The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by natthicha2000, 2022-12-28 10:59:42

DC290606-749C-40CC-9B96-B5EB7FEEE62A

DC290606-749C-40CC-9B96-B5EB7FEEE62A

หน่วยที่ 7

จรรยาบรรณและกฎหมาย

เกี่ยวกับการใช้สื่อสังคม


ออนไลน์

จรรยาบรรณและกฎหมายเกี่ยวกับการใช้สื่ อสั งคมออนไลน์



เสนอ



ครูปรียา ปันธิยะ



จัดทำโดย





นางสาวมณฑกานต์ ลวงงาม เลขที่ 17 สาขาวิชาการจัดการสำนักงาน





สื่อนี้ เป็นส่วนหนึ่ งของรายวิชา 30001-2003 เทคโนโลยีเพื่อการจัดการวิวชาชีพ





ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึ กษา 2565



วิทยาลัยอาชีวศึ กษาลำปาง

ความหมายของจรรยาบรรณ

จรรยาบรรณ หมายถึง ประมวลความประพฤติ ที่ผู้ประกอบวิชาชีพ การงาน

แต่ละอย่าง กำหนดขึ้น เพื่อรักษา และสร้างเสริมเกียรติคุณ ชื่อเสียง และฐานะ

ของสมาชิก อาจเขียนเป็น ลายลักษณ์อักษร หรือไม่ก็ได้ (ราชบัณฑิตยสถาน.

2546 : 289)

จรรยาบรรณ หมายถึง จริยาวิชาชีพ หรือจรรยาวิชาชีพ หรือจริยธรรม
วิชาชีพ ซึ่งครอบคลุมในทุกเรื่อง ทุกประการ ที่เป็นข้อควรปฏิบัติ สำหรับกลุ่ม

วิชาชีพ (พระราชวรมุนี. 2541 : 39-40)

จรรยาบรรณวิชาชีพ หมายถึง มาตรฐานของคุณค่า แห่งความดีงาม ของการ
กระทำ หนึ่ ง ๆ หรือพฤติกรรมโดยรวม ของผู้ประกอบวิชาชีพใดว ชิ าชีพหนึ่ ง
( มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช. 2549 : 300)

ความหมายของจรรยาบรรณ

จรรยาบรรณหมายถึง ประมวลกฎเกณฑ์ความ

ประพฤติ หรือประมวลมารยาทของผู้ประกอบอาชีพ

นั้น ๆ ต้องเป็นเอกลักษณ์ทางวิชาชีพ ใช้ความรู้ มี

องค์กรหรือสมาคมควบคุม
1. ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบอาชีพการงาน

แต่ละอย่างกําหนดขึ้ นเพื่อรักษาและส่ งเสริม

เกียรติคุณชื่อเสียงและฐานะของสมาชิก อาจเขียน

เป็นลายลักษณ์ อักษรหรือไม่ก็ได้
2. หลักความประพฤติทิี่เป็นเครื่องยึดเหนี่ ยวจิตใจ

ให้มีคุณธรรมและจริยธรรมของบุคคลในแต่ละ

กลุ่มวิชาชีพ

จรรยาบรรณสื่อสากล 13 ข้อ

1. ประพฤติ ปฏิบัติหน้าที่ให้อยู่ในขอบเขตที่เหมาะสม
2. ไม่สร้างข่าว หรือเขียนข้อมูลขึ้นมาเอง
3. ข่าว และข้อมูลที่นำเสนอทั้งหมดต้องเป็นความจริง
4. ไม่นำเสนอข้อมูล แล้วไปละเมิดสิทธิส่วนบุคคลของผู้อื่น
5. นำเสนอข่าว ข้อมูลโดยให้ความเป็นธรรมกับทุกฝ่าย
6. ไม่ปิดบังอำพรางข่าวที่ควรนำเสนอ
7. ไม่ขายข่าว เพื่อเอาไปใช้หาเงิน ในทางไม่ชอบ
8. ไม่เข้าร่วมกับพรรคการเมืองฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่ ง
10. นำเสนอข่าว และข้อมูลสำหรับคนทุกภาคส่วนในสังคม ไม่ใช่แค่กลุ่ม

ใดกลุ่มหนึ่ งโดยเฉพาะ
11. ไม่เหยียดเชื้อชาติ ศาสนา และเผ่าพันธุ์ของบุคคล
12. พร้อมที่จะแก้ไขความผิดพลาดเสมอ
13. การเสนอข่าว และข้อมูลต้องคำนึงถึงว่ายังมีเยาวชนที่จะได้รับรู้เรื่อง

ราวเหล่านั้ นอยู่ด้วย

ความหมายของจรรยาบรรณวิชาชีพ

จรรยาบรรณเกิดขึ้นเพื่อ
มุ่งให้คนในวิชาชีพมีประสิ ทธิภาพ
ให้เป็นคนดีในการบริการวิชาชีพ

ให้คนในวิชาชีพมีเกียรติศั กดิ์ศรีที่มีกฎเกณฑ์มาตรฐานจรรยา

บรรณ

จรรยาบรรณมีความสำคัญและจําเป็นต่อทุกอาชีพทุก

สถาบันและหน่ วยงานเพราะเป็นที่ยึดเหนี่ ยวควบคุมการ

ประพฤติปฏิบัติ ด้วยความดีงาม
สรุป ที่มาของจรรยาบรรณ ก็คือ รูปแบบหนึ่ งของจริยธรรมใน

วงการวิชาชีพเป็นข้อกำหนดกฎเกณฑ์ให้ผุ้ประกอบวิชาชีพ

ยึดถือปฏิบัติ มีปกาศิ ตบังคับในระดับ “พึง” คือพึงทำอย่างนั้น

พึงทำอย่างนี้ ไม่ใช้เป็นการบังคับโดยเด็ดขาด แต่ผลสัมฤทธิ์

หรือเป้าหมายของจรรยาบรรณและศั กดิ์ศรีของผู้ประกอบ

วิชาชีพโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อคนและเพื่องาน
ดังนั้ นในแต่ละวิชาชีพจึงได้กำหนดจรรยาบรรณมากำหนด

บทบาทหน้าที่ และพฤติกรรมของสมาชิกในวงกรวิชาชีพ

ความหมายของจรรยาบรรณ

จรรยาบรรณของสื่อมวลชน หมายถึงหลักคุณธรรมของผู้

ประกอบอาชีพนักสื่อสารมวลชน ที่สร้างขึ้นมาเพื่อเป็น

แนวทางปฏิบัติแก่ผู้ประกอบอาชีพนั กสื่ อสารมวลชนให้มี

ความรับผิดชอบต่อสังคม ไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่น รวมถึงก่อให้

เกิดประโยชน์ แก่สั งคมสูงสุด

จรรยาบรรณการใช้เครือข่ายสั งคมออนไลน์



1. ให้ระมัดระวังการละเมิดหรือสร้างความเสียหายให้

ผู้อื่น

2. ให้แหล่งที่มาของข้อความ ควรอ้างอิงแหล่งข่าวได้

3. ไม่กระทำการรบกวนผู้อื่นด้วยการโฆษณาเกิน

ความจำเป็น

4. ดูแลและแก้ไขหากตกเป็นเหยื่อจากโปรแกรมอันไม่

พึงประสงค์ เพื่อป้องกันมิให้คนอื่นเป็นเหยื่อ

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้สื่ อสั งคม

ออนไลน์

People who love reading

ความหมายของกฎหมาย

กฎหมาย คือ กฎเกณฑ์ คำสั่ง หรือข้อบังคับที่ถูกตั้งขึ้นโดยรัฐ

หรือผ็มีอำนาจสูงสุดเพื่อใช้เป็นเครื่อง มือสำหรับดำเนินการให้

บรรลุเป้าหมายอย่างหนึ่ งอย่างใดของสังคม และมีสภาพบังคับ

เป็นเครื่องมือในการทำให้บุคคลในสั งคมต้องปฏิบัติตามกฎ

เกณฑ์ คำสั่ง หรือข้อบังคับนั้น

ที่มาของกฎหมาย

คำว่า ที่มาของกฎหมาย นักกฎหมายหลายท่านให้ความหมายไว้แตกต่างกัน บางท่านหมายถึงแหล่งที่มาหรือบ่อเกิด

ของกฎหมาย บางท่านหมายความถึงแหล่งที่จะค้นพบกฎหมาย หรือบางท่านอาจหมายความถึงศาลหรือผู้ที่จะนำ

กฎหมายไปปรับใช้กับคดีที่เกิดขึ้น ถึงแม้ว่านักกฎหมายจะมีความเห็นแตกต่างกันออกไป แต่ที่มาของกฎหมายโดยทั่วไป

แล้วมีความใกล้เคียงกัน โดยพิจารณาถึงที่มาของกฎหมายหลักสองระบบคือ ระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษร และระบบ

กฎหมายไม่เป็นลายลักษณ์ อักษร

ที่มาของระบบกฎหมายลายลักษณ์ อักษร

25%1. กฎหมายลายลักษณ์อักษร เป็นระบบที่สืบทอดมาจากกฎหมายโรมัน ซึ่งให้ความสำคัญกับตัวบทกฎหมายที่


บัญญัติขึ้นใช้โดยถูกต้องตามกระบวนการบัญญัติกฎหมาย ดังนั้นที่มาประการสำคัญของระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษร

ก็คือกฎหมายที่มีการบัญญัติไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งอาจมีหลายลักษณะด้วยกัน เช่น รัฐธรรมนูญ ประมวลกฎหมาย

พระราชบัญญัติ พระราชกำหนด พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง เป็นต้น

2. จารีตประเพณี ในบางครั้งการบัญญัติกฎหมายเป็นลายลักษณ์อักษร จะให้ครอบคลุมทุกเรื่องเป็นไปได้ยาก
จึงต้องมีการนำเอาจารีตประเพณี มาบัญญัติใช้เป็นกฎหมายลายลักษณ์อักษรด้วย เช่น การชกมวยบนเวที ถ้าเป็นไป

อย่างถูกต้องตามกติกา ถึงแม้ว่าคู่ต่อสู้จะบาดเจ็บหรือเสียชีวิตก็ไม่มีความผิด หรือแพทย์ที่ตัดแขนตัดขาคนไข้โดยที่คนไข้

ยินยอมก็ไม่มีความผิด เป็นต้น เท่าที่ผ่านมายังไม่มีการฟ้องร้องคดีเรื่องเหล่านี้ เลย ซึ่งคงจะเป็นเพราะจารีตประเพณีที่รู้

กันโดยทั่วไปว่าเป็นเสมือนกฎหมาย

3. หลักกฎหมายทั่วไป ในบางครั้งถึงแม้จะมีกฎหมายลายลักษณ์อักษร และกฎหมายจารีตประเพณี มาใช้พิจารณา

ตัดสินความแล้วก็ตาม แต่ก็อาจไม่เพียงพอครอบคลุมได้ทุกเรื่อง จึงต้องมีการนำเอาหลักกฎหมายทั่วไป ซึ่งประเทศอื่น ๆ
ที่มีความก้าวหน้าทางกฎหมาย ได้ยอมรับกฎหมายนั้นแล้ว มาปรับใช้ในการพิจารณาตัดสินคดีความด้วย เช่น หลักผู้รับ

โอนไม่มีสิทธิ์ดีกว่าผู้รับโอน โจทย์พิสูจน์ไม่ได้ต้องปล่อยตัวจำเลย คดีอย่างเดียวกันต้องพิพากษาตัดสินเหมือนกัน ฯลฯ

เป็นต้น

จุดประสงค์และความสำคัญของ

กฎหมาย

กฎหมายมีความสำคัญและจำเป็นที่รัฐจะต้องมีไว้
เพื่อประโยชน์ ในการปกครองประเทศให้เกิดความ

เต่ปอ็นไประนี้เ้ บียบเรียบร้อย ประชาชนมีความสงบสุข ดัง

-กฎหมายช่วยรักษาความสงบเรียบร้อยของสั งคม
-กฎหมายเป็นกฎเกณฑ์กติกาของการอยู่ร่วมกันใน

สั งคม
-​กฎหมายมีส่ วนผลักดันให้ประชาชนรู้จักสิ ทธิและ

หน้ าที่
-การรู้กฎหมายและปฏิบัติตามข้อบัญญัติของกฎหมาย

ถือเป็นถือเป็นสิ่ งสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่ง

กฎหมายสื่อและควบคุมสื่อ

กฎหมายกำหนดเงื่อนไขการปิดกั้นสื่ อแต่ละ

ประเภทไว้ไม่เหมือนกัน โดยรวมอาจมีหลักการ

หลายอย่างที่สอดคล้องกันแต่หากเปรียบเทียบ

กฎหมายหลายฉบับจะพบว่า มีเนื้อหาบาง

ประเภทที่สามารถเผยแพร่ในสื่ อบางประเภทได้

แต่ไม่สามารถเผยแพร่ในสื่ อบางประเภทได้

ขณะที่เนื้อหาบางประเภท เช่น เนื้อหาที่ “ขัด

ต่อความสงบเรียบร้อย” หรือ “ศี ลธรรมอันดี”

ถูกกำหนดให้เป็นเงื่อนไขห้ามเผยแพร่ใน

กฎหมายที่ควบคุมดูแลสื่ อทุกประเภท

บุคคลสาธารณะกับสังคมออนไลน์

สืบเนื่องจากพัฒนาการทางสังคมโลกอินเทอร์เน็ตตลอดจนเทคโนโลยีที่มีความเจริญก้าวหน้าอย่างไม่หยุดยั้ง กระแส

ความสนใจในเรื่อง “Social Media” หรือ “สังคมออนไลน์” เป็นสิ่ งที่สังคมให้ความสนใจและกล่าวถึงกันอย่างแพร่
หลาย Social Media มีตั้งแต่ Blog Twitter Facebook Youtube Photo Sharing, ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของ

แต่ละคนที่จะเลือกใช้ Social Media ในรูปแบบใด
บุคคลสาธารณะ คือ

บุคคลที่อยู่ในความสนใจของสาธารณชนทั่วไป ซึ่งบุคคลประเภทนี้ ถือว่า ได้สละสิทธิที่จะดำเนินชีวิตโดยปราศจาก

การสังเกตจับตามองของสื่อมวลชน และจะได้รับความคุ้มครองทางกฎหมายในความเป็นส่วนตัวน้อยกว่าบุคคลทั่วไป

เช่น ดารา นักร้อง นักแสดง นักการเมือง นักกีฬา แต่ไม่ว่าจะเป็นการเลือกใช้ Social Media ด้วยวัตถุประสงค์อะไร สิ่ ง

หนึ่ งที่ผู้ใช้ยังอาจขาดความระมัดระวัง คือ เรื่องการแสดงความคิดเห็นวิพากษ์วิจารณ์ “บุคคลสาธารณะ (Public

Figures)” ผ่านสื่อต่างๆ จึงเกิดคำถามว่า คนทั่วไปสามารถที่จะแสดงความคิดเห็นในเชิงวิพากษ์วิจารณ์บุคคลเหล่านี้ ได้

หรือไม่ เพียงใดจึงจะไม่เป็นหมิ่นประมาท

โดยพื้นฐาน บุคคลทุกคนมี “สิทธิและเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น” ซึ่งเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนที่

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 ได้ให้การรับรองและคุ้มครองไว้อย่างชัดเจน
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา 45 วรรคหนึ่ ง

แหล่งอ้างอิง
(smforedu.blogspot.com)

THE END


Click to View FlipBook Version