ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสโุ ขทยั
เป็นวันสำคัญวันหนึ่งของชาวไทย ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12
ตามปฏิทินจันทรคติไทย ตามปฏิทินจันทรคติล้านนา มักจะตกอยู่ในราว
เดือนพฤศจิกายน ตามปฏิทินสุริยคติ ประเพณีนี้กำหนดขึ้นเพื่อเป็นการสะเดาะ
เคราะห์และขอขมาต่อพระแม่คงคา บางหลักฐานเชื่อว่าเป็นการบูชารอยพระพุทธ
บาทที่ริมฝั่งแม่น้ำนัมทามหานที และบางหลักฐานก็ว่าเป็นการบูชาพระอุปคุต
อรหันต์หรือพระมหาสาวก สำหรับประเทศไทยประเพณีลอยกระทงได้กำหนด
จัดในทุกพื้นที่ทั่วประเทศ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งบริเวณที่ติดกับแม่น้ำ ลำคลอง หรือ
แหลง่ น้ำตา่ ง ๆ ซ่งึ แตล่ ะพ้นื ทก่ี จ็ ะมีเอกลักษณท์ ีน่ ่าสนใจแตกต่างกนั ไป
ในวันลอยกระทง ผู้คนจะพากันทำ “กระทง” จากวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ
ตบแต่งเป็นรูปคล้ายดอกบัวบาน ปักธูปเทียน และนิยมตัดเล็บ เส้นผม
หรือใส่เหรียญกษาปณ์ลงไป ในกระทง แล้วนำไปลอยในสายน้ำ (ในพื้นที่ติดทะเล
ก็นิยมลอยกระทงริมฝั่งทะเล) เชื่อว่าเป็นการลอยเคราะห์ไป นอกจากนี้ยังเชื่อว่า
การลอยกระทง เปน็ การบูชาและขอขมาพระแม่คงคาด้วย
แหลง่ ที่มา : http://www.todayth.com
หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อำเภอสวรรคโลก จงั หวัดสุโขทยั
ประเพณีลอยกระทงนั้น ไม่มีหลักฐานระบุแน่ชัดว่าเริ่มตั้งแต่เมื่อใด
แต่เชื่อว่าประเพณีนี้ได้สืบต่อกันมายาวนานตั้งแต่สมัยสุโขทัย โดยในรัชสมัย
พ่อขุนรามคำแหง เรียกประเพณีลอยกระทงนี้ว่า “พิธีจองเปรียญ” หรือ
“การลอยพระประทีป” และมีหลักฐานจากศิลาจารึกหลักท่ี 1 กล่าวถงึ งานเผาเทียน
เล่นไฟว่าเป็นงานรื่นเริงที่ใหญ่ที่สุดของกรุงสุโขทัย ทำให้เชื่อกันว่างานดังกล่าว
น่าจะเป็นงานลอยกระทงอย่างแนน่ อน
ในสมัยก่อนนั้นพิธีลอยกระทงจะเป็นการลอยโคม โดยพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้ทรงสันนิษฐานว่า พิธีลอยกระทงเป็น
พิธีของพราหมณ์ จัดขึ้นเพื่อบูชาเทพเจ้า 3 องค์ คือ พระอิศวร พระนารายณ์ และ
พระพรหม ต่อมาได้นำพระพุทธศาสนาเข้าไปเกี่ยวข้อง จึงให้มีการชักโคม
เพื่อบชู าพระบรมสารีรกิ ธาตุ และลอยโคมเพ่ือบูชารอยพระบาทของพระพุทธเจ้า
ก่อนที่นางนพมาศ หรือ ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ สนมเอกของพระร่วงจะคิดค้น
ประดิษฐ์กระทงดอกบัวขึ้นเป็นคนแรกแทนการลอยโคม ดังปรากฏในหนังสือ
นางนพมาศทว่ี า่
แหล่งท่มี า : http://www.todayth.com
ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมาร”ี อำเภอสวรรคโลก จงั หวัดสโุ ขทยั
“คร้นั วันเพ็ญเดอื น 12 ข้านอ้ ยไดก้ ระทำโคมลอย คดิ ตกแตง่ ใหง้ ามประหลาดกว่า
โคมสนมกำนัลทั้งปวงจึงเลือกผกาเกษรสีต่าง ๆ มาประดับเป็นรูปกระมุทกลีบบาน
รับแสงจันทร์ใหญ่ประมาณเท่ากงระแทะ ล้วนแต่พรรณดอกไม้ซ้อนสีสลับ
ใหเ้ ป็นลวดลาย…”
เมื่อสมเด็จพระร่วงเจ้าได้เสด็จฯ ทางชลมารค ทอดพระเนตรกระทงของ
นางนพมาศก็ทรงพอพระราชหฤทัย จึงโปรดให้ถือเป็นเยี่ยงอย่าง และให้จัดประเพณี
ลอยกระทงขึ้นเป็นประจำทุกปี โดยให้ใช้กระทงดอกบัวแทนโคมลอย ดังพระราชดำรัส
ที่ว่า “ตั้งแต่นี้สืบไปเบื้องหน้า โดยลำดับกษัตริย์ในสยามประเทศถึงกาลกำหนด
นักขัตฤกษ์วันเพ็ญเดือน 12 ให้ทำโคมลอยเป็นรูปดอกบัว อุทิศสักการบูชาพระพุทธ
บาทนัมมทานทีตราบเท่ากัลปาวสาน” พิธีลอยกระทงจึงเปลี่ยนรูปแบบตั้งแต่
น้ันเป็นตน้ มา
ประเพณีลอยกระทงสืบต่อกันเรื่อยมา จนถึงกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น
สมัยรัชกาลที่ 1 ถึงรชั กาลที่ 3 พระบรมวงศานวุ งศ์ตลอดจนขนุ นางนยิ มประดิษฐก์ ระทง
ใหญ่เพื่อประกวดประชันกัน ซึ่งต้องใช้แรงคนและเงินจำนวนมาก พระบาทสมเด็จ
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 ทรงเห็นว่าเป็นการส้ินเปลือง จึงโปรดให้ยกเลิก
การประดิษฐ์กระทงใหญ่แข่งขัน และโปรดให้พระบรมวงศานุวงศ์ทำเรือลอยประทีป
ถวายองค์ละลำแทนกระทงใหญ่ และเรยี กชอ่ื วา่ “เรือลอยประทีป” ต่อมาในรชั กาลท่ี 5
และรัชกาลที่ 6 ได้ทรงฟื้นฟูพระราชพิธีนี้ขึ้นมาอีกครั้ง ปัจจุบันการลอยพระประทีป
ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัวทรงกระทำเป็นการสว่ นพระองค์ตามพระราชอัธยาศัย
แหล่งท่มี า : http://www.todayth.com
หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ าร”ี อำเภอสวรรคโลก จังหวดั สุโขทยั
ภาคเหนือตอนบน นิยมทำโคมลอย เรียกว่า “ลอยโคม” หรือ “ว่าวฮม”
หรือ “ว่าวควัน” ทำจากกระดาษบางๆ กระดาษที่ใช้ทำว่าว แล้วสุมควันข้างใต้ให้
ลอยขึ้นไปในอากาศอย่างบัลลูน ประเพณีของชาวเหนือนี้เรียกว่า “ยี่เป็ง”
หมายถึงการทำบุญในวันเพ็ญเดือนย่ี (ซึ่งนับวันตามแบบล้านนา ตรงกับวันเพ็ญเดือน
สบิ สองในแบบไทย)
– จังหวดั เชยี งใหม่ มปี ระเพณี “ยเี่ ป็ง” เชียงใหม่ ในทุกๆ ปจี ะมกี ารจัดงานขึน้
อยา่ งยงิ่ ใหญ่ตระการตา และมกี ารปลอ่ ยโคมลอยขึ้นเตม็ ท้องฟ้า
– จงั หวดั ตาก จะลอยกระทงขนาดเล็กทยอยเรยี งรายไปเป็นสาย
เรียกว่า “กระทงสาย”
– จังหวดั สุโขทยั ขบวนแห่โคมชักโคมแขวน การเลน่ พลุตะไล ไฟพะเนยี ง
แหลง่ ท่มี า : http://www.todayth.com
หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมาร”ี อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทยั
ภาคอีสาน ในอดีตมีการเรียกประเพณีลอยกระทงในภาคอีสานว่า สิบสองเพ็ง
หมายถึง วนั เพญ็ เดอื นสิบสองซึง่ จะมีเอกลกั ษณ์แตกต่างกนั ออกไป เช่น
– จงั หวัดรอ้ ยเอ็ด มีชอ่ื งานประเพณวี า่ “สมมานำ้ คืนเพง็ เสง็ ประทปี ”
ตามภาษาถิน่ มี ความหมายถงึ การขอขมาพระแม่คงคา ในคืน
วนั เพ็ญเดือนสิบสอง การประกวดประทีปโคมไฟและกระทงอนั สวยงาม
มกี ารจำลองแหห่ ัวเมืองสาเกตนุ ครทั้ง 11 หวั เมือง
– จงั หวดั สกลนคร ในอดีตจะมีการลอยกระทงจากกาบกล้วย ลกั ษณะคลา้ ยกบั
การทำปราสาทผึง้ โบราณ เรียกงานน้ีว่าเทศกาลลอย
พระประทปี พระราชทาน สบิ สองเพ็งไทสกล
– จังหวัดนครพนม จะตกแตง่ เรอื แลว้ ประดับไฟ เปน็ รปู ต่างๆ เรยี กว่า
“ไหลเรือไฟ” โดยเฉพาะทจี่ งั หวดั นครพนมเพราะมคี วามงดงาม
และอลังการทีส่ ุดในภาคอีสาน
แหลง่ ท่ีมา : http://www.todayth.com
หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมาร”ี อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทยั
ภาคกลาง มกี ารจัดประเพณลี อยกระทงขน้ึ ทั่วทุกจังหวัด
– กรงุ เทพมหานคร จะมงี านภเู ขาทอง เปน็ รปู แบบงานวัด เฉลมิ ฉลองราว 7-10 วัน
ก่อนงานลอยกระทง และจบลงในช่วงหลังวนั ลอยกระทง
– จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา มีการจดั งานประเพณลี อยกระทงกรุงเกา่ ขึ้น
อยา่ งยงิ่ ใหญบ่ รเิ วณอุทยานประวตั ศิ าสตร์พระนครศรอี ยธุ ยา
ภายในงานมีการจัดแสดงแสงสีเสยี ง อย่างงดงามตระการตา
ภาคใต้ อยา่ งทีอ่ ำเภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา กม็ กี ารจัดงานอย่างย่งิ ใหญ่
แหล่งท่ีมา : http://www.todayth.com
ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อำเภอสวรรคโลก จงั หวดั สุโขทยั
เพลงรำวงวันลอยกระทงแต่งโดยครูแก้ว อัจฉริยกุล ผู้ให้ทำนองคือ
ครูเอื้อ สุนทรสนาน แห่งสุนทราภรณ์ ซึ่งครูเอื้อได้แต่งเพลงนี้ตั้งแต่ ปี พ.ศ.2498
ขณะที่ได้ไปบรรเลงเพลงที่บริเวณคณะบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
และมีผู้ขอเพลงจากครูเอื้อ ครูเอื้อจึงนั่งแต่งเพลงนี้ที่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา
ในระยะเวลาเพยี งคร่ึงชั่วโมงจึงเกิดเปน็ เพลง “รำวงลอยกระทง” มเี นอ้ื ร้องวา่
แหลง่ ท่มี า : http://www.todayth.com
ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสโุ ขทยั
วนั เพ็ญเดือนสิบสอง นำ้ นองเตม็ ตลิ่ง
เราทั้งหลายชายหญิง
สนุกกันจริง วันลอยกระทง
ลอย ลอยกระทง ลอย ลอยกระทง
ลอยกระทงกันแล้ว
ขอเชิญน้องแก้วออกมารำวง
รำวงวันลอยกระทง รำวงวันลอยกระทง
บญุ จะส่งให้เราสุขใจ บุญจะส่งให้เราสขุ ใจ
แหล่งทมี่ า : http://www.todayth.com
หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ าร”ี อำเภอสวรรคโลก จงั หวัดสโุ ขทยั
ประเพณี ลอยกระทง เผาเทียนเล่นไฟ จังหวัดสุโขทัย ขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2520
เพื่อเป็นการฟื้นฟูประวัติศาสตร์ประเพณีลอยกระทงและส่งเสริมการเดินทางท่อง
เที่ยวจังหวัดสุโขทัย โดยให้ชื่องานตามคำในศิลาจารึกว่า "งานเผาเทียน เล่นไฟ"
จุดเน้นที่สำคัญของงานนี้ คือ การฟื้นฟูประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟ
พลุ ตะไล ไฟพะเนียง ดอกไม้ไฟชนิดต่างๆ จังหวัดสุโขทัย โดยกำหนดจัดขึ้นทุกปี
ในวนั เพ็ญเดอื น 12 (ข้ึน 15 คำ่ เดอื น 12) หรือประมาณเดือนพฤศจิกายน ของทุกปี
ประเพณีลอยกระทงเผาเทียน เล่นไฟ งานประเพณีลอยกระทงเผาเทียน เล่นไฟ
จังหวัดสุโขทัย ณ อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย จัดขึ้นในวันเพ็ญ เดือนสิบสองของ
ทุกปี ซงึ่ เปน็ งานทจ่ี ดั ข้นึ ในระดับประเทศ เปน็ การอนรุ ักษแ์ ละส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามพบกับบรรยากาศย้อนยุค 700 ปี พบเห็นวิถีชีวิต
ของความเป็นไทย มีกจิ กรรมตา่ งๆ
แหลง่ ทมี่ า : https://www.m-culture.go.th
ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมาร”ี อำเภอสวรรคโลก จงั หวดั สุโขทยั
1. พธิ ีรับรุ่งอรุณแหง่ ความสขุ
2. การแสดงแสงและเสียง ณ วัดมหาธาตุ
3. การแสดงศิลปวัฒนธรรมพ้ืนบ้าน / หมู่บา้ นวิถไี ทย
4. กจิ กรรมลานเทศน์ ลานธรรม ณ บรเิ วณดงตาล
5. กิจกรรมประกวดกระทงใหญ่ กระทงเล็ก และจดั แห่ขบวนนางนพมาศ
6. การประกวดนางนพมาศ
แหล่งทม่ี า : https://www.m-culture.go.th
หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อำเภอสวรรคโลก จงั หวดั สโุ ขทยั