The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

TULIBS-การอ้างอิงตามหลักเกณฑ์-APA

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

TULIBS-การอ้างอิงตามหลักเกณฑ์-APA

TULIBS-การอ้างอิงตามหลักเกณฑ์-APA

สารบัญ 2

การอา้ งองิ แบบแทรกในเนอ้ื หาตามหลกั เกณฑ์ APA 5
6
1. การอา้ งองิ แบบแทรกในเนื้อหา 10
1.1 หลกั เกณฑ์การลงรายการผู้แต่ง 10
(1) ผู้แต่งชาวไทย 10
(2) ผแู้ ต่งชาวตา่ งประเทศ 11
(3) ผู้แต่งทมี่ ฐี านันดรศักด์ิ บรรดาศักด์ิ 11
(4) ผ้แู ต่งที่เปน็ พระภิกษทุ ่ัวไปและพระภิกษุที่มสี มณศกั ดิ์ 12
(5) ผแู้ ต่งมียศทางทหาร ตารวจ มตี าแหน่งวิชาการ หรือมคี าเรียกทาง
12
วิชาชพี 13
(6) ผูแ้ ต่งใช้นามแฝง 13
1.2 ประเภทของการอา้ งอิงแบบแทรกในเน้ือหา 13
(1) การอา้ งเอกสารหนึ่งเรื่องทมี่ ผี แู้ ต่งคนเดียว 15
(2) การอ้างเอกสารหนึ่งเร่ืองทม่ี ีผู้แต่งหลายคน 16
(3) การอ้างเอกสารที่ผู้แต่งเปน็ นติ บิ ุคคล 16
(4) การอา้ งเอกสารที่ผู้แต่งชื่อสกุลซา้ กัน (สาหรับชาวต่างประเทศ) 17
(5) การอ้างอิงเอกสารที่ไมป่ รากฏผู้แต่ง 18
(6) การอา้ งเอกสารมากกว่าหน่ึงเรื่องทม่ี ผี ู้แต่งซา้ กัน ปพี ิมพ์ตา่ งกัน 18
(7) การอา้ งเอกสารมากกว่าหนึ่งเร่ืองทีผ่ ู้แต่งและปีพิมพ์ซา้ กัน 18
(8) การอ้างเอกสารมากกว่าหนึ่งเรื่องท่ผี ู้แต่งตา่ งกัน 18
(9) การอา้ งเอกสารทตุ ิยภมู ิ 19
(10) การอ้างเอกสารทเี่ ป็นงานแปล 19
(11) การอา้ งเอกสารงานคลาสสิก 20
(12) การอา้ งเอกสารบางส่วน 21
(13) การอา้ งการส่ือสารระหวา่ งบุคคล
(14) การอธิบายเพิม่ เติมและการอ้างเอกสารใต้ตารางและภาพ

สารบญั 3

การอา้ งองิ แบบแทรกในเน้อื หาตามหลกั เกณฑ์ APA `
29
2. รายการอา้ งองิ 29
2.1 หลักเกณฑก์ ารลงรายการผูแ้ ต่ง 29
(1) ผแู้ ต่ง 1-7 คน 29
(2) ผแู้ ตง่ เกนิ กว่า 7 คน 30
(3) บรรณาธิการ 30
(4) ผูแ้ ต่งชาวไทย 31
(5) ผู้แต่งชาวตา่ งประเทศ 31
32
(6) ผแู้ ต่งทม่ี ฐี านนั ดรศักดิ์ บรรดาศักด์ิ 33
(7) ผูแ้ ตง่ ทเ่ี ปน็ พระภกิ ษทุ ั่วไปและพระภกิ ษทุ มี่ สี มณศกั ด์ิ
(8) ผ้แู ต่งท่มี ยี ศทางทหาร ตารวจ มตี าแหน่งวิชาการ 33
33
หรือมคี าเรียกทางวิชาชพี 34
(9) ผแู้ ต่งใช้นามแฝง 34
2.2 หลักเกณฑ์การลงปพี มิ พ์ 34
2.3 หลกั เกณฑ์การลงช่ือเร่ือง 34
(1) ชื่อบทความหรือช่ือบทในหนังสือรวมท้งั ชื่อเรื่องรอง 35
(2) ชือ่ วารสาร จดหมายข่าวและนิตยสาร 37
(3) ข้อความแสดงลักษณะข้อมูลประกอบช่ือเร่ือง 37
2.4 หลกั เกณฑ์การลงสถานที่พมิ พ์และสานักพมิ พ์ 42
2.5 ประเภทของข้อมลู ในรายการอ้างอิง 44
(1) วารสารนิตยสาร หนังสือพมิ พแ์ ละจดหมายข่าว 46
(2) หนงั สือ หนังสืออ้างอิงและบางบทจากหนังสือ
(3) หนังสือแปล
(4) รายงานทางเทคนิค และรายงานการวิจยั

สารบัญ 4

การอา้ งอิงแบบแทรกในเน้ือหาตามหลกั เกณฑ์ APA `
2. รายการอา้ งอิง
48
2.5 ประเภทของข้อมลู ในรายการอา้ งอิง 50
(5) เอกสารประกอบการประชมุ วิชาการ 52
(6) วทิ ยานิพนธ์ปริญญามหาบณั ฑติ และดุษฎีบัณฑิต 53
(7) บทวจิ ารณ์ 54
(8) ส่อื โสตทัศนวัสดุ
(9) ชุดข้อมลู โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และเครื่องมือที่ใช้ในการวัดผล 56
และวเิ คราะหข์ ้อมลู 58
(10) งานท่ไี ม่ได้ตพี มิ พ์หรืองานที่กาลังจดั ทาก่อนตพี มิ พ์ 58
(11) การสมั ภาษณ์ 60
(12) เอกสารจดหมายเหตุ
(13) กระดานข่าวบนอินเทอร์เน็ต Electronic Mailing List 61
63
(14) เว็บไซต์ 64
รายการอ้างอิง
ตวั อยา่ งรายการอา้ งองิ แบบ APA

5

การอา้ งอิงแบบแทรกในเนื้อหาตามหลักเกณฑ์ APA

การอ้างอิงแบบแทรกในเน้ือหา ตามหลักเกณฑ์ APA
(American Psychological Associa tion) พัฒนามาจาก
นักสังคมศาสตร์และนักพฤติกรรมศาสตร์มากว่า 80 ปี เพื่อ
เ ป็ น ม า ต ร ฐ า น ใ น ก า ร เ ขี ย น อ ย่ า ง เ ป็ น ร ะ บ บ ส า ห รั บ ภ า ค นิ พ น ธ์
การทาวิจัย รายงานการวิจัย การทบทวนวรรณกรรม
บทความและกรณีศึกษา สาหรับนักเขียนและนักศึกษาซ่ึง เป็น
รูปแบบที่นิยมใช้อย่างแพร่หลายในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ และ
จิตวิทยา กฎเกณฑ์การอ้างอิงน้ีออกแบบมาเพ่ือให้ผู้ใช้มีความ
ชัดเจนในการลงรายการงานเขียนท่ีเป็นรูปแบบเดียวกัน เช่น
การใช้เคร่ืองหมายวรรคตอนและคาย่อ โครงสร้า งต าราง
การลงรายการอ้างอิง และการนาเสนอสถิติ

สาหรับ APA 6th edi tion มีการปรับปรุงเนื้อหาให้
ทันสมัยเพื่อรองรับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี โดยไ ด้เพ่ิม
แ น ว ท า ง ใ น ก า ร ล ง ร า ย ก า ร อ้ า ง อิ ง ส า ห รั บ สื่ อ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ต่ า ง
ๆ ข้อมูลเสริม แ ละการอ้างอิงจากเว็บไซต์ โดยในบางส่ วนได้
ดั ด แ ป ล ง ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ก า ร น า ม า ใ ช้ ใ น ก า ร อ้ า ง อิ ง เ อ ก ส า ร

6

การอา้ งอิงแบบแทรกในเน้ือหา (Citing References in Text)

การอา้ งอิงแบบนใ้ี ช้กบั ข้อความทีค่ ดั ลอกมาหรือประมวลมา เปน็ การเขียนอ้างอิงแหล่งท่ีมา
ของข้อมูลในเน้ือหาวทิ ยานพิ นธ์ โดยระบุชื่อผู้แต่งและปพี ิมพ์ ในกรณีท่เี ป็นการอ้างอิงเนื้อหา
โดยตรงหรือแนวคิดบางส่วนหรือเป็นการคัดลอกข้อความบางสว่ นมาโดยตรง ควรระบเุ ลขหนา้ ไว้
ดว้ ย โดยพมิ พต์ อ่ ทา้ ยปพี มิ พ์ คนั่ ด้วยเครอ่ื งหมายจลุ ภาค (,) อย่างไรกต็ ามการไมร่ ะบเุ ลขหนา้
อาจทาได้ในกรณที ่เี ป็นการอ้างอิงงานของผู้อื่น โดยการสรุปเนื้อหาหรือแนวคิดท้ังหมดของงาน
ช้ินน้ัน

การอ้างอิงแบบแทรกในเนื้อหาเป็นระบบนาม-ปี ใหข้ ้อมลู ผแู้ ต่ง ปีพมิ พแ์ ละ เลขหนา้ ทีม่ ี
ขอ้ ความที่อ้างถึง

รปู แบบการอา้ งอิงแบบแทรกในเน้ือหา มี 3 รูปแบบ ดังน้ี
1. (ผแู้ ตง่ , ปพี มิ พ,์ เลขหนา้ ) ไวท้ า้ ยข้อความที่อ้างอิง

(สนุ ีย์ มลั ลกิ ะมาลย,์ 2549, น. 200-205)
(McCartney & Phillips, 2006, pp. 498-499)
(Murphy, 1999, p. 85)

กรณที ี่ไม่ปรากฏเลขหน้า ให้ลงแค่ช่ือผู้แต่งกับปพี ิมพ์ไว้ในวงเล็บเดียวกัน

(สนุ ีย์ มลั ลิกะมาลย,์ 2549)

2. ผ้แู ต่ง (ปพี มิ พ,์ เลขหนา้ ) กรณมี กี ารระบชุ ่ือผแู้ ตง่ ในเน้อื หาแลว้ ไมต่ ้องระบไุ วใ้ นวงเลบ็
ทา้ ยข้อความท่ีอ้างอีก

ลดาพร บุญฤทธ์ิ (2539, น. 49) ได้ศึกษาถงึ ................................
Kanokon Boonsarngsuk (2002, p. 14) studied………………………………….

กรณีทไี่ ม่ปรากฏเลขหนา้ ให้ลงแค่ช่ือผู้แต่งกบั ปีพิมพ์ไวใ้ นวงเล็บเดียวกัน

ลดาพร บุญฤทธิ์ (2539)

7

การอา้ งอิงแบบแทรกในเน้ือหา (Citing References in Text)

3. ปพี มิ พ์ ผแู้ ตง่ (เลขหนา้ ) กรณมี กี ารระบปุ พี มิ พแ์ ละผแู้ ตง่ ในเน้ือหาแลว้ (ปพี มิ พแ์ ละผแู้ ตง่
สามารถสลบั ท่ีกันได้) ให้ระบุเฉพาะเลขหน้าท่ีอา้ งถึงในวงเล็บเท่านั้น

ในปี 2542 เสรี วงษ์มณฑา ได้ให้ความหมายวา่ “การประชาสมั พนั ธเ์ ปน็ การ
กระทาทั้งหลายทั้งปวง ท่ีเกดิ จากการวางแผนล่วงหน้าในการทีจ่ ะสร้างความเข้าใจกบั
สาธารณชนทเ่ี กี่ยวข้อง เพ่อื ให้เกิดทัศนคตทิ ่ีดี ภาพพจนท์ ่ีดี อันนาไปส่สู ัมพนั ธภาพท่ดี ี
ระหว่างหน่วยงานและสาธารณชนทเี่ กีย่ วข้อง ก่อใหเ้ กิดการสนบั สนนุ และความ
ร่วมมือเป็นอยา่ งดี” (น. 9)

In 1996, According to Kaplan and Norton, “the implementation
of the Balanced Scorecard allows the organization to be managed
successfully. It support the deployment of business strategies, meeting
customer needs, and the visibility of process problem” (p. 7).

หากขอ้ ความทคี่ ดั ลอกมามคี วามยาวไมเ่ กนิ 3 บรรทดั ใหพ้ มิ พต์ อ่ เน่อื งกบั เนอื้ หาโดยไม่
ตอ้ งยอ่ หน้าใหมแ่ ละใหใ้ สเ่ ครอื่ งหมายอัญประกาศ (“……”)
ตวั อยา่ งที่ 1

Interpreting these results, Robbins et al. (2003) suggested that the
“therapists in dropout cases may have inadvertently validated parental
negativity about the adolescent without adequately responding to the
adolescent’s needs or concerns” (p. 541), contributing to an overall
climate of negativity

ในปี 2000 Nahavandi กลา่ วถึงความหมายของภาวะผู้นาวา่ “ภาวะผนู้ า
เป็นผลจากการรวมกระบวนการปฏสิ มั พันธ์ในหมูข่ องผู้นา ผู้ตามและสถานการณ์
ซ่ึงทั้ง 3 กระบวนการนเ้ี ป็นส่วนสาคัญที่จะนาไปสู่ความสาเรจ็ ตามเปา้ หมายของ
องคก์ าร” (น. 4)

8

การอ้างอิงแบบแทรกในเน้ือหา (Citing References in Text)

ตัวอยา่ งท่ี 2

Confusing this issue is the overlapping nature of roles in palliative care,
whereby “medical needs are met by those in the medical disciplines;
nonmedical needs may be addressed by anyone on the team” (Csikai
& Chaitin, 2006, p. 112).

การสื่อสารมคี วามจาเป็นต่อองค์กร เพราะในการทางานน้ัน จะต้องมกี ารตดิ ต่อ รับคา
สงั่ และรายงานกับหัวหนา้ ประสานงานกับฝา่ ยอ่ืนในการทางาน ทาใหก้ ารส่อื สาร
กลายเปน็ เครื่องมือสาคัญในการปฏิบตั ิงาน โดยไดม้ ีผใู้ หค้ วามหมายของการตดิ ต่อ
ส่อื สารภายในองคก์ รว่า “เปน็ การแสดงออกและการแปลความหมายข่าวสาร
ระหวา่ งหน่วยการติดต่อส่ือสารต่างๆ หรือบุคคลในตาแหน่งต่างๆ ท่อี ยภู่ ายใน
องคก์ าร” (สมยศ นาวกี าร, 2527, น. 4)

ถา้ ข้อความทอี่ า้ งมีความยาวเกนิ 3 บรรทดั ใหข้ น้ึ บรรทดั ใหมแ่ ลว้ ย่อหนา้ เขา้ มา 0.8 นว้ิ
และใหอ้ ยใู่ นรปู block quotation กลา่ วคอื ข้อความบรรทดั ตอ่ ไปใหย้ อ่ หนา้ เขา้ มาเทา่ กบั
บรรทดั แรก ในกรณที ม่ี ยี ่อหนา้ ภายในอญั ประภาษกใ็ หย้ ่อเขา้ มาอกี 0.3 นว้ิ ทกุ ย่อหนา้ โดยไม่
ต้องใสเ่ คร่ืองหมายอัญประกาศ

ตวั อยา่ ง

Others have contradicted this views:
Co-presence does not ensure intimate interaction among all group

(0.8 นิ้ว) members. Consider large-scale social gatherings in which hundreds
or thousands of people gather in a location to perform a ritual or
celebrate an event.
(0.3 นิ้ว) In these instances, participants are able to see the visible
manifestation of the group, the physical gathering, yet their ability
to make direct, intimate connections with those around them is
limited by the sheer magnitudes of the assembly. (Purcell, 1997,
pp. 111-112).

9

การอา้ งอิงแบบแทรกในเน้ือหา (Citing References in Text)

ในการเปล่ียนแปลงกาหนดระยะเวลาและความยืดหยุ่นในการใช้สิทธิยกเว้นภาษีเงิน
ไดบ้ ุคคลนี.้ ................................................................................................

ตามข้อเท็จจริงนั้น โครงการท่ีขอรับการส่งเสริมมีความจาเป็นที่ต้องการความ
(0.8 น้ิว) ช่วยเหลือจากรัฐในดา้ นภาษีอากรไม่เทา่ กนั การกาหนดใหไ้ ดร้ ับสทิ ธิและ

ประโยชน์ในด้านภาษีอากรเทา่ กันหมดทกุ ราย จะมผี ลเสยี ทั้งสองด้าน คือ ผู้
ไดร้ บั การส่งเสริมอาจได้รับสิทธิ และประโยชนจ์ ากรัฐมากเกนิ กวา่ ที่จะเป็น
และควรได้รบั
(0.3 นิ้ว) ปจั จบุ นั รัฐได้ปรับปรุงระบบการเสียภาษขี องบคุ คลธรรมดา โดยผมู้ ี
รายได้ตา่ กว่า 10,000 บาท จะยกเว้นการเสียภาษี และผทู้ ี่อุปการะเล้ียงดู
บดิ า – มารดา สามารถนามายกเว้นการเสียภาษไี ดด้ ้วย (สานกั งาน
คณะกรรมการส่งเสรมิ การลงทุน, 2515, น. 17)

กรณขี อ้ ความที่อา้ งนามาจากอินเทอรเ์ น็ตหรอื ขอ้ มลู อเิ ลก็ ทรอนกิ สไ์ มป่ รากฏเลขหนา้ แต่
อาจมหี มายเลขกากับแตล่ ะย่อหนา้ ถา้ มใี หใ้ สต่ ามทป่ี รากฏ ถา้ ไมร่ ะบหุ มายเลขของยอ่ หนา้ ให้นบั
เอง ใหใ้ ชล้ าดบั ทขี่ องย่อหนา้ แทนโดยใชต้ ัวย่อ para. หรอื ยอ่ หนา้ ท่ี
ตัวอยา่ ง

Basu and Jones (2007) went so far as to suggest the need for a new
“intellectual framework in which to consider the nature and form of
regulation in cyberspace” (para. 4).

ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2542) ได้นิยามว่า “การ
สื่อสาร คอื วธิ ีการนาถ้อยคา ข้อความหรอื หนงั สอื เปน็ ต้น จากบุคคลหน่ึงหรือสถานที่
หนึ่งไปยังอีกบคุ คลหนึ่งหรือสถานที่หนึ่ง” (ยอ่ หนา้ ที่ 1)

10

การอา้ งองิ แบบแทรกในเน้ือหา (Citing References in Text)

หากขอ้ ความทีอ่ ้างนามาจากเอกสารทีช่ ่ือเรอื่ งยาวไมต่ อ้ งใสช่ ่อื ทั้งหมด ใสเ่ ครือ่ งหมาย
อัญประกาศระหวา่ งชื่อเร่ือง

ตัวอยา่ ง

“Empirical studies have found mixed results on the efficiency of labels
in educating consumers and changing consumption behavior” (Golan,
Kuchler & Krissof, 2007, “Mandatory Labeling Has Targeted,” para. 4).

(ช่ือเร่ืองเต็มคือ Mandatory Labeling Has Targeted Information Gaps and
Social Objectives)

หลกั เกณฑก์ ารลงรายการผแู้ ตง่

(1) ผู้แต่งชาวไทย
ให้ใส่ชื่อตามด้วยช่ือสกุล โดยไมต่ ้องมีเคร่ืองหมายใดๆ ค่ัน ไม่วา่ งานเขยี นจะเป็นภาษาไทย

หรือภาษาต่างประเทศ กรณีผู้แต่งใสท่ ั้งชื่อสกุลของตัวเองและสามี กใ็ ห้ลงรายการตามที่ปรากฏ

แววรัตน์ โชตินิพทั ธ์
พันธท์ุ พิ ย์ กาญจนะจติ รา สายสุนทร
Waeorath Chotnipat
Phunthip Kanchanachittra Saisoonthorn

(2) ผแู้ ต่งชาวตา่ งประเทศ
ให้ใส่ชื่อสกุลเทา่ น้ัน ไมว่ า่ งานเขยี นจะเป็นภาษาตา่ งประเทศหรือภาษาไทย

Spencer Johnson ลง Johnson
สเปนเซอร์ จอห์นสัน ลง จอห์นสัน

11

การอา้ งอิงแบบแทรกในเน้ือหา (Citing References in Text)

(3) ผแู้ ตง่ ทมี่ ฐี านันดรศกั ด์ิ บรรดาศกั ดิ์
ให้ใส่ช่อื คน่ั ดว้ ยเครื่องหมายจลุ ภาค (,) ตามด้วยฐานันดรศักดิ์

สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี
ลง เทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ าร,ี สมเดจ็ พระ
ม.ร.ว. สขุ ุมพันธ์ บริพตั ร ลง สขุ มุ พนั ธ์ บริพตั ร, ม.ร.ว.
คณุ หญิงอมั พร มีสุข ลง อมั พร มสี ุข, คณุ หญิง
His Majesty King Bhumibol Adulyadej
ลง Bhumibol Adulyadej, His Majesty King
M.L. Manich Jumsai ลง Manich Jumsai, M.L.
M.R. Kukrit Pramoj ลง Kukrit Pramoj, M.R.

(4) ผู้แต่งทีเ่ ปน็ พระภกิ ษทุ วั่ ไปและพระภกิ ษทุ มี่ สี มณศกั ด์ิ
1. พระภกิ ษทุ ่วั ไป ใหใ้ สค่ าวา่ พระ, พระมหา นาหนา้ ชอ่ื ตามดว้ ย ฉายานาม (ชอื่ ภาษาบาล)ี

ถา้ ไมท่ ราบฉายานาม แต่ทราบช่ือสกุลใหใ้ ส่ช่ือสกุล กรณไี ม่ทราบท้ัง ฉายานามและชื่อสกลุ ให้
ใส่ข้อมลู ตามทป่ี รากฏในงาน และหากพระภกิ ษุใช้นามแฝงใหใ้ สน่ ามแฝงตามทีป่ รากฏ

พระเทียน จิตฺตสุโภ
พระมหาเกรียงไกร แก้วไชยะ
พุทธทาสภกิ ขุ
Buddhadasa Bhikkhu
Phra Maha Somjin Sammapanno

2. พระภกิ ษทุ มี่ สี มณศกั ดิ์ ใหใ้ สช่ ื่อสมณศกั ดิ์ ตามด้วยชอ่ื ตวั ในเคร่ืองหมายวงเลบ็ ถา้ ไม่
ทราบช่ือตัวให้ใส่เฉพาะชื่อสมณศกั ดิ์

12

การอา้ งอิงแบบแทรกในเน้ือหา (Citing References in Text)

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (วาสน์)
สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ)
พระพิมลธรรม (ชอบ)
พระธรรมโกษาจารย์ (เซ่ง)
พระครปู ลัดเมธาวฒั น์
Somdet Phra Yanasangwon (Charoen)
Phra Kru Bhavannanuvat
Phra Thepwethi (Prayudh)

(5) ผ้แู ต่งทมี่ ยี ศทางทหาร ตารวจ มตี าแหน่งวชิ าการ หรอื มคี าเรยี กทางวิชาชพี เชน่
พลเอก ศาสตราจารย์ นายแพทย์ นายสตั วแพทย์ เป็นต้น ไม่ตอ้ งใส่ยศ ตาแหน่งทางวิชาการ

พล.อ. เปรม ตณิ สูลานนท์ ลง เปรม ติณสลู านนท์
ศาสตราจารย์ ดร. สุรพล นติ ิไกรพจน์ ลง สรุ พล นติ ไิ กรพจน์
ทนั ตแพทย์เชิดพันธุ์ เบญจกลุ ลง เชิดพันธุ์ เบญจกุล
Assistant Professor Preeyachat Uttamayodhin ลง
Preeyachat Uttamayodhin

(6) ผ้แู ตง่ ใชน้ ามแฝง ใหใ้ สน่ ามแฝงตามทป่ี รากฏในงาน

โสภาค สุวรรณ
ว. วนิ ิจฉยั กลุ
โรสลาเรน
Idris
Hunter

13

การอา้ งอิงแบบแทรกในเนื้อหา (Citing References in Text)

ประเภทของการอ้างองิ แบบแทรกในเน้อื หา

(1) การอา้ งเอกสารหน่งึ เรอื่ งทมี่ ผี แู้ ตง่ คนเดยี ว
สาหรบั ผู้แต่งชาวตา่ งประเทศลงเฉพาะช่ือสกลุ กรณผี ู้แต่งชาวไทยลงชื่อตามดว้ ยช่ือสกลุ แม้

จะเขียนเป็นภาษาอังกฤษกต็ าม

Early onset results in a more persistent and severe course (Kessler, 2003).

หากใส่ช่ือผู้แตง่ ในข้อความท่อี า้ ง ลงเฉพาะปที พี่ มิ พใ์ นวงเลบ็

Kessler (2003) found that among epidemiological samples
In 2003, Kessler’s study of epidemiological samples showed that……..
……….……………………….(อานันท์ กาญจนพนั ธ์, 2545, น. 62)
สมควร กวียะ (2547, น. 41) ไดใ้ หค้ วามหมายของสอ่ื พ้ืนบ้านว่า............

(2) การอา้ งเอกสารหนึ่งเรื่องทม่ี ผี แู้ ตง่ หลายคน
1. ผูแ้ ต่ง 2 คน
ใช้ และ คัน่ ระหวา่ งช่ือกรณีที่เป็นชาวไทย
and สาหรับชาวต่างประเทศ
ถ้าชอ่ื ผู้แต่งอยูใ่ นวงเล็บ ใสเ่ คร่ืองหมาย & (ampersand) แทนคาว่า and
Harlow and Simpson (2004)
(Harlow & Simpson, 2004, p. 25)
กมล บุษบา และ สายทอง อมรวเิ ชษฐ์ (2546)
(กมล บษุ บา และ สายทอง อมรวเิ ชษฐ์, 2546, น. 45)

2. ผู้แต่งตั้งแต่ 3-5 คน
ลงช่ือทุกคน (สาหรับชาวต่างประเทศลงเฉพาะชื่อสกลุ | ชาวไทยลงท้ังชื่อและชื่อสกุล)
ในการอ้างครั้งแรก ใสเ่ คร่ืองหมายจลุ ภาคค่ันแต่ละช่ือ นาหนา้ ช่ือคนสุดทา้ ยด้วยคาว่า
และ หรอื and หรอื &

14

การอา้ งองิ แบบแทรกในเนื้อหา (Citing References in Text)

Kisangau, Lyaruu, Hosea, and Joseph (2007)
กาญจนา แก้วเทพ, กติ ติ กนั ภยั , และ ปารชิ าติ สถาปิตานนท์ (2543)

3. ในการอา้ งซ้าครั้งต่อๆไป ลงเฉพาะช่ือผู้แต่งคนแรก ตามด้วยคาวา่ และคณะ สาหรับงาน
เขยี นภาษาไทย หรือ et al. สาหรบั งานเขยี นภาษาตา่ งประเทศ

Kisangau et al. (2007)
กาญจนา แก้วเทพ และคณะ (2543)

4. หากอา้ งเอกสาร 2 รายการทีม่ ผี แู้ ต่งคนเดียวกันเกนิ กว่า 1 คน (ต้ังแต่ 2-3 คน) และ
เอกสารทั้ง 2 รายการพิมพ์ในปเี ดียวกนั

ลงช่ือผู้แต่งคนแรกตามด้วย ผู้แต่งคนอน่ื ๆ เพ่อื ใหท้ ราบว่าเป็นเอกสารตา่ งกัน ค่ันด้วย
เครอ่ื งหมายจลุ ภาค (,) และ et al. หรอื และคณะ

Ireys, Chernoff, Devet, et al. (2001) and Ireys, Chernoff, Stein, et al. (2001)

พัชนี เชยจรรยา, เมตตา วิวัฒนานุกูล, ถิรนันท์ อนวัชศิริวงศ์, และคณะ (2541) และ พัชนี
เชยจรรยา, เมตตา วิวัฒนานกุ ูล, เกศินี จฑุ าวจิ ิตร, และคณะ (2541)

5. ถา้ ลงช่ือผแู้ ต่งหลายคนในเนื้อหาท่ีนามาอา้ งใหใ้ ช้คาวา่ and เชื่อมระหวา่ งผู้แต่ง โดยไม่
ต้องใสว่ งเลบ็ รว่ มกับปีพิมพ์

as Kurtines and Szapocznik (2003) demonstrated

6. กรณีที่มผี ู้แต่ง 6 คนหรือมากกวา่ 6 คนขนึ้ ไปลงเฉพาะผูแ้ ต่งคนแรกตามด้วยคาวา่ et al.
หรือ และคณะ

Kosslyn et al. (1996)
(โสภา สงวนเกียรติ และคณะ, 2548)

15

การอ้างองิ แบบแทรกในเนื้อหา (Citing References in Text)

7. ในกรณีทีม่ กี ารอ้างเอกสาร 2 รายการ ท่ีมผี แู้ ต่ง 6 คนหรือมากกวา่ 6 คนขนึ้ ไปและมกี าร
ลงผู้แต่งรูปแบบเดยี วกัน สามารถลงช่ือผูแ้ ต่งคนอื่น ๆ ตามความเหมาะสมเพ่อื แยกความแตกต่าง
ระหวา่ งเอกสารท้ัง 2 รายการ ตามด้วยเคร่ืองหมายจลุ ภาค (,) et al. หรือ และคณะ

Kosslyn, Koenig, Barrett, Cave, Tang, and Gabrieli (1996)
Kosslyn, Koenig, Gabrieli, Tang, Marsolek, and Daly (1996)
Kosslyn, Koenig, Barrett, et al. (1996) and Kosslyn, Koenig, Gabrieli, et al.
(1996)

(3) การอ้างเอกสารทผ่ี ้แู ต่งเปน็ นติ บิ ุคคล

นิติบุคคล ได้แก่ บริษทั สมาคม หน่วยราชการ ในการอา้ งอิงแทรกในเน้ือหาให้ลงช่ือเตม็ ใน
การอา้ งถึงคร้ังแรก เมอื่ อ้างซา้ สามารถใช้อักษรย่อสาหรบั นิตบิ คุ คลเหล่านั้นได้ หากอักษรย่อซ้า
กนั ในบางหน่วยงาน ต้องลงชื่อเตม็ ทกุ คร้ังเพื่อความเข้าใจทถ่ี กู ต้อง

United Nations (2004)
U.N. (2004)
UTTARADITDARUNEE SCHOOL (2553)
UN. (2553)
สานักงานกองทุนสนบั สนุนการวิจัย (2552)
สกว. (2552)
กระทรวงการต่างประเทศ (2550)
กต. (2550)
คณะกรรมการสภาตาบล (2550)
กต. (2550)

กรณที ่ีมีทั้งชื่อหน่วยงานใหญ่และหน่วยงานย่อย ใหใ้ ส่เฉพาะช่ือหน่วยงานย่อย ยกเว้นชื่อ
หน่วยงานย่อยที่ใช้ซ้ากันในหลาย ๆ หน่วยงาน ให้ใสช่ ่ือหน่วยงานใหญท่ ่ีอยู่เหนือขน้ึ ไปกากับ
เพื่อใหท้ ราบว่าเป็นหนว่ ยงานย่อยของหน่วยงานใด

University of Michigan, Department of Psychology (2006)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะอักษรศาสตร์ (2548)
มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร, คณะอักษรศาสตร์ (2549)

16

การอา้ งอิงแบบแทรกในเนื้อหา (Citing References in Text)

(4) การอา้ งเอกสารทผ่ี ู้แต่งช่ือสกลุ ซา้ กนั (สาหรบั ชาวตา่ งประเทศ)

หากในรายการอา้ งอิงมเี อกสารหลายชิ้นที่มีผู้แต่งหลกั หลายคนช่ือสกุลซ้ากัน ในการอ้างอิง
แทรกในเน้ือหาใหล้ งอักษรย่อชื่อตน้ และช่ือกลาง (ถา้ ม)ี ของผู้แต่งคนแรกของแต่ละรายการแมป้ ี
พิมพ์จะต่างกัน

อ้างองิ แทรกในเนื้อหา (Citing References in Text)
Among studies, we review M. A. Light and Light (2008) and I. Light (2006).
รายการอ้างองิ (Reference)
Light, I. (2006). Deflecting immigration: Networks, markets, and regulation in

Los Angeles. New York, NY: Russell Sage Foundation.
Light, M. A., & Light, I. H. (2008). The geographic expansion of Mexican

immigration in the United States and its implication for local law
enforcement. Law Enforcement Executive Forum Journal, 73-82.

(5) การอา้ งอิงเอกสารทไ่ี มป่ รากฏผู้แตง่

1. กรณเี อกสารไมม่ ผี แู้ ต่ง ใหล้ งชือ่ เรอ่ื ง หากช่ือเร่ืองยาวมากไม่ต้องใส่ท้ังหมด และลงปีพมิ พ์
สาหรับชื่อบทความหรือช่ือบทๆ หนึ่งจากหนังสือใสเ่ คร่ืองหมายอัญประกาศ
สาหรับช่ือวารสารหรือช่ือหนังสือใหพ้ มิ พด์ ้วยอักษรตัวเอน งานทีเ่ ป็นภาษาตา่ งประเทศอักษร
ตวั แรกของแตล่ ะคาใช้ตัวพมิ พใ์ หญ่ ยกเว้นคานาหนา้ นาม (Article) คาบพุ บท (Preposition)
และคาสันธาน (Conjunction) ทีส่ ะกดไม่เกิน 3 ตัวอักษร

ช่ือบทความไมย่ าวมากใสช่ อื่ เตม็
(“รพ.เอกชนต้องเป็นหัวหอก,” 2549)
ช่อื บทหนึง่ ในหนังสือ
On free care (“Study Finds,” 2007)

(“ธุรกิจการประกันรถยนต,์ ” 2543)
ชอ่ื เตม็ ของบทความคือ ธรุ กจิ การประกนั ภยั รถยนต์ บนหนทางทตี่ อ้ งเรง่ ปรบั ตวั

17

การอ้างองิ แบบแทรกในเน้ือหา (Citing References in Text)

(แม่นา้ โขง-สาละวนิ , 2549)
ชือ่ เตม็ ของหนังสอื คือ แมน่ ้าโขง-สาละวิน: ผู้คน ผนื น้า และสวุ รรณภมู ขิ องอุษาคเนย์

the book College Bound Seniors (2008)
ชอื่ หนงั สือคอื College Bound Seniors

สาหรับสงิ่ พิมพ์ทางกฎหมาย เช่น เอกสารคดี พระราชกาหนด ระเบยี บข้อบังคบั เปน็ ตน้
หากช่ือเรื่องยาว ไมต่ ้องลงทั้งหมด

(Marine Insurance Act, 1906)
(พระราชบัญญัติการรบั ขนของทางทะเล, 2534)

2. กรณเี อกสารไมป่ รากฏผูแ้ ตง่ หากเอกสารระบขุ อ้ ความวา่
“ไมป่ รากฏผแู้ ต่ง” หรอื “Anonymous” ใหใ้ ชค้ าดังกล่าวในการอ้างอิงแทรกในเน้ือหา
ค่ันด้วยจลุ ภาคตามด้วยปีท่พี มิ พ์

(Anonymous, 1998)
(ไม่ปรากฏผู้แต่ง, 2541)

(6) การอา้ งเอกสารมากกวา่ หนึ่งเร่อื งทมี่ ผี แู้ ต่งซา้ กัน ปพี มิ พต์ า่ งกัน
ให้ระบุช่ือผู้แต่งในการอา้ งครั้งแรก หลังจากน้ันลงเฉพาะปพี มิ พ์โดยเรยี งลาดบั เอกสารตามปี

พมิ พ์ ค่ันด้วยเครื่องหมายจลุ ภาค สาหรับเอกสารที่อยูร่ ะหว่างการจัดพมิ พ์ ใชค้ าวา่ กาลัง
จดั พมิ พ์ หรอื in press ตอ่ จากปีที่พิมพ์

Past research (Gogel, 1996, 2006, in press)
(Edeline & Weinberger, 1991, 1993)
(บุญยงค์ เกศเทศ, 2516, 2520, 2523, กาลังจัดพิมพ์)

18

การอ้างองิ แบบแทรกในเน้ือหา (Citing References in Text)

(7) การอา้ งเอกสารมากกวา่ หนงึ่ เร่ืองทผ่ี ู้แต่งและปพี มิ พซ์ า้ กนั
ระบุผแู้ ต่งเพียงครั้งเดียว เรยี งลาดบั เอกสารตามปที ี่พิมพด์ ้วยตัวอักษร ก ข ค ง สาหรบั งาน

เขียนภาษาไทย หรือ a b c d สาหรับงานเขียนภาษาอังกฤษ ทา้ ยปพี ิมพแ์ ตล่ ะปีค่ันด้วย
เคร่ืองหมายจุลภาค (,)

สาหรบั รายการอา้ งอิง ให้ลาดับก่อนหลังโดยเรียงตามชื่อหนังสือ หรือช่ือบทความ

Several studies (Derryberry & Reed, 2005a, 2005b, in press-a; Rothbart, 2003a,
2003b)

(ชาญวิทย์ เกษตรศิริ, 2548ก, น.55, 2548ข, น. 23)

(8) การอา้ งเอกสารมากกวา่ หนงึ่ เรอ่ื งทผี่ ู้แตง่ แตกตา่ งกนั
เรียงลาดับตามอกั ษรช่ือผู้แต่งคั่นด้วยเคร่ืองหมายอฒั ภาค (;) กรณที ี่งานทั้งภาษาไทยและ

ภาษาตา่ งประเทศถูกอ้างพร้อมกัน ให้เริ่มที่งานเขียนภาษาไทยก่อน

Several studies (Miller, 1999; Shafranske & Mahoney, 1998)
(พรทิพย์ พมิ ลสนิ ธ,์ุ 2542; อานวย วรี วรรณ, 2540)
(อนุชาติ บุนนาค, 2549, น.62-63; Campbell, 2006)

(9) การอ้างเอกสารทตุ ิยภมู ิ (Secondary Source)
ในการอา้ งเอกสารแทรกในเน้ือหาโดยท่ไี ม่ใช่เอกสารต้นฉบับ ใหร้ ะบชุ ่ือเอกสารต้นฉบับและ

คาว่า“อา้ งถงึ ใน” สาหรบั ภาษาไทย หรือ “as cited in” สาหรบั ภาษาอังกฤษตามด้วยช่ือผแู้ ต่ง
เอกสารทุติยภูมแิ ละปีพมิ พ์ สาหรบั การลงรายการอ้างอิงทา้ ยเลม่ ลงชื่อผู้แต่งเอกสารทุติยภูมิ
เทา่ นน้ั

Allport’s diary (as cited in Nicholson, 2003)
กาญจนา แก้วเทพ, 2538, น.126, อ้างถึงใน เกศินี จุฑาวิจิตร, 2540, น.88

(10) การอา้ งเอกสารทเ่ี ป็นงานแปล
ใสช่ ่ือผู้แต่งทีเ่ ป็นเจ้าของเร่ืองตามด้วยปพี ิมพข์ องตน้ ฉบับและปพี ิมพ์ของฉบับแปลโดยใช้

เคร่ืองหมายทบั (/) ค่นั ถา้ ไม่ทราบปีพิมพข์ องต้นฉบบั ใหใ้ สเ่ ฉพาะปีพมิ พข์ อง ฉบับแปล

19

การอา้ งองิ แบบแทรกในเน้ือหา (Citing References in Text)

ในกรณที ี่ไมท่ ราบชื่อผู้แต่งให้ใส่ช่ือผู้แปลแทนโดยไม่ต้องระบุคาว่า ผู้แปล ต่อท้ายชื่อ

(ปรามาท, 2005/2549)
(ไรคเ์ ฮลด์, 2003/2548)
(Catherine II, 2006)
(Japan Society for the Promotion of Science, 1975/1980)
(Laplace, 1814/1951)

(11) การอา้ งเอกสารงานคลาสสกิ

งานคลาสสิกที่นามาอ้างหากไมป่ รากฏปีที่พิมพ์ ให้อา้ งปีพมิ พฉ์ บับแปลทีน่ ามาใชโ้ ดยระบคุ า
ว่า ฉบบั แปล หรือ trans. หรืออ้างปพี มิ พ์ของงานฉบบั ที่นามาอา้ งอิงพร้อมท้ังระบุว่าเป็นฉบับใด
(Version)

(Aristotle, trans. 1931)
กรณีงานคลาสสกิ สมยั กรกี และโรมันรวมท้ังคมั ภีรใ์ นศาสนาตา่ ง ๆ ใหล้ งรายการตามทีใ่ ช้
อา้ งอิงโดยอาจเป็นบท ตอนหรือบางบรรทัดซึ่งจะใชต้ ัวเลขเหมือนกันทกุ ฉบบั ใหล้ งหมายเลข
ดงั กล่าวแทนเลขหน้า

(Qur’an 5:3-4)

(12) การอา้ งเอกสารบางส่วน

การอา้ งอิงบางหนา้ บท ภาพ ตารางหรือสมการ ใหล้ งเลขหนา้ โดยใช้ตัวย่อ น. หรือ p.
สาหรับการอ้าง 1 หนา้ และ pp. หากอา้ งเกินกวา่ 1 หน้า กรณีอ้างเป็นบท ใช้ บทท่ี สาหรับ
งานเขยี นภาษาไทย และ Chapter สาหรบั ภาษาองั กฤษ

(Center for Diseases Control and Prevention, 2005, p. 10)
(Shimamura, 1983, Chapter 3)
(ณรงค์วทิ ย์ แสนทอง, 2550, น. 31)
(นงลกั ษณ์ ลิ้มศิริ, 2549, บทท่ี 3)

20

การอา้ งองิ แบบแทรกในเน้ือหา (Citing References in Text)

(13) การอา้ งการสอ่ื สารระหวา่ งบคุ คล
การสอื่ สารระหว่างบุคคลอาจเป็นจดหมายโตต้ อบส่วนบคุ คล บนั ทึก อเี มล กล่มุ สนทนาหรือ

กระดานข่าวอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ การสมั ภาษณห์ รือสนทนาทางโทรศัพท์ โดยระบชุ ่ือผูท้ ีท่ าการส่ือสาร
ประเภทของการส่ือสาร และเดือน วันที,่ ปี ค.ศ. สาหรับการอา้ งอิงท่เี ปน็ ภาษาต่างประเทศ ถ้า
เป็นการอ้างอิงที่เป็นภาษาไทย ใหล้ งชื่อผู้ที่ทาการสื่อสาร ประเภทของการสื่อสาร และวนั ท่ี
เดือน ปี พ.ศ. โดยไมต่ ้องมเี ครือ่ งหมายใด ๆ คัน่

T. K. Lutes (personal communication, April 18, 2001)
ชัยฤทธิ์ ยนตเ์ ปยี่ ม (สัมภาษณ,์ 26 กรกฎาคม 2549)

ถ้าต้องการระบุวิธีการส่ือสาร ให้ระบุไวใ้ นวงเลบ็ เหลี่ยมหลังข้อความ personal
communication

(J. Cassels, personal communication [e-mail],
October 1, 2007)
(เจษฎา ญามลิ ันกูร, การส่ือสารระหวา่ งบุคคล [อเี มล],

21

การอา้ งองิ แบบแทรกในเน้ือหา (Citing References in Text)

(14) การอธบิ ายเพมิ่ เตมิ และการอา้ งเอกสารใตต้ ารางและภาพ

1. การอธิบายเพ่มิ เตมิ ใต้ตารางท่ีพมิ พ์ขนึ้ เองโดยไม่ได้อา้ งมาจาก แหล่งอ่ืน มี 3 ประเภท
คือ

1.1 General Note เป็นการอธิบายหรือให้ข้อมลู ท่ัวไปที่เก่ียวกบั ตาราง โดยใส่คาวา่
หมายเหตุ หรือ Note ตามด้วยเคร่ืองหมายมหัพภาค (.)

Note. Factor loadings greater than .45 are shown in boldface. M = match process;
N = nonmatch process.

1.2 Specific Note อธบิ ายเฉพาะแถวหรือคอลมั น์ โดยจะใชส้ ัญลักษณเ์ รียงตามลาดบั
ตัวอักษรเปน็ ตัวพมิ พ์ยก เช่น a, b, c หรอื ก ข ค ในตารางและให้พิมพค์ าอธบิ ายไว้ในสว่ นท้ายของ
ตารางในบรรทดั ถัดจาก general note

Note. The participants . . . responses.
an = 25. bn = 42.

1.3 Probability Note ใชใ้ นกรณีทีม่ กี ารอธิบายค่าของความน่าจะเป็นโดยใช้
เครื่องหมายดอกจนั (*) ต่อทา้ ยข้อมลู ในตารางท่ีต้องการอธิบาย ถา้ มมี ากกว่าหนึ่งข้อมลู ให้เพมิ่
เคร่ืองหมายดอกจันตามลาดบั แต่ถา้ ต้องการแยกให้เหน็ ความแตกต่างของข้อมูลสามารถใช้
สัญลกั ษณ์อื่นแทนได้ ส่วนคาอธบิ ายใหพ้ ิมพ์ไวใ้ นส่วนทา้ ยของตารางในบรรทัดถดั จาก specific
note และ probability note โดยใช้สัญลักษณ์ *p หรอื +p

Note. The participants . . . responses.

an = 25. bn = 42.

22

การอา้ งอิงแบบแทรกในเน้ือหา (Citing References in Text)

ตัวอยา่ ง

Table X

Hierarchical Multiple Regression Analyses Predicting Postabortion Positive Well-
Being From Preabortion Social Support and Preabortion Social Conflict With
Mother, Partner, and Friend

Source of social support and social conflict

Mother Partner Friend

Predictor ∆R2 β ∆R2 β ∆R2 β

Step 1 .13* .10*** .10***
Control variablesa

Step 2 .16*** .19*** .22***

Positive affect .31*** .32*** .35***

Negative affect -.25*** -.27*** -.30***

Step 3 .02 .05*** .01*
Social support .17* .17*** .08+

Social conflict .09 -.08 -.06

Step 4 .01 .00 .00

Social Support x

Social Conflict -.14 -.00 -.07
Total R2 .32*** .33*** .34***

n 153 455 373

Note. Adapted from “Mixed Messages: Implications of Social Conflict and Social Support

Within Close Relationships for Adjustment to a Stressful Life Event,” by B. Major, J. M. Zubek,

M. L. Cooper, C. Cozzarelli, and C. Richards, 1997, Journal of Personality and Social Psycholo-
gy, 72, p. 1359. Copyright 1997 by the American Psychological Association.
aControl variables included age, race, education, marital status, religion, abortion history,

depression history, and prior mental health counseling.
+p < .10. *p < .05. ***p < .001.
เมอื่ ทาการอ้างอิงแบบแทรกใน

เว้น 1 บรรทดั REFERENCES เนอื้ หาแลว้ ใหเ้ พิม่ รายการ
อา้ งอิงท้ายเล่มดว้ ย

Ganster, D. C., Schaubroeck, J., Sime, W. E., & Mayes, B. T. (1991). The nomological

validity of the type A personality among employed adults.
Journal of Applied Psychology, 76, 154.

23

การอา้ งอิงแบบแทรกในเน้ือหา (Citing References in Text)

2. การอา้ งเอกสารใต้ตารางและภาพ ให้ใส่ Note. หรือ หมายเหตุ. ไว้ข้างใต้เพื่ออธิบาย
แหล่งที่มาของตารางและภาพดังกลา่ ว

กรณที ่เี ปน็ การอา้ งเอกสารใตต้ ารางและภาพ หลักเกณฑ์การลง ชื่อบทความหรือ
ช่ือหนังสือ ให้พิมพต์ วั อกั ษรแรกด้วยตัวใหญ่ทั้งหมด ยกเว้น คาบุพบทและคาสนั ธาน ท่สี ะกดไม่
เกนิ 3 ตวั อักษร โดยมีรูปแบบดังนี้

รปู แบบการอา้ งเอกสารจากบทความวารสาร (Article)

หมายเหตุ.\จาก\“ช่ือบทความ,”\โดย\ผู้แต่งคนที่ 1\และ\ผู้แต่งคนท่ี 2,\ปพี มิ พ,์ \ช่ือวารสาร,\ปีท่ี
(ฉบบั ท่ี),\เลขหน้า.

เครอ่ื งหมาย \ หมายถงึ เวน้ วรรค 1 ระยะ
ตัวอยา่ ง

Note. From “The Relation of Drive to Finger-Withdrawal Conditioning,” by M. F.
Elias, 1965, Journal of Experimental Psychology, 70(2), p. 114.

หมายเหตุ. จาก “ต้นทุนทางตรงของการทาฟลูออไรด์วารน์ ิชในเดก็ ปฐมวัย,” โดย อมราภรณ์
สพุ รรณวิวัฒน์, สภุ าวดี พรหมมา, และ ศรสี ดุ า ลีละศิธร, 2550, วทิ ยาสารทันตสาธารณสุข, 12
(2), น. 64.

รปู แบบการอา้ งเอกสารจากหนงั สือ (Book)

หมายเหต.ุ \จาก\ชื่อหนังสือ\(เลขหน้า),\โดย\ผแู้ ต่งคนที่ 1\และ\ผแู้ ต่งคนท่ี 2,\ปีพิมพ,์ \สถานที่
พมิ พ:์ \สานักพมิ พ.์

ตัวอยา่ ง
Note. From A History of U.S. Feminisms (p. 16), by R. Dicker, 2008, Berkeley, CA:
Seal Press.
หมายเหต.ุ จาก ศาสตร์แห่งสื่อและวัฒนธรรมศกึ ษา (น. 55), โดย กาญจนา แก้วเทพ, 2544,
กรุงเทพฯ: เอดิสันเพรสโปรดักส์.

24

การอ้างอิงแบบแทรกในเนื้อหา (Citing References in Text)

ในกรณที ต่ี ารางหรือภาพอ้างมาจากเอกสารแหล่งอื่นให้ระบุปลี ขิ สิทธิแ์ ละช่ือผ้ไู ด้รับ
อนุญาตในการลงภาพหรือตารางไวด้ ้านท้ายด้วยโดยใช้คาว่า Adapted with permission of
the author หรอื ดัดแปลงโดยได้รับอนุญาตจากผู้แต่ง

ตวั อยา่ ง

Note. From “Memory Independence and Memory Interference in Cognitive
Development,” by C. J. Brainerd and V. F. Reyna, 1993, Psychological Review,
100, p. 48. Copyright 1993 by the American Psychological Association. Adapted
with permission of the author.

25

การอ้างอิงแบบแทรกในเน้ือหา (Citing References in Text)

ตวั อยา่ ง การเขยี นการอา้ งองิ แบบแทรกในเนื้อหาทมี่ าของตารางจากบทความวารสารวชิ าการ
และรายการอา้ งอิงทา้ ยรายงาน

Table 1.1
Factor Loadings and Uniqueness for Confirmatory Factor Model of Type A
Behavior

Measure and variable Unstandardized SE Uniqueness
factor loading

SI---Speech Characteristics

Loud and explosive .60 --- .32

Response latency .71 .04 .16

Verbal competitiveness .82 .05 .25

SI---Answer Content

Competitiveness .60 --- .34

Speed .59 .04 .27

Impatience .67 .05 .28

SI---Hostility

Stylistic rating .60 --- .22

Content rating .60 .05 .17

Thurstone Activity Scale

Variable 1 .60 --- .73

Variable 2 .88 .08 .39

Variable 3 .71 .07 .54

Note. From “The Nomological Validity of the Type A Personality Among Employed
Adults,” by D. C. Ganster, J. Schaubroeck, W. E. Sime, and B. T. Mayes, 1991, Journal of
Applied Psychology, 76, p. 154.

REFERENCES เมือ่ ทาการอา้ งอิงแบบแทรกใน
เนื้อหาแลว้ ให้เพิม่
รายการอ้างองิ ทา้ ยเลม่

เวน้ 1 บรรทดั

Ganster, D. C., Schaubroeck, J., Sime, W. E., & Mayes, B. T. (1991). The nomological

validity of the type A personality among employed adults. Journal of Applied
Psychology, 76, 154.

26

การอา้ งอิงแบบแทรกในเนื้อหา (Citing References in Text)

ตัวอยา่ ง การเขยี นการอา้ งอิงแบบแทรกในเนอื้ หาทมี่ าของตารางจากหนังสือและรายการ
อา้ งองิ ทา้ ยรายงาน

ตารางที่ 2.8
เปอร์เซน็ ตค์ วามชน้ื โปรตีน และวตั ถุแห้งของข้าวฟ่างทีต่ ัดเม่ืออายุต่างกัน

อายุขณะตัด ความช้ืน โปรตีนรวม วัตถุแห้งเม่ือเทียบกบั
(สัปดาห์) (เปอร์เซ็นต์) (เปอรเ์ ซ็นต์) วัตถุแห้งสูงสุด
(เปอรเ์ ซ็นต์)
6 83 12.3
8 83 9.1 39
10 80 6.7 62
12 78 4.8 95
14 73 5.4 100
85

หมายเหต.ุ จาก พชื อาหารสัตว์เขตร้อน (น. 73), โดย สายัณห์ ทัดศรี, 2547, กรุงเทพฯ:
สานักพมิ พ์เกษตรศาสตร์.

เวน้ 1 บรรทดั รายการอา้ งองิ เมื่อทาการอ้างองิ แบบแทรกใน
เนือ้ หาแลว้ ใหเ้ พม่ิ รายการ
อ้างอิงท้ายเลม่ ดว้ ย

สายณั ห์ ทดั ศร.ี (2547). พืชอาหารสัตวเ์ ขตร้อน. กรุงเทพฯ: สานักพิมพเ์ กษตรศาสตร์.

27

การอา้ งอิงแบบแทรกในเนื้อหา (Citing References in Text)

ตวั อยา่ ง การเขยี นการอา้ งองิ ในเนื้อหาทม่ี าของรปู ภาพจากหนังสือและรายการอา้ งอิง

ภาพท่ี 2.2 การปรับปรุงเครื่องมือการดาเนนิ ชีวิตในอดีต. จาก เพลิดเพลินเป็น 100 เทา่ กับการเสนอแนะ
เพือ่ การปรับปรุง: วธิ ีดาเนินกิจกรรมการปรบั ปรุงและวิธเี พมิ่ พลังความคิดสรา้ งสรรค์ (น. 60), โดย วีรพจน์

ลอื ประสทิ ธสิ์ กุล, 2544, กรุงเทพฯ: ธรรกมลการพมิ พ์.

รายการอา้ งองิ เมือ่ ทาการอา้ งอิงแบบแทรกใน
เน้ือหาแลว้ ใหเ้ พ่มิ รายการ
อ้างอิงท้ายเล่มด้วย

เว้น 1 บรรทดั

สายัณห์ ทดั ศรี. (2547). พืชอาหารสตั วเ์ ขตร้อน. กรุงเทพฯ: สานักพมิ พ์เกษตรศาสตร.์

28

การอา้ งองิ แบบแทรกในเน้ือหา (Citing References in Text)

ตัวอยา่ ง การเขยี นการอา้ งอิงในเนื้อหาทม่ี าของรปู ภาพจากหนังสอื และรายการอา้ งอิง

Figure X. Schematic of the criterial recollection task. At study, each black
word was followed by the same word in red letters (depicted in italics) or by
a colored picture. Black words were used at test as retrieval cues, under

various retrieval instructions (picture test shown, with correct responses in
quotes). Adapted from “Retrieval Monitoring and Anosognosia in Alzheimer’s

Disease,” by D. A. Gallo, J. M. Chen, A. L. Wiseman, D. L. Schacter, and A. E.
Budson, 2007, Neuropsychology, 21, p. 560. Copyright 2007 by the American
Psychological Association.

REFERENCES เมื่อทาการอ้างองิ แบบแทรกใน
เนอ้ื หาแลว้ ใหเ้ พ่มิ รายการ
อา้ งองิ ทา้ ยเล่มดว้ ย

เวน้ 1 บรรทัด

Gallo, D. A., Chen, J. M., Wiseman, A. L., Schacter, D. L., & Budson, A. E. (2007).

Retrieval monitoring and anosognosia in Alzheimer’s Disease.
Neuropsychology, 21, p. 560.

29

รายการอา้ งองิ (References)

หลกั เกณฑก์ ารลงรายการผแู้ ต่ง

(1) ผู้แต่ง 1-7 คน

ให้ลงชื่อผูแ้ ต่งตามทป่ี รากฏต้ังแต่ 1-7 คน โดยใส่
& นาหนา้ ช่ือผู้แต่งคนสุดท้ายกรณที ีเ่ ป็นงานเขียนภาษาต่างประเทศ
“และ” สาหรบั งานเขียนภาษาไทย ค่นั ทกุ ช่ือด้วยเคร่ืองหมายจลุ ภาค (,)
ลงชอ่ื เร่ืองกรณไี มม่ ผี แู้ ตง่ ส่วนรายการอา้ งอิงจดั เรยี งตามลาดบั อกั ษรชอื่ ผ้แู ตง่ หรอื ชื่อเรอ่ื ง

(2) ผู้แต่งเกนิ กวา่ 7 คน

ลงเฉพาะผ้แู ต่ง 6 คนแรกตามด้วยเครื่องหมายจลุ ภาคและมหัพภาค 3 จุด (. . .) โดยหน้า
และหลังแต่ละจดุ ต้องเวน้ วรรค 1 ระยะ ตามด้วยช่ือผู้แต่ง คนสดุ ทา้ ย

1. ผู้แต่ง 1 คน

Girard, J. B.
Girard-Perregaux, A. S.
แววรัตน์ โชตินิพัทธ
2. ลงชื่อเร่ืองกรณีไมม่ ีช่ือผ้แู ต่ง
The good earth
แม่นา้ โขง-สาละวิน: ผู้คน ผืนน้า และสวุ รรณภมู ิของอุษาคเนย์
3. ผู้แต่ง 2-7 คน
Strong, E. K., Jr., & Uhrbrock, R. S.

Smith, T., Rana, R. S., Missiaen, P., Rose, K. D., Sahni, A., Singh, H., &
Singh, L.

กาญจนา แก้วเทพ, และ สมสขุ หินวมิ าน

กระสนิ ธ์ุ หังสพฤกษ์, เทพรตั น์ อึ้งเศรษฐพนั ธ์, ประจวบ ฉายบ,ุ นิวุฒิ หวังชัย, และ
สภุ ัทรา อไุ รวรรณ

30

รายการอ้างอิง (References)

3. ผแู้ ต่งต้ังแต่ 8 คนขึน้ ไป

Wolshick, S. A., West, S. G., Sandler, I. N., Tein, J. Y., Coatsworth, D.,
Lengua, L., . . . Griffin, W. A.

กาญจนา แก้วเทพ, สมสขุ หินวิมาน, กระสนิ ธุ์ หังสพฤกษ์, เทพรัตน์
อึ้งเศรษฐพันธ์, ประจวบ ฉายบ,ุ นิวุฒิ หวังชัย, . . . สุภทั รา อไุ รวรรณ

(3) บรรณาธกิ าร

ลงชื่อบรรณาธิการตามด้วยคาวา่ บรรณาธกิ าร หรือ Ed. ถา้ มีมากกว่า 1 คนใช้ Eds. ใน
วงเลบ็ หากอา้ งองิ บทใดบทหน่งึ ในหนังสอื ทม่ี บี รรณาธกิ ารเฉพาะบทน้นั ๆ ลงชอื่ บรรณาธกิ าร
ประจาบทในรายการอา้ งอิงใส่คาว่า ใน หรือ In นาหนา้ ชื่อบรรณาธกิ าร หรือชื่อเร่ืองกรณไี มม่ ี
บรรณาธิการ

ตัวอยา่ ง
Elliot, A.S. (2007). How good to be true? In James, E. E. (Ed.), Dream can come

true (pp.7-80). London: Cambridge University Press.
เอื้อมพร สกลุ แก้ว (บรรณาธิการ). (2550). เสี่ยงอัมพฤกษ์อมั พาตจากหลอดเลือดสมองแตก.

กรุงเทพฯ: ใกล้หมอ.

(4) ผู้แต่งชาวไทย

ใหใ้ ส่ช่ือตามด้วยช่ือสกลุ โดยไม่ต้องมีเคร่ืองหมายใด ๆ คั่น ไมว่ ่างานเขียนจะเป็นภาษาไทย
หรือภาษาตา่ งประเทศ กรณีผู้แต่งใส่ท้ังชื่อสกุลของตัวเองและสามี ก็ใหล้ งรายการตามท่ีปรากฏ
โดยไม่ต้องมีเคร่ืองหมายใด ๆ คั่น

แววรตั น์ โชตินพิ ทั ธ์
พนั ธท์ุ ิพย์ กาญจนะจติ รา สายสุนทร
Waeorath Chotnipat
Phunthip Kanchanachittra Saisoonthorn

31

รายการอ้างองิ (References)

(5) ผู้แต่งชาวต่างประเทศ

1. ให้ใส่ชอ่ื สกุล อกั ษรย่อชื่อต้น เวน้ วรรค 1 ระยะ และอักษรย่อชื่อกลาง (ถ้าม)ี โดยใส่
เครื่องหมายจลุ ภาค (,) และเว้นวรรค 1 ระยะระหวา่ งช่ือสกุลและอักษรย่อช่ือต้น ไมว่ ่างาน
เขียนจะเป็นภาษาไทยหรือภาษาตา่ งประเทศ

Graham, M. A.

Johnson, S.
จอหน์ สัน, เอส.

2. ถา้ ช่ือต้นของผู้แต่งมเี คร่ืองหมายยตั ภิ ังค์ (-) ประกอบด้วย ให้ลงเครื่องหมายดังกลา่ วไว้
แล้วตามด้วยอกั ษรย่อชื่อกลาง (ถา้ ม)ี โดยไม่ต้องเว้นวรรคระหว่างชื่อต้น และชื่อกลางอีก

Laplace, P.-S.

3. ในกรณีผู้แต่งมคี าต่อทา้ ยช่ือ เช่น Jr. และ III เป็นต้น ให้ใส่คาดังกล่าวต่อท้ายอักษรย่อช่ือ
ตน้ หรืออักษรย่อชื่อกลาง (ถา้ ม)ี โดยคั่นด้วยเครื่องหมายจุลภาค (,) และเว้นวรรค 1 ระยะ

Miller, W. T., Jr.
Lerche, C. O., III

4. ชื่อสกุลผู้แต่งท่ีมีคานาหนา้ (prefix) ซ่ึงอาจเป็นคานาหน้านาม (article) หรือคาบุพบท
เช่น de, la, du, von เป็นต้น อยา่ งใดอย่างหน่ึง หรือทั้ง 2 อยา่ ง ใหใ้ ส่เปน็ ส่วนหนึ่งของช่ือสกลุ

D’ Arienzo, N.
Des Granges, C.-M.
Las Heras, M. A.

(6) ผแู้ ตง่ ทมี่ ฐี านันดรศกั ดิ์ บรรดาศกั ด์ิ
ใหใ้ ส่ชื่อ คั่นด้วยเครื่องหมายจลุ ภาค (,) ตามด้วยฐานันดรศักด์ิ บรรดาศักดิ์

32

รายการอ้างองิ (References)

สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี
ลง เทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ าร,ี สมเดจ็ พระ
ม.ร.ว. สุขุมพนั ธ์ บริพตั ร ลง สขุ ุมพันธ์ บริพตั ร, ม.ร.ว.
คณุ หญงิ อัมพร มสี ุข ลง อมั พร มสี ุข, คณุ หญิง
His Majesty King Bhumibol Adulyadej ลง Bhumibol
Adulyadej, His Majesty King

M.L. Manich Jumsai ลง Manich Jumsai, M.L.
M.R. Kukrit Pramoj ลง Kukrit Pramoj, M.R.

(7) ผ้แู ต่งทเ่ี ปน็ พระภกิ ษทุ ั่วไปและพระภกิ ษทุ ม่ี สี มณศกั ด์ิ

1. พระภกิ ษทุ ่วั ไป ใหใ้ สค่ าวา่ พระ, พระมหา นาหนา้ ชอ่ื ตามด้วยฉายานาม (ชื่อภาษาบาล)ี
ถา้ ไมท่ ราบฉายานาม แต่ทราบชื่อสกุลใหใ้ ส่ชื่อสกลุ กรณีไมท่ ราบทั้งฉายานามและชื่อสกลุ ใหใ้ ส่
ข้อมลู ตามท่ปี รากฏในงาน และหากพระภิกษุใช้นามแฝงใหใ้ สน่ ามแฝงตามที่ปรากฏ

พระเทียน จติ ตฺ สุโภ
พระมหาเกรียงไกร แก้วไชยะ
พุทธภาสภกิ ขุ
Buddhadasa Bhikkhu
Phra Maha Somjin Sammapanno

2. พระภกิ ษทุ ม่ี สี มณศกั ดิ์ ใหใ้ สช่ อ่ื สมณศกั ด์ิ ตามด้วยช่อื ตวั ในเคร่ืองหมายวงเลบ็ ถา้ ไม่

ทราบชื่อตัวใหใ้ สเ่ ฉพาะชื่อสมณศกั ดิ์

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ

สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ) Somdet Phra Yanasangwon (Charoen)

พระพิมลธรรม (ชอบ)

พระธรรมโกษาจารย์ (เซ่ง)

พระครูปลดั เมธาวัฒน์

Phra Kru Bhavannanuvat

Phra Thepwethi (Prayudh)

33

รายการอา้ งองิ (References)

(8) ผแู้ ต่งทมี่ ียศทางทหาร ตารวจ มตี าแหน่งวชิ าการ หรอื มีคาเรียกทางวิชาชพี

เช่น พลเอก ศาสตราจารย์ นายแพทย์ นายสตั วแพทย์ เป็นต้น ไม่ต้องใส่ยศ ตาแหน่งทาง
วิชาการ และคาเรียกทางวิชาชพี

พล.อ. เปรม ติณสูลานนท์ ลง เปรม ติณสลู านนท์

ศาสตราจารย์ ดร. สรุ พล นติ ไิ กรพจน์ ลง สรุ พล นิตไิ กรพจน์

ทันตแพทยเ์ ชิดพันธ์ุ เบญจกลุ ลง เชิดพนั ธ์ุ เบญจกุล

Assistant Professor Preeyachat Uttamayodhin ลง
Preeyachat Uttamayodhin
(9) ผู้แตง่ ใชน้ ามแฝง

ใหใ้ สน่ ามแฝงตามทป่ี รากฏในงาน

โสภาค สุวรรณ
ว. วินิจฉัยกุล
โรสลาเรน
Idris Hunter

หลกั เกณฑก์ ารลงปพี มิ พ์

1. ให้ใสป่ พี ิมพ์ในเครอื่ งหมายวงเล็บ สว่ นงานทไ่ี มไ่ ดต้ ีพมิ พ์เผยแพรใ่ หใ้ ช้ปที ่ผี ลิตงาน
นั้นแทน

2. กรณีไมม่ ีปีพิมพ์ แต่มีปีลขิ สทิ ธิ์ (copyright) ใหใ้ สป่ ีลิขสิทธแ์ิ ทน โดยไม่ต้องใส่
ตัวอักษร c ซงึ่ หมายถึง copyright กากบั เช่น 2007 เป็นต้น

3. สิ่งพมิ พป์ ระเภทนิตยสาร จดหมายขา่ วและหนังสือพมิ พ์ ลงวัน เดือน ปี ในวงเลบ็ ( )
เช่น (13เมษายน 2550) กรณีออกเป็นฤดูกาล (สาหรบั ภาษาต่างประเทศ) ลงตามท่ีปรากฏตาม
ดว้ ยปที ่ีพิมพ์

4. เอกสารหรือโปสเตอร์ท่ีเผยแพร่ในการประชมุ ใหล้ งเดือนปีในวงเลบ็ คัน่ ด้วยจุลภาค
(,) ระหวา่ งปกี ับเดือน เชน่ (2008, August) สาหรับบทความภาษาไทยใหล้ งชื่อเดือนตามดว้ ยปี
พิมพ์ในเคร่ืองหมายวงเลบ็ เช่น (สิงหาคม 2551)

34

รายการอา้ งอิง (References)

หลกั เกณฑก์ ารลงปพี มิ พ์

5. บทความที่อยรู่ ะหวา่ งการจัดพมิ พ์ใหใ้ ส่คาวา่ in press หรอื กาลงั จัดพมิ พ์ ในวงเลบ็
โดยไม่ต้องลงวนั เดือนปี

ตัวอยา่ ง
Watson, J. D., & Jones, F. H. (in press). A structure for deoxyribose nucleic

acid. Nature. Retrieved from http://www.nsu.fl.edu/DNA/
drafts_pubs/12345678.pdf

6. หากไม่ปรากฏปีที่พิมพ์ ให้ใส่คาว่า (ม.ป.ป.) ซึ่งหมายถึง ไมป่ รากฏปที ี่พิมพ์ สาหรบั
งานทีเ่ ป็นภาษาไทย และใส่ (n.d.) หมายถึง No date of publication สาหรบั งานที่เป็น
ภาษาต่างประเทศ

ตัวอยา่ ง
พระราชรัตนรังษี (ว.ป. วีรยทุ โธ). (ม.ป.ป.). จาริกเนปาล. ม.ป.ท.: ม.ป.พ.
Smith. J. (n.d.). Morality in masquerade. London: Churchill.

7. เอกสารเก่าท่ีไม่ให้รายละเอียดปีทพี่ มิ พ์แตส่ ามารถประมาณการระยะเวลาดังกล่าวได้
ให้ใส่คาว่า ca.(circa) หรือ ประมาณปี ในวงเลบ็ เหล่ียม [ ]

[Allport, A.]. [ca. 1937].

8. ให้จบข้อมูลปพี ิมพด์ ว้ ยเคร่ืองหมายมหพั ภาค (.)

หลกั เกณฑก์ ารลงช่ือเรอ่ื ง

(1) ชอ่ื บทความหรอื ช่อื บทในหนังสอื รวมทง้ั ช่ือเรอื่ งรอง ใหพ้ มิ พอ์ กั ษรตวั แรกดว้ ยตัว
ใหญ่ ต่อจากน้ันเป็นตัวเล็กทั้งหมด จบข้อความด้วยเคร่ืองหมายมหัพภาค (.)

Mental and nervous diseases in the Russo-Japanese war: A historical analysis.

35

รายการอา้ งองิ (References)

หลกั เกณฑก์ ารลงชื่อเรอ่ื ง

(2) ชอื่ วารสาร จดหมายขา่ วและนิตยสาร พิมพอ์ ักษรตัวแรกของแต่ละคาดว้ ยตวั ใหญ่
และเปน็ ตวั เอน

American Economic Review

(3) ขอ้ ความแสดงลกั ษณะขอ้ มลู ประกอบชื่อเรอ่ื ง ใส่คาอธบิ ายในวงเลบ็ เหลีย่ มหลังชื่อ
เรือ่ งโดยพมิ พ์ตัวอักษรตัวแรกเปน็ ตัวใหญ่ ตัวอยา่ งขอ้ ความ เช่น

[Computer software] [โปรแกรมคอมพวิ เตอร]์
[Data file] [ไฟลข์ อ้ มลู ]
[Monograph] [เอกสารเฉพาะเรื่อง]
[Motion picture] [ภาพยนตร]์
[Special issue] [ฉบบั พิเศษ]

หลกั เกณฑก์ ารลงสถานทพี่ มิ พแ์ ละสานกั พมิ พ์

1. ใสช่ ื่อเมืองท่พี มิ พ์ตามด้วยช่ือสานกั พมิ พ์ โดยค่ันด้วยเครื่องหมายทวภิ าค (:) และเว้น
วรรค 1 ระยะหลังเครื่องหมายดังกล่าว

Amsterdam: Elsevier
กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์

2. กรณเี มอื งทีพ่ ิมพ์ไม่เป็นที่รจู้ ัก หรืออาจมีช่ือซ้ากบั เมืองในประเทศอื่น ใหก้ ากับชอ่ื
รัฐหรือประเทศด้วย

Oxford, England: Basil Blackwell

3. ถ้าเมืองที่พิมพม์ มี ากกว่า 1 แห่ง ให้ใชเ้ มืองแรกที่ปรากฏในตัวเลม่
4. กรณีไมป่ รากฏเมืองทพ่ี มิ พ์ในตัวเลม่ ให้ใสค่ าว่า (ม.ป.ท.) หมายถึง
ไมป่ รากฏสถานทพี่ มิ พ์ สาหรับงานท่ีเป็นภาษาไทย และ (n.p.) หมายถึง no place สาหรบั งาน
ที่เป็นภาษาตา่ งประเทศ

พระราชรัตนรังษี (ว.ป. วรี ยุทโธ). (ม.ป.ป.). จาริกเนปาล. ม.ป.ท.: ม.ป.พ.

36

รายการอา้ งองิ (References)

หลกั เกณฑก์ ารลงสถานทพ่ี มิ พแ์ ละสานกั พมิ พ์

5. กรณสี านกั พมิ พ์เป็นมหาวิทยาลัย และช่ือมหาวิทยาลัยมีชื่อรฐั รวมอยดู่ ้วย ไม่ต้อง
กากบั ชื่อรัฐตรงเมืองทพี่ ิมพ์ ในกรณที ี่ไม่สามารถแยกชื่อเมืองไดใ้ ห้กากับช่ือรัฐไว้ด้วย

Tucson: University of Arizona press
Cambridge, United Kindom: Woodhead
Cambridge, MA: Harvard University Press

6. ให้ใส่ชื่อสานกั พิมพ์โดยใชร้ ูปแบบสั้นๆ และเปน็ ทเ่ี ขา้ ใจ โดยละคาท่ีไมจ่ าเป็นออกจาก
ช่ือสานักพมิ พ์ เช่น Publishers, Co., Inc. หรือคาว่า สานกั พิมพ์ บริษัท หา้ งหุ้นส่วน เปน็ ตน้ แต่
ให้คงคาว่า Books และ Press หรือ โรงพมิ พ์ ไว้ เช่น

University of Toronto Press

7. ถ้าสานักพิมพม์ ที ง้ั หนว่ ยงานใหญแ่ ละหน่วยงานย่อย ใหล้ าดบั หน่วยงานใหญก่ ่อน
หน่วยงานย่อย โดยคั่นด้วยเคร่ืองหมายจลุ ภาค (,) และเว้นวรรค 1 ระยะระหวา่ งหน่วยงานใหญ่
และหน่วยงานย่อย

กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,์ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาประชาธิปไตย.

8. กรณีที่ผู้แต่งและสานกั พิมพ์เหมือนกัน ให้ลงคาว่า ผูแ้ ต่ง สาหรับงานทเ่ี ป็นภาษาไทย
และ Author สาหรบั งานที่เป็นภาษาตา่ งประเทศในตาแหน่งของสานกั พมิ พ์

กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.
Washington, DC: Author.

9. กรณีไม่ปรากฏช่ือสานักพิมพ์ในตัวเล่ม ให้ใส่คาว่า (ม.ป.พ.) หมายถึง ไม่ปรากฏ
สานกั พมิ พ์ สาหรับงานท่เี ปน็ ภาษาไทย และ (n.p.) หมายถึง no publisher สาหรับงานท่ีเป็น
ภาษาต่างประเทศ

พระราชรัตนรังษี (ว.ป. วีรยทุ โธ). (ม.ป.ป.). จาริกเนปาล. ม.ป.ท.: ม.ป.พ.

10. ให้จบเขตขอ้ มูลเกย่ี วกับการพมิ พ์ดว้ ยเคร่ืองหมายมหัพภาค (.)

37

รายการอา้ งอิง (References)

ประเภทของขอ้ มลู ในรายการอา้ งองิ

(1) วารสาร นติ ยสาร หนงั สือพมิ พแ์ ละจดหมายขา่ ว (Newsletter)
รปู แบบ

ผู้แตง่ คนที่ 1,\ผแู้ ต่งคนที่ 2,\และผู้แต่งคนที่ 3.\(ปีพิมพ์).\ช่ือบทความ.\ช่ือวารสาร,\
ปีท(่ี ฉบับที)่ ,\เลขหนา้ . DOI no.: (digital object identifier หมายถึงเลขประจา
บทความที่มีรูปแบบเป็นดิจทิ ัล) หรือใชค้ าวา่ Retrieved from (สืบค้นจาก สาหรบั
ภาษาไทย)\http://www.xxxxxx. หากบทความที่อา้ งอิงนามาจากอินเทอรเ์ น็ตโดย
ท่ไี มม่ ี DOI

เครอ่ื งหมาย \ หมายถงึ เวน้ วรรค 1 ระยะ

ตัวอยา่ ง
1. บทความทม่ี ี DOI

Herbs-Damm, K. L., & Kulik, J. A. (2005). Volunteer support, marital status, and
the survival times of terminally ill patients. Health Psychology, 24, 225-
229. doi: 1037/0278-6133.24.2.225

2. บทความทีม่ ีผ้แู ต่งมากกวา่ 7 คน

Gilbert, D. G., McClernon, J. F., Rabinovich, N. E., Sugai, C., Plath, L. C., Asgaad,
G., . . . Botros, N. (2004). Effects of quitting smoking on EEG activation and
attention last for more than 31 days and are more severe with stress,
dependence, DRD2 A1 allele, and depressive traits. Nicotine and Tobacco
Research, 6, 249-267. doi:10.1080/14622200410001676305

3. บทความทีไ่ มม่ ี DOI

Light, M. A., & Light, I. H. (2008). The geographic expansion of Mexican
immigration in the United States and its implication for local new
enforcement. Law Enforcement Executive Forum Journal, 8(1), 73-82.

กาญจนา แก้วเทพ. (2545). สื่อและวัฒนธรรมศึกษากบั สังคมไทย. รฐั ศาสตรส์ าร, 23(3),
50-97.

38

รายการอา้ งองิ (References)

4. บทความทไ่ี มม่ ี DOI หากเป็นภาษาอ่นื ใสช่ อ่ื เร่ืองทแ่ี ปลเป็นภาษาอังกฤษไวใ้ นเคร่อื งหมาย
วงเลบ็ เหลี่ยม [ ] ด้วย

Guimard, P., & Florin, A. (2007).Les evaluations des enseignants en grande
section dematernellesont-elles predictive des difficulties de lecture au
cours preparatoire? [Are teacher ratings in kindergarten predictive of
reading difficulties in first grade?]. Approach Neuropsychologique des
ApprentissagesChez l’Enfant. 19, 5-17.

จริ าภรณ์ เตชะอุดมเดช. (2550). ประสทิ ธผิ ลของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเร่ืองการ
ดูแลผปู้ ่วยขณะใสเ่ คร่ืองช่วยหายใจ [Effectiveness of computer assisted
instruction lessons in nursing care for the patient with respiratory
ventilator]. วารสารการศกึ ษาพยาบาล, 18(1), 9-15.

5. บทความฉบบั ทเี่ ผยแพร่บนออนไลนก์ อ่ นฉบบั ตพี มิ พ์

ส่วนใหญ่เป็นบทความทส่ี ่งให้ผูท้ รงคณุ วุฒิพิจารณาก่อน (Peer- review) ลงรายการโดยใช้
คาวา่ advance online publication และใส่ URL หากไม่มี DOI เมอ่ื บทความไดร้ ับการตพี มิ พ์
แล้ว ใหล้ งรายการปีทพ่ี ิมพต์ ามที่เปน็ จริงในรายการอ้างอิง

Von, Ledebur, S. C. (2007). Optimizing knowledge transfer by new employees
in companies. Knowledge Management Research & Practice. Advance
online publication. doi:10.1057/palgrave.kmrp.8500141

Sillick, T. J., & Schutte, N. S. (2006). Emotional intelligence and self-esteem
mediate between perceived early parental love and adult happiness.
E-Journal of Applied Psychology, 2(2), 38-48. Retrieved from
http://ofs.lib.swin.edu.au/indes.php/ejap/article/view/71/100

6. บทความในวารสารทางกฎหมาย

หยดุ แสงอุทัย. (2485). การไดท้ รพั ยสทิ ธใิ นสังหารมิ ทรพั ย์. วารสารนิติศาสตร,์ 15(10),
21-23.

39

รายการอา้ งองิ (References)

7. บทความในนติ ยสาร

Chamberlin, J., Noyotney, A., Packard, E., & Price, M. (2008, May). Enhancing

worker well-being: Occupational health psychologists convene to share
their research on work, stress, and health. Monitor on Psychology, 39(5),

26-29.
จตั วา แอนด์โจนัท. (25 เมษายน 2549). ปรากฏการเมืองไทยเมื่อวันดอกไม้บาน. แพรว, 27,

112-120.

8. บทความในนติ ยสารออนไลน์

Clay, R. (2008, June). Science vs. ideology : Psychologists fight back about the
misuse of research. Monitor on Psychology, 39(6). Retrieved from
http://www.apa.org/monitor/

ความรกั จะดถี า้ มสี ุขภาพเปน็ เลิศ. (1 กุมภาพนั ธ์ 2554). ชีวจิต, 12(296). สบื ค้นจาก
http://www.cheewajit.com/articleView.aspx?cateId=2&articleId=2032

9. จดหมายขา่ วไมป่ รากฏผู้แตง่ ลงรายการดว้ ยช่อื เรอื่ ง

Six sites meet for comprehensive anti- gang initiative conference. (2006,
November/December). OJJDP News@aGlance. Retrieved from
http://www.ncjrs.gov/html/ojjdp/news_at_glance/216681/topstory.html

กรณีอา้ งอิงแทรกในเนื้อหา หากชื่อเรื่องยาวให้ลงโดยย่อ ใส่เคร่ืองหมายอัญประกาศ
(“Six Sites Meet,” 2006)

เปิดศนู ยป์ ระสานการบริการดา้ นการลงทุน. (ธันวาคม 2552). DBD E-Newsletter, (57).
สืบค้นจาก http://www.opdc.go.th/newsletter.php?year=2009&news_id=46

40

รายการอ้างอิง (References)

10. บทความจากหนงั สอื พมิ พ์
ถา้ บทความให้เลขหน้าไม่ต่อเนื่อง ลงเลขหนา้ ทั้งหมดค่ันด้วยเคร่ืองหมายจุลภาค (,)

Schwartz, J. (1993, September 30). Obesity affects economic, social status.
The Washington Post, pp. A1, A4.

ยทุ ธศาสตรก์ ารแก้ไขปัญหาแรงงานตา่ งด้าว. (26 กรกฎาคม 2550). มติชน, น. 5.

11. บทความหนงั สอื พิมพอ์ อนไลน์

Brody, J. E. (2007, December 11). Mental reserves keep brain agile. The New
York Times. Retrieved from http://www.nytimes.com

องั กฤษพิจารณาแก้กฎสบื สันตติวงศ์ให้ “พระธิดา” สามารถเป็นกษตั ริยไ์ ด้. (19 มกราคม
2554). มติชนออนไลน์. สืบคน้ จาก http://www.matichon.co.th/
news_detail.php?newsid=1295414263&grpid=&catid=06&subcatid=0600

12. วารสารฉบบั พเิ ศษ
ลงชื่อบรรณาธกิ ารและชื่อประจาฉบบั น้ัน ๆ หากไม่มบี รรณาธกิ าร ลงชื่อเรื่องเปน็ ลาดบั แรก

สจุ ติ ต์ วงษเ์ ทศ. (บรรณาธิการ). (2530). บา้ นเชียง [ฉบบั พเิ ศษ]. ศิลปวัฒนธรรม.
Haney, C., & Wiener, R. L. (Eds.). (2004). Capital punishment in the United States

[Special issue]. Psychology, Public Policy, and Law, 10(4).

ในการอา้ งอิงแทรกในเนื้อหา หากชื่อเร่ืองยาว ใหล้ งโดยย่อและใส่เครื่องหมายอัญประกาศ

(“Capital Punishment,” 2004)
13. เอกสารเฉพาะเร่ือง (Monograph)

ถา้ ระบเุ ลขประจาฉบบั ให้ใส่ไวใ้ นวงเลบ็ (1, Serial No. 231) หากพมิ พ์แยกเป็นฉบบั พิเศษ
ของวารสาร ลงฉบบั ท่ี และตอนท่ี ไว้ในวงเลบ็ ต่อจากปีที่

41

รายการอา้ งองิ (References)

Ganster, D. C., Schaubroeck, J. Sime, W. E., & Mayes, B. T. (1991). The
nomological validity of the Type A personality among employed adults
[Monograph]. Journal of Applied Psychology, 76(3, Pt. 2), 143-168.
doi:10.1037/0021-9010.76.1.143

14. บทบรรณาธิการทไี่ มป่ รากฏชอ่ื บรรณาธกิ าร

Editorial: “What is a disaster” and why does this question matter? [Editorial].
(2006). Journal of Contingencies and Crisis Management, 14, 1-2.

บรรณาธิการ: สงครามกบั การปฏิวัติ เราไมต่ ้องการใหเ้ กดิ ขึน้ [บรรณาธิการ]. (9 กุมภาพนั ธ์
2554). คมชัดลึก, น. 4.

15. ขอ้ มลู เสริม (Supplemental Material)
เฉพาะทีเ่ ผยแพรผ่ ่านออนไลน์เท่านั้น ใหล้ งลักษณะของขอ้ มลู นัน้ ๆ ในวงเลบ็ เหล่ียม [ ] เพื่อ

ความชัดเจน เชน่ [แผนท่]ี [Podcast] เปน็ ต้น หากไมม่ ีผแู้ ตง่ ใหล้ งช่อื เร่ืองแทน

Marshall-Pescini, S., & Whiten, A. (2008). Social learning of nut-cracking
behavior in East African sanctuary-living chimpanzees (Pan troglodytes
schweinfurthii) [Supplemental material] .Journal of Comparative
Psychology, 122, 186-194. doi:10. 1037/0735-7036.122.2.186. supp

16. อา้ งบทคัดย่อเสมอื นเอกสารต้นฉบับ
โดยทั่วไปต้องอ้างบทความฉบับเต็ม อย่างไรก็ตาม บทคัดย่อก็สามารถถูกอ้างอิงในเนื้อหา

และลงในรายการอ้างอิงได้ด้วย

Lassen, S. R., Steele, M.M., & Sailor, W. (2006).The relationship of school-wide
positive behavior support to academic achievement in an urban middle
school. Psychology in the School, 43, 701-712. Abstract retrieved from
http://www.interscience.wiley.com

วราภรณ์ ปัญญาวดี, ชพิกา สังขพทิ ักษ,์ จิราภรณ์ ก้อนสุรินทร์, นุชจรี ปมิ ปาอดุ , และ นภดล
สนวิทย.์ (2553). การประเมินราคาแฝงเพื่อการปรบั ปรุงทรพั ยากรนา้ ของครัวเรือนผ้ใู ช้
น้าประปาในเขตพืน้ ทีป่ ลายลุม่ นา้ แม่สาจังหวดั เชียงใหม่. วารสารเศรษฐศาสตร์
ธรรมศาสตร์, 28(4), 1-15. บทคดั ย่อสืบค้นจาก http://www.econ.tu.ac.th/doc/
article/fulltext/280.pdf

42

รายการอา้ งอิง (References)

17. อ้างบทคดั ยอ่ เป็นเอกสารทุตยิ ภมู ิ

Hare, L. R., & O’Neill, K. (2000). Effectiveness and efficiency in small academic
peer groups. Small Group Research 31, 24-35. Abstract retrieved from
Sociological Abstracts database. (Accession No.200010185)

(2) หนังสือ หนังสืออ้างองิ และบางบทจากหนังสือ
รปู แบบ

ผ้แู ต่ง.\(ปพี ิมพ)์ .\ชื่อเรื่อง.\สถานทีพ่ มิ พ:์ \สานักพมิ พ.์

เคร่อื งหมาย \ หมายถึง เวน้ วรรค 1 ระยะ
ตัวอยา่ ง
1. หนงั สือ

Shotton, M. A. (1989). Computer addiction? A study of computer dependency.
London: Taylor & Francis.

กาญจนา แก้วเทพ. (2544). ศาสตร์แห่งสื่อและวัฒนธรรมศึกษา. กรงุ เทพฯ: เอดิสันเพรส
โปรดักส์.

จิตติ ตงิ ศภทั ิย.์ (2526). คาอธบิ ายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ วา่ ด้วยบุคคล
(พิมพ์ครั้งท่ี 5). กรุงเทพฯ: สานกั พมิ พม์ หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

2. หนังสอื อิเลก็ ทรอนิกส์

O’ Keefe, E. (n.d.). Egoism & the crisis in Western values. Retrieved from
http://www.onlineoriginals.com/showitem.asp?itemID+135

กฎหมายสามัญประจาบา้ น. สืบค้นจาก http://www.ilovelibrary.com/
book_detail_nologin.php?id=06600008323&group=BK-007

43

รายการอ้างอิง (References)

3. เอกสารเฉพาะเรือ่ ง (Monograph) จากฐานข้อมูล

Thomas, N. (Ed.). (2002). Perspectives on the community college. A journey
of discovery [Monograph]. Retrieved from http://eric.ed.gov/

4. หนงั สอื ที่ระบุ DOI

Schiraldi, G. R. (2001). The post-traumatic stress disorder sourcebook: A guide
to healing, recovery, and growth [Adobe Digital Edition Version]. doi:
10.1036/0071393722

5. หนังสอื ชดุ ทม่ี ีหลายเลม่

Koch, S. (Ed.). (1959-1963). Psychology: A study of science (Vols. 1-6).
New York: McGraw-Hill.

นรนิติ เศรษฐบตุ ร (บรรณาธิการ). (2544-2545). สารานุกรมการเมืองไทย (ล. 1-2).
กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,์ ศูนยศ์ ึกษาการพัฒนาประชาธิปไตย.

6. บทจากหนงั สือชดุ ท่เี ปน็ รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์

Strong, E. K., Jr., & Uhrbrock, R. S. (1923). Bibliography on job analysis. In L.

Outhwaite (Series Ed.), Personnel Research Series: Vol. 1. Job analysis and
the curriculum (pp. 140-146). doi:10. 1037/10762-000

7. บทจากหนังสอื รวมเล่ม

Haybron, D. M. (2008). Philosophy and the science of subjective well-being.
In M. Eid & R. J. Larsen (Eds.), The science of subjective well-being
(pp. 17-43). New York: Guildford Press.

8. หนงั สืออ้างอิง
VandenBos, G. R. (Ed.). (2007). APA dictionary of psychology. Washington, DC:
American Psychological Association.

44

รายการอา้ งองิ (References)

ราชบณั ฑิตยสถาน. (2546). พจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พทุ ธศักราช 2542.
กรุงเทพฯ: นานมีบ๊คุ ส์พบั ลเิ คช่ันส.์

9. หนงั สอื อ้างอิงออนไลน์

Graham, G. (2005). Behaviorism. In E. N. Zalta (Ed.), The Stanford encyclopedia
of philosophy (Fall 2007 ed.). Retrieved from http://plato.stanford.edu/
entries/behaviorism/

10. หนังสืออา้ งอิงที่เปน็ ภาษาอ่ืนแตม่ กี ารแปลช่อื เรอ่ื งเป็นภาษาอังกฤษ

Real Academia Espanola. (2001). Diccionario de la lengua Espanola [Dictionary
of the Spanish language] (22 nd. ed.). Madrid, Spain: Author.

กรณีที่ผู้แต่งและสานักพิมพ์เหมือนกัน ให้ลงคาว่า ผู้แต่ง สาหรับงานเขียนท่ีเป็น
ภาษาไทย และ Author สาหรบั งานเขียนทีเ่ ปน็ ภาษาต่างประเทศในตาแหน่งของสานักพมิ พ์

ราชบณั ฑติ ยสถาน. (2546). ศพั ท์วิทยาศาสตร์ อังกฤษ-ไทย ไทย-อังกฤษ ฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน (พมิ พ์ครั้งที่ 5, แก้ไขและเพิ่มเตมิ ). กรุงเทพฯ: ผแู้ ต่ง.

(3) หนังสือแปล
รปู แบบ

ผแู้ ตง่ .\(ปพี มิ พ)์ .\ชื่อเร่ือง\(ชือ่ ผูแ้ ปล).\สถานทพี่ มิ พ:์ \สานกั พมิ พ.์ \(ตน้ ฉบบั พมิ พ์ป\ี xxxx ).

เครอื่ งหมาย \ หมายถงึ เวน้ วรรค 1 ระยะ
ตวั อยา่ ง
1. ชื่อผู้แปล

1.1 งานทเี่ ปน็ ภาษาไทย ใหใ้ ส่ชอื่ ตามด้วยนามสกลุ โดยไมต่ อ้ งมเี ครื่องหมายใด ๆ คน่ั
หลังนามสกลุ ใหใ้ สเ่ ครื่องหมายจุลภาค (,) ตามด้วยเว้นวรรค 1 ระยะ และใส่คาวา่ ผแู้ ปล กรณีมี
ผู้แปล 2 คน ให้ใสค่ าว่า และ หนา้ ผู้แปลคนที่ 2 โดยไม่ต้องมีเครื่องหมายใด ๆ คัน่ แต่ใหเ้ ว้น
วรรค 1 ระยะหน้าและหลังคาวา่ และ

45

รายการอา้ งอิง (References)

ถ้ามผี แู้ ปลมากกวา่ 2 คน ใหค้ ่ันผูแ้ ปลแต่ละคนด้วยเคร่ืองหมายจุลภาค (,) สาหรบั ผู้แปลคน
สดุ ท้าย ให้นาหน้าด้วยเคร่ืองหมายจลุ ภาค (,) เว้นวรรค 1 ระยะ แล้วตามด้วยคาว่า และ

(สนุ ทรี เกยี รตปิ ระจกั ษ์ และ ลลั ธรมิ า หลงเจริญ, ผแู้ ปล)

1.2 งานทเ่ี ขยี นเปน็ ภาษาตา่ งประเทศ ใหใ้ สอ่ กั ษรยอ่ ของชอื่ ตน้ ตามดว้ ยอกั ษรยอ่ ของ ชอื่
กลาง (ถา้ มี) และชอื่ สกลุ เตม็ หลังชอ่ื สกลุ ใหใ้ สเ่ คร่อื งหมายจลุ ภาค (,) เว้นวรรค 1 ระยะ และใส่คาวา่
Trans. กรณมี ผี แู้ ปล 2 คน ใหใ้ สเ่ ครอื่ งหมาย & หนา้ ผแู้ ปลคนท่ี 2 โดยเวน้ วรรค 1 ระยะหน้าและ
หลงั เครอ่ื งหมาย & ถา้ มผี แู้ ปลมากกวา่ 2 คน ใหค้ นั่ ผู้แปลแตล่ ะคนด้วยเครอ่ื งหมายจลุ ภาค (,) สาหรบั
ผแู้ ปลคนสดุ ทา้ ย ใหน้ าหนา้ ดว้ ยเคร่อื งหมายจลุ ภาค (,) และ &

(F. W. Truscott & F. L. Emory, Trans.)

1.3 กรณผี ู้แปลทาหนา้ ทเ่ี ปน็ บรรณาธกิ ารด้วย ใหใ้ สท่ ง้ั 2 หนา้ ทไ่ี ว้ในเครื่องหมายวงเลบ็
เดยี วกัน โดยค่ันด้วยคาว่า และ สาหรับงานที่เป็นภาษาไทย และเครื่องหมาย & สาหรับงานท่ี
เป็นภาษาตา่ งประเทศ สาหรับหนา้ ทีบ่ รรณาธิการ งานที่เป็นภาษาไทยให้ใช้คาว่า บรรณาธิการ
สาหรับงานท่ีเป็นภาษาต่างประเทศใช้ Ed. ถ้ามีบรรณาธิการคนเดียว และ Eds. ถ้ามี
บรรณาธิการมากกวา่ 1 คน

(สนุ ทรี เกียรติประจักษ์ และ ลัลธรมิ า หลงเจริญ, บรรณาธกิ าร และ ผู้แปล)
(F. W. Truscott & F. L. Emory, Eds. & Trans.)

2. ตน้ ฉบบั พมิ พป์ ี xxxx

ถา้ ไมไ่ ด้ระบไุ วใ้ นงานก็ไมต่ ้องลง

แกรร์ ิโด, เจ., และ ซามาน, เอ็ม. (2549). กระเทาะเปลือกเอดบี :ี คมู่ อื เพ่ือความเขา้ ใจธนาคาร
พฒั นาเอเชยี (สนุ ทรี เกยี รตปิ ระจกั ษ์ และ ลลั ธรมิ า หลงเจรญิ , ผ้แู ปล). กรงุ เทพฯ:
โครงการฟ้ืนฟูนเิ วศวทิ ยาในภมู ภิ าคอินโดจนี และพมา่ ภายใตม้ ลู นธิ ฟิ ้นื ฟูชีวติ และธรรมชาต.ิ

ความจดั เจนทางประวตั ศิ าสตรข์ องเผดจ็ การชนชั้นกรรมาชพี (บุญศกั ด์ิ แสงระว,ี ผแู้ ปล). (2549).
กรุงเทพฯ: สขุ ภาพใจ.

อารม์ สตรอง, เอม็ . (2549). การบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คลเชงิ กลยทุ ธ์: คมู่ ือสาหรบั การนาไปปฏบิ ัติ
(อรจรยี ์ ณ ตะกัว่ ทงุ่ , ผู้แปล). กรุงเทพฯ: บรษิ ทั เอก็ ซเปอรเ์ นท็ จากดั . (ตน้ ฉบบั พมิ พป์ ี
2000).

46

รายการอา้ งองิ (References)

Freud, S. (1961). The ego and the id. In J. Strachey (Ed. & Trans.), The standard
edition of the complete psychological works of Sigmund Freud (Vol. 19, pp.
3-66). London: Hogarth Press. (Original work published 1923).

Laplace, P. -S. (1951). A philosophical essay on probabilities (F. W. Truscott & F. L.
Emory, Trans.). New York: Dover. (Original work published 1814).

(4) รายงานทางเทคนคิ และรายงานการวจิ ยั (Technical and Research Reports )
รปู แบบ

ผแู้ ต่ง.\(ปีที่พมิ พ)์ .\ชื่อเรื่อง\(หมายเลขเอกสาร).\สถานที่พมิ พ:์ \สานักพมิ พ์.

กรณีรายงานทส่ี ืบค้นทางออนไลน์ หากไมร่ ะบหุ น่วยงานเป็นผู้แต่งให้ลงหน่วยงานใน
ขอ้ ความท่ีนามาอา้ ง

ผูแ้ ต่ง.\(ปที ่ีพิมพ์).\ช่ือเร่ือง\(หมายเลขเอกสาร).\ สืบค้นจากเว็บไซตห์ น่วยงาน\
http://www.xxxx

เครอ่ื งหมาย \ หมายถงึ เวน้ วรรค 1 ระยะ
ตวั อยา่ ง

1. รายงานทางราชการที่ผูแ้ ตง่ เปน็ หนว่ ยงาน

U.S. Department of Health and Human Services, National Institutes of Health,
National Heart, Lung, and Blood Institute. (2003). Managing asthma: A
guide for schools (NIH Publication No.02-2650). Retrieved from
http://www.nhlbi.nih.gov/health/prof/lung/asthma/asth_sch.pdf

กระทรวงการต่างประเทศ. (2552). รายงานประจาปีของกระทรวงการตา่ งประเทศ
พ.ศ. 2552. สืบค้นจาก http://www.mfa.go.th/web/3010.php?id=3936

47

รายการอ้างอิง (References)

2. รายงานคณะทางานทผี่ แู้ ต่งเป็นหน่วยงาน

American Psychological Association, Task Force on the Sexualization of Girls
(2007). Report of the APA Task Force on the Sexualization of Girls.
Retrieved from http://www.apa.org/pi/wpo/sexualization.html

สมาคมหอ้ งสมุดแห่งประเทศไทย. (2553). รายงานการศึกษาดูงานประเทศอียิปต์. สืบคน้ จาก

http://www.tla.or.th/home.htm

3. รายงานทผ่ี ้แู ต่งไม่ใช่หนว่ ยงาน

Kessy, S. S. A., & Urio, F. M. (2006). The contribution of microfinance institu-
tions to poverty reduction in Tanzania (Research Report No. 06.3).
Retrieved from Research on Poverty Alleviation website: http://
www.repoa.or.tz/documents_storage/Publications/Reports/
06.3_Kessy_and_Urio.pdf

4. รายงานฉบบั ยอ่ ใส่หมายเลขรายงานฉบับยอ่ ในวงเล็บ

Employee Benefit Research Institute. (1992, February). Sources of health
insurance and characteristics of the uninsured (Issue Brief No. 123).
Washington, DC: Author.

48

รายการอา้ งองิ (References)

(5) เอกสารประกอบการประชมุ วขิ าการ
1. บทความในเอกสารประกอบการประชมุ วชิ าการทีพ่ ิมพเ์ ผยแพร่
รปู แบบ

ใช้รูปแบบเดียวกบั การลงรายการอา้ งอิงบทจากหนังสือรวมเล่ม
ตวั อยา่ ง

สมประวณิ มันประเสริฐ. (2550). การศกึ ษาผลกระทบจากข้อตกลงเขตการคา้ เสรีต่อ
กจิ กรรมทางเศรษฐกิจรายพ้ืนทขี่ องประเทศไทย. ใน มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์,
คณะเศรษฐศาสตร,์ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือการพัฒนาทยี่ ั่งยืน: การประชมุ
วิชาการระดบั ชาติของนกั เศรษฐศาสตร์ คร้ังที่ 3 (น. 207-239). กรุงเทพฯ: ผ้แู ต่ง.

Deci, E. L., & Ryan, R. M. (1991). A motivational approach to self: Integration
in personality. In R. Dienstbier (Ed.), Nebraska Symposium on Motivation:
Vol. 38. Perspectives on motivation (pp. 237-288). Lincoln: University of
Nebraska Press.

หมายเหตุชอ่ื การประชมุ ทเี่ ปน็ ภาษาตา่ งประเทศ อักษรตวั แรกของแต่ละคาใหใ้ ชต้ วั พมิ พ์ใหญ่ (Capital Letter) ยกเว
คาสนั ธาน (Conjunction) และคานาหน้านาม (Article) ทส่ี ะกดไมเ่ กิน 3 ตัวอักษร ยกเว้นเป็นคาแรกของช่ือเร่ืองหล
ช่ือเรอื่ งหลกั และช่ือเรื่องรองให้ค่นั ด้วยเคร่ืองหมายทวิภาค (:) และเวน้ วรรค 1 ระยะ

2. บทความในเอกสารประกอบการประชุมวิชาการท่ีจัดพมิ พ์เปน็ ประจาสมา่ เสม

รปู แบบ
ใชร้ ูปแบบเดยี วกบั การลงรายการอา้ งอิงบทความในวารสาร

การลงช่อื บทความ
ให้เว้นวรรค 1 ระยะ และใส่คาว่า [บทคัดย่อ] สาหรับงานภาษาไทย และใส่คาว่า

[Abstract] สาหรับงานภาษาตา่ งประเทศ ต่อจากช่ือบทความและตามด้วยเคร่ืองหมายมหัพภาค
(.)

49

รายการอา้ งองิ (References)

Cynx, J., Williams, H., & Nottebohm, F. (1992). Hemispheric differences in avian
song discrimination. [Abstract]. Proceedings of the National Academy of
Sciences, USA, 89, 1372-1375.

หมายเหตุ ช่อื การประชุมทเ่ี ปน็ ภาษาตา่ งประเทศ อกั ษรตวั แรกของแต่ละคาให้ใชต้ ัวพิมพใ์ หญ่
(Capital Letter) ยกเว้นคาบุพบท (Preposition) คาสันธาน (Conjunction) และคานาหน้า
นาม (Article) ท่ีสะกดไม่เกิน 3 ตัวอักษร ยกเว้นเป็นคาแรกของช่ือเร่ืองหลักและช่ือเร่ืองรอง
ระหวา่ ง ชอ่ื เรือ่ งหลักและชื่อเรื่องรองให้คั่นด้วยเครื่องหมายทวิภาค (:) และเว้นวรรค 1 ระยะ

3. เอกสารประกอบการประชุมเป็นเอกสารซึง่ ไม่ได้จัดพมิ พเ์ ผยแพร่ และไมไ่ ดน้ าเสนอในการ
ประชุม

รปู แบบ

ผแู้ ตง่ .\(เดือน ปที ่จี ดั ประชมุ ).\ชอื่ เอกสาร.\ใน\ช่อื ผจู้ ดั ประชุม\ (หนา้ ท่)ี ,\หัวขอ้ การ
ประชมุ .\รายละเอยี ดเก่ยี วกบั การประชมุ ,\สถานท่ีจดั ประชมุ .

เคร่อื งหมาย \ หมายถึง เวน้ วรรค 1 ระยะ

การลงช่อื ผู้แต่ง
ใช้หลักเกณฑ์เดยี วกับการลงช่ือผู้แต่งหนังสือ

การลงเดือน ปที จ่ี ดั ประชมุ
เอกสารภาษาไทย ให้ลงเดือน ปีที่จัดประชุม ถ้าเป็นเอกสารภาษาต่างประเทศ ให้ลง ปี,

เดอื นท่จี ัดประชุม โดยเว้นวรรค 1 ระยะหลังเคร่อื งหมายจุลภาค (,)
การลงชอื่ เอกสาร

ใช้หลกั เกณฑเ์ ดยี วกบั การลงชื่อบทความในหนังสือ
การลงช่ือผู้จัดประชุม

ใชห้ ลกั เกณฑเ์ ดียวกับการลงชือ่ ผรู้ วบรวม/ช่ือบรรณาธิการหนังสือโดยให้ใส่หน้าท่ีของผู้
จัดประชมุ ในวงเลบ็ ตอ่ จากช่ือผจู้ ัดประชุม
การลงหวั ขอ้ การประชมุ

ใช้หลกั เกณฑเ์ ดยี วกบั การลงช่ือเรื่อง

50

รายการอ้างองิ (References)

การลงรายละเอียดเกย่ี วกับการประชมุ
ให้ลงรายละเอียดเก่ียวกบั การประชุมวา่ เป็นการประชมุ ของหน่วยงานหรือองคก์ ร

การลงสถานทจ่ี ัดประชุม
ให้ลงสถานท่ที ใี่ ช้ในการจดั ประชุม และสามารถลงรายละเอียดอื่นเพ่ิมเติมเพื่อให้ชัดเจน

ข้ึน ได้แก่ ชอ่ื ประเทศ ชอ่ื รัฐ เปน็ ตน้

Lanktree, C., & Briere, J. (1991, January). Early data on the Trauma Symptom
Checklist for Children (TSC-C). Paper presented at the meeting of the
American Professional Society on the Abuse of Children, San Diego, CA.

.

(6) วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญามหาบณั ฑิตและดษุ ฎบี ณั ฑติ
รปู แบบ

ผู้แต่ง.\(ปีพมิ พ)์ .\ชื่อเรื่อง.\(วิทยานิพนธป์ ริญญามหาบณั ฑิตหรือปริญญาดษุ ฎีบณั ฑติ ).\
ชื่อมหาวทิ ยาลัย,\ช่ือคณะ,\ชื่อสาขาวิชาหรือภาควิชา.

เครื่องหมาย \ หมายถงึ เวน้ วรรค 1 ระยะ
ตวั อยา่ ง
1. วทิ ยานพิ นธ์

Boroughs, B. B. S. (2010). Social networking websites and voter turnout
(Unpublished master’s thesis). Georgetown University, Faculty of the
Graduate School of Arts and Sciences.

ธรี ะพันธ์ ชนาพรรณ. (2548). การจัดการการส่ือสารของคณะนเิ ทศศาสตร์ มหาวิทยาลัย
เอกชนท่ีมีผลต่อการตดั สินใจเขา้ ศึกษาต่อระดบั ปริญญาตรีของนักศกึ ษาช้ันปที ่ี 1
(วทิ ยานพิ นธป์ ริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะวารสารศาสตร์และ
ส่อื สารมวลชน, สาขาการสื่อสารภาครัฐและเอกชน.


Click to View FlipBook Version