่องนั้นๆอีกครั้ง และกำรปฏิบัติกิจกรรมแต่ละเนื้อหำ แต่ละเรื่องผู้เรียนสำมำรถน ำไปตรวจสอบ กับครูและเพื่อนๆที่ร่วมเรียนในรำยวิชำและระดับเดียวกันได้ 4. หนังสือเรียนมี 5 บท บทที่ 1 ความหมายของคุณธรรม จริยธรรม เรื่องที่ 1 ควำมหมำยของคุณธรรม จริยธรรม เรื่องที่ 2 ลักษณะของผู้มีคุณธรรม จริยธรรม เรื่องที่ 3 ปัญหำและสำเหตุของกำรขำดคุณธรรม จริยธรรม เรื่องที่ 4 แนวทำงกำรแก้ปัญหำกำรขำดคุณธรรม จริยธรรม เรื่องที่ 5 ประโยชน์ของคุณธรรม จริยธรรม. เรื่องที่ 6 คุณธรรม จริยธรรมเพื่อกำรอยู่ร่วมกัน บทที่ 2 การด าเนินชีวิตตามหลักคุณธรรม จริยธรรม เรื่องที่ 1 คุณธรรม จริยธรรมเพื่อกำรอยู่ร่วมกัน เรื่องที่ 2 รูปแบบของกำรด ำเนินชีวิต เรื่องที่ 3 กำรด ำเนินชีวิตตำมแนวพุทธธรรม บทที่ 3 เบญจศีลและคุณธรรม 9 ประการ เรื่องที่ 1 ควำมหมำยควำมส ำคัญของเบญจศีลและคุณธรรม 9 ประกำร เรื่องที่ 2 องค์ประกอบของคุณธรรม 9 ประกำร ฆ กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


บทที่ 4 คุณธรรมในการครองเรือน เรื่องที่ 1 คุณธรรมในกำรครองเรือน เรื่องที่ 2 สมชีวิธรรม 4 เรื่องที่ 3 ฆรำวำสธรรม 4 บทที่ 5 ทิศ 6 ปัจฉิมทิศ. เรื่องที่ 1 ทิศ 6 ปัจฉิมทิศ เรื่องที่ 2 ควำมรับผิดชอบของสมำชิกในครอบครัว เรื่องที่ 3 กำรสร้ำงประชำธิปไตยในครอบครัว เรื่องที่ 4 กำรวำงแผนเลี้ยงดูสมำชิกในครอบครัว ง กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


โครงสร้างหนังสือรายวิชา คุณธรรมในการด าเนินชีวิต สาระส าคัญ กำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้คุณธรรมในกำรด ำเนินชีวิต เป็นกำรจัดกิจกรรมที่เปิดโอกำสให้ ผู้เรียนได้บูรณำกำรทักษะต่ำง ๆ ไปพร้อมกับกำรสร้ำงสถำนกำรณ์ในกำรเรียนรู้อย่ำงสร้ำงสรรค์ โดยมีครูเป็นผู้ให้ค ำปรึกษำโดยให้ผู้เรียนได้ฝึกคุณธรรมในกำรด ำเนินชีวิต และมีเจตคติที่ดีต่อกำร เรียนรู้ด้วยตนเองที่ท ำให้กำรเรียนรู้ด้วยตนเองประสบควำมส ำเร็จ กำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ หลักสูตรรำยวิชำเลือก เรื่อง คุณธรรมพื้นฐำนในกำรด ำรงชีวิตซึ่งเป็นสำระวิชำที่จะเป็นประโยชน์ ส ำหรับผู้เรียนในกำรส่งเสริมคุณค่ำและพัฒนำชีวิต ครอบครัว สังคม กำรอยู่ร่วมกันในสังคมนอกจำกจะปฏิบัติตำมกฏระเบียบและสิทธิและหน้ำที่ของตนเอง แล้วสมำชิกในสังคมควรด ำเนินชีวิตตำมหลักคุณธรรมและจริยธรรมด้วย ซึ่งจะส่งผลให้แต่ละคน สำมำรถอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่ำงมีควำมสุข สังคมก็มีควำมสงบสุขและเจริญก้ำวหน้ำไปด้วย ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. เพื่อให้ผู้เรียนอธิบำยควำมหมำยของคุณธรรม จริยธรรมได้ 2. เพื่อให้ผู้เรียนอธิบำยควำมหมำยของกำรด ำเนินชีวิตตำมหลักคุณธรรม จริยธรรมได้ 3. เพื่อให้ผู้เรียนอธิบำยควำมหมำยของเบญจศีลและคุณธรรม 9 ประกำรได้ 4. เพื่อให้ผู้เรียนอธิบำยควำมหมำยของคุณธรรมในกำรครองเรือนได้ 5. เพื่อให้ผู้เรียนอธิบำยควำมหมำยของทิศ 6 ปัจฉิมทิศได้ ขอบข่ายเนื้อหา บทที่ 1 ความหมายของคุณธรรม จริยธรรม เรื่องที่ 1 ควำมหมำยของคุณธรรม จริยธรรม เรื่องที่ 2 ลักษณะของผู้มีคุณธรรม จริยธรรม เรื่องที่ 3 ปัญหำและสำเหตุของกำรขำดคุณธรรม จริยธรรม เรื่องที่ 4 แนวทำงกำรแก้ปัญหำกำรขำดคุณธรรม จริยธรรม เรื่องที่ 5 ประโยชน์ของคุณธรรม จริยธรรม. จ กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


บทที่ 2 การด าเนินชีวิตตามหลักคุณธรรม จริยธรรม เรื่องที่ 1 คุณธรรม จริยธรรมเพื่อกำรอยู่ร่วมกัน เรื่องที่ 2 รูปแบบของกำรด ำเนินชีวิต เรื่องที่ 3 กำรด ำเนินชีวิตตำมแนวพุทธธรรม บทที่ 3 เบญจศีลและคุณธรรม 9 ประการ เรื่องที่ 1 ควำมหมำยควำมส ำคัญของเบญจศีลและคุณธรรม 9 ประกำร เรื่องที่ 2 องค์ประกอบของคุณธรรม 9 ประกำร บทที่ 4 คุณธรรมในการครองเรือน เรื่องที่ 1 คุณธรรมในกำรครองเรือน เรื่องที่ 2 สมชีวิธรรม 4 เรื่องที่ 3 ฆรำวำสธรรม 4 บทที่ 5 ทิศ 6 ปัจฉิมทิศ. เรื่องที่ 1 ทิศ 6 ปัจฉิมทิศ. เรื่องที่ 2 ควำมรับผิดชอบของสมำชิกในครอบครัว เรื่องที่ 3 กำรสร้ำงประชำธิปไตยในครอบครัว เรื่องที่ 4 กำรวำงแผนเลี้ยงดูสมำชิกในครอบครัว ฉ กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


ค าอธิบายรายวิชา สค23031 คุณธรรมในการด าเนินชีวิต จ านวน 3 หน่วยกิต ระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น มาตรฐานที่ 1.1 มีควำมรู้ ควำมเข้ำใจ เห็นควำมส ำคัญของหลักกำรพัฒนำและสำมำรถ พัฒนำตนเอง ครอบครัว ชุมชน/สังคม ศึกษาและฝึกทักษะเกี่ยวกับเรื่องต่อไปนี้ ควำมหมำยของคุณธรรม จริยธรรม ลักษณะของผู้มีคุณธรรม จริยธรรม ปัญหำและ สำเหตุของกำรขำดคุณธรรม จริยธรรม แนวทำงกำรแก้ไขปัญหำกำรขำดคุณธรรม จริยธรรม ประโยชน์ของคุณธรรม จริยธรรมคุณธรรม จริยธรรมเพื่อกำรอยู่ร่วมกันคุณธรรมในกำรด ำเนิน ชีวิต ควำมรับผิดชอบของสมำชิกในครอบครัว กำรสร้ำงประชำธิปไตยในครอบครัว การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ จัดประสบกำรณ์ หรือสถำนกำรณ์ในชีวิตประจ ำวันให้ผู้เรียนได้ศึกษำ ค้นคว้ำ โดยกำร ปฏิบัติจริง กำร ระดมควำมคิด กำรศึกษำจำกแหล่งเรียนรู้ สรุปรำยงำน เพื่อพัฒนำทักษะ กระบวนกำรคิด กำรแก้ปัญหำ กำรให้เหตุผล และน ำประสบกำรณ์ด้ำนควำมรู้ ควำมคิด ทักษะที่ได้รับไปใช้ใน กำรเรียนรู้ต่ำงๆ และใช้ในชีวิตประจ ำวันได้อย่ำงสร้ำงสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่ำและมีเจตคติที่ต่อ คุณธรรม จริยธรรม พร้อมทั้งตระหนักถึงควำมมีเหตุผล สำมำรถท ำงำนอย่ำงเป็นระบบ ระเบียบ มีควำมรอบครอบ มีควำมรับผิดชอบ มีวิจำรณญำณ และมีควำมเชื่อมั่นในตนเอง การวัดและประเมินผล 1.สังเกตกำรเข้ำร่วมกิจกรรม 2.ตรวจงำนที่มอบหมำย 3.กำรสังเกตพฤติกรรมกำรประเมินกำรมีส่วนร่วมในกำรท ำกิจกรรมของผู้เรียน 5.กำรตรวจผลงำนแบบทดสอบ ช กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


รายละเอียดค าอธิบายรายวิชา สค23018 คุณธรรมในการด าเนินชีวิต จ านวน 3 หน่วยกิต ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มาตรฐานที่ 1.1 มีควำมรู้ ควำมเข้ำใจ เห็นควำมส ำคัญของหลักกำรพัฒนำและสำมำรถพัฒนำ ตนเอง ครอบครัว ชุมชน/สังคม ที่ หัวเรื่อง ตัวชี้วัด เนื้อหา จ านวน (ชั่วโมง) 1 ควำมรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับคุณธรรม ในกำรด ำเนินชีวิต -มีควำมรู้ ควำมเข้ำใจ บอกควำมหมำยของ คุณธรรม จริยธรรมได้ 1.ควำมหมำยและหลักกำรของ คุณธรรม จริยธรรม 2.องค์ประกอบของคุณธรรม 3.ประโยชน์ของคุณธรรม จริยธรรม 18 2 กำรด ำเนินชีวิต ตำมหลักคุณธรรม และจริยธรรม -มีควำมรู้ ควำมเข้ำใจใน กำรด ำเนินชีวิตตำมหลัก คุณธรรมและจริยธรรม และน ำควำมรู้ไปปรับใช้ ในชีวิตประจ ำวันได้ 1.คุณธรรมเพื่อกำรอยู่ร่วมกัน 2.รูปแบบของกำรด ำเนินชีวิต 3.กำรด ำเนินชีวิตตำมแนวพุทธธรรม 24 3 เบญจศีลและ คุณธรรม 9 ประกำร -มีควำมรู้ ควำมเข้ำใจ ควำมส ำคัญของเบญจศีล และคุณธรรม 9 ประกำร 1. ควำมหมำยควำมส ำคัญของเบญจ ศีลและคุณธรรม 9 ประกำร 2.องค์ประกอบของคุณธรรม 9 ประกำร 24 4 คุณธรรมในกำร ครองเรือน -มีควำมรู้ ควำมเข้ำใจ เรื่องคุณธรรมในกำร ครองเรือนและน ำควำมรู้ ไปปรับใช้ใน ชีวิตประจ ำวันได้ 1.คุณธรรมในกำรครองเรือน 2.สมชีวิธรรม 4 3.ฆรำวำสธรรม 4 24 5 ทิศ 6 ปัจฉิมทิศ -มีควำมรู้ ควำมเข้ำใจ เรื่องทิศ 6 ปัจฉิมทิศ น ำควำมรู้ที่ได้รับมำปรับ ใช้ในชีวิตประจ ำวันได้ 1.ทิศ 6 ปัจฉิมทิศ 2.ควำมรับผิดชอบของสมำชิกใน ครอบครัว 3.กำรสร้ำงประชำธิปไตยในครอบครัว 4.กำรวำงแผนเลี้ยงดูสมำชิกใน ครอบครัว 30 ซ กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


แบบทดสอบก่อนเรียน ค าสั่ง…..ให้ผู้เรียนเลือกข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ถ้ำพ่อแม่ทะเลำะวิวำทท ำให้ส่งผลต่อลูกอย่ำงไร ก. สุขภำพจิตไม่ดี ข. สุขภำพกำยไม่ดี ค. ได้รับผลกระทบทั้งด้ำนร่ำงกำยและจิตใจ ง. ไม่มีผลต่อลูกเพรำะเคยชินกับสถำนกำรณ์ 2. ผู้แก้ปัญหำครอบครัวคือใคร ก. พ่อ-แม่ ข. พ่อ-ลูก ค. แม่-ลูก ง. ทุกคนในครอบครัว 3. กรณีเพื่อนนักศึกษำมีปัญหำครอบครัวไม่อบอุ่น ตรงกับสำเหตุข้อใด ก. ชวนเพื่อนมำนอนที่บ้ำน ข. ชวนเพื่อนหนีออกจำกบ้ำน ค. รับฟังและให้ค ำปรึกษำ ง. ชวนเพื่อนไปเที่ยวเพื่อคลำยเครียด 4. ครอบครัวไม่อบอุ่นตรงกับสำเหตุข้อใด ก. ฐำนะยำกจน ข. ขำดควำมเข้ำใจซึ่งกันและกัน ค. ขำดกำรศึกษำ ง. สิ่งแวดล้อม 5. กำรป้องกันปัญหำครอบครัวไม่อบอุ่น สอดคล้องกับข้อใด ก. สมำชิกทุกคนมีงำนท ำ ข. สมำชิกทุกคนอยู่ด้วยกันตลอดเวลำ ค. สร้ำงฐำนะให้ควำมร่ ำรวย ง. รักห่วงใยและมีเวลำให้กันเสมอ 6. กำรวำงตัวได้ถูกต้องและเหมำะสมกับเพศ ตรงกับควำมหมำยข้อใด ก. เด็กชำยช่วยถือหนังสือช่วยอำจำรย์ ข. เด็กหญิงใส่กระโปรงสั้นไปวัด ค. เด็กชำยให้เด็กหญิงช่วยผ่ำฟืนให้ ง. เด็กชำยหอมแก้มเด็กหญิงเพรำะเป็นแฟนกัน 7. คุณลักษณะที่เพศหญิงพึงปฏิบัติ คือข้อใด ก. หัวเรำะเสียงดังเมื่อพอใจ ข. พูดจำอ่อนหวำนกับคนที่รักกันเท่ำนั้น ค. รักนวลสงวนตัว ง. พูดส่อเสียดเมื่อไม่พอใจ 8. คุณลักษณะที่เพศชำยพึงปฏิบัติ คือข้อใด ก. พูดขำอ่อนหวำน ข. ไม่รังแกผู้ที่อ่อนแอกว่ำ ค. น้ ำเสียงห้วนเมื่อไม่พอใจ ง. พูดจำสุภำพเฉพำะกับผู้ใหญ่ 9. เพศหญิงและเพศชำยถ้ำวำงตัวในสังคมได้เหมำะสม เกิดผลต่อสังคมอย่ำงไร ก. สังคมน่ำอยู่มำกขึ้น ข. สังคมวุ่นวำย ค. สังคมได้รับกำรพัฒนำ ง. สังคมไม่มีปัญหำ ฌ กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


10. เพศหญิงไม่รักนวลสงวนตัว เกิดผลอย่ำงไร ก. กำรตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ข. กำรทะเลำะเบำะแว้ง ค. สังคมวุ่นวำย ง. กำรแปลงเพศ 11. บุคคลในข้อใดไม่จัดเป็นฆรำวำส ก. พระภิกษุสำมเถร ข. ชำวไร่ ชำวนำ ค. นักเรียน นักศึกษำ ง. ข้ำรำชกำร 12. ฆรำวำสธรรม 4 ประกำร คือข้อใด ก. สัจจะ ทมะ ขันติ วิริยะ ข. สัจจะ ทมะ สติ จำคำ ค. สัจจะ ทมะ ขันติ จำคะ ง. สัจจะ วิริยะ ขันติ จำคะ 13. ควำมอดทนตรงกับควำมหมำยข้อใด ก. สัจจะ ข. ขันติ ค. ทมะ ง. จำคะ 14. มีควำมเสียสละ จิตใจกว้ำงขวำงมีควำมหมำยตรงกับข้อใด ก. ขันติ ข. จำคะ ค. ทมะ ง. สัจจะ 15. สำมีไม่ควรปฏิบัติต่อภรรยำอย่ำงไร ก. ยกย่องภรรยำ ให้ควำมอบอุ่น ข. ไม่ประพฤตินอกใจภรรยำ ค. ดูหมิ่นภรรยำด้วยค ำพูด ง. ให้ภรรยำแต่งตัวตำมฐำนะ 16. ภรรยำไม่ควรปฏิบัติต่อสำมีอย่ำงไร ก. สงเครำะห์คนข้ำงเคียงของสำมี ข. ดูแลกำรงำนให้เรียบร้อย ค. ไม่ประพฤตินอกใจสำมี ง. น ำทรัพย์สินของสำมีให้มำรดำตน 17. หลักธรรมส ำหรับผู้ครองเรือน คือข้อใด ก. อิทธิบำท 4 ข. พรหมวิหำร 4 ค. สังคหะวัตถุ 4 ง. ฆรำวำส 4 18. ข้อใดไม่ใช่นิสัยของสำมีที่น ำไปสู่กำรหย่ำร่ำง ก. อำรมณ์เสียง่ำย หงุดหงิดบ่อยๆ ข. ชอบชวนทะเลำะ ข. หำควำมสุขนอกบ้ำน ง. อยู่ในศีลธรรม ญ กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


19. สำเหตุข้อใดของภรรยำที่น ำไปสู่กำรหย่ำร้ำง ก. เป็นคนกว้ำงขวำง ชอบข่มสำมี ข. ไม่เอำใจใส่ในบ้ำน ค. มีควำมประหยัด ง. เป็นคนเจ้ำอำรมณ์ 20. กำรข่มใจตนเอง หมำยถึงข้อใด ก. ทมะ ข. วิริยะ ค. จิตตะ ง. สัจจะ 21.สิ่งใดที่สมำชิกทุกคนในครอบครัวควรมี ก. ควำมจริงใจ ข. ควำมขยัน ค. ควำมรับผิดชอบ ง. ควำมเพียร 22. สิ่งใดที่จะช่วยให้ครอบครัวอยู่กันอย่ำงเรียบร้อย ก. กติกำ ข. เงินทอง ค. ควำมรัก ง. สุขภำพสมบูรณ์ 23. ประชำธิปไตยในครอบครัวมีลักษณะอย่ำงไร ก. กำรมอบงำนให้คนหนึ่งคนใด ข. กำรท ำงำนแต่พียงคนเดียว ค. กำรแบ่งงำนกันท ำ ง. มีคนคอยสั่งให้ท ำงำน 24. ข้อใดมีควำมหมำยตรงกับ “คำรวธรรม” ก. กำรเคำรพซึ่งกันและกัน ข. กำรกรำบไหว้ ค. กำรเคำรพผู้ใหญ่โดยไม่ค ำนึงถึงเหตุผลอื่นๆ ง. กำรถ่อมตน 25. ข้อใดไม่ใช่หน้ำที่ของบิดำ มำรดำ ที่พึงมีต่อบุตร ก. อบรมสั่งสอน ข. เลี้ยงดูบุตรให้ปัจจัยสี่ ค. ให้ควำมรัก ง. ให้ทรัพย์ เงินทอง ไปเที่ยว 26. ข้อใดไม่ใช่หน้ำที่ของสำมีที่มีต่อภรรยำ ก. มอบควำมเป็นใหญ่ให้ ข. ให้เครื่องแต่งตัว ค. รักษำทรัพย์ที่หำมำได้ไม่สุรุ่ยสุร่ำย ง. ด้วยควำมไม่ดูหมิ่น 27. หน้ำที่ของบุตรที่ดีในฐำนะเป็นสมำชิกในครอบครัว คือข้อใด ก. เรียนหนังสืออย่ำงเกียจคร้ำน ข. ช่วยงำนบ้ำนแบบขอไปที ค. ก่อเรื่องร ำคำญมำให้เสมอ ง. ช่วยวำนบ้ำนรับใช้บิดำ-มำรดำ ฎ กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


28. บิดำ-มำรดำ ต้องรับผิดชอบต่อควำมเจริญของลูกทุกด้ำนยกเว้นข้อใด ก. ควำมปลอดภัย ข. กำรศึกษำ ค. กำรเลือกคู่ครอง ง. สุขภำพอนำมัย 29. เมตตำธรรม หมำยถึงข้อใด ก. เคำรพซึ่งกันและกัน ข. มีควำมช่วยเหลือกับปรำรถนำดีต่อกัน ค. สมำชิกในครอบครัวสำมัคคีกัน ง. ใช้ปัญญำในกำรแก้ไขปัญหำต่ำงๆ 30.สิ่งใดที่บิดำ-มำรดำ ถือว่ำเป็นพื้นฐำนที่ลูกจะไปประกอบอำชีพในอนำคตได้ดี ก. กำรมีร่ำงกำยแข็งแรงสมบูรณ์ ข. กำรมีสติปัญญำดี ค. ควำมปลอดภัย ง. กำรให้กำรศึกษำ ฏ กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


บทที่ 1 ความหมายของคุณธรรม จริยธรรม สาระส าคัญ คุณธรรม คือ ควำมดีงำมในจิตใจที่ท ำให้บุคคลประพฤติดี ผู้มีคุณธรรมเป็นผู้มี ควำมเคยชินในกำรประพฤติดีด้วยควำมรู้สึกในทำงดีงำม คุณธรรมเป็นสิ่งที่ตรงกันข้ำมกับกิเลส ซึ่งเป็นควำมไม่ดีในจิตใจ ผู้มีคุณธรรมจึงเป็นผู้ที่ไม่มำก ด้วยกิเลสซึ่งจะได้รับกำรยกย่องว่ำเป็นคน ดี กำรที่เรำได้รับรู้ถึงลักษณะต่ำงๆและองค์ประกอบของคุณธรรมแล้วก็จะสำมำรถปฏิบัติตนไห้ เป็นผู้มีคุณธรรมได้อย่ำงถูกต้อง ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. ผู้เรียนสำมำรถบอกควำมหมำยของคุณธรรม จริยธรรมได้ 2. ผู้เรียนสำมำรถบอกถึงคุณลักษณะของผู้ที่คุณธรรม จริยธรรมได้ 3. ผู้เรียนมีควำมรู้ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับสำเหตุกำรเกิดปัญหำในกำรด ำเนินชีวิต 4. ผู้เรียนมีควำมรู้ควำมเข้ำในกำรแก้ปัญหำในกำรเนินชีวิตและสำมำรถน ำไปปรับใช้กับ ชีวิตประจ ำวันได้ ขอบข่ายเนื้อหา เรื่องที่ 1 ควำมหมำยของคุณธรรม จริยธรรม เรื่องที่ 2 ลักษณะของผู้มีคุณธรรม จริยธรรม เรื่องที่ 3 ปัญหำและสำเหตุของกำรขำดคุณธรรม จริยธรรม เรื่องที่ 4 แนวทำงกำรแก้ปัญหำกำรขำดคุณธรรม จริยธรรม เรื่องที่ 5 ประโยชน์ของคุณธรรม จริยธรรม 1 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


เรื่องที่ 1 ความหมายของคุณธรรม จริยธรรม คุณธรรม (Moral ) คือ คุณ + ธรรมะ คุณงำมควำมดีที่เป็นธรรมชำติ ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ ตนเองและสังคม ซึ่งรวมสรุปว่ำคือ สภำพคุณงำม ควำมดี คุณธรรม คือ ควำมดีงำมในจิตใจที่ท ำให้บุคคลประพฤติดี ผู้มีคุณธรรมเป็นผู้มีควำมเคยชินใน กำรประพฤติดีด้วยควำมรู้สึกในทำงดีงำม คุณธรรมเป็นสิ่งที่ตรงกันข้ำมกับกิเลสซึ่งเป็นควำมไม่ดีในจิตใจ ผู้มีคุณธรรมจึงเป็นผู้ที่ไม่มำก ด้วยกิเลสซึ่งจะได้รับกำรยกย่องว่ำเป็นคนดี คุณธรรมตำมพระบรมรำโชวำทของพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว เมื่อกล่ำวถึงคุณธรรม โดยทั่วไปจะระบุชื่อคุณธรรมว่ำควำมละอำยแก่ใจ ควำมเมตตำกรุณำ ควำมหวังดี ควำมซื่อสัตย์สุจริต ควำมเห็นอกเห็นใจ ควำมจริงใจ ควำมยุติธรรม ควำมเที่ยงตรง ควำมเสียสละ ควำมสำมัคคีควำมอดทน ควำมอดกลั้น ควำมขยัน กำรให้อภัย ควำมเกรงใจและอื่น ๆ กำรฝึกฝน และปฏิบัติตนให้มีคุณธรรม ไม่ จ ำเป็นต้องพะวงในกำรเรียกชื่อคุณธรรม เพรำะเป็นสิ่งที่ดีที่ทุกคนสำมำรถยึดถือปฏิบัติได้โดยไม่ต้อง ค ำนึงว่ำเป็นของลัทธิใด กำรฝึกฝนคุณธรรมควรฝึกตำม ควำมต้องกำรและสภำพแวดล้อมประเทศไทยใน สมัยปัจจุบันก ำลังมุ่งปลูกผังคุณธรรมส ำหรับประชำชน 4 ประกำร เพื่อควำมร่มเย็นของชำติบ้ำนเมืองตำมพระบรมรำโชวำทของพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว ดังนี้ 1. กำรรักษำควำมสัตย์ ควำมจริงใจต่อตัวเองที่จะประพฤติปฏิบัติแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์และเป็นธรรม 2. กำรรู้จักข่มใจตนเอง ฝึกใจตนเองให้ประพฤติปฏิบัติอยู่ในควำมสัตย์ควำมดีนั้น 3. กำรอดทน อดกลั้น และอดออม ที่จะไม่ประพฤติล่วงควำมสัตย์สุจริตไม่ว่ำจะด้วยประกำรใด 4. กำรรู้จักละวำงควำมชั่ว ควำมทุจริต และรู้จักสละประโยชน์ส่วนน้อยของตนเพื่อประโยชน์ส่วน ใหญ่ของบ้ำนเมือง คุณธรรมตำมแนวคิดของ อริสโตเติล อริสโตเติลนักปราชญ์ชาวกรีก ได้ให้แนวทำงของคุณธรรม หลัก ๆ ไว้ 4 ประกำร คือ 1. ควำมรอบคอบ คือ รู้ว่ำอะไรควรประพฤติปฏิบัติ อะไรไม่ควรประพฤติปฏิบัติ 2. ควำมกล้ำหำญ คือ ควำมกล้ำเผชิญต่อควำมเป็นจริง 3. กำรรู้จักประมำณ คือ รู้จักควบคุมควำมต้องกำรและกำรกระท ำให้เหมำะสมกับสภำพและฐำนะ ของตน 4. ควำมยุติธรรม คือ กำรให้แก่ทุกคนตำมควำมเหมำะสม 2 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


กำรพัฒนำบุคคลด้วยคุณธรรมต้องฝึกฝนให้มีควำมรู้สึกตระหนักว่ำอะไรดี อะไรควร อะไร ไม่ควร อะไรไม่ดี และปฏิบัติแต่ในทำงที่ถูกที่ควรให้เป็นปกติวิสัย กำรพัฒนำในสิ่งดังกล่ำวควรใช้สิ่ง โน้มน ำให้มีคุณธรรมสูง มีควำมระลึกได้ว่ำอะไรไม่ควร และควำมรู้สึกตัวว่ำก ำลังท ำอะไรอยู่ ผู้หวัง ควำมสงบสุขควำมเจริญและควำมมั่นคงแก่ตนเองและประเทศชำติ ต้องฝึกฝนตนเองให้มีคุณธรรม คุณธรรมเป็นสิ่งที่ส ำคัญและจ ำเป็นมำกส ำหรับบุคลำกรที่พึงประสงค์ขององค์กำร องค์กำรควรให้ กำรส่งเสริมสนับสนุนและชักจูงให้บุคลำกรขององค์กำรสนใจคุณธรรมและพร้อมปฏิบัติกับชีวิตกำร ท ำงำนของตนเอง คุณธรรม พจนำนุกรมไทยฉบับรำชบัณฑิตสถำน ( 2530 : 190 ) ได้ให้ควำมหมำยของ คุณธรรมว่ำ คุณธรรม หมำยถึง สภำพคุณงำมควำมดีหรือหน้ำที่อันพึงมีอยู่ในตัว ลิขิต ธีรเวคิน ( 2548 ) ได้กล่ำวไว้ว่ำ คุณธรรม คือ จิตวิญญำณของปัจเจกบุคคล ศำสนำ และอุดมกำรณ์ เป็นดวงวิญญำณของปัจเจกบุคคลและสังคมด้วย ปัจเจกบุคคลต้องมีวิญญำณ สังคมต้องมีจิตวิญญำณคุณธรรมของปัจเจกบุคคลอยู่ที่กำรกล่อมเกลำเรียนรู้โดยพ่อแม่ สถำบันกำรศึกษำ ศำสนำ พรรคกำรเมืองและองค์กรของรัฐ รองศำสตรำจำรย์ ดร. ทิศนำ แขมมณี (2546 : 4) ได้ให้ควำมหมำยไว้ว่ำ คุณธรรม หมำยถึง คุณลักษณะหรือสภำวะภำยในจิตใจของมนุษย์ที่เป็นไปในทำงที่ถูกต้องดีงำม ซึ่งเป็นภำวะ นำมธรรมอยู่ในจิตใจ สัญญำ สัญญำวิวัฒน์ ( 2527 : 387 ) ได้ให้ควำมหมำยว่ำ คุณธรรม หมำยถึง ควำมดี ควำมงำม ควำมซื่อสัตย์ ควำมพอดี ควำมอดทน ขยันหมั่นเพียร จากความหมายของคุณธรรมที่กล่าวมาพอสรุปได้ว่า คุณธรรม หมำยถึง หลักของควำม ดี ควำมงำม ควำมถูกต้อง ซึ่งจะแสดงออกมำโดยกำรกระท ำ ทำงกำย วำจำและจิตใจของแต่ละ บุคคล ซึ่งเป็นหลักประจ ำใจในกำรประพฤติปฏิบัติจนเกิดเป็นนิสัยเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ต่อตนเอง ผู้อื่นและสังคม คุณธรรม หมำยถึง สภำพคุณงำมควำมดีทำงควำมพฤติและจิตใจ เช่น ควำมเป็นผู้ไม่กล่ำว เท็จโดยหวังประโยชน์ส่วนตนเป็นคุณธรรมประกำรหนึ่ง 3 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


ค าว่า คุณ ภำษำบำลีแปลว่ำ ประเภท, ชนิด ธรรม หมำยถึง หลักควำมจริง หลักกำรใน กำรปฏิบัติดังนั้น อำจอธิบำยได้ว่ำ คุณธรรม คือ จริยธรรมที่แยกเป็นรำยละเอียดแต่ละประเภท เช่น เมตตำ กรุณำ เสียสละ ซื่อสัตย์อดทน ฯลฯ สิ่งเหล่ำนี้หำกผู้ใดประพฤติปฏิบัติอย่ำงสม่ ำเสมอ ก็จะเป็นสภำพคุณงำมควำมดีทำงควำมประพฤติและจิตใจของผู้นั้น จริยธรรม (Ethics) ค ำว่ำ "จริยธรรม" แยกออกเป็น จริย + ธรรม ซึ่งค ำว่ำ จริย หมำยถึง ควำมประพฤติหรือ กิริยำที่ควรประพฤติ ส่วนค ำว่ำ ธรรม มีควำมหมำยหลำยประกำร เช่น คุณควำมดี, หลักค ำสอนของ ศำสนำ, หลักปฏิบัติ เมื่อน ำค ำทั้งสองมำรวมกันเป็น "จริยธรรม" จึงมีควำมหมำยตำมตัวอักษรว่ำ "หลักแห่งควำมประพฤติ" หรือ "แนวทำงของกำรประพฤติ" จริยธรรม เป็นสิ่งที่ควรประพฤติ มีที่มำ จำกบทบัญญัติหรือค ำสั่งสอนของศำสนำ หรือใครก็ได้ที่เป็นผู้มีจริยธรรม และได้รับควำมเคำรพนับ ถือมำแล้ว ความส าคัญของคุณธรรม และจริยธรรม พจนำนุกรม ฉบับรำชบัณฑิตยสถำน พ.ศ. 2542 คุณธรรม แปลว่ำสภำพคุณงำมควำม ดี จริยธรรม แปลว่ำ ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ ศีลธรรม กฎศีลธรรม บำงครั้งก็เรียกควบกันไป เป็นคุณธรรม จริยธรรม คุณธรรมและจริยธรรมของบุคคลที่มีต่อสังคมในสังคมประชาธิปไตย คุณธรรมและจริยธรรมของบุคคลที่พึงมีต่อสังคม หมำยถึง กำรมีคุณงำมควำมดีในกำรท ำ หน้ำที่ พลเมืองของสังคมประชำธิปไตย คุณธรรมและจริยธรรมของบุคคลที่มีต่อสังคมในสังคม ประชำธิปไตย ประกอบด้วย กำรมีรูปแบบควำมคิดสร้ำงสรรค์ทำงบวก ในกำรแสดงบทบำทอย่ำง แข็งขันในกำรร่วมพัฒนำ และแก้ปัญหำของสังคมด้ำนต่ำง ๆ เช่น 1. กำรมีส่วนร่วมในกำรตัดสินใจประเด็นสำธำรณะอย่ำงแข็งขัน 2. กำรมีส่วนร่วมในกำรกระท ำเพื่อส่วนรวมด้วยควำมเต็มใจ 3. กำรสนับสนุนกำรเสริมสร้ำงควำมเข้มแข็งของชุมชน 4. กำรปฏิบัติตำมกฎหมำยและระเบียบของบ้ำนเมือง เคำรพในกฎกติกำของสังคม 5. กำรติดตำมตรวจสอบกำรท ำงำนของผู้บริหำรและหน่วยงำนของรัฐ 4 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


เรื่องที่ 2 ลักษณะของผู้มีคุณธรรม จริยธรรม เรื่อง “คุณธรรม” เป็นประเด็นที่กล่ำวถกเถียงกันอย่ำงกว้ำงขวำงในสังคมทุกวันนี้ สื่อ ต่ำง ๆล้วนกล่ำวว่ำ “เรำต้องกำรคนมีคุณธรรม” อีกทั้งคนจ ำนวนมำกก็เรียกร้องวิธีกำรสรรหำผู้ มีคุณธรรม แล้วคนเหล่ำนั้นเข้ำใจหรือไม่ว่ำ “คุณธรรม คืออะไร” แล้ว “ผู้มีคุณธรรม มีลักษณะ เช่นไร” คุณธรรมนั้น มีมำกมำยหลำยระดับ แต่โดยภำพรวมแล้วผู้ที่มีคุณธรรมจะมีลักษณะ ดังต่อไปนี้ 1. มีเหตุผล สำมำรถมองโลกตำมควำมเป็นจริง โดยมีคุณสมบัติย่อยดังนี้ 1.1 ปรำศจำกอคติ มีควำมเป็นกลำง ท ำให้สำมำรถวิเครำะห์สิ่งต่ำง ๆ อย่ำงชัดแจ้งตำม ควำมเป็นจริง 1.2 ไม่กล่ำวยกย่องควำมดีงำมของตน ด้วยทรำบว่ำ ควำมดีหรือควำมชั่วมิได้เกิดขึ้นเพียง เพรำะลมปำก หำกพิสูจน์ควำมจริงใจด้วยกำรกระท ำ และเวลำ 1.3 ยอมรับในควำมผิดพลำดหรือข้อบกพร่องของตนเอง แล้วพยำยำมปรับปรุงแก้ไข ด้วย รู้ว่ำคนทุกคนสำมำรถท ำผิดได้ คนที่ไม่เคยท ำผิด คือคนที่ไม่เคยท ำสิ่งใดเลย 1.4 หลีกเลี่ยงกำรวิพำกษ์วิจำรณ์ต ำหนิ นินทำ หรือกล่ำวหำผู้อื่น เพรำะสิ่งเหล่ำนี้เป็น ชนวนของควำมแตกแยกในหมู่คณะ อีกทั้งเป็นกำรแสดงถึงควำมเป็นผู้มีใจคับแคบ 2. มีเมตตา ทั้งต่อตนเองและเพื่อนร่วมโลก ท ำให้มองสิ่งต่ำง ๆ บนโลกด้วยควำมรัก และกำร สร้ำงสรรค์สร้ำงสรรค์ 3. ยอมรับ ให้เกียรติ และชื่นชมยินดีในควำมส ำเร็จ หรือควำมดีงำมของผู้อื่น เพรำะไม่มีใคร สำมำรถอยู่คนเดียว แล้วสำมำรถจัดกำรท ำสิ่งต่ำง ๆ ตำมล ำพังได้สิ่งมีชีวิตทุกชนิดย่อมต้อง พึ่งพำอำศัยซึ่งกันและกัน ดังนั้นจึงต้องรู้จักชื่นชม ขอบคุณ ให้เกียรติ และยินดีในควำมดีงำม หรือสิ่งดี ๆ ของผู้อื่น 4. รู้จักให้อภัยผู้อื่น ด้วยคนทุกคนไม่มีใครสมบูรณ์แบบ และไม่มีใครอยำกจะท ำผิดพลำดดังนั้น คนทุกคนจึงต้องกำรโอกำสจำกผู้อื่นในกำรปรับปรุงตนเองทั้งสิ้น 5. สามารถประสานประโยชน์เพื่อส่วนรวม รู้จักน ำเอำส่วนที่ดีของกลุ่มคน หรือสิ่งต่ำง ๆ มำ รวมกัน หรือร่วมกันเพื่อกำรพัฒนำให้ก้ำวหน้ำหรือมีประสิทธิภำพยิ่งขึ้น 6. มีความเสียสละ 7. มีความหนักแน่น กล้ำหำญ และเฉียบขำด เมื่อเห็นว่ำสิ่งที่ตนท ำเป็นสิ่งที่ดีถูกต้อง และ เป็นประโยชน์แล้ว ย่อมต้องหนักแน่น มั่นใจ และกล้ำหำญที่จะท ำสิ่งเหล่ำนั้นโดยไม่หวั่นไหว ต่อ กระแสต่ำง ๆ รอบข้ำง 5 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


8. เป็นผู้มีวิสัยทัศน์กว้างไกล และมองโลกในแง่ดีเสมอ เป็นผู้ที่สำมำรถมองสิ่งต่ำง ๆ ทั้ง ข้อดีข้อเสีย ข้อจ ำกัดต่ำง ๆ อย่ำงรอบด้ำน มิใช่มองเพียงแง่มุมเดียว อีกทั้งกำรมองหรือ วิเครำะห์นั้นต้องเป็นไปในทำงสร้ำงสรรค์ หรือแง่บวกเสมอ เพื่อเป็นประโยชน์ในกำรพัฒนำสิ่งต่ำง ๆ ให้ดียิ่งขึ้น จะเห็นได้ว่ำเรำทุกคน สำมำรถเป็นผู้มีคุณธรรมได้ ถ้ำมีคุณสมบัติดังกล่ำว แล้วท ำไมเรำจึง ไม่พยำยำมพัฒนำตนไปสู่ควำมมีคุณธรรม ถ้ำคนทุกคนเป็นผู้มีคุณธรรม สังคมก็จะเป็นสังคมที่มี คุณธรรม ลักษณะของผู้มีจริยธรรม ผู้มีจริยธรรมจะเป็นผู้ที่มีคุณลักษณะดังนี้ 1. เป็นผู้ที่มีควำมเพียรควำมพยำยำมประกอบควำมดี ละอำยต่อกำรปฏิบัติชั่ว 2. เป็นผู้มีควำมซื่อสัตย์สุจริต ยุติธรรม และมีเมตตำกรุณำ 3. เป็นผู้มีสติปัญญำ รู้สึกตัวอยู่เสมอ ไม่ประมำท 4. เป็นผู้ใฝ่หำควำมรู้ ควำมสำมำรถในกำรประกอบอำชีพ เพื่อควำมมั่นคง 6 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


เรื่องที่ 3 ปัญหาและสาเหตุของการขาดคุณธรรม จริยธรรม กำรเปลี่ยนแปลงทำงสังคม คือ เป็นปัจจัยส ำคัญที่ท ำให้คนในสังคมขำดคุณธรรม จริยธรรม จำกสังคมไทยดั้งเดิมที่มีวิถีชีวิตแบบง่ำย ผู้คนมีควำมสัมพันธ์กันอย่ำงใกล้ชิดสนิทสนม รักนับถือเอื้อเผื่อแผ่ซึ่งกันและกัน ต่อมำเมื่อระบบชีวิตและวัฒนธรรมของสังคมไทยเปลี่ยนไป และเพื่อกำรพัฒนำประเทศสู่ควำมทันสมัยแบบสำกล มีค่ำนิยมวัตถุนิยมและมีวิถีชีวิตที่ต้องมีกำร แข่งขันท ำนองใครดีใครได้ ใครดีใครอยู่ ท ำให้ระบบคุณธรรม จริยธรรมในสังคมไทยเสื่อมลง สภำพปัญหำกำรขำดคุณธรรมจริยธรรม พบว่ำ เกิดจำกสำเหตุหลำยประกำร สรุปได้เป็น 2 สาเหตุ คือ สาเหตุภายในและสาเหตุภายนอก สาเหตุภายใน ได้แก่ • ขำดควำมรู้ด้ำนคุณธรรมจริยธรรม • ขำดจิตส ำนึกที่ดี มีควำมเห็นที่ผิด • ชอบสนุกชอบสบำย เห็นแก่ได้ • ขำดสติพิจำรณำเหตุผล • ขำดหลักธรรมในกำรด ำเนินชีวิต • มีค่ำนิยมที่ไม่ถูกต้อง มีจิตใจหยำบกระด้ำง • ชอบเที่ยว ไม่เห็นโทษของกำรเที่ยวกลำงคืน • ไม่ยอมรับฟังค ำแนะน ำ • ขำดควำมตระหนักในหน้ำที่ • อยำกรู้อยำกเห็นอยำกทดลอง นิยมควำมรุนแรง • ขำดควำมรู้เรื่องกฎระเบียบวินัยของสังคม • มีนิสัยมักง่ำย เห็นแก่ตัว ชอบอวดควำมยิ่งใหญ่ • ขำดกำรวำงแผนชีวิตที่ดี • ไม่เห็นควำมส ำคัญของกำรให้ ถือตนเป็นใหญ่ • สภำพจิตใจอ่อนแอ ขำดควำมรู้เรื่องกรรม • ขำดควำมอ่อนน้อมถ่อมตน ไม่เคำรพนับถือผู้ใหญ่ • ไม่เห็นโทษของกำรพนัน ไม่เห็นคุณของควำมขยัน 7 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


สาเหตุจากภายนอก ได้แก่ • ขำดกำรอบรมแนะน ำที่ถูกต้อง ขำดแบบอย่ำงที่ดี • ขำดควำมอบอุ่นจำกครอบครัว กระท ำตำมเพื่อน • กำรเปลี่ยนแปลงทำงระบบเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ภำวะเศรษฐกิจบีบคั้น • เลียนแบบพฤติกรรมทำงสื่อมวลชนและสังคมที่ไม่ดี • มีสถำนเริงรมย์เปิดบริกำรมำก สภำพแวดล้อมยั่วยุและชักน ำ เพื่อให้สังคมและเพื่อน ยอมรับ ผู้ถือกฎ ระเบียบวินัยทำงสังคมปฏิบัติหย่อนยำน • ผู้ใหญ่ไม่ประพฤติตนเป็นแบบอย่ำงที่ดี • ขำดกำรปลูกฝังในสิ่งที่ดีงำม ควำมด้อยในฐำนะอำชีพและสังคม สถำนศึกษำไม่เอื้อต่อ กำรศึกษำเล่ำเรียน แนวทางแก้ปัญหาการขาดคุณธรรมจริยธรรมของเยาวชน พบว่ำ แนวทำงแก้ปัญหำสรุปได้ เป็น 2 แนวทาง คือ การแก ้ปัญหาโดยตวัของเยาวชนเอง และการแก ้ปัญหาโดยบุคคลหรือ หน่วยงานภายนอกการแกป้ ัญหาของตวัเยาวชน ไดแ ้ ก่ • เยำวชนจะต้องที่จิตส ำนึกที่ดีสนใจใฝ่เรียนรู้และน้อมน ำหลักคุณธรรมจริยธรรมมำใช้ในกำร ด ำเนินชีวิต • เยำวชนจะต้องไม่ประมำท พร้อมที่จะรับฟังเหตุผล ปรับตัวให้เหมำะสมและปรับปรุงพัฒนำ ตนเองให้ดีขึ้น ส่วนการแก้ปัญหาโดยบุคคลหรือหน่วยงานภายนอก ได้แก่ • ครอบครัว ครู- อำจำรย์ บุคลกรทำงกำรศึกษำ พระสงฆ์ และผู้ใหญ่ในสังคมจะต้องท ำตัว เป็นแบบอย่ำงที่ดี ให้ควำมรักควำมอบอุ่น ให้ค ำปรึกษำแนะน ำในสิ่งที่ถูกต้อง ให้กำร ช่วยเหลือแก้ปัญหำ • สถำนศึกษำจะต้องปรับปรุงหลักสูตรโดยบรรจุเนื้อหำวิชำด้ำนคุณธรรมจริยธรรมให้มำกขึ้น • นิมนต์พระภิกษุมำช่วยสอนช่วยอบรมให้ควำมรู้ด้ำนคุณธรรมจริยธรรม ครูผู้สอนจะต้องมี ควำมรู้ด้ำนกำรบูรณำกำรคุณธรรมจริยธรรมเข้ำกับเนื้อหำวิชำหลัก • น ำพฤติกรรมด้ำนคุณธรรมจริยธรรมมำเป็นส่วนหนึ่งของกำรประเมินผลรำยวิชำด้วยอำจจัด เรียนนอกสถำนที่โดยใช้วัดเป็นศูนย์กลำงกำรเรียนรู้ • จัดโครงกำรอบรมคุณธรรมจริยธรรมอย่ำงต่อเนื่อง สื่อมวลชนต้องน ำเสนอข้อมูลหรือ เผยแพร่ข่ำวสำรด้ำนคุณธรรมจริยธรรมให้เหมำะสมกับเยำวชน 8 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


แนวทางการแก้ปัญหาการขาดคุณธรรม จริยธรรม กำรปลูกฝังให้คนรู้จักและเห็นคุณค่ำของคุณธรรม จริยธรรมอย่ำงจริงจัง มำกกว่ำควำม มั่งคั่งร่ ำรวย ยศศักดิ์และชื่อเสียง เห็นคุณค่ำอันเกิดจำกสติปัญญำและคุณธรรมว่ำมีค่ำ เหนือกว่ำควำมสุขทำงวัตถุภำยนอก วิธีการปลูกฝังที่ส าคัญ คือ 1. กำรสั่งสอน กำรพร่ ำสอน โดยครอบครัว โรงเรียน วัด มีหน้ำที่ในกำรอบรมสั่ง สอนโดยตรง หรือสื่อมวลชนซึ่งสำมำรถขัดเกลำทำงอ้อมได้ โดยกำรสื่อสำรข่ำวสำรข้อมูลที่จะ สร้ำงคุณธรรมและจริยธรรมให้เกิดขึ้นแก่บุคคลและสังคม 2. กำรท ำตัวอย่ำงให้ดู โดยเฉพำะคนในครอบครัว บิดำ มำรดำ ต้องเป็นตัวอย่ำงที่ดี ของลูก ผู้น ำในสังคมทุกระดับควรเป็นตัวอย่ำงแก่ประชำชนในด้ำนกำรประพฤติปฏิบัติที่มี คุณธรรมและจริยธรรม 3. ยกย่องเชิดชูบุคคลที่มีคุณธรรม จริยธรรม เพื่อให้เห็นคุณค่ำของคนที่มีคุณธรรม จริยธรรมให้ถือเป็นคนดี เป็นตัวอย่ำงในสังคม เรื่องที่ 4 แนวทางการแก้ปัญหาการขาดคุณธรรม จริยธรรม 9 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


เรื่องที่ 5 ประโยชน์ของคุณธรรม จริยธรรม โดยสรุปแล้วการมีคุณธรรม จริยธรรม จะมีประโยชน์ต่อการด าเนินชีวิต ดังนี้ คือ 1. เป็นประโยชน์ต่อตนเอง กำรปฏิบัติตำมหลักจริยธรรมย่อมก่อให้เกิดผลดีแก่ ตนเอง ควำมรู้ควำมสำมำรถที่ตนมีอยู่ก็จะถูกมำใช้ในทำงที่เป็นประโยชน์ จริยธรรมบำงข้อ เช่น ควำมมัธยัสถ์ คำมรับผิดชอบ กำรรู้จักประมำณตน ฯลฯ เมื่อเรำปฏิบัติตำมแล้วย่อม ท ำให้ตัวเรำได้รับควำมส ำเร็จและควำมเจริญในชีวิต 2. เป็นประโยชน์ต่อสังคม จริยธรรมท ำให้ครอบครัวและสังคมอยู่กันได้ด้วยควำมสุข จริยธรรมบำงข้อ ควำมมีวินัย ควำมกตัญญูกตเวที กำรรู้จักเคำรพในควำมคิดเห็นของผู้อื่น กำรไม่เบียดเบียนเหล่ำนี้ล้วนเป็นหลักส ำคัญที่จะท ำให้คนในครอบครัวและในสังคมอยู่ร่วมกัน ได้อย่ำงมีควำมสุข 10 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


กิจกรรมท้ายบทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคุณธรรมในการด าเนินชีวิต ค าสั่ง…ให้ผู้เรียนท ากิจกรรมท้ายบทต่อไปนี้ 1.จงบอกความหมายของ คุณธรรม มาโดยสังเขป -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 2.จงบอกความหมายของ จริยธรรม มาโดยสังเขป -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 3.ตามแนวคิดของอริสโตเติลให้แนวทางคุณธรรมว่าอย่างไร -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 4.จงบอกลักษณะของคนที่มี คุณธรรม - จริยธรรม มาโดยสังเขป -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 11 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


บทที่ 2 การด าเนินชีวิตตามหลักคุณธรรมและจริยธรรม สาระส าคัญ มนุษย์เป็นสัตว์สังคมที่อยู่ร่วมกันเป็นกลุ่ม มนุษย์กับสังคมจึงแยกกันไม่ได้ เพรำะมนุษย์ เกิดมำต้องอำศัยสังคม พึ่งพำอำศัยและมีควำมสัมพันธ์ต่อกัน มีกำรจัดระเบียบในกำรมีชีวิตอยู่ ร่วมกันอย่ำงมีแบบแผน เพื่อเป็นหลักในกำรด ำเนินชีวิตและกำรอยู่รอด และสร้ำงควำม เจริญก้ำวหน้ำให้แก่ตนเองและสังคมเพรำะมนุษย์มีแบบแผนในกำรด ำรงชีวิต ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีควำมรู้เกี่ยวกับกำรด ำเนินชีวิตในสังคมไทยได้ 2. อธิบำยควำมต้องกำรอยู่ร่วมกันของมนุษย์และท ำหน้ำที่ต่อสังคมได้ 3. เพื่อให้ผู้เรียนมีควำมรู้ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับสำเหตุกำรเกิดปัญหำในกำรด ำเนินชีวิต 4. ผู้เรียนมีควำมรู้ควำมเข้ำในกำรแก้ปัญหำในกำรเนินชีวิตและสำมำรถน ำไปปรับใช้กับ ชีวิตประจ ำวันได้ ขอบข่ายเนื้อหา เรื่องที่ 1 คุณธรรม จริยธรรม เพื่อกำรอยู่ร่วมกัน เรื่องที่ 2 รูปแบบของกำรด ำเนินชีวิต เรื่องที่ 3 กำรกำรด ำเนินชีวิตตำมแนวพุทธธรรม ปัจจัยขั้นพื้นฐานของมนุษย์ 12 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


เรื่องที่ 1 คุณธรรม จริยธรรมเพื่อการอยู่ร่วมกัน คุณธรรม จริยธรรมเพื่อการอยู่ร่วมกันในสังคมมีมากมาย แต่ที่ส าคัญๆที่คนในสังคมควร ยึดถือประพฤติปฏิบัติ มีดังนี้ ความอดทน ความอดทน หมำยถึง ควำมสำมำรถที่จะทนต่อควำมล ำบำก มีจิตใจเข้มแข็งที่จะท ำควำม ดี และสำมำรถควบคุมตนเองมิให้ท ำชั่ว อันได้แก่ 1. อดทนต่อความยากล าบาก คือ มีจิตใจเข้มแข็งที่จะท ำงำนให้ลุล่วงส ำเร็จหนักเอำเบำสู้ ไม่ว่ำจะเหน็ดเหนื่อย ก็เพียรพยำยำมท ำงำนที่ตั้งใจไว้ให้ส ำเร็จไม่ท ำกำรทุจริตแม้ชีวิตจะล ำบำก เพรำะ ควำมจนก็ไม่ละโมบคิดเอำผู้อื่นโดยมิชอบ แต่ต้องใช้ควำมอดทนเพียรท ำงำนของตนให้ดีที่สุดเท่ำที่จะ ท ำได้ 2. อดทนต่อความเจ็บป่วย หมำยถึง อดทนต่อควำมเจ็บป่วยทำงกำยไม่โอดครวญ ไม่ท้อแท้ ไม่แสดงอำกำรฉุนเฉียว ไม่แสดงควำมอ่อนแอจนเกินเหตุ ไม่น ำเอำควำมเจ็บป่วยเล็กๆน้อยๆมำอ้ำง เพื่อขออภิสิทธิ์ที่จะได้โน่นได้นี่ หรือที่จะไม่ต้องท ำโน่นท ำนี่ ท ำให้กลำยเป็นคนสมเพช เวทนำ เป็นที่ น่ำเหยียดหยำมของคนข้ำงเคียง 3.อดทนต่อความเจ็บใจ หมำยถึง กำรอดทนต่อกำรกระท ำล่วงเกิน เช่น ถูกดูหมิ่น ถูก นินทำ ถูกยั่วยุ เป็นต้น เรำต้องมีควำมอดทนและอดกลั้นตำมควรมิใช่ว่ำเขำพูดผิดใจนิดเดียวก็ท้ำตี ท้ำต่อย อย่ำงไรก็ตำมหำกมีคนล่วงเกินอย่ำงรุนแรงและโดยเจตนำก็ต้องตอบโต้ด้วยสันติวิธี โดยอำศัย กระบวนกำรของกฎหมำย หรือระเบียบกฎเกณฑ์ที่ยึดอยู่เป็นเรื่องมือ 4. อดทนต่อกิเลส หมำยถึง อดทนต่อสิ่งต่ำงๆที่เข้ำมำยั่วยวนชวนให้หลงใหลให้หมกมุ่น มัว เมำ รู้จักเดินสำยกลำง ไม่ปล่อยตัวให้ถล ำไปในทำงทุจริต 13 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


ความรับผิดชอบ ควำมรับผิดชอบ เป็นสิ่งที่ควบคู่กันไปกับหน้ำที่ คนที่มีควำมรับผิดชอบ คือคนที่ตั้งใจ ปฏิบัติ ภำรกิจในหน้ำที่ของตน ให้ส ำเร็จลุล่วงลงตำมเป้ำหมำยที่พึงประสงค์ด้วยควำมเพียร พยำยำม และยอมรับผลของกำรกระท ำนั้นไม่ว่ำจะเป็นควำมชอบหรือควำมผิด โดยเต็มใจไม่ หลีกเลี่ยง บุคคลจึงมีหน้ำที่ต้องรับผิดชอบ 5 ทำง คือ 1. ความรับผิดชอบทางกาย เป็นหน้ำที่ของแต่ละบุคคลที่จะต้องดูแลรักษำสุขภำพของ ตนเองให้ดีอยู่เสมอ เพื่อกำรมีชีวิตที่มีคุณค่ำและกำรประกอบหน้ำที่กำรงำนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ มีอำรมณ์ที่แจ่มใสเบิกบำน ส่งผลต่อมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีในกำรติดต่อกับบุคคลอื่นๆ 2. ความรับผิดชอบทางจิตใจ คือ กำรรู้จักกำรฝึกอบรมจิตใจ ให้เกิดคุณธรรม จริยธรรม ภำยในจิตใจ และรู้จักกำรควบคุมจิตใจมิให้กระทะควำมชั่วเกิดขึ้น 3. ความรับผิดชอบทางเศรษฐกิจ คือ กำรท ำหน้ำที่ในกำรท ำงำนเพื่อเลี้ยงตนเองและ ครอบครัวจำกกำรประกอบอำชะที่สุจริต ด้วยควำมขยันหมั่นเพียรไม่ตกเป็นภำระทำงสังคม 4. ความรับผิดชอบทางสติปัญญา เป็นหน้ำที่ที่บุคคลต้องหมั่นศึกษำเล่ำเรียนแสวงหำ ควำมรู้และพัฒนำสติปัญญำให้ถึงขั้นสูงสุดเท่ำที่จะท ำได้เพื่อพัฒนำตนเองให้มีคุณประโยชน์ต่อ ตนเอง สังคมและประเทศชำติ 5. ความรับผิดชอบต่อสังคม - กำรประพฤติปฏิบัติตนตำมกฎหมำย ข้อบังคับ ระเบียบ แบบแผนค ำสั่ง จำรีต ประเพณี หลักค ำสอนทำงศำสนำ ค่ำนิยมของสังคม เพื่อประโยชน์ต่อส่วนรวม - กำรรับใช้ชุมชนตำมควำมรู้ ควำมสำมำรถในฐำนะที่เป็นสมำชิกของชุมชน สำมำรถกระท ำประโยชน์ให้เกิดแก่ชุมชน จำกสติปัญญำควำมสำมำรถเท่ำที่มีอยู่ เช่น กำร ช่วยเหลือในกำรรักษำสิ่งแวดล้อมของชุมชน กำรช่วยเหลือในกิจกำรเยำวชน สตรีและคนชรำ กำรช่วยเหลือด้ำนกำรป้องกันอัคคีภัย หรือควำมร่วมมือในกำรขุดคุดคลองสร้ำงถนน - กำรใช้สิทธิในกำรเลือกตั้งบุคคลในระบอบประชำธิปไตย เพื่อด ำเนินกิจกรรมของ ท้องถิ่นโดยสุจริต เที่ยงธรรม โดยไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตนหรือพรรคพวก - กำรช่วยในดำรดูแลสำธำรณสมบัติของชุน มิให้เสียหำยหรือถูกท ำลำยเพื่อกำร คงไว้ซึ่งกำรใช้ประโยชน์ร่วมกันของชุมชนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ 14 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


ความซื่อสัตย์ ควำมซื่อสัตย์ หมำยถึง กำรประพฤติปฏิบัติอย่ำงตรงไปตรงมำ ชอบตำมครรลองคลอง ธรรม ทั้งกำย วำจำ ใจ และทั้งต่อตนเองและผู้อื่น ความซื่อสัตย์สุจริตอาจจ าแนกออกได้เป็น 4 อย่ำง คือ 1. ซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเอง คือ มีศีลธรรมประจ ำใจ มีควำมรู้สึกผิดชอบชั่วดีมีควำม ละอำยใจ และเกรงกลัวต่อกำรกระท ำผิด กำรกระท ำชั่ว นั่นคือ มีควำมเคำรพในเกียรติและ ศักดิ์ศรีของตน มีควำมตั้งใจมั่นที่จะประพฤติตนเป็นคนดี ไม่หันเข้ำหำอบำยมุข 2. ซื่อสัตย์สุจริตต่อบุคคล หมำยถึง คนอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับเรำ เช่น บิดำ มำรดำ ผู้มี พระคุณ ครูอำจำรย์ มิตรสหำย หัวหน้ำงำนและคนที่ต่ ำกว่ำ เป็นต้น เรำจ ำเป็นต้องมีควำม ซื่อสัตย์สุจริตต่อผู้อื่น ประพฤติดี ตรงไปตรงมำต่อผู้อื่นอย่ำงสม่ ำเสมอไม่คิดคดทรยศ ไม่กลับ กลอกเหลวไหล ไม่ชักชวนไปในทำงเสื่อมเสีย ไม่สอพอเพื่อหำผลประโยชน์ส่วนตน 3. ซื่อสัตย์ต่อหน้าที่การงาน คือ ปฏิบัติหน้ำที่ท ำงำนอย่ำงตรงไปตรงมำ ไม่ใช้อ ำนำจ หน้ำที่แสวงหำผลประโยชน์ให้แก่ตนและพรรคพวกโดยผิดท ำนองคลองธรรม ตั้งใจท ำงำน ให้ ส ำเร็จด้วยควำมระมัดระวัง ไม่ประมำทเลินเล่อ ไม่ย่อท้อต่ออุปสรรคและควำมล ำบำกทั้งปวง 4. ซื่อสัตย์สุจริตต่อสังคมและประเทศชาติ คือ ประพฤติอยู่ในกรอบของกฎหมำยและ ระเบียบข้อบังคับของสังคมและหมู่คณะ มีควำมสำมัคคีร่วมมือร่วมใจกันท ำงำนของส่วนรวมให้ ส ำเร็จ ด้วยควำมบริสุทธิ์ใจ ไม่กระท ำกำรใดๆ ที่จะเป็นทำงให้ประเทศชำติมีอันตรำย หำกแต่ ท ำงำนเพื่อประโยชน์ส่วนตน พยำยำมรักษำควำมสงบสุขในบ้ำนเมืองคนในชำติ มีควำมรักใคร่กัน ฉันพี่น้อง ก็จะท ำให้เกิดสันติภำพในกำรอยู่ร่วมกัน 15 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


ความมีระเบียบวินัย 1. วินัยทางโลก ได้แก่ กำรปฏิบัติตนตำมกฎหมำย ระเบียบ ข้อบังคับต่ำงๆที่สังคมก ำหนด ขึ้น เพื่อไม่ให้ล่วงละเมิดสิทธิของบุคคลอื่น 2. วินัยทางธรรม ได้แก่ กำรปฏิบัติตำมหลักข้อปฏิบัติที่แต่ละศำสนำที่ก ำหนดให้ศำสนิกชน ของตนเองได้ปฏิบัติตำม เพื่อจุดมุ่งหมำยของศำสนำและเพื่อควำมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของ บรรดำศำสนิกชน คนมีวินัย คือ คนที่รู้จักบังคับควบคุมตัวเอง คือบังคับกำย วำจำ ใจ ของตนให้อยู่ใน ระเบียบแบบแผนของสังคม ทุกคนจึงควรต้องระมัดระวังตัวอยู่เสมอเพื่อไม่ให้ท ำอะไรที่ผิดระเบียบ หรือวินัย นอกจำกนี้วินัย ยังมีส่วนท ำให้คนในสังคมมีควำมสงบสุขเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ทั้ง ทำงด้ำนจิตใจและควำมประพฤติ น ำมำซึ่งควำมเจริญแก่สังคมสืบต่อไป ความยุติธรรม ควำมยุติธรรม หมำยถึง ควำมคิดที่มีเหตุผล บนพื้นฐำนของควำมสมควรถูกต้อง สมเหตุสมผล และเป็นธรรมแก่ทุกฝ่ำย ควำมยุติธรรมเกิดขึ้นได้โดยกำรละเว้นกำรมีอคติต่ำงๆ ในทำงศำสนำ เรียกว่ำ กำรเว้นอคติ ทั้ง 4 คือ ล ำเอียงเพรำะรัก ล ำเอียงเพรำะโกรธ ล ำเอียงเพรำะหลง และล ำเอียงเพรำะกลัว ควำมยุติธรรมจะช่วยให้บุคคลปฏิบัติอย่ำงเที่ยงตรง ไม่เห็นประโยชน์ส่วนตนบนควำมทุกข์ ยำกล ำบำกของผู้อื่น เป็นคุณธรรมที่เป็นประโยชน์แก่สังคม 16 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


ปัญหาในการด าเนินชีวิต 1.ปัญหาประชากร ข้อมูลของส ำนักงำนสถิติแห่งชำติ เมื่อต้นปี 2565 ระบุว่ำ เมื่อปี 2564 มีเด็กเกิดใหม่ 540,000 คน ลดลงจำกอัตรำกำรเกิดของเด็กไทยในช่วงปี 2536 ถึง 2539 มีเด็กเกิด เพิ่มขึ้นถึงปีละ 9 แสนคน ถึง 1 ล้ำนคน ที่น่ำตกใจก็คือ จ ำนวนผู้เกิดใหม่มีจ ำนวนน้อยกว่ำผู้ตำยใน แต่ละปี คือ 563,650 คน เห็นได้ชัดว่ำประเทศไทยก ำลังเผชิญวิกฤติเกี่ยวกับประชำกรอย่ำงรุนแรง ไทยกลำยเป็นสังคมผู้สูงอำยุในอัตรำที่รวดเร็วยิ่งขึ้น ท ำให้ประเทศประสบปัญหำขำดแคลนแรงงำน จะต้องพึ่งพำแรงงำนต่ำงชำติมำกขึ้น แต่มีปัญหำที่แก้ไม่ตกแรงงำนจำกเพื่อนบ้ำน เช่น พม่ำ ลำว และ กัมพูชำไม่สำมำรถเข้ำออกได้โดยเสรี 2.ปัญหาด้านเศรษฐกิจ กำรเพิ่มประชำกรในอัตรำสูง ท ำให้กำรพัฒนำประเทศและกำร พัฒนำด้ำนคุณภำพของชีวิตเป็นไปอย่ำงล่ำช้ำ ด้ำนครอบครัวไม่สำมำรถจะด ำเนินชีวิตได้ตำม เป้ำหมำยเพรำะกำรระเหเร่ร่อนของหัวหน้ำครอบครัวหรือบำงทีย้ำยเข้ำมำอยู่ทั้งครอบครัวรำยได้ไม่ พอกับรำยจ่ำย ไม่มีเงินเก็บไว้ใช้ในยำมทุกข์ยำกหรือยำมที่จ ำเป็น เป็นกำรหำใช้กินค่ ำ ถ้ำเกิด ปัญหำในครอบครัวขึ้นมำต้องพึ่งรัฐบำลช่วยเพรำะไม่สำมำรถขจัดปัญหำได้ด้วยตนเองได้ในด้ำนตัว บุคคลก่อให้เกิดปัญหำด้ำนอำรมณ์ เกิดควำมอิจฉำ มองโลกในแง่ร้ำย สุขภำพจิตเสีย มีผลต่อ บุคลิกภำพของบุคคลในครอบครัว ควำมเจริญก้ำวหน้ำของครอบครัวก็ล่ำช้ำเช่นกัน 17 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


3.ปัญหาด้านสังคม ได้แก่ กำรแตกแยกของครอบครัว กำรศึกษำ อำชญำกรรม ยำเสพ ติด หรือมีกำรประกอบอำชีพที่สังคมรังเกียจ เช่น กำรค้ำประเวณี ล่อลวง เหล่ำนี้เป็นต้น 3.1 ปัญหาการแตกแยกของครอบครัว ท ำให้ครอบครัวเดือดร้อน พ่อแม่ลูกต้องแยกจำก กัน เกิดปัญหำแก่เด็กท ำให้พัฒนำกำรของเด็กไม่เป็นไปตำมขั้นตอนกำรเจริญเติบโตและสุขภำพจิต เสื่อมอำรมณ์เครียดจะกลำยเป็นเด็กที่ด้อยในด้ำนกำรศึกษำ และประพฤติต่อต้ำนสังคม เป็นกำร ประชดชีวิตตนเอง เหล่ำนี้เป็นสิ่งที่ท ำให้กำรด ำเนินชีวิตครอบครัวไม่รำบรื่น 3.2 การศึกษา ในด้ำนกำรศึกษำนี้ ส่วนมำกอยู่ในระดับต่ ำ ไม่สำมำรถยกระดับตนเองได้ ต้องท ำงำนหนัก รำยได้น้อย เพรำะออกจำกโรงเรียนก่อนจบ โดยต้องช่วยครอบครัวประกอบ อำชีพต่อไป เมื่อตนเองเป็นหัวหน้ำครอบครัว รำยได้ไม่พอในกำรใช้จ่ำย บุตรก็อำจจะไม่ได้รับ กำรศึกษำที่ดีได้เช่นกัน และเด็กที่มีปัญหำด้ำนกำรย้ำยภูมิล ำเนำ จะเป็นเด็กที่ไม่มีทะเบียนเกิด ไม่ สำมำรถที่จะเข้ำโรงเรียนได้ตำมเกณฑ์อำยุที่กระทรวงก ำหนดไว้ เด็กเหล่ำนี้จะพบเป็นจ ำนวนมำก ก่อให้เกิดปัญหำในเรื่องกำรพัฒนำคุณภำพชีวิต 3.3 อาชญากรรม อำชญำกรรมนี้จะเกิดได้ทุกยุคทุกสมัย จะมีมำกหรือน้อยแล้วแต่ สถำนกำรณ์ของบ้ำนเมืองและชุมชนนั้นๆ อำชญำกรเหล่ำนี้ ได้แก่ -พวกที่ท ำเป็นครั้งครำว เมื่อโอกำสอ ำนวย หรือเพรำะไม่สำมำรถควบคุมตนเองได้ สถำนกำรณ์เช่นนั้น เช่น เมำเหล้ำ อยำกทดลองท ำ เหล่ำนี้เป็นต้น -พวกที่ท ำเป็นนิสัย พวกนี้ท ำโดยเป็นสันดำนที่อยำกได้ของผู้อื่นโดยหวังรวยแบบไม่ต้อง ลงทุน ส่วนมำกพบในพวกติดยำเสพติดแบบเรื้อรัง -พวกที่ท ำเป็นอำชีพ พวกนี้พวกนี้รู้เทคนิคในกำรกระท ำเป็นอย่ำงดี เช่น พวกล้วงกระเป๋ำ ย่องเบำ เป็นต้น -พวกจิต อปกติ พวกนี้อยำกท ำเพรำะสนุก ทั้งๆ ที่ ฐำนะก็พอมีพอกินแต่เป็นเรื่องผลักดัน เพรำะตำมที่ผิดปกติด้ำนจิตใจ -พวกท ำงำนระดับสูง พวกนี้ท ำเป็นหัวหน้ำใหญ่ ตั้งเป็นกลุ่มมีลูกน้องมำก มีอิทธิพลมำก สิ่งเหล่ำนี้เกิดจำกควำมไม่รำบรื่นของครอบครัว เริ่มจำกเกะกะเกเรในเด็กชำย ใน เด็กหญิงเริ่มเที่ยวกลำงคืนเล็กๆน้อยๆ ต่อไปก็เสริฟอำหำรกลำงคืน และก็ลองท ำต่อๆ ไป สิ่งใดได้เงิน ดีไม่เหนื่อยมำกก็ย่อมจะเสี่ยงท ำสิ่งนั้น เพื่อปำกท้องและครอบครัว 18 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


3.4 ยาเสพติด ผู้ที่เคลื่อนย้ำยเข้ำมำประกอบอำชีพที่ต้องใช้ แรงงำนหนักมำก เวลำว่ำงก็หำทำงที่จะพักผ่อนโดยกำรทดลองเมื่อเกิด ควำมพึงพอใจจึงท ำให้ติดยำเสพติดเป็นประจ ำขำดไม่ได้ พวกนี้มักมั่วสุม รวมกลุ่มเป็นพวกเดียวกัน มีพฤติกรรมคล้ำยกัน ในลักษณะเช่นนี้ เด็กที่ อยู่ในครอบครัวจะพบเห็นแบบที่ไม่ถูกต้อง เด็กมีแนวโน้มที่จะติดยำได้ 3.6 ปัญหาที่อยู่อาศัย เป็นปัญหำส ำคัญเพรำะมนุษย์เรำถ้ำขำดที่พักพิงคงอยู่ไม่ได้ ปัญหำเช่นนี้พบ อยู่ทั่วโลกเพรำะรัฐบำลไม่สำมำรถจะจัดที่อยู่อำศัยให้แก่พลเมืองถ้วนหน้ำได้ เพียงแต่พยำยำม ช่วยเหลือทำงด้ำนควบคุมอำคำรให้ถูกสุขลักษณะในกำรอยู่อำศัยปัญหำที่พบในประเทศไทยในด้ำน ที่อยู่อำศัย 3.5 ปัญหาด้านจราจร ปัญหำนี้พบบ่อยใน ย่ำนแออัด สิ่งต่ำงๆเหล่ำนี้เป็นปัญหำที่ แก้ไขได้ยำกเพรำะประชำกรเพิ่มมำก 19 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


สภาพที่ก่อให้เกิดปัญหานี้มีปัจจัยส าคัญ ได้แก่ 1.ควำมไม่มั่นคงของครอบครัว 2.กำรอุตสำหกรรมแบบใหม่ 3.กำรเคลื่อนย้ำยสถำนที่ตั้งครอบครัวและกำรอพยพ 4.กำรท ำงำนนอกบ้ำนของแม่บ้ำน การปรับตัวเมื่อเกิดปัญหาขึ้นในชีวิตประจ าวัน ทุกคนต้องมีปัญหำเกิดขึ้นอยู่ที่มำกหรือน้อยขึ้นอยู่กับกำรปรับตัว และควำมเข้ำใจซึ่งกันและ กัน พยำยำมยึดหลักต่อไปนี้ 1.ยอมรับว่ำสิ่งที่เกิดขึ้นนั้นเป็นบทเรียนที่เรำต้องแก้ไขได้ โดยหำวิธีกำรในกำรแก้ปัญหำนั้นๆ 2.ยอมรับควำมเห็นอกเห็นใจ และควำมช่วยเหลือจำกผู้อื่นบ้ำงเพรำะทุกคนที่อยู่ในสังคมต้อง มีกำรช่วยเหลือ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ซึ่งกันและกัน เช่น ถ้ำเดือดร้อนกำรเงิน อำจจะยอมรับกำรช่วยเหลือ จำกผู้ใหญ่ได้ เป็นต้น 3.เตรียมรับสถำนกำรณ์ที่ไม่ได้คิดว่ำจะเกิด พยำยำมท ำตนให้มีประโยชน์ที่สุดแก่ครอบครัว โดยท ำหน้ำที่พ่อบ้ำน แม่บ้ำน ที่ดีที่สุด แม้ว่ำจะต้องท ำงำนนอกบ้ำนก็ต้องพยำยำมระงับอำรมณ์ร้อน เพรำะควำมเหน็ดเหนื่อยจำกนอกบ้ำน ไม่น ำงำนนอกบ้ำนมำเป็นเหตุให้เกิดกำรขัดขวำงกำรด ำเนิน ชีวิตของครอบครัวที่จะเป็นไปด้วยดี 4.ต้องท ำเป็นไม่รู้ไม่เห็นสิ่งที่ต่ำงฝ่ำยต่ำงท ำขึ้น การปรับตัวในการด าเนินชีวิต ปัญหำต่ำง ๆในครอบครัวเกิดขึ้นได้ตลอดเวลำ ถ้ำแต่ละครอบครัวมีกำรปรับตัวเข้ำหำกัน ผ่อนสั้น ผ่อนยำว เข้ำใจซึ่งกันและกัน ปรึกษำหำรือซึ่งกันและกัน พยำยำมหำควำมสุขให้กับชีวิต ครอบครัวมำกที่สุด กำรปรับตัวในกำรด ำเนินชีวิต ได้แก่ 1.การปรับตัวเรื่องการใช้จ่าย กำรใช้จ่ำยต้องพยำยำมเข้ำใจซึ่งกันและกัน เพรำะเป็นระยะที่เริ่มสร้ำงตัวสิ่งที่เป็นสิ่งฟุ่มเฟื่อย ต่ำงๆ พยำยำมค่อยๆ ลดลง ทั้งสองฝ่ำยต้องช่วยกันปรับนิสัย กำรเที่ยวเตร่ กินอำหำรนอกบ้ำน เสื้อผ้ำ ฟุ่มเฟื่อย สิ่งเหล่ำนี้เป็นเหตุให้ครอบครัวไม่มีควำมสุขได้ ถ้ำกำรเงินไม่พอใช้จ่ำยภำยในครอบครัว เป็นสำเหตุให้ครอบครัวไม่มีควำมสุข 20 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


เรื่องที่ 2 รูปแบบของการด าเนินชีวิต สร้างชั้นสังคมและรูปแบบการด าเนินชีวิต โคลแมน ได้แบ่ง ชนชั้นของสังคมอย่ำงไม่เป็นทำงกำร ออกเป็นกลุ่มใหญ่ๆ เป็น 3 ระดับ และแบ่งออกเป็นกลุ่มย่อยได้7 กลุ่ม ซึ่งมีลักษณะโดยทั่วไปสรุปได้ดังนี้ 1. ชนชั้นสูง ( Upper class ) แบ่งออกเป็นกลุ่มย่อยได้เป็น 3 กลุ่มคือ 1.1 กลุ่มชั้นสูงระดับบน (Upper - Uppers) ได้แก่กลุ่มชั้นยอดเยี่ยมของสังคม (social elite) มีควำมร่ ำรวยเพรำะได้รับมรดกตกทอดมำกมำย มีบ้ำนเรือนอยู่ในชุมชนคนร่ ำรวยโดยเฉพำะ มีบ้ำนพักตำกอำกำศ ลูกๆ เข้ำเรียนในโรงเรียนที่ดีที่สุด กำรตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์จะไม่พิจำรณำถึง รำคำมำกนัก แต่จะค ำนึงถึงรสนิยมและควำมพอใจมำกกว่ำ สังคมกลุ่มนี้มีประมำณ 0.3% 1.2 กลุ่มชั้นสูงระดับล่าง (Lower - Upper) ได้แก่กลุ่มที่มีรำยได้สูงที่สุดของสังคม กลุ่มนี้ สร้ำงฐำนะควำมร่ ำรวยจำกควำมสำมำรถพิเศษของตนเอง เช่น เป็นประธำนบริษัท หรือหัวหน้ำงำน อำชีพต่ำงๆที่ประสบผลส ำเร็จ ได้รับกำรศึกษำสูง ชอบช่วยเหลือสังคม ชอบซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็น สัญลักษณ์แสดงฐำนะเพื่อตนเอง และครอบครัว เช่นมีบ้ำนรำคำแพงไม่ต่ ำกว่ำ 10 ล้ำนบำท มีสระ ว่ำยน้ ำส่วนตัว รถยนต์รำคำแพง เป็นต้น และกำรซื้อสินค้ำจะไม่ถือเรื่องเงินเป็นส ำคัญ สังคมกลุ่มนี้มี ประมำณ 1.2 % 1.3 กลุ่มชนชั้นกลางระดับบน (Upper – Middles) ได้แก่ กลุ่มที่มีรำยได้ระดับสูงจำก กำรประกอบอำชีพอย่ำงแท้จริง เป็นผู้ที่ได้รับต ำแหน่งและมีเงินเดือนสูง เช่น นักบริหำร ผู้จัดกำร บริษัท และนักวิชำชีพชั้นสูงต่ำงๆ ฐำนะทำงสังคมขึ้นอยู่กับอำชีพและรำยได้ที่ได้รับ ส่วนมำกจะเป็น ผู้ที่มีกำรศึกษำดี แต่ไม่ได้จบจำกสถำบันที่มีชื่อเสียง มีควำมต้องกำรอยำกให้ลูกได้รับ กำรศึกษำที่ดีชอบซื้อผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภำพสูง มีบ้ำนที่สวยงำม อำจเป็นบ้ำนเดี่ยวที่หรูหรำ รำคำ 2 - 10 ล้ำนบำท ชอบเข้ำร่วมกิจกรรมทำงสังคม และมีชีวิตควำมเป็นอยู่ที่ดีและมีควำมสุข สังคมกลุ่ม นี้มีประมำณ 12.5% 21 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


2 ชนชั้นกลาง ( Middle class) แบ่งออกเป็นกลุ่มย่อยได้2 กลุ่ม คือ 2.1 กลุ่มชั้นกลาง (Middle class) ได้แก่ กลุ่มคนที่ท ำงำนเป็นพนักงำนในออฟฟิศทั่วไป (white – collar workers) และพวกคนงำนในโรงงำนระดับสูง (top – level blue - collar worker) จ ำนวนมำกผ่ำนกำรศึกษำระดับวิทยำลัย ต้องกำรให้สังคมยอมรับนับถือ อำศัยอยู่ในทำว เฮ้ำส์หรืออพำร์ตเมนท์และพยำยำมกระท ำในสิ่งที่ถูกต้องเหมำะสม มักจะซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นที่นิยม เพื่อยกระดับตนเองให้ทันสมัย สังคมกลุ่มนี้มีประมำณ 32 % 2.2 กลุ่มผู้ใช้แรงงาน (Working class) ได้แก่ กลุ่มผู้ใช้แรงงำนทั้งในออฟฟิศและในโรงงำน ส่วนที่เหลือ ซึ่งเป็นกลุ่มที่ใหญ่ที่สุดในสังคม ประกอบด้วยคนงำนที่มีทักษะและกึ่งทักษะ (skilled and semiskilled workers) รวมทั้งพนักงำนขำยในธุรกิจขนำดย่อยทั่วไป ใช้ชีวิตมีควำมสุขไปแต่ละวันมก กว่ำจะอดออมเพื่ออนำคต มีควำมภักดีในตรำและชื่อสินค้ำ มำกกว่ำจะซื้อสินค้ำเพื่อมุ่งแสดงฐำนะ สังคมกลุ่มนี้มีประมำณ 38 % 3. ชนชั้นล่าง ( lower class) แบ่งเป็นกลุ่มย่อยได้2 กลุ่มคือ 3.1 กลุ่มชั้นล่างระดับบน (Upper – Lowers) ได้แก่ กลุ่มผู้ท ำงำนส่วนใหญ่ซึ่งส่วน ใหญ่จะเป็นงำนประเภทที่ไม่ต้องมีทักษะหรือกึ่งทักษะ ได้รับกำรศึกษำต่ ำ รำยได้น้อย มีมำตรฐำนกำร ครองชีพระดับควำมยำกจนหรือเหนือกว่ำเพียงเล็กน้อยเท่ำนั้นกำรยกระดับสังคมของตนเองให้สูงขึ้น ค่อนข้ำงจะล ำบำก จึงเพียงแต่ป้องกันมิให้ฐำนะตนเองตกต่ ำลงไปมำกกว่ำนี้และอำศัยอยู่ในบ้ำนที่ พอจะสู้ค่ำใช้จ่ำยได้เท่ำนั้นกลุ่มนี้มี ประมำณ 9 % 3.2 กลุ่มชั้นล่างระดับล่าง (Lower – Lowers) ได้แก่ กลุ่มผู้ว่ำงงำนไม่มีงำนจะท ำ หรือ หำกมีจะมีท ำอยู่บ้ำง ส่วนใหญ่ก็เป็นงำนต่ ำต้อย (menial jobs) มีรำยได้ กำรศึกษำ ที่พักอำศัย ใน ระดับที ่น่ำสงสำรมำกที ่สุด เป็นกลุ่มชั้นล่ำงสุดของสังคม ไม ่สนใจหำงำนท ำที ่ถำวร ส่วนใหญ่ ประทังชีวิตอยู่ด้วยกำรรับเงินช่วยเหลือจำกหน ่วยงำนกำรกุศล หรือประชำสงเครำะห์เท ่ำนั้น กลุ่มนี้มีประมำณ 7% 22 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


การด าเนินชีวิตในสังคม กำรเกิดมำเป็นมนุษย์นั้น พระพุทธเจ้ำตรัสว่ำ “ยำกแสนยำก”ครั้นเรำเกิดมำได้เป็นมนุษย์ ซึ่งได้มำด้วยยำกเช่นนี้แล้ว ก็ควรจะมุ่งแสวงหำสิ่งที่เป็นสำระส ำคัญของชีวิต คือหลักปรัชญำ และ ค ำสอนทำงศำสนำ เพรำะหลักปรัชญำนั้นจะให้โลกทัศน์หรือประทีปส่องทำงชีวิตให้มนุษย์ ส่วน ศำสนำนั้นจะเป็นแนวทำงในกำรปฏิบัติ อันจะท ำให้มนุษย์นั้นได้รับควำมสุข ควำมส ำเร็จในชีวิต มนุษย์เป็นสัตว์สังคมที่อยู่ร่วมกันเป็นกลุ่ม มนุษย์กับสังคมจึงแยกกันไม่ได้ เพรำะมนุษย์เกิด มำต้องอำศัย สังคม พึ่งพำอำศัยและมีควำมสัมพันธ์ต่อกัน มีกำรจัดระเบียบในกำรมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่ำงมีแบบ แผน เพื่อเป็นหลักในกำรด ำเนินชีวิตและกำรอยู่รอด และสร้ำงควำมเจริญก้ำวหน้ำให้แก่ตนเอง และสังคมเพรำะมนุษย์มีแบบแผนในกำรด ำรงชีวิต ซึ่งแบบแผนของมนุษย์ได้จำกกำรเรียนรู้ กำร สร้ำงสม กำรสืบต่อ กำรถ่ำยทอด จนท ำให้ มนุษย์แตกต่ำง จำกสัตว์ ความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์ สำเหตุที่มนุษย์ต้องกำรร่วมกันในสังคม มีดังนี้ 1. เพื่อสนองควำมต้องกำรพื้นฐำนของมนุษย์ ธรรมชำติของมนุษย์นั้นต้องกำรหลำยอย่ำง แต่ พื้นฐำนจริงๆ ก็คือปัจจัยสี่ ได้แก่ อำหำร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อำศัย และยำรักษำโรค นอกจำกวัตถุ นั้นแล้วมนุษย์ต้องกำรควำมรัก ควำมอบอุ่นควำมเข้ำใจ ควำมปลอดภัย สิ่งเหล่ำนี้ล้วนเป็นสิ่งที่ พึ่งพำอำศัยกันและกัน 2. เพื่อเป็นที่ยอมรับของสังคมกำรเป็นที่ยอมรับท ำให้มนุษย์เกิดควำมมั่นใจควำมภูมิใจควำม เข้ำใจที่จะท ำกิจกรรม ให้กับสังคมท ำให้เกิดควำมสุข แต่ถ้ำไม่ยอมรับธรรมชำติของมนุษย์จะ หลีกเลี่ยงจำกสังคมนั้น ท ำให้เกิดทุกข์ ไม่ประสบควำมส ำเร็จ ในชีวิตและไม่มีควำมสุขที่จะอยู่ใน สังคมนั้นๆ 3. เพื่อสร้ำงควำมเจริญก้ำวหน้ำให้กับตนเองและกลุ่ม มนุษย์จะรู้สึกว่ำมีควำมปลอดภัยมี ควำมเอื้ออำทรต่อกันเมื่อมีกำรท ำกิจกรรมร่วมกันและเกิดควำมเต็มใจ ก็จะช่วยกันสร้ำงสรรค์ ผลงำนมื้อผลงำนนั้นเกิดควำมส ำเร็จจกลำยเป็นควำมภำคภูมิใจ สังคมก็จะเจริญก้ำวหน้ำ 23 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


หน้าที่ของสังคม สังคมประกอบด้วยมนุษย์ทุกเพศทุกวัย มีควำมรับผิดชอบ อยู่ภำยใต้กฎเกณฑ์เดียวกันดังนั้น หน้ำที่ของคนในสังคมที่จะตำมมำมีดังนี้ 1. ผลิตสมำชิกใหม่ ธ ำรงไว้ซึ่งหน้ำที่ทำงชีวะ คือ กำรให้ก ำเนิดลูกหลำนเพื่อทดแทนสมำชิกใหม่ 2. อบรมสมำชิกใหม่ ให้สำมำรถเรียนรู้และปฎิบัติตำมกฎระเบียบของสังคมด ำรงอยู่และควำม เจริญก้ำวหน้ำของสังคม 3. รักษำกฎระเบียบของสังคม ปกป้องคุ้มครองคนดี รักษำกฎหมำย เพื่อควำมสงบสุขของสังคม 4. ส่งเสริมเศรษฐกิจให้เจริญก้ำวหน้ำ เช่น ผลิต จ ำหน่ำย แจกจ่ำยสิ้นค้ำและบริกำรให้ขวัญ ก ำลังใจร่วมกลุ่มช่วยกันท ำแบ่งงำนตำมควำมช ำนำญ ก่อให้เกิดก ำลังใจท ำให้สังคมแข็งแรง เศรษฐกิจเข้มแข็งคนในสังคมกินดีอยู่ดีก็มีควำมสุข เด็กในวันนี้ คือสมาชิกที่ดีของสังคมในวันข้างหน้าจากการเรียนรู้และการปฎิบัติดี 24 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


การด าเนินชีวิตตามแนวพุทธธรรม กำรด ำรงชีวิตนับว่ำเป็นเรื่องใหญ่ เพรำะจะต้องต่อสู้กับปัญหำน้อยใหญ่นำนัปกำร ทั้งปัญหำ กำรครองชีวิต ปัญหำสังคม เศรษฐกิจ กำรเมือง และปัญหำสุขภำพอนำมัย ซึ่งแต่ละคนก็มีปัญหำที่ แตกต่ำงกันไปคนละหลำยปัญหำ ชีวิตควรเป็นอยู่อย่ำงมีควำมสุข เมื่อคนที่เคยรู้จักคุ้นเคยเคยพบกัน ค ำถำมประโยคที่สองหลังจำกกล่ำวค ำว่ำ สวัสดีเป็นกำรทักทำยคือ สบำยดีไหม? “ค ำว่ำสบำยดี” ใน ควำมหมำยก็คือ มีควำมสุขเพรำะมนุษย์โดยทั่วไปพำกันแสวงหำควำมสุข ควำมสุขจึงเป็นเป้ำหมำย ใหญ่ของชีวิต ควำมสุขมีทั้งสุขแบบโลก และสุขแบบธรรม สุขแบบโลกเป็นควำมสุขของชำวโลก หรือ ชำวบ้ำนซึ่งได้แก่พวกคฤหัสถ์ หรือฆรำวำสจะพึงมีส่วนสุขแบบธรรมเป็นควำมสุขเกิดจำกฌำนสมบัติ และภำวะที่ไม่มีกิเลสหรือปรำศจำกควำมทุกข์ทำงใจ ความสุขของคฤหัสถ์ ควำมสุขของคฤหำสน์หรือชำวบ้ำนทั่วๆไปมี 4 อย่ำงคือ(พระรำชวรมุนีประยุทธ์ปยุตโต พจนำนุกรมพุทธศำสตร์:173) 1) อัตถิสุข สุขเกิดจำกควำมมีทรัพย์ คือควำมภูมิใจ เอิบอิ่มใจ ว่ำตนมีโภคทรัพย์ที่ได้มำด้วย น้ ำพักน้ ำแรงควำมขยันหมั่นเพียรของตนและโดยชอบธรรม 2) โภคสุข สุขเกิดจำกกำรใช้จ่ำยทรัพย์ คือควำมภูมิใจ เอิบอิ่มใจว่ำตนได้ใช้ทรัพย์ที่ได้มำโดย ชอบนั้น เลี้ยงชีพ เลี้ยงผู้ควรเลี้ยงและบ ำเพ็ญประโยชน์ให้แก่สำธำรณะ 3) อนณสุข สุขเกิดจำกควำมไม่เป็นหนี้ คือควำมภูมิใจเอิบอิ่มใจว่ำ ตนเป็นไทไม่มีหนี้สินติด ค้ำงใคร 4) อนวัชชสุข สุขเกิดจำกควำมประพฤติไม่มีโทษ คือควำมภูมิใจเอิบอิ่มใจว่ำตนมีควำม ประพฤติสุจริต ไม่บกพร่องเสียหำย ใครๆ ติเตียน ไม่ได้ทั้งทำงกำยวำจำใจ เรื่องที่ 3 การการด าเนินชีวิตตามแนวพุทธธรรม 25 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


ความสุขเกิดจากความสันโดษ ค ำว่ำ สันโดษ แปลว่ำ ควำมยินดี คือควำมพอใจ ควำมยินดีด้วยของของตน ซึ่งได้มำด้วย เรื่องแรงควำมเพียรโดยชอบธรรม ควำมยินดีด้วยปัจจัยสี่ ตำมมีตำมได้ ควำมรู้จักอิ่มรู้จักพอ มีควำมเข้ำใจผิดกันว่ำ สันโดษ คือควำมไม่กระตือรือร้น งอมืองอเท้ำไม่ดิ้นรนขวนขวำยหำทรัพย์ เป็นอุปสรรคต่อกำรพัฒนำถึงกับในสมัยรัฐบำล จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ไม่เห็นด้วยที่จะให้ พระสงฆ์เทศน์เรื่องควำมสันโดษเพรำะว่ำประชำชนจะไม่ให้ควำมร่วมมือในกำรพัฒนำ แต่ ควำมหมำยของสันโดษมิได้เป็นไปในลักษณะนั้น เป็นหลักธรรมที่ให้คนยั้งคิดถึงควำมถูกต้องเพื่อให้ มีควำมสุขในกำรด ำรงชีวิต สันโดษมี 3 อย่าง คือ 1) ยถาลาภสันโดษ คือควำมยินดีตำมที่ได้ยินดีตำมที่พึ่งได้ คือตนได้สิ่งใดมำหรือเพียรหำสิ่ง ใดมำได้เมื่อเป็นสิ่งที่ตนพึ่งได้ ไม่ว่ำจะหยำบหรือประณีตแค่ไหนก็ยินดีพอใจด้วยสิ่งนั้น 2) ยถาพลสันโดษ คือยินดีตำมก ำลัง ยินดีแต่พอแก่ก ำลังร่ำงกำยสุขภำพและวิสัยแห่งกำร ใช้สอยของตน ไม่ยินดีอยำกได้เกินก ำลังตนมี หรือยำกได้สิ่งใดมำอันไม่ถูกกับก ำลังร่ำงกำย หรือ สุขภำพ 3) ยถาสารุปปสันโดษ คือยินดีตำมสมควร ยินดีตำมที่เหมำะสมกับตนอันสมควรแก่ภำวะ ฐำนะ แนวทำงชีวิต และจุดมุ่งหมำยแห่งกำรบ ำเพ็ญกิจของตน 26 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


กิจกรรมท้ายบทที่ 2 การด าเนินชีวิตตามหลักคุณธรรมและจริยธรรม ค าสั่ง…ให้ผู้เรียนท ากิจกรรมท้ายบทต่อไปนี้ 1.ความต้องการพื้นฐานในการด าเนินชีวิตของมนุษย์ มีอะไรบ้าง -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 2. ปัญหาในการด าเนินชีวิตโดยทั่วไป เกิดจากสาเหตุใดบ้าง -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 3. ปัจจัยส าคัญที่ส่งผลให้เกิดปัญหา ในสังคมไทย ได้แก่ -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 4. เมื่อเกิดปัญหาในการด าเนินชีวิตขึ้น นักศึกษามีแนวทางในการปรับตัวอย่างไร -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 27 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


บทที่ 3 เบญจศีลและคุณธรรม 9 ประการ สาระส าคัญ เบญจศีล หมำยถึง ศีล 5 ข้อ เป็นกำรรักษำเจตนำที่จะควบคุมกำย และ วำจำให้เป็นปกติ คือ ไม่ท ำบำป โดยกำรละเว้น 5 ประกำร คือ ละเว้นจำกกำรฆ่ำ สัตว์ ละเว้นจำก กำรลักขโมย ละเว้นจำกกำรประพฤติผิดในกำม ละเว้นจำกกำรพูด ปด ละเว้นจำก กำรเสพสุรำ เบญจศีลทั้ง 5 ข้อจะเกิดขึ้นมำได้ก็เพรำะบุคคล ผู้นั้นมี เบญจธรรมประจ ำตัว ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. ผู้เรียนบอกควำมหมำยของเบญจศีลได้ 2. อธิบำยองค์ประกอบของเบญจศีลได้ 3. ผู้เรียนมีควำมรู้ควำมเข้ำใจในกำรรักษำศีล 4. ผู้เรียนอธิบำยควำมหมำยคุณธรรม 9 ประกำรได้ ขอบข่ายเนื้อหา เรื่องที่ 1 ควำมหมำยควำมส ำคัญของเบญจศีลและคุณธรรม 9 ประกำร เรื่องที่ 2 องค์ประกอบของคุณธรรม 9 ประกำร 28 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


เรื่องที่1 เบญจศีลธรรม เบญจศีล หรือ ปัญจสีล แปลว่ำ ศีล 5 เป็นศีลหรือข้อห้ำมในล ำดับเบื้องต้นตำมพระ โอวำทของพระพุทธโคดม พระศำสดำแห่งพุทธศำสนำพระองค์ปัจจุบัน แต่ทั้งนี้เบญจศีลเป็น หลักกำรที่มีมำและเป็นที่สั่งสอนทั่วไปก่อนพระพุทธโคดมอุบัติแล้วจัดเป็นศีลขั้นต่ ำของพระ โสดำบัน เบญจศีลเป็นหลักธรรมประจ ำสังคมมนุษย์ ในพิธีกรรมทั้งปวงแห่งพุทธศำสนำ ภิกษุจึง นิยม กล่ำวเป็น ภำษำบำลีมอบศีลที่ตนมีให้บุคคลร่วมรักษำด้วย เรียกว่ำ "ให้ศีล" และพุทธ ศำสนิกจักกล่ำวรับปำกว่ำจะรักษำศีลหรือที่เรียกว่ำกล่ำว"รับศีล"ทั้งนี้ ไม่เพียงแต่ภิกษุเท่ำนั้นที่ให้ ศีลฆรำวำสผู้รักษำศีลอยู่แล้วก็สำมำรถให้ศีลแก่บุคคลอื่นได้ด้วย เบญจศีล คือ ศีล 5 ได้แก่ 1. ปำณำติปำตำ เวรมณี เว้นจำกฆ่ำสัตว์มีชีวิต 2. อทินนำทำนำ เวรมณี เว้นจำกกำรถือเอำของที่เจ้ำของมิได้ให้ 3. กำเมสุมิจฉำจำรำ เวรมณี เว้นจำกกำรประพฤติผิดในกำม 4. มุสำวำทำ เวรมณี เว้นจำกกำรกล่ำวเท็จ 5. สุรำเมรยมัชชปมำทัฏฐำนำ เวรมณี เว้นจำกดื่มน ำเมำ คือ สุรำ และเมรัย 29 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


องค์ประกอบ ของเบญจศีล เบญจศีลในศำสนำพุทธประกอบด้วยข้อห้ำมห้ำข้อเช่นที่ปรำกฏในค ำสมำทำนศีล ดังต่อไปนี้ ล าดับที่ ค าสมาทาน ค าแปล 1. ปาณาติบาต ปำณำติปำตำ เวรมณี สิกฺขำปท สมำทิยำมิ เรำจักถือศีลโดยเว้นจำกกำรเบียดเบียนชีวิต 2. อทินนาทาน อทินฺนำทำนำ เวรมณี สิกฺขำปท สมำทิยำมิ เรำจักถือศีลโดยเว้นจำกกำรเอำสิ่งของที่เจ้ำของ มิได้ให้ 3.กาเมสุมิจฉาจาร กำเมสุมิจฺฉำจำรำ เวรมณี สิกฺขำปท สมำทิยำมิ เรำจักถือศีลโดยเว้นจำกกำรประพฤติไม่เหมำะสม ทำงเพศ 4. มุสาวาท มุสำวำทำ เวรมณี สิกฺขำปท สมำทิ ยำมิ เรำจักถือศีลโดยเว้นจำกกำรกล่ำวเท็จ 5. สุราเมรยมัช ปมาทัฏฐาน สุรำเมรยมชฺชปมำทฏฺฐำนำ เวรมณี สิกฺขำปท สมำทิยำมิ เรำจักถือศีลโดยเว้นจำกกำรบริโภคสุรำยำเมำอัน เป็นที่ตั้งแห่งควำมประมำท 30 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


องค์ประกอบ ของเบญจศีล เบญจศีลในศำสนำพุทธประกอบด้วยข้อห้ำมห้ำข้อเช่นที่ปรำกฏในค ำสมำทำนศีล ดังต่อไปนี้ เบญจธรรม คือ ธรรม 5 ข้อ 1. เมตตำ กรุณำ คู่กับ ศีลข้อที่ 1 2. สัมมำอำชีวะ คู่กับ ศีลข้อที่ 2 3. ควำมส ำรวมในกำม คู่กับ ศีลข้อที่ 3 4. ควำมมีสัตย์ คู่กับ ศีลข้อที่ 4 5. ควำมมีสติรอบคอบ คู่กับ ศีลข้อที่ 5 ค ำว่ำ "ธรรม" ได้แก่ สภำพที่ทรงไว้ หมำยควำมว่ำ ทรงสัตว์ผู้ปฏิบัติธรรมไว้ไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว "กัลยำชน"ได้แก่ คนที่ตั้งอยู่ในกัลยำณธรรม เป็นคนมีควำมประพฤติดีงำม เป็นที่นิยมถือของคน ทั่วไป การรักษาศีล กำรรักษำเบญจศีลสำมำรถกระท ำได้สองวิธี ดังนี้ 1. สมาทานวิรัติคือ สมำทำนหรือขอรับศีลจำกภิกษุ ซึ่งต่อมำมีกำรพัฒนำรูปแบบให้เป็นกำร กล่ำวค ำขอและค ำรับศีล รวมทั้งมีค ำสรุปอำนิสงส์ของศีลด้วย ในอรรถกถำชำดก ปรำกฏกตอน หนึ่งว่ำ พระโพธิสัตว์เคยให้เบญจศีลแก่ยักษ์ด้วย นี้หมำยควำมว่ำ มิใช่แต่ภิกษุเท่ำนั้น แม้คฤหัสถ์ที่มี ศีลก็สำมำรถให้ศีลตำมที่มีผู้ขอได้ 2. สัมปัตวิรัติคือ งดเว้นไม่ท ำบำปขณะประสบกับสถำนกำรณ์ที่กระตุ้นให้ท ำบำป เบญจศีล และเบญจธรรม ค ำว่ำ "ศีล" ได้แก่ ข้อประพฤติข้อปฏิบัติส ำหรับควบคุมกำยและวำจำให้ตั้งอยู่ในควำมดีงำม นอกจำกนี้ "ศีล" ยังแปลได้อีกหลำยอย่ำง เช่น แปลว่ำ เย็น ศีรษะ เกษม สุข อดทน ควำมส ำรวม ควำมก้ำวล่วงละเมิด เป็นต้น 31 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


ผู้ที่ถือศีลย่อมได้รับอานิสงส์ อย่างนี้ คือ 1. ไม่ต้องประสบควำมเดือดร้อนในภำยหน้ำ 2. ย่อมประสบควำมส ำเร็จในกำรท ำมำหำกิน 3. ชื่อเสียงเกียรติยศของผู้มีศีลย่อมแพร่หลำยไปในหมู่นรชน (ในหมู่คนดี) 4. ย่อมเป็นผู้องอำจ ไม่เก้อเขิน เมื่อเข้ำไปในหมู่ของผู้มีศีล 5. เป็นผู้ไม่หลงท ำกำลกิริยำ คือ ก่อนตำยก็มีสติ ตำยไปอย่ำงสงบ ไม่ทุรนทุรำย 6. เมื่อตำยไปแล้ว ย่อมเข้ำถึงสุคติโลกสวรรค์ ไม่ต้องตกนรก 7. ผู้ที่บ ำเพ็ญศีลให้บริบูรณ์ มีสติบริบูรณ์ ย่อมท ำตนให้สิ้นอำสวะได้ คือ สิ้นกิเลสได้ ศีลในทางพระพุทธศาสนามีการจัดอันดับข้อ ดังต่อไปนี้ ศีล 5 ข้อ ส ำหรับสำธุชนทั่วไป มีชื่อเรียกว่ำ นิจศีล ปกติศีล ศีล 8 ข้อ ส ำหรับอุบำสก อุบำสิกำ มีชื่อเรียกว่ำ คหัฏฐศีล อุโบสถศีล ศีล 10 ข้อ ส ำหรับสำมเณร สำมเณรี มีชื่อเรียกว่ำ อนุปสัมปันนศีล ศีล 227 ข้อ ส ำหรับพระภิกษุ มีชื่อเรียกว่ำ ภิกขุศีล ศีล 311 ข้อ ส ำหรับพระภิกษุณี มีชื่อเรียกว่ำ ภิกขุนีศีล 32 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


มนุษย์ที่เกิดมำในโลกนี้ย่อมมีรูปพรรณสัณฐำนเป็นต่ำง ๆ กัน บำงคนก็มีรูปงำมบำงคนก็มีรูป ทรำม ทั้งนี้ย่อมแล้วแต่เหตุจะตกแต่งให้ เหตุดีก็ตกแต่งให้มีรูปงำม เหตุชั่วก็ตกแต่งให้มีรูปทรำม เพรำะเลือกเอำตำมใจหวังไม่ได้ คนมีรูปงำมก็เป็นที่นิยมชมชอบของผู้พบเห็น ถ้ำมีรูปเลวทรำมก็ ตรงกันขำม เหมือนดอกไม้ที่งำมและไม่งำม ถ้ำเป็นดอกไม้งำมและมีกลิ่นหอม ก็ย่อมเป็นชอบใจ ของคนทั่วไป ถ้ำเป็นดอกไม้ไม่งำมทั้งไรกลิ่นหอมด้วยแล้ว ยิ่งไม่มีคนปรำรถนำเลย คนเรำก็ เช่นเดียวกัน ถ้ำรูปงำมน้ ำใจดี ย่อมเป็นที่รักใคร่นิยมชมชอบของผู้พบเห็น ถ้ำรูปงำมหำกไร้คุณธรรม ประจ ำใจ ก็สู้คนรูปชั่วเลวทรำม แต่มีคุณธรรมประจ ำใจไม่ได้ รูปพรรณสัณฐำนได้มำอย่ำงไร ย่อม เป็นอยู่อย่ำงนั้น ตัดแปลงแก้ไข้ไม่ได้ แต่ใจนั้นก็มักเป็นไปตำมพื้นเดิมถึงอย่ำงนั้นก็ยังมีทำงแก้ไขได้ ด้วยควำมตั้งใจอันดีเหมือนของที่ไม่หอมมำแต่เดิม เขำยังอบให้หอมได้ แต่ธรรมดำใจนั้นมักผันแปร ไม่แน่นอนมั่นคงลงได้นักปรำชญ์มีพระพุทธเจ้ำ เป็นต้น จึงได้ก ำหนดวำงแบบแผนควำมประพฤติไว้ เป็นหลักฐำน กำรตั้งใจประพฤติตำมบัญญัตินั้น ชื่อว่ำ " ศีล" ศีลนี้เป็นแนวทำงส ำหรับให้คน ประพฤติควำมดี คนเรำแรกจะประพฤติควำมดี ถ้ำไม่ถืออะไรเป็นหลัก ใจย่อมไม่มั่นคง อำจเอน เอียงไปหำทุจริตอีกได้ เพรำะโมหะครอบง ำ เมื่อบ ำเพ็ญศีลให้บริบูรณ์เป็นปกติมรรยำทได้แล้วจึงจะ ประพฤติคุณธรรมอย่ำงอื่น ก็มักยั่งยืน ไม่ผันแปร นี้แลเป็นประโยชน์แห่งกำรบัญญัติศีลขึ้น ควำมมุ่งหมำยอันดับแรกพึงรู้ว่ำ กำรรักษำศีลห้ำ หรือที่เรียกว่ำ "เบญจศีล" นี้เป็นกำรรักษำ ตนเอง เป็นกำรป้องกันตนเอง ไม่ให้เสียคน หรือที่เรียกว่ำ เสียตัว เพรำะตัวเรำแต่ละคนนั้นเป็นของ หำยำกและมีจ ำกัด คือ มีตัวเดียวเท่ำนั้น ไม่มีตัวแทน อยู่ก็อยู่หมด เสียก็เสียหมด เป็นพระก็เป็นหมด เป็นโจรก็เป็นหมด หรือ เข้ำคุกก็เข้ำหมดเช่นเดียวกัน กำรรักษำศีลห้ำนั้น มีควำมมุ่งหมำยก็คือ ให้ รักษำตนเองไว้ไม่ให้เสียหำย และยังผลพลอยได้อีกมำกทั้งทำงครอบครัว ทำงสังคม ประเทศชำติ และเป็นพื้นฐำนให้ตนเองบ ำเพ็ญ สมำธิ ปัญญำ จนถึงได้มรรคผลนิพพำน พึงทรำบว่ำคนไม่มีศีล ย่อมไม่อำจบ ำเพ็ญ สมำธิ ปัญญำให้ได้ผลเต็มที่ได้ฯ 33 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


หลักส าคัญในการรักษาศีล ผู้ที่จะรักษำศีลห้ำ พึงทรำบหลักในทำงวิชำกำร และทำงปฏิบัติ โดยย่อ คือ 1. ควำมมุ่งหมำยในกำรรักษำศีล 5 2. ข้อห้ำมของผู้รักษำศีล 5 ความมุ่งหมายในการรักษาศีล 5 ดังได้กล่ำวมำแล้วว่ำ กำรรักษำศีลห้ำมีควำมมุ่งหมำยในกำรป้องกันรักษำตนไม่ให้เสียหำย ของทุกสิ่งทุกอย่ำงมันจะดีหรือจะเสีย จะคงทนถำวรหรือช ำรุดหักพังโดยง่ำย ส ำคัญอยู่ที่พื้นฐำน ของสิ่งนั้น ฉะนั้นช่ำงก่อสร้ำงที่เขำจะสร้ำงตึก จึงต้องตอกเสำเข็มลงรำกตรงจุดที่จะรับน้ ำหนักไว้ แข็งแรง ชีวิตของคฤหัสถ์ก็เช่นกัน ต้องแบกน้ ำหนัก เพรำะเรื่องครอบครัว เรื่องหน้ำที่กำรงำน เรื่องยำกดีมีจน ควำมสุขควำมทุกข์ร้อยแปด จ ำจะต้องสร้ำงพื้นฐำนของชีวิตให้มั่นคง จึงจะรับ น้ ำหนักไว้อย่ำงปลอดภัย เรำจะเคยเห็นคนที่มีพื้นฐำนชีวิตไม่ดีพอ พอตนจะต้องรับภำระหรือ กระทบกระแทกเข้ำเลยต้องกระท ำควำมผิดถึงติดคุกติดตะรำงก็มี นั่นแสดงควำมที่ชีวิตพังทลำยไป น่ำเสียดำยมำก ทำงศำสนำชี้จุดส ำคัญทีจะต้องสร้ำงพื้นฐำนไว้ให้มั่นคงเป็นพิเศษ 5 จุด เป็นกำร ปิดช่องทำงที่ตัวเองจะเสีย 5 ทำงด้วยกัน และวิธีว่ำนี้ ก็คือ กำรรักษำศีล 5 ข้อ ศีลข้อที่ 1 ป้องกันทำงที่ตนจะเสียหำย เพรำะควำมโหดร้ำย ศีลข้อที่ 2 ป้องกันทำงที่ตนจะเสียหำย เพรำะควำมมือไว้ ศีลข้อที่ 3 ป้องกันทำงที่ตนจะเสียหำย เพรำะควำมใจเร็ว ศีลข้อที่ 4 ป้องกันทำงที่ตนจะเสียหำย เพรำะขี้ปด ศีลข้อที่ 5 ป้องกันทำงที่ตนจะเสียหำย เพรำะควำมขำดสติ หมำยควำมว่ำ ชีวิตของคฤหัสถ์ทั้งหลำยมักจะพังทลำยในเพรำะ 5 อย่ำงนี้ คือ 1. ควำมโหดร้ำยในสันดำน 2. ควำมอยำกได้ทรัพย์ของคนอื่นในทำงที่ผิดๆ 3. ควำมร่ำนในทำงกำมเกี่ยวกันเพศตรงข้ำม 4. ควำมไม่มีสัจจะประจ ำใจ 5. ควำมประมำทขำดสติ สัมปชัญญะ วิธีแก้ก็คือ กำรหันเข้ำมำปรับพื้นฐำนสันดำนตนเอง โดยวิธีรักษำด้วยเบญจศีล 34 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


ข้อห้ามของผู้รักษาศีล 5 ควำมเบียดเบียนกันทำงโลกซึ่งเป็นไปโดยกำยทวำร ย่อเป็น 3 ประกำร คือ 1. เบียดเบียนชีวิตร่างกาย 2. เบียดเบียนทรัพย์สมบัติ 3. เบียดเบียนประเพณี คือ ท าเชื้อสายผู้อื่นให้สับสน ควำมประพฤติเสียด้วยวำจำ อันมีมุสำวำทคือกล่ำวค ำเท็จเป็นที่ตั้ง คนจะประพฤติก็เพรำะ ควำมประมำท และควำมประมำทนั้นไม่มีมูลอื่นทียิ่งกว่ำน้ ำเมำ เมื่อดื่มเข้ำไปแล้วย่อมท ำให้ควำมคิด วิปริตทันที เหตุนั้นนักปรำชญ์ทั้งหลำยมีพระพุทธเจ้ำเป็นต้นเล็งเห็นกำรณ์น้จึงบัญญัติศีลมีองค์ 5 ไว้ ดังกล่ำวแล้ว ค ำอำรำธนำศีล หมำยควำมว่ำ กำรนิมนต์ หรือ เชิญพระภิกษุ หรือผู้หนึ่งให้เป็นผู้ให้ศีล ค ำสมำทำนศีล หมำยควำมว่ำ กำรว่ำตำมผู้ที่เรำอำรำธนำเพื่อให้ศีล ตั้งแต่ นโม ตสฺส ภควต เป็นต้นไป องค์แห่งศีลอย่ำงหนึ่งๆ เรียกว่ำ "สิกขำบท" ศีลมีองค์ 5 จึงเป็นสิกขำบท 5 ประกำรรวมเรียกว่ำ เบญจศีล กำรรักษำศีล คือ กำรตั้งเจตนำงดเว้นจำกกำรท ำควำมผิดดังท่ำนบัญญัติไว้เป็นเรื่องที่ตังใจ งด ตั้งใจเว้น ตั้งใจไม่ท ำอีก ต้องมี "ควำมตั้งใจ" ก ำกับไว้เสมอไม่ใช่เพรำะมีเหตุอื่นบังคับตน จึงไม่ท ำ ควำมผิด แต่ไม่ท ำเพรำะตนเองได้ตั้งใจไว้ว่ำจะงดเว้น ควำมตั้งใจดังว่ำมำนี้ ทำงศำสนำ เรียกว่ำ" วิรัติ" เจตนำที่งดเว้นจำกควำมชั่ว วิรัติ ผู้ปฏิบัติตำมสิกขำบท 5 ประกำรนั้นย่อมมีวิรัติด้วย วิรัติมี 3 ประกำร คือ 1. สัมปัตตวิรัติ เว้นจำกวัตถุที่จะพึงล่วงได้อันมำถึงเฉพำะหน้ำ ได้แก่ วิรัติของตนทั่วไป 2. สมาทานวิรัติ เว้นด้วยอ ำนำจกำรถือเป็นกิจวัตร ได้แก่ พระภิกษุ สำมเณร อุบำสก อุบำสิกำ 3. สมุจเฉทวิรัติ เว้นด้วยตัดขำด มีอันไม่ท ำอย่ำงนั้นเป็นปกติ ได้แก่ พระอริยเจ้ำ (พระอรหันต์) ค าว่า รูปธรรม - นามธรรม คนที่เกิดมำอำศัยเหตุแต่งขึ้น คุมธำตุทั้ง 4 คือ ดิน น้ ำ ไฟ ลม ขึ้นเป็นร่ำงกำย เรียกว่ำ รูปธรรม แต่เพรำะอำศัยควำมพร้อมเพรียงแห่งธำตุ 4 จึงมีใจ รู้จักคิดตริตรองและรู้สึกก ำหนดหมำย ต่ำง ๆ จึงเรียกว่ำ นำมธรรม ถ้ำรวมรูปธรรมและนำมธรรมเข้ำด้วยกัน เรียกว่ำ สังขำร ซึ่งแปลว่ำสิ่งที่ เหตุแต่งขึ้น 35 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


คุณธรรม 9 ประการ 1. ขยัน คือ ผู้ที่มีควำมตั้งใจเพียรพยำยำมท ำหน้ำที่กำรงำนอย่ำงจริงจังและต่อเนื่องในเรื่องที่ ถูกที่ควร สู้งำนมีควำมพยำยำม ไม่ท้อถอย กล้ำเผชิญอุปสรรค รักงำนที่ท ำ ตั้งใจท ำหน้ำที่อย่ำงจริงจัง 2. ประหยัด คือ ผู้ที่ด ำเนินชีวิตควำมเป็นอยู่อย่ำงเรียบง่ำย รู้จักฐำนะกำรเงินของตน คิดก่อน ใช้ คิดก่อนซื้อ เก็บออมถนอมใช้ทรัพย์สินสิ่งของอย่ำงคุ้มค่ำไม่ฟุ่มเฟือย ฟุ้งเฟ้อ รู้จักท ำบัญชี รำยรับ – รำยจ่ำย ของตนเองอยู่เสมอ 3. ซื่อสัตย์คือ ผู้ที่มีควำมประพฤติตรงทั้งต่อเวลำ ต่อหน้ำที่ และต่อวิชำชีพ มีควำมจริงใจ ปลอดจำกควำมรู้สึกส ำเอียง หรืออคติ ไม่ใช้เล่ห์กลคดโกงทั้งทำงตรงและทำงอ้อม รับรู้หน้ำที่ของ ตนเองปฏิบัติอย่ำงเต็มที่และถูกต้อง 4. มีวินัย คือ ผู้ที่ปฏิบัติตนในขอบเขต กฎ ระเบียบของสถำนศึกษำ สถำบัน องค์กร และ ประเทศ โดยที่ตนยินดีปฏิบัติตำมอย่ำงเต็มใจและตั้งใจยึดมั่นในระเบียบแบบแผนข้อบังคับและข้อ ปฏิบัติ รวมถึงกำรมีวินัยทั้งต่อตนเองและสังคม 5. สุภาพ คือ ผู้ที่มีควำมอ่อนน้อมถ่อมตนตำมสถำนภำพและกำลเทศะ มีสัมมำคำรวะ เรียบร้อยไม่ก้ำวร้ำว รุนแรง หรือวำงอ ำนำจข่มผู้อื่นทั้งโดยวำจำและท่ำทำงเป็นผู้มีมำรยำทดีงำมวำงตน เหมำะสมกับวัฒนธรรมไทย 6. สะอาด คือ ผู้ที่รักษำร่ำงกำย ที่อยู่อำศัย และสิ่งแวดล้อมได้อย่ำงถูกต้องตำมสุขลักษณะ ฝึกฝนจิตไม่ให้ขุ่นมัว มีควำมแจ่มใสอยู่เสมอ ปรำศจำกควำมมัวหมองทั้งกำย ใจและสภำพแวดล้อมมี ควำมผ่องใสเป็นที่เจริญตำท ำให้เกิดควำมสบำยใจแก่ผู้พบเห็น 7. สามัคคีคือ ผู้ที่เปิดใจกว้ำง รับฟังควำมคิดเห็นของผู้อื่น รู้บทบำทของตนทั้งในฐำนะผู้น ำ และผู้ตำมที่ดี มีควำมมุ่งมั่นต่อกำรรวม พลัง ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน เพื่อให้กำรงำนส ำเร็จลุล่วง สำมำรถ แก้ปัญหำและขจัดควำมขัดแย้งได้ เป็นผู้มีเหตุมีผล ยอมรับควำมแตกต่ำง ควำมหลำกหลำยทำง วัฒนธรรม ควำมคิดและควำมเชื่อ พร้อมที่จะปรับตัวเพื่ออยู่ร่วมกันอย่ำงสันติและสมำนฉันท์ 8. มีน้ าใจ คือ ผู้ให้และผู้อำสำช่วยเหลือสังคม รู้จักแบ่งปัน เสียสละควำมสุขส่วนตน เพื่อท ำ ประโยชน์ให้แก่ผู้อื่น เห็นอก เห็นใจ และเห็นคุณค่ำในเพื่อมนุษย์และผู้ที่มีควำมเดียดร้อน มีควำมเอื้อ อำทรเอำใจใส่อำสำช่วยเหลือสังคมด้วยแรงกำยและสติปัญญำลงมือปฏิบัติกำรเพื่อบรรเทำปัญหำหรือ ร่วมสร้ำงสรรค์สิ่งดีงำมให้เกิดขึ้นในชุมชน 36 กลับ สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5


Click to View FlipBook Version