The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ..., 2021-03-09 12:19:14

ภาคอีสาน หน้า 1-175

ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ

ทร่ี าบสงู โคราช (อสี าน)

โลกในยุคเริ่มต้นมผี นื นา้ํ เป็นส่วนใหญ่ เม่อื แผ่นเปลือกโลกชาน - ไทย และ
แผ่นเปลือกโลกอินโดจีนชนกันแผ่นดินภาคอีสานจึงถูกยกตัวสูงข้ึน กลายเป็น
แผน่ ดินท่ตี า่ งระดับกบั ที่ราบลมุ่ ภาคกลางอย่างเห็นไดช้ ัด
   ถา้ ไดส้ งั เกตดู จะเหน็ วา่ การเดนิ ทางไปยงั ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื นบั ตง้ั แต่
ภาคตะวันออก ในเขตจังหวัดสระแก้ว เรื่อยขึ้นมาจนถึงภาคกลางสระบุรี ลพบุรี
เพชรบูรณ์ จะมีช่วงที่ต้องข้ึนสู่ภูเขาสูงชัน ซึ่งช่องทางเหล่านี้พัฒนามาจากเส้น
ทางการเดนิ ทางไปมาหาสกู่ นั ตง้ั แตส่ มยั อดตี ทเ่ี รยี กวา่ “ชอ่ ง” ตา่ ง ๆ แผน่ ดนิ ท่ีสูง
ขนึ้ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ถูกเรยี กรวมกันว่า ทรี่ าบสูงโคราช (The Khorat
Plateau) มีเนื้อท่ีประมาณ 150,000 ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ หนึ่งในสาม
ของพน้ื ทท่ี ง้ั หมดของประเทศไทย ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศสว่ นใหญเ่ ปน็ ทร่ี าบเรยี บ มคี วาม
สงู ประมาณ 130 - 250 เมตร จากระดบั ทะเลปานกลาง

ขอบท่รี าบสูงบรเิ วณจงั หวดั ชัยภมู ิ

1

     ขอบคขู องแผน่ ดนิ ตา่ งระดบั มเี ทอื กเขาเพชรบรู ณแ์ ละดงพญาเยน็ เปน็ ขอบทร่ี าบสงู โคราชทางทศิ ตะวนั ตก โดยเรม่ิ จากจดุ เหนอื สดุ ทผ่ี ามอง
ยาวต่อลงมาทางทิศใต้ตามแนวของภูยาอู่ ภูพานคำ� ภูแลนคาและภูพังเหยจนถึงเขื่อนลำ�ตะคอง ซ่ึงบริเวณนี้พ้ืนที่มีความลาดเทไปทางทิศ
ตะวันออกเฉียงใต้ ขอบที่ราบสูงโคราชทางด้านทิศใต้ ประกอบด้วยทิวเขาสันกำ�แพงและพนมดงรัก ซึ่งเป็นขอบเขาสูงชันและเอียงเทไปหา
แอง่ ทางทศิ เหนือ สว่ นขอบแอง่ ทางด้านทิศเหนอื และตะวนั ออกเป็นแนวเทือกเขาในประเทศลาว
      ที่ราบสงู โคราชถกู แบง่ ออกดว้ ยเทอื กเขาภูพาน ซ่ึงเกดิ จากโครงสรา้ งช้ันหนิ โคง้ รปู ประทุนลกู ฟกู (anticlinorium) มแี กนวางตวั อยใู่ น
แนวทิศตะวันตกเฉียงเหนอื - ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ทำ�ให้ทีร่ าบสงู โคราชมสี องแอ่งใหญ่คอื แอ่งโคราช และแอ่งสกลนคร โดยทั้งสองแอง่ พน้ื ท่ี
จะเทเอียงไปทางตะวนั ออก ท้ังบริเวณกลางแอ่งทัง้ สองยงั มีการแทรกดนั ของเกลือหนิ อยู่ทัว่ ไป ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศและภูมิสัณฐานของแอ่ง
ยอ่ ยทัง้ สองมลี กั ษณะดงั นี้

แอง่ อดุ ร - สกลนคร

          สกลนคร มีอาณาเขตครอบคลุมพ้ืนท่ีบริเวณจังหวัดหนองคาย อุดรธานี สกลนคร นครพนม มุกดาหาร และบางส่วนในประเทศ
ลาว แม่นํ้าในแอ่งน้ีมีขนาดเล็กและเป็นสายส้ัน ๆ เกิดมาจากเทือกเขาภูพาน ได้แก่ แม่นํ้าสงคราม แม่น้ําพุง ซึ่งไหลลงสู่แม่นํ้าโขงทางทิศ
ตะวันออก เป็นต้น นอกจากน้ีบริเวณท่ีมีการทรุดตัวของแผ่นดิน จนทำ�ให้เกิดพ้ืนท่ีลุ่ม มีน้ําขังตลอดปีและกลายเป็นหนองบึงกระจายอยู่
ทว่ั ไป ท่สี ำ�คัญไดแ้ ก่ หนองหาน อำ�เภอกุมภวาปี จังหวดั อดุ รธานี หนองญาติ จงั หวดั นครพนม และหนองหาน จงั หวดั สกลนคร เปน็ ตน้

แอ่งโคราช - อบุ ล

ครอบคลุมพ้ืนที่บริเวณจังหวัดนครราชสีมา ชัยภูมิ ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด บุรีรัมย์ กาฬสินธุ์ ยโสธร สุรินทร์ ศรีสะเกษ
อุบลราชธานี และอำ�นาจเจริญ แม่นํ้าในบริเวณน้ีส่วนใหญ่มีต้นกำ�เนิดจากเทือกเขาที่เป็นขอบแอ่งทางทิศเหนือและทิศตะวันตก ท่ีสำ�คัญ
ได้แก่ แมน่ ํ้ามลู มตี ้นกำ�เนดิ จากเขาวงและเขาสมงิ ของเทอื กเขาสันกำ�แพง บริเวณอำ�เภอปักธงชัย จงั หวัดนครราชสมี า แม่นํ้าชี มตี น้ กำ�เนดิ
จากสันปันนํ้าของเทือกเขาเพชรบรูณ์ ในเขตจังหวัดชัยภูมิ แม่น้ําทั้งสองสายไหลผ่านท่ีราบตอนกลางของแอ่งและบรรจบรวมกันเป็นแม่นํ้า
ขนาดใหญก่ อ่ นจะไหลลงสู่แมน่ าํ้ โขงทางทศิ ตะวันออกบรเิ วณอำ�เภอโขงเจียม จงั หวดั อบุ ลราชธานี เปน็ ต้น

ภเู ขาหลังแปทางภาคอสี าน

2

กุมภลักษ์

      ธรณีวทิ ยาโดยทัว่ ไปประกอบดว้ ยหนิ ชั้นของกลุม่ หินโคราช (Khorat Group) ซ่งึ เปน็ ชน้ั หนิ สีแดงมหายุคมีโซโซอิกสะสมตวั บนภาคพ้ืน
ทวปี (non-marine red beds) เปน็ สว่ นใหญ่ ประกอบด้วยหินทรายแป้ง หนิ ทราย หนิ โคลนและหินกรวดมน ความหนาของหินท้งั สนิ้ อาจ
ถึง 4,000 เมตร มอี ายตุ ั้งแตย่ คุ ไทรแอสซิกตอนปลาย (อายุประมาณ 200 ลา้ นป)ี ถงึ ยคุ ครเี ทเชยี ส - เทอรเ์ ชยี ร ี (อายปุ ระมาณ 145 - 65 ลา้ นป)ี
วางทับอยู่บนพื้นผิวที่เกิดจากการผุกร่อนของหินมหายุคพาลีโอโซอิกตอนบน โดยที่ช้ันหินเอียงลาดเล็กน้อยสู่ใจกลางแอ่งโคราชและแอ่ง
สกลนคร บรเิ วณทศิ ใตข้ องทร่ี าบสงู โคราช มีหินบะซอลต์ยุคควอเทอร์นารี (อายปุ ระมาณ 2 ลา้ นปลี ว่ งมา) ไหลคลมุ กลมุ่ หนิ โคราชเปน็ หยอ่ ม ๆ
ถึงแม้ว่าท่ีราบสูงโคราชจะมีหินทรายเป็นส่วนใหญ่ แต่ก็มีหินปูนอยู่บ้างทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือ แถบรอยต่อของจังหวัดขอนแก่นและ
จังหวัดเลยตอ่ กบั หนองบัวลำ�พู แต่มีอยู่ไม่มาก
ภเู ขาทางภาคตะวันออกเฉยี งเหนือมักจะเป็นภูเขาที่มยี อดปา้ น ปลายภูเขาส่วนบนหกั ตกเป็นหน้าผาชนั ดง่ิ แลว้ มไี หลเ่ ขาเอียงลาดลงมา
ซง่ึ เปน็ รปู ทรงของภเู ขาหนิ ทรายท่ีพบเห็นไดท้ างภาคตะวันออกเฉยี งเหนือของไทย ซึง่ เป็นหนิ ช้นั หรือหนิ ตะกอนท่ีมาสะสมตวั บนผิวโลกเป็น
ชนั้ ๆ เมอ่ื แผ่นเปลอื กโลกชนกัน ก็ยกเอาพื้นท่ีส่วนน้ีข้ึนมาเป็นภเู ขา เม่ือชนั้ บนของภเู ขาเกิดการผุพงั กจ็ ะผุพังเป็นชนั้ ๆ ตามการสะสมตวั
ของหินต่าง ๆ ซ่ึงหินที่อายุมากกว่าจะอยู่ชั้นล่าง หินอายุน้อยกว่าจะอยู่ชั้นบน ในส่วนปลายของช้ันบนก็จะมีการแตกหักลงมาเป็นหน้าผา
แบบหกั ชัน และไหลเ่ ขาทล่ี าดเอียงลงมา หนิ ทีแ่ ตกหักมากอ่ นกจ็ ะแปรสภาพเปน็ หนิ กอ้ นเล็ก ๆ
แม่นาํ้ ท่เี กดิ จากที่ราบสงู โคราช จะไหลลงทางด้านตะวันออก ลงแมน่ ํ้าโขง เพราะไหลมาทางตะวนั ตกไม่ได้ เพราะขอบแผ่นดินท่ีถกู ยก
ตวั ขน้ึ ทางตะวนั ตกจะสงู กว่าทางตะวันออก ผนื ป่าจะเป็นปา่ เตง็ รัง ปา่ ดงดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ นา้ํ ตกทป่ี รากฏมกั จะเป็นนา้ํ ตกท่ีตกลงมา
จากหนา้ ผาหินท่หี ักเป็นช้ัน ๆ ทรงหน้าผาตัดดงิ่ นํ้าตกจึงมกั ตกลงมาเปน็ ชน้ั เดียว บางทม่ี ีเพงิ ใตน้ าํ้ ตก ส่วนน้ําตกท่ีไหลลาดตามหนิ ในร่อง
ลำ�ธาร มักปรากฏกมุ ภลักษใ์ ห้เห็น มีน้าํ ตกหินปนู ปรากฏอยบู่ ้างแถบจังหวัดเลย

3

แก่งหินริมนำ�้ มลู อุทยานแห่งชาติ

แก่งตะนะ
พื้นที่ 80 ตารางกิโลเมตร

ทต่ี งั้ ทท่ี �ำ การอทุ ยานแหง่ ชาติ : หมู่ 4 บ้านหนองชาด ต.คำ�เข่ือนแก้ว อ.สิรินธร
จ.อุบลราชธานี
การเดินทาง : จากตัวจังหวัดอุบลราชธานี ไปตามทางหลวงหมายเลข 217 มุ่งหน้า
อำ�เภอพิบูลมังสาหาร ข้ามสะพานพิบูลมังสาหาร 200 ปีไปแล้วจะพบสี่แยก เลี้ยวขวา
ไปตามทางหลวงหมายเลข 2222 (พิบลู มังสาหาร - โขงเจยี ม) ราว 4 กิโลเมตร กอ่ นถึง
อำ�เภอโขงเจียม มที างเข้าเขอื่ นปากมูลทางขวามอื เข้าไปราว 4 กิโลเมตรจะผา่ นสันเขือ่ น
ปากมูลไปอีกประมาณ 1.2 กโิ ลเมตร ถึงสามแยก เลย้ี วซา้ ยไปราว 500 เมตร ถึงดา่ นเก็บ
ค่าบริการผ่านเข้าอุทยานแห่งชาติแก่งตะนะ เลยด่านน้ีไปราว 200 เมตร ถึง ท่ีทำ�การ
อทุ ยานแหง่ ชาติ

4

กว่าจะเป็ นอุทยานแห่งชาติ
ด้วยกรมป่าไม้ มีหนังสือที่ กส 0706/2967 ลงวันท่ี 21 กุมภาพันธ์ 2517 เรื่องการเลือกพื้นท่ีเพื่อจัดต้ังเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่า
และอุทยานแห่งชาติ ให้ป่าไม้เขตทุกเขตดำ�เนินการตรวจสอบพ้ืนที่ป่าไม้ในท้องท่ีแต่ละเขต ว่ามีบริเวณใดบ้างเหมาะสมท่ีจะจัดเป็นเขต
รกั ษา-พนั ธุ์สตั ว์ปา่ หรืออุทยานแห่งชาติ จากการสำ�รวจของจงั หวัดอุบลราชธานี ไดม้ ีหนงั สือ ที่ อบ 09/24531 ลงวันที่ 2 ธนั วาคม 2517
ถึงป่าไมเ้ ขตอบุ ลราชธานี ว่าปา่ ดงหินกอง ทอ้ งที่ตำ�บลโขงเจยี ม อำ�เภอโขงเจียม มสี ภาพพ้นื ที่เหมาะสมเพื่อจดั เปน็ อุทยานแหง่ ชาติ
สำ�นกั งานป่าไม้เขตอุบลราชธานีจึงมหี นังสือท่ี กส 0809 (อบ)/1799 ลงวนั ท่ี 7 สิงหาคม 2518 รายงานให้กรมป่าไม้ดำ�เนินการสำ�รวจ
พบวา่ ปา่ ดงหินกองมีสภาพป่าสมบรู ณ์ มีธรรมชาติทสี่ วยงามหลายแหง่ แตเ่ ป็นป่าโครงการเพอื่ การใช้สอยอเนกประสงคข์ องราษฎร จังหวัด
อบุ ลราชธานี และปา่ ไมเ้ ขตอุบลราชธานี จึงเห็นควรกำ�หนดพ้ืนทีป่ า่ ดงหนิ กองเฉพาะบางส่วนบริเวณรอบ ๆ แก่งตะนะ และน้ําตกตาดโตน
เน้อื ทีป่ ระมาณ 12 ตารางกิโลเมตร ใหเ้ ป็นวนอุทยาน
กรมป่าไม้ไดม้ ีคำ�ส่งั ท่ี 710/2521 ลงวนั ที่ 25 เมษายน 2521 ใหน้ ายนพพร แสงสดี า นกั วชิ าการป่าไม้ 4 ไปสำ�รวจเบ้ืองต้นพ้ืนท ี่
ดังกล่าวเพื่อจัดต้ังเป็นอุทยานแห่งชาติ จากรายงานการสำ�รวจตามหนังสือสำ�นักงานป่าไม้เขตอุบลราชธานี ท่ี กส 0809/(อบ.)/2730
ลงวันที่ 14 สิงหาคม 2521 ป่าดงหินกองเป็นป่าต้นนํ้าของแม่น้ํามูล มีจุดเด่นตามธรรมชาติท่ีสวยงามเหมาะจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ
แตใ่ นชัน้ ต้นกรมป่าไม้ได้มีคำ�ส่ังท่ี 2428/2522 ลงวนั ที่ 7 ธันวาคม 2522 ใหน้ ายเสงีย่ ม จันทร์แจ่ม นกั วิชาการปา่ ไม้ 4 ไปดำ�เนนิ การจัดต้งั
เปน็ วนอทุ ยานปา่ หนิ กอง

หินปมุ่ ท่ีผาผง้ึ ผาผ้งึ

5

ตอ่ มาวนอทุ ยานดงหนิ กองได้มีหนังสอื ท่ี กส 0708(ดก)/11 ลงวันท่ี 5 มีนาคม 2523 ว่าได้ทำ�การสำ�รวจพื้นทปี่ า่ ดงหนิ กองโดยรอบ
พบวา่ มีสภาพป่าสมบรู ณด์ มี าก มธี รรมชาตแิ ละทวิ ทัศน์สวยงาม สัตวป์ ่าชุกชมุ เหมาะท่ีจะจดั ตง้ั เป็นอทุ ยานแหง่ ชาติ ประกอบกบั ปา่ โครงการ
เพือ่ การใช้สอยแบบอเนกประสงค์ป่าดงหินกองถูกประกาศให้เป็นป่าปดิ ห้ามการทำ�ไม้ทกุ ชนิด ตามมติคณะรัฐมนตรี เมือ่ วันที่ 9 มกราคม
2522
กรมปา่ ไม้จึงเสนอคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติ ซงึ่ ไดม้ ีมตกิ ารประชมุ ครงั้ ท่ี 2/2523 เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2523 เห็นชอบให้กำ�หนด
พื้นท่ดี งั กล่าวเปน็ อทุ ยานแห่งชาติ โดยไดม้ พี ระราชกฤษฎีกากำ�หนดบรเิ วณทด่ี ินป่าดงหินกอง ในท้องท่ีตำ�บลโขงเจยี ม และตำ�บลเข่ือนแกง่
อำ�เภอโขงเจียม จังหวดั อุบลราชธานี ใหเ้ ปน็ อทุ ยานแหง่ ชาติ ซ่งึ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 98 ตอนท่ี 115 ลงวันที่ 13 กรกฎาคม
2524 โดยใช้ช่ือว่า “อุทยานแหง่ ชาตแิ กง่ ตะนะ” ซ่ึงเป็นชอ่ื ตามธรรมชาติของลกั ษณะภมู ิประเทศซึ่งเป็นจุดเดน่ ใหญ่ทปี่ ระชาชนท่ัวไปรูจ้ ัก
กนั ดี นับเป็นอทุ ยานแห่งชาติลำ�ดับที่ 33 ของประเทศ มีเนอื้ ที่ประมาณ 80 ตารางกโิ ลเมตร
อทุ ยานแหง่ ชาตแิ กง่ ตะนะ มสี ภาพ พน้ื ทท่ี ว่ั ไปเปน็ ทร่ี าบและเนนิ เขาเตย้ี ๆ มแี มน่ า้ํ มลู แมน่ า้ํ โขง และ ลำ�โดมนอ้ ย ซง่ึ เปน็ แมน่ า้ํ ขนาดเลก็
ใกลก้ ับแมน่ ้าํ มลู ไหลผา่ น เขอ่ื นสริ ินธร มาบรรจบกับแม่นํ้ามูล ท่หี นา้ เขือ่ นปากมูล มียอดเขาบรรทัดเปน็ จดุ สงู สดุ ความสูงประมาณ 543
เมตรจากระดบั ทะเลปานกลาง
คำ�ว่า “ตะนะ” จากการเล่าขานตามความเชื่อของชาวบ้านและประชาชนทั่วไป เดิมมาจากคำ�ว่า “มรณะ” เนื่องจากบริเวณ

ไมก้ ลายเป็นหนิ ในพ้ืนท่ี ผาผึ้ง

การเดินปา่ ท่องเที่ยวในอุทยานฯ 6

แก่งตะนะนี้ มีกระแสนาํ้ ไหลทีเ่ ช่ียวกราก และมีโขดหนิ ใหญน่ ้อยอย่ทู ่วั ไป ตลอดจนมีถำ้ �ใตน้ ํ้าอย่หู ลายแหง่ ชาวบ้านทสี่ ัญจรทางนํ้าหรือออก
จับปลามักประสบอบุ ตั เิ หตเุ สยี ชีวติ อย่เู ปน็ ประจำ� ชาวบ้านจงึ เรยี กแก่งนีว้ ่า “แก่งมรณะ” ตามแรงบนั ดาลจากสภาพของสายนาํ้ ที่ไหลผ่าน
แกง่ น้ ี ซึง่ ตอ่ มาเรยี กวา่ “แกง่ ตะนะ” จึงใช้ชอ่ื น้เี ปน็ ชอ่ื อทุ ยานแห่งชาติ
บรเิ วณแกง่ ตะนะทเ่ี ปน็ สายนา้ํ ทเ่ี ชย่ี วและลกึ อกี ทง้ั ยงั มถี า้ํ ใตน้ า้ํ หลายแหง่ จงึ ทำ�ใหม้ ปี ลาอาศยั อยชู่ กุ ชมุ ตรงกลางมโี ขดหนิ ขนาดใหญ่
เป็นเกาะกลาง ในฤดแู ล้งน้าํ ที่ไหลผา่ นแกง่ ตะนะจะมสี ีเขยี วใส ตา่ งจากนํ้าในแมน่ ํ้าโขงทเี่ ปน็ สขี นุ่ แดง
พื้นท่ีอุทยานแห่งชาติแก่งตะนะส่วนใหญ่จะมีสภาพป่าเต็งรัง ป่าแพะหรือป่าแดง จะมีป่าดิบเฉพาะบริเวณริมห้วยขนาดใหญ่เท่านั้น
สภาพพน้ื ท่ีสว่ นมากเป็นป่าสลบั พลาญหนิ ทราย และหนิ ศิลา สว่ นดนิ เปน็ ดนิ ลูกรัง ดินบรบอื และดินตะกอน จะมที รายปะปนในดินซง่ึ เป็น
ลักษณะพื้นดินไม่อ้มุ นาํ้

7

ไปศรเ� มอื งใหม‹ ไปผาแตมŒ

2112 สปป.ลาว
2134

แม‹นำ้ โขง

ไปveg4vพ�บูลมงั สาหาร อ.โขงเจ�ยม

2222 รากนไ้ำทตรกยอŒ ย บาŒ นวน� บึก

แมน‹ ้ำมลู แกง‹ ตะนะ ผาผง้ึ
อทุ ยแทกาีท่ น‹งำตแกหะานง‹ ระชาติ
2173

บŒานหนองชาด

นำ้ ตกตาดโตน

บŒานโนนกลาง

2173

นคิ มสรŒางตนเอง 5

บาŒ นนคิ ม 2

ไป อ.พ�บูลมงั สาหาร 217 สปป.ลาว

เข่�อนสริ นิ� ธร

217 ไป ปากเซ-จำปาสัก

วดั ภพู รŒาว
ดา‹ นช‹องเมก็

2396

ไป อ.บุณฑร�ก

8

แกง่ ตะนะ

ท่ีต้ัง : หมู่ 4 บา้ นหนองชาด ต.คำ�เขื่อนแกว้ อ.สริ นิ ธร จ.อุบลราชธานี
พิกัด : 551339E 1686378N
การเขา้ ถงึ : อยตู่ ดิ กนั กับท่ีทำ�การอทุ ยานแหง่ ชาติ มที างเดินลงไปได้ ใน
ชว่ งฤดแู ลง้ สามารถลงไปไดไ้ กลเป็นรอ้ ย ๆ เมตร
ลกั ษณะ : เป็นแนวของโขดหินขนาดใหญ่ท่ีกั้นขวางแม่น้ํามูล น้ําที่ไหล
ผ่านพื้นที่ที่เป็นช้ันหินแข็ง และน้ําไม่สามารถกัดกร่อนช้ันหินน้ันให้หลุด
ออกไปได้ท้ังหมด ยังคงมีบางส่วนที่คงทนต่อการกัดกร่อนเหลือท้ิงไว้จึง
เห็นเป็นหินท่ีโผล่ข้ึนมามีลักษณะไม่เรียบกลายเป็นแก่งนํ้าขนาดใหญ่ ใน
ฤดแู ลง้ แกง่ และกุมภลกั ษณ์ทั้งหลายจะโผล่ข้นึ มาให้เห็นอย่างชดั เจน แต่ในฤดูน้าํ หลากนํา้ จะท่วมแก่งหมด ส่วนเหนอื แกง่ ข้ึนไปจะเป็นเกาะ
ขนาดใหญอ่ ยกู่ ลางแม่นา้ํ มลู เรียกดอนตะนะ มีแมน่ ํ้าแยกออกเปน็ สองสายโอบล้อมทง้ั สองดา้ นแลว้ ปลายน้ําจงึ มาบรรจบกนั อีกครงั้ แลว้ จงึ
ไหลผ่านแก่งตะนะลงสู่แม่นํ้าโขงทอ่ี ำ�เภอโขงเจียมตอ่ ไป

9

ดอนตะนะ เปน็ สันทรายกลางน้ํา (Sand bar) มีขนาดกวา้ ง 450 เมตร ยาวประมาณ 700 เมตร มปี า่ ดิบแลง้ และตน้ สกั ธรรมชาติ
ข้นึ บนเกาะ การเกิดดอนตะนะน้นั สนั นิษฐานไว้ 2 กรณคี อื เป็นสันทรายท่เี กดิ จากการสะสมตัวของตะกอนดนิ ทรายทีแ่ มน่ ํ้ามลู พามาสะสม
ตัวเหนือแก่งตะนะ สันทรายน้ีคงเกิดขึ้นมาเป็นเวลานานมาก หรือเป็นส่วนของฝ่ังแม่น้ํามูลด้านทิศใต้ (ฝ่ังอำ�เภอสิรินธร) ที่ถูกแม่นํ้ามูลตัด
ผ่านให้ขาดจากกันตามแนวรอยเล่ือนตะวันออกเฉียงเหนือ - ตะวันตกเฉียงใต้ เพ่ือให้เกิดลำ�น้ําสายใหม่ที่ส้ันกว่าและตรงกว่า ไม่ต้องอ้อม
ผา่ นสว่ นโค้งทีเ่ ปน็ ตะขอ กระแสนา้ํ ในแมน่ าํ้ มูลยังคงไหลผ่านทัง้ ลำ�นา้ํ สายเก่าและลำ�นาํ้ สายใหม่ แผน่ ดินสว่ นที่ตัดขาดออกไปจงึ มสี ภาพเปน็
เกาะ แล้วไหลมารวมกันอกี ครั้งก่อนไหลลงโขงตอ่ ไป
โขดหินแก่งตะนะ เป็นช้ันหินทรายในหมวดหนิ ภูพานของกลุม่ หินโคราช มอี ายใุ นยุคครเี ทเชยี ส (135 - 65) ล้านปี เปน็ ชน้ั หนิ ทราย
ปนกรวดสลับกบั หนิ ทราย มหี ินกรวดมนและหินทรายแป้งแทรก บนโขดหนิ มีหลุมขนาดตา่ ง ๆ เรียกวา่ กุมภลักษณ์ (Pot hole) เกิดจากนา้ํ
ทีไ่ หลมานัน้ พดั พาเอาเม็ดกรวดมาดว้ ย เมือ่ มาเจอกับจดุ สะดุดบนลานหิน กรวดกจ็ ะเกดิ การหมุนวน เกดิ การขัดสีจนกรอ่ นไปทีละนิด ๆ จน
เป็นหลุมบนลานหนิ

10

น�ำ้ ตกรากไทร

ท่ีต้ัง : หมู่ 4 บา้ นหนองชาด ต.คำ�เขือ่ นแกว้ อ.สริ ินธร จ.อบุ ลราชธานี
พิกัด : 552140E 1691511N
การเขา้ ถงึ : เดนิ ทางจากทท่ี ำ�การอทุ ยานแหง่ ชาติแก่งตะนะไปตามเสน้ ทาง
ศกึ ษาธรรมชาติ จะเดินเทา้ ปนั่ จกั รยานหรือใช้รถยนต์กไ็ ด้ ปลายทางคอื ผาผึ้ง
ซงึ่ เปน็ หนา้ ผาเตย้ี ๆ ลานดอกไม้ และจดุ ชมทวิ ทศั น์ ห่างจากที่ทำ�การอทุ ยาน-
แห่งชาติราว 1.5 กิโลเมตร ระหวา่ งทาง จะมีทางเดินลงนํ้าตกรากไทร (เดินลง
ราว 30 เมตร)
ลกั ษณะ : เปน็ สายน้ําทไ่ี หลลงมาจากหนา้ ผาหินทรายในแนวด่ิง สูงราว 15
เมตร มีรากไทรยอ้ ยลงมาตามหน้าผาหนิ จนถึงพืน้ ในฤดูฝนมีนํ้าไม่มากนัก นํ้า
จะไหลย้อยลงมาตามรากไทรจนถึงพ้นื และมีพืชเลก็ ๆ มอสส์ เฟนิ ขึ้นจนเขียว
ไปท้ังพื้นท่ี ใกลก้ ันจะเปน็ ถาํ้ พระซึง่ เป็นเพิงใตห้ นา้ ผาหินสงู ราว 30 เมตร ใน
ฤดฝู นจะมนี ํา้ ไหลตกลงด้านหนา้ ผาเหมือนกนั แตป่ รมิ าณน้ําไมม่ าก

11

น�ำ้ ตกตาดโตน

ท่ีต้ัง : หมู่ 4 บา้ นหนองชาด ต.คำ�เข่อื นแกว้ อ.สริ ินธร จ.อบุ ล
พิกัด : 551339E 1686378N
การเขา้ ถงึ : จากอำ�เภอโขงเจียม ใชท้ างหลวงหมายเลข 2173 ออกจากอำ�เภอขา้ มแมน่ าํ้ มลู มุง่ หน้าไปทางวดั ภูพร้าวหรอื ช่องเมก็ เลยบ้าน
หนองชาดมาไมไ่ กล จะเห็นป้ายนา้ํ ตกตาดโตนขวามือ น้าํ ตกห่างจากถนนราว 100 เมตร หา่ งจากท่ีทำ�การอุทยานแห่งชาติราว 5 กิโลเมตร
ลกั ษณะ : เปน็ นา้ํ ตกทเ่ี กดิ จากลำ�หว้ ยตาดโตนตกทอ่ี อกมาจากพน้ื ทป่ี า่ ของอทุ ยานแหง่ ชาตแิ กง่ ตะนะ ไหลลงตามแนวหนา้ ผาหนิ ทรายกวา้ ง
ทห่ี กั ตกลงมาเปน็ แนวโคง้ เตม็ ลำ�ธาร สงู ราว 4 นา้ํ จะไหลแผก่ ระจายกนั เตม็ ทง้ั ลานหนิ แลดสู วยงามมาก ลานหนิ ดา้ นบนมหี ลมุ กมุ ภลกั ษณ์
มากมาย ดา้ นลา่ งเปน็ แอง่ นา้ํ กวา้ ง แลว้ เปน็ ลานหนิ ทน่ี า้ํ ไหลหลากแผไ่ ปทว่ั จงึ เปน็ ทน่ี ยิ มของนกั ทอ่ งเทย่ี วอยา่ งมาก มนี า้ํ มากในฤดฝู น หิน
บริเวณน้เี ป็นหมวดหินภูพาน อายปุ ระมาณ 110 ล้านป ี

12

น�ำ้ ตกหว้ ยกวา้ ง

ที่ตั้ง : หมู่ 10 บ้านทา่ แพ ต.โขงเจยี ม อ.โขงเจียม จ.อบุ ลราชธานี
พิกัด : 48P 553142E 1691377N
การเขา้ ถงึ : จากทท่ี ำ�การอทุ ยานแหง่ ชาตใิ ชท้ างหลวงหมายเลข 2296 ออกมา 4 กโิ ลเมตร ถงึ
สามแยกหนองชาด เลย้ี วซา้ ยไปทางโขงเจยี ม ตามทางหลวงหมายเลข 2713 ราว 4.5 กม. จนถึงวดั
ท่าแพ ทางขวามือ เข้าไปในวัดแล้วทะลุออกหลังวัดหรือจอดรถในวัดแล้วดินไปนํ้าตกราว 100
เมตร
หรือถ้ามาจากอำ�เภอโขงเจียม มาตามทางหลวงหมายเลข 2713 ผ่านตลาดสดโขงเจียม
แลว้ ข้ามสะพานขา้ มแม่น้าํ มูล หา่ งจากสะพานราว 1.5 กิโลเมตร ถึงวดั ท่าแพซ้ายมอื
ลักษณะ : เป็นธารน้ําหินทรายกว้างที่นํ้าไหลมาจนถึงบริเวณที่ลานหินทรายหักตกลงมา
สูงราว 2 เมตร มกี ารกน้ั เป็นฝายปนู ไวช้ ้ันบนเหนอื นาํ้ ตก นาํ้ ทไ่ี หลหลากมาจะล้นฝายตกลงจาก
ลานหินกว้างสู่ด้านล่าง ซ่ึงเป็นแอ่งนํ้ากว้างและกองหินขนาดใหญ่ มีน้ําเฉพาะในฤดูฝนตั้งแต่
มิถนุ ายน - ตุลาคม
หมายเหตุ : อุทยานแห่งชาตแิ ก่งตะนะยังมแี ซห้วยหมาก เป็นน้ําตกเลก็ ๆ อกี แหง่ หนงึ่ ด้วย

13

อุทยานแห่งชาติ

เขาพระวิหาร
พ้นื ท่ี 130 ตารางกิโลเมตร

ทต่ี งั้ ทที่ �ำ การอทุ ยานแหง่ ชาติ : หมู่ 2 บา้ นภมู ิซรอล ต. เสาธงชยั อ.กนั ทรลกั ษ ์
จ.ศรีสะเกษ
การเดนิ ทาง : จากกรุงเทพฯ ไปตามทางหลวงหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธนิ ) ถึง
จังหวัดสระบุรี เล้ียวขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) จนก่อนถึง
อำ�เภอสคี ิว้ มีทางเลย้ี วขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 24 ผา่ นอำ�เภอโชคชยั อำ�เภอ
ประโคนชัย และอำ�เภอสังขะ จนไปถึงสี่แยกกันทรลักษณ์ เล้ียวขวาไปตามทางหลวง
หมายเลข 221 เข้าสู่อำ�เภอกันทรลักษ์ ถึงสามแยกอำ�เภอกันทรลักษ์ ให้ตรงไปยัง
ผามออีแดง ที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติอยู่ทางซ้ายมือติดถนน ใกล้ด่านเก็บค่าบริการ
ผา่ นเขา้ อทุ ยานแหง่ ชาติ รวมระยะทางจากกรุงเทพฯ ประมาณ 550 กิโลเมตร

14

กว่าจะเป็ นอุทยานแห่งชาติ
พื้นท่ีป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาพระวิหาร ป่าฝ่ังลำ�โดมใหญ่ ท้องท่ีอำ�เภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ และอำ�เภอนํ้ายืน จังหวัด
อุบลราชธานี เป็นพ้ืนที่กองทพั ภาคท่ี 2 คา่ ยสุรนารี นครราชสมี า ไดท้ ำ�การตกลงกบั กรมปา่ ไม้ กำ�หนดพ้ืนทป่ี า่ ไมช้ ายแดนให้เปน็ พ้ืนทเ่ี พื่อ
การอนุรักษ์ ห้ามเข้าไปและอาศัยอยู่โดยเด็ดขาด เนื่องจากพื้นที่ดังกล่าวยังคงความอุดมสมบูรณ์ไปด้วยป่าไม้และเป็นแหล่งต้นน้ําลำ�ธาร
มีสัตว์ป่านานาชนิดอาศัยอยู่มาก มีทัศนียภาพที่สวยงาม ตลอดจนโบราณสถานท่ีมีความสำ�คัญทางประวัติศาสตร์ และได้ขอให้กรมป่าไม้
กำ�หนดและประกาศเปน็ อุทยานแห่งชาติต่อไป

ปราสาทโดนตวน

ดอกไม้บานบนลานหินรมิ สระตราว สถูปคู่

ผลจากการสำ�รวจเพื่อดำ�เนินการจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติปรากฏว่า สภาพป่าของพื้นที่เป็นป่าเบญจพรรณ อยู่ในป่าโครงการ
ไม้กระยาเลยป่าเขาพระวิหาร (ศก.7) ผ่านการทำ�ไม้แล้ว กับอีกส่วนหนึ่งอยู่ในป่าโครงการไม้กระยาเลยป่าฝั่งซ้ายลำ�โดมใหญ่ (อบ.2)
มีทัศนียภาพและทิวทัศน์ท่ีสวยงามอยู่หลายแห่ง อาทิเช่น จุดชมทิวทัซน์ผามออีแดง จุดชมทิวทัซน์หน้าผาช่องโพย บริเวณป่าและสวนหิน
รอบสระตราว ถ้าํ ฤาษี แหลง่ ตดั หนิ สถูปคู่ ภาพสลกั นนู ต่าํ ใต้ผามออแี ดง จุดชมววิ ภูเขวี้ยงหมอ้ ปราสาทโดนตรวล และทีส่ ำ�คญั อีกจุดหนึ่งคือ
ปราสาทเขาพระวิหาร โบราณสถานสำ�คัญเกา่ แก่ท่ีเคยเป็นกรณีพิพาทระหวา่ งไทยกับกมั พูชา เม่อื ปี 2505 ซึง่ ศาลยุตธิ รรมระหวา่ งประเทศ
ได้ตัดสินให้ตกเป็นสมบัติของประเทศกัมพูชาโดยเด็ดขาดแล้วก็ตาม แต่ถนนและบันไดทางขึ้นสู่ปราสาทเขาพระวิหารน้ันอยู่ด้านพ้ืนที่ของ
ประเทศไทย ปัจจบุ นั ทางฝ่ังกัมพชู ายงั ไมเ่ ปิดให้เขา้ ไปทอ่ งเทย่ี วบนตัวปราสาทเขาพระวหิ ารได้

15

บนั ไดทางขนึ้ ปราสาทพระวหิ าร มองจากทางฝัง่ ไทย ภาพจ�ำ หลักใต้เพงิ ผามออแี ดง

อาคารศนู ย์บริการนักทอ่ งเทีย่ ว ภายในอาคารศูนย์บรกิ ารนกั ทอ่ งเท่ียว

อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร ได้มีพระราชกฤษฎีกากำ�หนดท่ีดินป่าฝ่ังซ้ายลำ�โดมใหญ่ในท้องที่ตำ�บลโซง อำ�เภอน้ํายืน ตำ�บล
โคกสะอาด กิ่งอำ�เภอน้ําขุ่น อำ�เเภอน้ํายืน จังหวัดอุบลราชธานี และป่าเขาพระวิหารในท้องท่ีตำ�บลเสาธงชัย ตำ�บลภูผาหมอก อำ�เภอ
กนั ทรลักษ ์ จังหวดั ศรสี ะเกษ ครอบคลุมพื้นท่ี 130 ตารางกโิ ลเมตร ให้เป็นอุทยานแห่งชาติตามพระราชบญั ญัติอทุ ยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504
โดยไดป้ ระกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม่ 115 ตอนท่ี 14 ก ลงวนั ที่ 20 มนี าคม 2541 นับเปน็ อทุ ยานแห่งชาติลำ�ดับท่ี 83 ของประเทศ
พ้ืนท่ีส่วนใหญ่ในอุทยานแห่งชาติเขาพระวิหารเป็นทิวเขาตามแนวทิวเขาพนมดงรักกั้นชายแดนไทย - กัมพูชา พ้ืนที่ปกคลุมด้วย
ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง ประกอบด้วยไม้สำ�คัญมากมายหลายชนิด มีเถาวัลย์สะบ้ายักษ์ขนาดใหญ่ท่ีสำ�รวจพบในเส้นทาง
ศกึ ษาธรรมชาตโิ ดยแผก่ งิ่ ก้านออกรอบตน้ เป็นบรเิ วณกว้างมากถึง 100 - 400 เมตร สำ�หรบั ไม้พื้นลา่ งและไมอ้ งิ อาศัยทก่ี ระจายทัว่ ไปรวมท้งั
พืชสมุนไพรหลากหลายชนดิ ทส่ี ำ�คัญไดแ้ ก่ บอระเพ็ดพงุ ชา้ งหรือว่านสบูเ่ ลือดหรือเปลา้ เลอื ด (เหนือ) ซ่ึงมสี รรพคุณเป็นยาสมนุ บำ�รุงไฟธาต ุ
และสามารถรกั ษาโรคไดห้ ลายชนิด นอกจากนยี้ ังมพี รรณไม้ทนี่ ่าสนใจเป็นพิเศษคอื บรรดากล้วยไม้ชนดิ ตา่ ง ๆ ทีอ่ งิ อาศัยอยู่ตาม
ตน้ ไมแ้ ละก้อนหนิ ซึ่งมีมากมายโดยเฉพาะในเส้นทางศึกษาธรรมชาตกิ ล้วยไมเ้ ขาพระวหิ าร

16

ปราสาทเขาพระวิหาร

ตัวปราสาทเขาพระวิหารต้ังอยู่บนหน้าผาของทิวเขาพนมดงรัก (ดองแร็ก ในภาษาเขมรที่แปลว่า ภูเขาไม้คาน) สูงจาก
ระดับทะเล 657 เมตร ภาษาเขมรเรียกปราสาทเขาพระวหิ ารวา่ “เปรีย๊ ะ วิเฮยี ” (Preah Vihear)
ปราสาทเขาพระวิหารสร้างขึ้นบนสุดปลายหน้าผา โดยขอมโบราณท่ีปกครองดินแดน เป็นศาสนสถานในคติฮินดูลัทธิไศว
นกิ าย สรา้ งในสมัยพระเจา้ สรุ ิยวรมนั ท่ี 1 แหง่ เมืองพระนคร (ประมาณปลายพุทธศตวรรษที่ 16) มกี ารวางผงั ได้สดุ ยอดมาก โดย
มีบันไดทางขึ้นหันหน้าไปทางทิศเหนอื ทางอ�ำ เภอกันทรลกั ษณ์ เปน็ บนั ไดนาคอยู่ล่างสดุ เม่อื เดนิ ขน้ึ ไปจะเปน็ ลานนาคราช โคปรุ ะ
ชัน้ ท่ี 1 สระสรง โคปุระช้ันที่ 2 โคปรุ ะชนั้ ที่ 3 - 4 และถึงปราสาทองค์ประธานทป่ี ระดิษฐานศวิ ลึงค์ ซ่ึงเป็นสัญลักษณ์แทนองค์
พระศวิ ะ อนั เปน็ สง่ิ เคารพสงู สดุ ของลทั ธไิ ศวนกิ าย มรี ะเบยี งคต มณเฑยี รซา้ ยขวา ดา้ นหลงั ปราสาทเปน็ ลานตดั หนิ ทม่ี ฐี านเสาธงไทย
อยูแ่ ละหนา้ ผาเปย้ ตาดี การก่อสรา้ งบนท�ำ เลท่ีสวยงาม ทำ�ใหต้ วั ปราสาทโดดเด่น รวมทั้งการตกแตง่ ส่วนตา่ งที่วิจิตรบรรจง จนเป็น
ปราสาทหนิ ที่สวยงามทหี่ นง่ึ
ภายหลังเกิดกรณีพิพาทเขตแดนจนศาลโลกตัดสินให้ปราสาทเขาพระวิหารเป็นของกัมพูชาและกรณีพิพาทหลังจากการข้ึน
ทะเบยี นมรดกโลกอกี ครั้ง
อ่านลำ�ดับเหตกุ ารณ์เขาพระวหิ ารที่ http://lek-prapai.org/home/view.php?id=72
ปราสาทเขาพระวิหารเคยเปิดให้ขึ้นชมจากฝั่งไทย และปิดสลับกันไปมา จนปัจจุบันปิดไม่ให้เข้าชมจากทางด้านไทยอีก
ต่อไป แต่ผู้ท่ีไปท่องเท่ียวสามารถไปเท่ียวได้จนถึงลานประวัติศาสตร์ (ติดร่องน้ําท่ีข้ามไปก็จะเป็นตีนบันไดหินข้ึนปราสาท) หรือ
สามารถเที่ยวชมบนั ไดหนิ ไดจ้ ากลานหินใกลฐ้ านปฏิบตั กิ ารของทหาร หรือท่นี าํ้ ตกขนุ ศรไี ด้

17

ไป จ.ศร�ษะเกษ

ไป อ.ขข� ันธ 24 ไปอำเภอเดชอดุ ม

อำเภอกันทรลกั ษ

ไป อ.น้ำข�‹น ไป อ.เดชอุดม

221

2214 2171

ดบวŒานน อำเภอ
น้ำยืน

บาŒ นโนนยาง 2248
ไปอำเภอนาจะหลวย
บาŒ นโศกขามปอ‡ ม 2248
บŒานภมู ซิ รอล วัดปา† ภูโลŒน
หน‹วยพท� ักษ
อทุ ยานแหง‹ ชาติท่ี ขห.2
อทุ ยานแหทง‹ ชท่ี าำตกเิ าขราพระวห� าร (น้ำตกตาดไฮ)

เสนŒ ทางศกึ ษาธรรมชาตกิ ลŒวยไมŒ หนว‹ ยพท� ักษอ ทุ ยานแหง‹ ชาตทิ ี่ ขห.1 น้ำตกตาดไฮ น้ำตกไทรยอŒ ย
นำ้ ตกไทรตะเคยี น (เข�่อนหวŒ ยขนนุ ) ช‹องอานมŒา

สระตราว ผามออีแดง ปราสาทโดนตวล
นำ้ ตกขน� ศร� ภาพแกะสลกั
สถธปูงชคา‹ู ติประวตั ิศาสตร
กมั พ�ชา
ปราสาท
เขาพระวห� าร

18

น�ำ้ ตกไทรยอ้ ย

ที่ตั้ง : หมู่ 2 บา้ นดวน ต.โซง อ.นา้ํ ยนื จ.อบุ ลราชธาน ี
พิกัด : 48P 493707E 1598018N
การเขา้ ถงึ : จากแยกบา้ นภมู สิ รอล ไปตามทางหลวงหมายเลข 2248 มงุ่ หนา้ ไปทางอำ�เภอนา้ํ ยนื เลยทางเขา้ นา้ํ ตกตาดไฮไป จนไปถงึ บา้ น
เจรญิ ทรพั ย์ จะมที างลำ�ลองขวามอื เขา้ ไป สองขา้ งทางเปน็ ปา่ ยางพารา ราว 3.5 กโิ ลเมตรทางจะมาตนั แลว้ จงึ เดนิ เทา้ เขา้ ไปปา่ ธรรมชาตริ าว
500 เมตร ถงึ นา้ํ ตก
หรือถ้ามาจากทางอำ�เภอน้าํ ยืนตามทางหลวงหมายเลข 2248 ก่อนถึงสามแยกไปอำ�เภอน้าํ ข่นุ จะถึงบ้านดวน จะมีทางเล้ยี วซ้ายใน
หมบู่ า้ น ขบั เลยทะลหุ มบู่ า้ น จะเปน็ ทางลำ�ลองไปราว 3.8 กโิ ลเมตร จนเขา้ สปู่ า่ ธรรมชาติ ทางจะตนั ทร่ี มิ ลำ�ธารเลก็ ๆ แลว้ เดนิ เทา้ 200 เมตร
ถงึ นา้ํ ตก
ลกั ษณะ : เปน็ นา้ํ ตกเลก็ ๆ ทต่ี กลงมาจากชน้ั หนิ ตา่ งระดบั สงู ราว 8 เมตร ตกลงมาเปน็ สองชน้ั ตอ่ เนอ่ื งกนั ลงมายงั แอง่ นา้ํ และกองหนิ เบอ้ื ง
ลา่ ง มนี า้ํ มากในฤดฝู นเทา่ นน้ั

19

น�ำ้ ตกไทรตะเคียน

ท่ีต้ัง : หมู่ 2 บา้ นภูมิซรอล ต. เสาธงชยั อ.กนั ทรลกั ษ์ จ.ศรีสะเกษ
พิกัด : 48P 465821E 1594180N
การเขา้ ถึง : จากหนา้ ท่ที ำ�การอทุ ยานแห่งชาติ ตรงด่านเกบ็ คา่ บรกิ ารเขา้ อุทยานแหง่ ชาตนิ ัน้ ข้นึ ไปทางผามออีแดง ผา่ นทางเข้าปราสาท
โดนตวน ราว 4 กิโลเมตรจากท่ีทำ�การอุทยานแห่งชาติ (ก่อนถึงทางเข้าเนินนับดาวซึ่งเป็นลานกางเต็นท์) จะมีเส้นทางศึกษากล้วยไม้
อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหารทางขวามือ ซ่ึงเส้นทางเป็นลักษณะคล้ายตัวยู คือเริ่มเดินเข้าไปตามเส้นทางศึกษาธรรมชาติริมถนน ทางจะ
ค่อย ๆ ลงเนนิ ไป บางชว่ งเปน็ ลานหนิ ปา่ ดบิ แล้ง ลานเฟิน ราว 450 เมตร จะถงึ สะพานปนู ขา้ มลำ�ธารครัง้ ทหี่ น่งึ ซงึ่ เปน็ แกง่ น้ํายาวราว
80 เมตร เรยี กแกง่ ช้างนา้ ว เม่อื เดินตอ่ ไปตามทางเดนิ อีกราว 200 เมตร จะพบสะพานปูนข้ามห้วยครงั้ ที่สอง น้าํ ตกอยู่ในลำ�ธารครง้ั ทส่ี องน้ี
เวลาเดนิ ออกก็จะผ่านลำ�ธารอกี ครงั้ แล้วจึงเดินขนึ้ เนินเล็ก ๆ ออกมาตามทางราว 600 เมตร กจ็ ะออกสู่ทางหลวงหมายเลข 221 อกี คร้ังหนง่ึ
ลกั ษณะ : เปน็ นา้ํ ตกเลก็ ๆ ในเสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาตทิ ส่ี ายนา้ํ จะไหลตกลงมาจากลานหนิ ทรายกวา้ งประมาณ 8 เมตร ตกลงชน้ั เดยี วจาก
ความสงู ราว 5 เมตร ลงสลู่ านหนิ เบอ้ื งลา่ ง แลว้ ไหลลาดลงมาตามลานหนิ และแกง่ หนิ ลงไปผา่ นสะพานปนู ครง้ั แรกนน่ั เอง บรรยากาศรม่ รน่ื มาก

20

นำ้�ตกขนุ ศรี

ที่ต้ัง : หม่ ู 2 บา้ นภมู ซิ รอล ต.เสาธงชยั อ.กันทรลกั ษ ์
จ.ศรสี ะเกษ
พิกัด : 48P 465677E 1592120N
การเข้าถึง : จากผามออีแดงบริเวณชมดวงอาทิตย์ข้ึน
ให้ข้ามถนนไปยังฝั่งร้านค้า จะมีทางเข้าเล็ก ๆ ด้านหลัง
ทตี่ ง้ั กองกำ�ลังทหาร ทางเดินบนลานหินทราย ลงไปจนถงึ
ลานหินเหนือสระตราวซ่ึงเป็นโบราณสถาน (สระนํ้า)
สร้างมาพร้อมปราสาทเขาพระวิหาร เป็นลานหินกว้าง
เอียงลาดลงไปในสระ ในฤดูฝนจะมีน้ําไหลซึมบนลานหิน
ทำ�ให้ล่ืน ในช่วงปลายฤดูฝนจะมีดอกไม้ดิน กล้วยไม้ดิน

21

ออกดอกกันบานสะพรั่งทง้ั ลานหนิ ทง้ั ยงั มีแหล่งตดิ หินในบริเวณนีด้ ้วย คอ่ ย ๆ เดินข้นึ ไปทางตะวนั ออก ทางที่ต้งั เขาพระวิหาร จนไปบรรจบ
กับเสน้ ทางเดินเก่า เป็นทางเดินเลก็ ๆ จากลานหนิ กวา้ งก็จะเดินเข้าไปในป่าทึบแลว้ เดินลงหุบ ราว 100 เมตร ทีเ่ ข้าป่าก็จะถึงน้ําตก
ลักษณะ : เกิดจากห้วยตามี ท่ีมีท่ีมาจากทางเขาพระวิหาร แล้วไหลผ่านกองกำ�ลังของไทยที่อยู่เหนือถ้ําขุนศรี ก่อนจะไหลลงมาตาม
ร่องลานหินแล้วตกลงจากเว้ิงผาหินทราย ตกลงชั้นเดียว สูงประมาณ 6 เมตร ด้านล่างเป็นแอ่งลำ�ห้วย ด้านล่างผาน้ําตก เป็นเว้ิงถํ้ากว้าง
สงู ประมาณ 2 เมตร ลกึ ราว 8 เมตร กวา้ งราว 20 เมตร สามารถจุคนไดเ้ ปน็ รอ้ ย เล่ากันว่าถ้าํ แห่งนี้เป็นทพ่ี กั ของขุนศรีนายกองคมุ กำ�ลงั
ขณะเดินทางมาควบคมุ การตดั หนิ บริเวณสระตราวเพือ่ นำ�ไปสร้างปราสาทเขาพระวหิ าร มนี ํา้ เฉพาะหนา้ ฝนเท่านน้ั

22

นำ้�ตกตาดไฮ

ท่ีตั้ง : หมู่ 8 บา้ นโนนยาง ต.โคกสะอาด อ.นา้ํ ข่นุ จ.อบุ ลราชธานี
พิกัด : 48P 491679E 1597504N
การเข้าถึง : อยูใ่ นเขตหนว่ ยพทิ กั ษ์อุทยานแหง่ ชาติท่ี ขห.2 (นาํ้ ตกตาดไฮ) โดยจากทีท่ ำ�การอุทยานแหง่ ชาติ เลยี้ วขวาไปตามทางหลวง
หมายเลข 221 ราว 1.5 กโิ ลเมตร ถึงทางแยกตรงบา้ นภูมสิ รอล เลีย้ วขวาไปใชท้ างหลวงหมายเลข 2248 มุ่งหนา้ ไปทางอำ�เภอปุณฑริก -
อำ�เภอนาํ้ ยืน ก็จะผ่านบ้านโสกขามปอ้ ม บ้านภูผาหมอก และถึงบา้ นโนนยาง (ราว 20 กโิ ลเมตร จากแบกบ้านภูมสิ รอล) เลยวดั โนนยาง
มาราว 1 กโิ ลเมตร จะเหน็ ปา้ ยทางขวามอื เข้าวดั ปา่ ภูโลน้ และนา้ํ ตกตาดไฮ เข้าไปตามทาง แลว้ จะเจอแยกซา้ ยไปวัดปา่ ภโู ลน้ ยังคงตรงมา
จะมีปา้ ยทางเขา้ หนว่ ยพทิ ักษอ์ ทุ ยานแหง่ ชาตทิ ่ี ขห.2 (นํ้าตกตาดไฮ) 3 กโิ ลเมตร จนถึงลานจอดรถ แลว้ เดนิ เท้าตามทางตอ่ อีก 200 เมตร
ถงึ นาํ้ ตก
ลักษณะ : เป็นน้ําตกขนาดกลางท่ีมาจากทิวเขาพนมดงรัก จากบริเวณช่องพนวลท่ีมีพลาญตาวงศ์และพลาญเตย ซ่ึงเป็นพลาญหิน
ขนาดใหญ่ไหลลงมาทางทิศใต้ของภูลำ�ดวน ไหลลดหลั่นมาตามลานหินทรายที่ต่างระดับ เป็นช้ันเล็ก ๆ สูงไม่มาก แต่ต่อเนื่องกันเป็นชั้น
ๆ ทางยาวราว 10 เมตร ตกลงยังแอ่งน้าํ เบื้องลา่ งรอบ ๆ บรเิ วณลานหินกว้างและรม่ รน่ื ดว้ ยรม่ เงาไม้ใหญท่ ่ปี กคลมุ ลำ�ธารผ่านชั้นแผน่ หนิ
ขนาดใหญล่ งสูแ่ อง่ นํา้ เบอื้ งล่าง ในฤดฝู นจะสวย นา้ํ มากและไม่มนี ้าํ ในฤดแู ล้ง

23

อุทยานแห่งชาติ

เขาใหญ่
พน้ื ท่ี 2,168.75 ตารางกิโลเมตร

ที่ตั้งที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติ : หมู่ 9 ต.หมสู ี อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสีมา
การเดินทาง : สามารถเดนิ ทางได้ 2 เส้นทาง คอื
เสน้ ทางที่ 1
จากกรงุ เทพฯ ถนนพหลโยธนิ ผา่ นรังสติ ประตนู ํ้าพระอนิ ทร์ สระบรุ ี เล้ียวขวาเขา้
ทางหลวงหมายเลข 2 หรือถนนมิตรภาพ ก่อนถึงอำ�เภอปากช่อง บริเวณกิโลเมตรที่ 56
ชดิ ซ้ายขึ้นสะพานลอยไปตามถนนธนะรชั ตท์ างหลวงหมายเลข 2090 ถึงกโิ ลเมตรท่ี 23 จะ
พบด่านศาลเจ้าพ่อเขาใหญ่ เดินทางต่อไปอีก 15 กิโลเมตร ก็จะถึงที่ทำ�การอุทยานแห่ง-
ชาติ รวมระยะทางประมาณ 205 กิโลเมตร หรอื รถโดยสารกรงุ เทพ - นครราชสมี าไปลง
ปากช่อง จากน้นั น่งั รถสองแถวปากช่อง - เขาใหญ่

24

เส้นทางท่ี 2
จากกรุงเทพฯ ถนนพหลโยธนิ เลี้ยวขวาบรเิ วณรงั สติ เข้าทางหลวงหมายเลข 305 สตู่ ัวเมืองนครนายก แลว้ เข้าทางหลวงหมายเลข
33 (ถนนสุวรรณศร) ถงึ สแี่ ยกศาลนเรศวรเลีย้ วซ้ายตามเส้นทางปราจีนบุรี - เขาใหญ่ ผา่ นด่านเก็บคา่ บรกิ ารเขา้ อุทยานแห่งชาติ (ดา่ นฯ เนนิ
หอม) บรเิ วณเชงิ เขาแล้วเดนิ ทางตอ่ จนถึงที่ทำ�การอทุ ยานแหง่ ชาติ รวมระยะทางประมาณ 190 กิโลเมตร
หรือนง่ั รถโดยสารกรุงเทพ - นครนายก - กบินทร์บุรี ไปลงวงเวยี นนเรศวร แล้วหารถขน้ึ บนเขาใหญ่

กว่าจะเป็ นอุทยานแห่งชาติ
ก่อนหน้าปี 2505 ป่าเขาใหญ่เป็นส่วนหน่ึงของดงพญาเย็น
- พญาไฟ ผืนป่ากว้างท่กี ้นั พ้นื ท่รี ะหว่างท่ลี ่มุ ภาคกลางและท่รี าบสูง
ภาคอีสาน ต่อมาเม่ือมีการตัดทางรถไฟ จึงมีการต้ังบ้านเรือนและ
ถูกจับจองพ้ืนท่ีในท่ีราบ คงเหลือเพียงพ้ืนท่ีป่าบนภูเขาสูง แต่ก็มี
ชาวบา้ นรอบ ๆ ขน้ึ ไปหกั รา้ งถางพง ทำ�ไรอ่ ยบู่ นนน้ั ตอ่ มาสมยั จอม
พลสฤษด์ิ ธนะรัชต์ กรมป่าไม้ได้ส่งเจ้าหน้าท่ขี ้นึ ไปสำ�รวจและจัดต้งั
อทุ ยานแหง่ ชาติ โดยไดม้ พี ระราชกฤษฎกี ากำ�หนดทด่ี นิ บรเิ วณปา่ เขา
ใหญ่ ในทอ้ งทต่ี ำ�บลปา่ ขะ ตำ�บลบา้ นพรา้ ว อำ�เภอบา้ นนา ตำ�บลหนองแสง ตำ�บลนาหนิ ลาด อำ�เภอปากพลี ตำ�บลสารกิ า ตำ�บลหนิ ตง้ั ตำ�บล
พรหมมณี อำ�เภอเมอื ง จงั หวดั นครนายก ตำ�บลประจนั ตคาม อำ�เภอประจนั ตคาม ตำ�บลสมั พนั ตา ตำ�บลทงุ่ โพธ์ิ อำ�เภอกบนิ ทรบ์ รุ ี จงั หวดั ปราจนี บรุ ี
ตำ�บลหมสู ี อำ�เภอ ปากชอ่ ง จงั หวดั นครราชสมี า และตำ�บลมวกเหลก็ ตำ�บลซำ�ผกั แพว อำ�เภอแกง่ คอย จงั หวดั สระบรุ ี ใหเ้ ปน็ อทุ ยานแหง่ ชาติ ซง่ึ
ลงประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ 79 ตอนท่ี 86 ลงวนั ท่ี 18 กนั ยายน 2505 รวมเนอ้ื ท ่ี 2,168.75 ตารางกโิ ลเมตร
ต่อมากองทัพอากาศได้ขอพื้นท่ีเพื่อก่อสร้างสถานีเรดาร์ และสถานีถ่ายทอดโทรคมนาคม ประมาณ 0.1149 ตารางกิโลเมตร
กรมชลประทาน กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ก็ขอใช้พ้ืนที่บางส่วนในเขตอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ในท้องท่ีอำ�เภอปากพลี และ อำ�เภอ
เมอื ง จงั หวัดนครนายก เน้อื ที่ 3.0807 ตารางกโิ ลเมตร เพื่อก่อสรา้ งโครงการเขือ่ นคลองท่าดา่ นอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ�ริ เพื่อประโยชน์
ในการจัดแหล่งเก็บกกั นํ้าใชเ้ พ่อื การอปุ โภคและบริโภค ตลอดจนการเพาะปลกู รวมทั้งช่วยบรรเทาอทุ กภยั ทเี่ กดิ ข้ึนในเขตจังหวัดนครนายก
เป็นประจำ�ทุกปี คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบให้ทำ�การก่อสร้างโครงการเข่ือนคลองท่าด่านอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ซึ่งได้มีพระราช-
กฤษฎกี าเพกิ ถอนอุทยานแหง่ ชาติปา่ เขาใหญ่ บางสว่ นในท้องที่ตำ�บลหินลาด อำ�เภอปากพลี และตำ�บลหนิ ตงั้ อำ�เภอเมอื งนครนายก จังหวัด
นครนายก เพื่อสรา้ งเขอ่ื นขุนด่านปราการชลดังกล่าว

25

อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่เป็นเป็นอุทยานแห่งชาติแห่งแรกของประเทศไทย เป็นอุทยานแห่งชาติท่ีรู้จักกันโดยท่ัว จนได้ยกย่องเป็น
อุทยานมรดกของกลุ่มประเทศอาเซียน ตลอดจนเป็นที่ยอมรับทั่วไปว่าเป็นอุทยานแห่งชาติที่สำ�คัญของโลก เป็นส่วนหนึ่งของพื้นท่ีมรดก
โลกเขาใหญ่ - ดงพญาเยน็
พ้ืนที่ของอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ เป็นทิวเขาสลับซับซ้อนกัน มีภูเขาท่ีสำ�คัญ ได้แก่ เขาร่ม ซึ่งเป็นยอดเขาสูง 1,351 เมตรจาก
ระดับทะเล รองลงมาได้แก่ เขาแหลม 1,326 เมตร เขาเขยี ว 1,292 เมตร เขาสามยอด 1,142 เมตร และเขาฟา้ ผา่ 1,078 เมตร ดา้ นทศิ เหนือ
และตะวันออก จะเป็นพื้นที่สูงชัน มีภูเขาสูงเป็นกำ�แพงกั้น และพ้ืนท่ีจะลาดลง ทิศใต้และตะวันตก เป็นแหล่งกำ�เนิดต้นนํ้าลำ�ธารที่สำ�คัญ
หลอ่ เล้ียงชมุ ชนรอบ ๆ เขาใหญค่ อื ....
แม่นํ้าปราจีนบุรี และแม่นํ้านครนายก อยู่ทางทิศใต้ของพ้ืนท่ี มีความสำ�คัญต่อเกษตรกรรมและระบบทางเศรษฐกิจและสังคมของ
ภูมิภาคน้ี แม่น้ําทง้ั สองจะมาบรรจบกันเป็นแมน่ า้ํ บางปะกง
ล�ำ ตะคอง และลำ�พระเพลิง อยูท่ างทิศเหนือไหลไปหล่อเลยี้ งพืน้ ทีเ่ กษตรกรรมของที่ราบสงู โคราช ไปบรรจบกันเป็นแมน่ าํ้ บางปะกง
ห้วยมวกเหล็ก อยู่ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ใช้ประโยชน์ด้านการเกษตร โดยเฉพาะการปศุสัตว์ของภูมิภาคน้ี ไหลลงสู่แม่น้ําป่าสักที่
อำ�เภอมวกเหลก็
ดว้ ยความทอี่ ทุ ยานแหง่ ชาติเขาใหญ่ มีพ้นื ทป่ี ่าอันอุดมสมบูรณ์ จงึ เกิดเป็นลำ�หว้ ยลำ�ธารหลายสาย และเกิดเป็นน้าํ ตกตา่ ง ๆ มากมาย
โดยจะแบ่งเป็นกลุ่มตามทำ�เลท่ีตั้ง โดยจะเรียงไปตั้งแต่ด้านบนเขา แล้วลงไปทางด้านปราจีนบุรี แล้ววนทวนเข็มนาฬิกา ไปทางอำ�เภอ
ประจนั ตคาม - อำ�เภอนาดี - ทางทศิ เหนอื ของอุทยานฝง่ั เขากำ�แพง – แล้ววนมาทางตะวันตกทางฝ่งั สระบุรี แลว้ มาทางนครนายกแล้วมา
สิน้ สดุ ที่อ่างเก็บนา้ํ วงั บอนใกล้ทางขึน้ เขาใหญ่ฝั่งเนนิ หอม เป็นอนั วนรอบเขาใหญ่ครบ โดยมีข้อมูลน้าํ ตกตา่ ง ๆ ดงั นี.้ ...

26

27

ลงปากช‹อง

หนองผักชี โป†งชมรมเพ�อ่ น
หอส‹องสัตว

โรงอาหาร ท่ที ำการอทุ ยานแห‹งชาติเขาใหญ‹
ไปคา‹ ยสรุ สั วดี

อา‹ งเกบ็ น้ำสายศร ลานกางเตน็ ทลำตะคอง
ศนู ยฝกƒ อบรมท่ี 2 (เขาใหญ‹) หนว‹ ยพท� ักษอ ทุ ยาน
แหง‹ ชาติที่ ขญ.19
ลงปราจน� บรุ � (ผากลวŒ ยไม)Œ

ข�้นผาเดยี วดาย
บŒานพกั รับรอง

28

กลุ่มนํา้ ตกท่ีอยู่บนเขาใหญ่

น้ำ�ตกกองแก้ว

ที่ต้ัง : ดา้ นหลงั ทท่ี ำ�การอุทยานแห่งชาติ ต.หมสู ี อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า
พิกัด : 755768E 1597625N
การเขา้ ถึง : อยู่ใกล้ที่ทำ�การทีส่ ดุ คอื เดนิ เทา้ ไปดา้ นหลงั ศูนย์บรกิ ารนักท่องเที่ยวราว 100 เมตร
ลกั ษณะ : เป็นแก่งนา้ํ ขนาดกลาง ท่เี กิดจากลำ�หว้ ยลำ�ตะคองไหลซอกซอนผา่ นโขดหนิ เปน็ แกง่ นา้ํ เตยี้ ๆ ตอ่ เนือ่ งกนั 2 - 3 ช้นั นา้ํ ไหลตลอด
ปี บรรยากาศรม่ รน่ื
หินบริเวณนี้เป็นหินชนิ้ ภูเขาไฟ หนิ ทัฟฟ์ แสดงการไหล และหนิ กรวดเหลย่ี มภเู ขาไฟ เนือ้ ละเอียดถึงตะกอนมูลภเู ขาไฟ สีชมพูอมแดง
เนือ้ แน่น เป็นหินภูเขาไฟยคุ เพอรเ์ มียน - ไทรแอสสิก(ประมาณ 286 - 210 ล้านปี)

29

น�้ำ ตกผากลว้ ยไม้

ที่ต้ัง : อยใู่ กล้หน่วยพทิ กั ษ์อุทยานแหง่ ชาติที่ ขญ.19 (ผากล้วยไม)้ ต.หมสู ี อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า
พิกัด : 758863E 1596897N
การเข้าถึง : ใช้ถนนบนเขาใหญ่ ไปทางแยกลงด่านเนินหอม โดยเข้าไปตามเส้นทางไปน้ําตกเหวสุวัติ เลยลานกางเต็นท์ลำ�ตะคองไป
ไม่ไกล ก็จะถงึ หนว่ ยพทิ กั ษอ์ ทุ ยานแหง่ ชาตทิ ่ี ขญ.19 (ผากลว้ ยไม)้ แลว้ เดนิ เทา้ จากหนว่ ย ไปตามเสน้ ทางเดนิ ราว 2 กโิ ลเมตร ถงึ นา้ํ ตกชน้ั บน
ลกั ษณะ : เป็นน้ําตกผาหินท่ีอยู่ในห้วยลำ�ตะคอง ท่ีตกลงราว 3 ชั้นใหญ่ ๆ แต่มีมุมบังทำ�ให้เห็นน้ําตกไม่ชัดเจน แต่นํ้าตกมีความร่มร่ืน
บริเวณชั้นบนจะมีพื้นท่ีอนุรักษ์กล้วยไม้พันธุ์หวายแดง ซ่ึงจะออกดอกราวเดือนมีนาคม เม่ือเดินลงไปยังช้ันล่างจึงจะเห็นนํ้าตกผากล้วยไม้
ท่ีถนัดตา แต่ชนั้ สองจะถูกบังจากก้อนหนิ ใหญ่ ทำ�ใหไ้ ม่เห็นความสงู ใหญ่ของนํ้าตก
หนิ บริเวณน้าํ ตกผากลว้ ย ไมเ้ ป็นหินภูเขาไฟประเภทไรโอไลต์ทแ่ี สดงการไหลหลากของลาวา (Flow band) เกิดขน้ึ ในยุคเพอรเ์ มียน
ต่อยุคไทรแอสสิก (เพอร์โมไทรแอสสิก) ซึ่งมีพัฒนาการรูปแบบเดียวกันกับนํ้าตกเหวนรกและเหวสุวัติ การกัดกร่อนผุพังทำ�ลายโดยทางน้ํา
ในบรเิ วณน้ี มีรอยแตก รอยแยก รอยการไหลของลาวากอ่ นแข็งตัวเป็นหนิ การกัดกรอ่ นโดยน้ําในชั้นหนิ ยอ่ มเกดิ ได้รวดเรว็ บางแห่งเหลอื
เป็นแก่ง เป็นเกาะ บางแห่งกลายเป็นแหล่งนํ้าท่วมขังเกิดเป็นคุ้งน้ํา ซ่ึงเป็นที่อยู่อาศัยของจระเข้านํ้าจืดสายพันธุ์ท่ีพบในอุทยานแห่งชาติ-
เขาใหญ่บริเวณลานหินจากน้ําตกเหวสุวตั ิไปนํา้ ตกผากล้วยไม้ พบตะกอนทรายท่เี กดิ จากการกัดเซาะของนํ้า
เมื่อเดินย้อนทางนํ้าข้ึนไปทางผากล้วยไม้ หิน
จะค่อย ๆ เปลีย่ นจากหนิ กรวดเหลี่ยมภเู ขาไฟไปเป็น
หินไรโอไลต์ พบเห็นกมุ ภลักษณ์ (Pot hole) ขนาด
ต่าง ๆ หินกรวดเหล่ียมภูเขาไฟย่านนี้จะมีรูปร่างไม่
คอ่ ยกลมมนนกั

หวายแดง (Renanthera Coccinea Lour)

30

น้�ำ ตกเหวสุวตั

ที่ตั้ง : ต.หมสู ี อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า
พิกัด : 760289E 1597260N
การเขา้ ถึง : ใช้ถนนจากสามแยกด้านหน้าศูนย์ฝึกอบรมเลี้ยวซ้าย (ตรงไปจะลงปราจนี บรุ ี) ไปตามทาง จะผา่ นหนว่ ยพิทกั ษอ์ ทุ ยานแหง่ -
ชาตทิ ี่ 19 (ผากลว้ ยไม)้ ไปจนสุดทาง แล้วเดินเทา้ ราว 200 เมตร ถึงช้ันล่างของนํ้าตก
ลักษณะ : เป็นนํ้าตกหินขนาดกลาง ตกลงชั้นเดียว สูงราว 20 เมตร ตกลงไปยังแอ่งเบื้องล่าง ท่ามกลางบรรยากาศที่ร่มรื่นของพืชพันธุ์
ต่าง ๆ ที่อยู่รายรอบ
ในอดีต เม่ือภูเขาไฟระเบิดอย่างรุนแรง แรงระเบิดได้พาเอาหินไรโอไลต์ Ryholite) ซ่ึงเกิดจากลาวาท่ีแข็งตัวเป็นหินแล้วและสะสม
ตัวใต้ปล่องภูเขาไฟผุดข้ึนมาด้วย และผสมกับลาวาที่ระเบิดขึ้นใหม่ เมื่อเถ้าภูเขาไฟเหล่าน้ีเย็นตัวลงเรียกหินน้ีว่า หินกรวดเหลี่ยมภูเขาไฟ
(Aggloherate) นา้ํ ตกเหวสุวตั ได้กอ่ เกิดบนหนิ ชนิดนี้
หินบริเวณน้ีมีกลุ่มหินโคราชปิดทับอยู่บนหินภูเขาไฟเช่นเดียวกับที่น้ําตกเหวนรก เมื่อเวลาผ่านไป หินตะกอนกลุ่มหินโคราชนี้
ก็ถูกสายน้ํากัดเซาะ เปิดให้เห็นหินภูเขาไฟท่ีอยู่ด้านล่าง น้ําท่ีไหลตกลงช้ันล่างยังนำ�พาเศษหิน กรวด ทรายลงมาด้วยและเป็นตัวเพ่ิมแรง
กระแทก น้ําไดม้ ว้ นเอาเศษตะกอนเข้าไปกัดกรอ่ นหนา้ ผาหนิ ใตน้ ํ้าจนเกิดเป็นโพรงลกึ เขา้ ไป นานวันเขา้ หนา้ ผาด้านบนก็ค่อย ๆ บางลง จน
แผน่ ผาหนิ หกั ลงมาทำ�ให้แนวผาหินดา้ นบนถอยรน่ เข้าไป จนมรี ปู ลกั ษณ์เชน่ ในปจั จุบนั

31

น�ำ้ ตกเหวไทร

ที่ตั้ง : ต.หมสู ี อ.ปากชอ่ ง จ.นครราชสีมา
พิกัด : -
การเข้าถึง : เดินเท้าต่อจากน้ําตกเหวสุวัตเข้าไปตามทางเดินใน
ป่าราว 700 เมตร
ลักษณะ : เป็นนา้ํ ตกทีเ่ กิดจากลำ�ตะคองเชน่ เดียวกับเหวสวุ ัต เป็น
น้ําตกหนิ สูงราว 6 เมตร ตกลงมาช้ันเดียว มแี อ่งนํ้าตื้น ๆ ดา้ นหนา้

32

น้ำ�ตกเหวประทนุ

ท่ีตั้ง : ต.หมูสี อ.ปากช่อง จ.นครราชสมี า
พิกัด : -
การเข้าถึง : เดินเท้าต่อจากน้ําตกเหวไทรไปราว 500
เมตร มเี ส้นทางเดินเลียบลำ�หว้ ยบนเนินเขา
ลักษณะ : เปน็ นา้ํ ตกหิน ตกลงชน้ั เดยี ว สงู ราว 8 เมตร
ตกลงยังเบ้ืองล่าง ท่ีมีโขดหินขนาดใหญ่ขวางอยู่ด้านหน้า
กอ่ นน้ําจะไหลตอ่ ไปลงลำ�ตะคอง
หมายเหตุ : แม้น้ําตกเหวไทรและเหวประทุนจะเป็น
ลำ�ห้วยเดียวกันกับน้ําตกเหวนรก และอยู่ไม่ไกลกันก็ตาม
แต่ทางอุทยานแห่งชาติไม่เปิดให้ท่องเท่ียวด้วยเหตุผลทาง
ความปลอดภัยจากสัตว์ป่า ผู้ท่ีมาท่องเท่ียวจะเข้าไปเอง
โดยพลการไมไ่ ด้

33

ลงดา‹ นศาลเจŒาพ‹อ (ขญ.20)

ลำตะคอง ท่ีทำการอทุ ยานแห‹งชาติ

อา‹ งเกบ็ น้ำสายศร ลานกางเตน็ ท
ศูนยฝƒกอบรมท่ี 2 (เขาใหญ)‹ ลำตะคอง

หน‹วยพ�ทกั ษอ ทุ ยานแหง‹ ชาติ
ท่ี ขญ.19 (ผากลวŒ ยไมŒ)

เขาเข�ยว

กล‹มุ บŒานพกั รับรอง

3077
หน‹วยพ�ทกั ษอุทยานแหง‹ ชาตทิ ่ี ขญ.20 (เหวนรก)

หนว‹ ยพท� ักษอุทยานแห‹งชาตทิ ี่ ขญ.12 (ดา‹ นเนนิ หอม)

ไปปราจน� บุร�

หมายเหตุ : กลุ่มน้ําตกผามะนาว - ตาดตาภู่ - ตาดตาคง...ปิดเส้นทางไมเ่ ปดิ ท่องเทย่ี ว

34

กลุม่ น�้ำ ตกทอ่ี ยรู่ ะหว่างทางลงจากเขาใหญ่ไปดา่ นเนินหอม ดา้ นปราจนี บรุ ี

น้ำ�ตกผากระจาย

ท่ีตั้ง : ต.หินตง้ั อ.เมอื ง จ.นครนายก
พิกัด : -
การเข้าถึง : เดินเท้าเข้าไปตามทางจากถนนราว 1
กโิ ลเมตร
ลักษณะ : เป็นช้ันน้ําตกหินขนาดกลาง ท่ีค่อย ๆ ไหล
ลาดลงมาเร่ือย ๆ จนถึงลานหินกว้าง ไหลลาดลงเอียงไป
ราว 35 องศา ยาวสกั 15 เมตร แล้วตกลงจากช้ันหนิ สงู
ราว 4 - 5 เมตร ขา้ งซ้ายของหนา้ ผามีตน้ ไทรใหญแ่ ละเป็น
เพิงหินอยู่ตดิ กัน ตกลงในแอ่งด้านลา่ ง ทม่ี หี ินระเกะระกะ
แล้วจงึ ไหลลงไปตามแก่งนํ้าเล็ก ๆ ต่อไป

35

นำ้�ตกผารากไทร

ที่ต้ัง : ต. หนิ ตัง้ อ. เมือง จ.นครนายกา
พิกัด : -
การเขา้ ถึง : เดนิ เท้าไปตามทางลำ�ลองในปา่ ต่อจากน้าํ ตกผากระจายอีก 1 กโิ ลเมตร
ลักษณะ : เป็นชัน้ นาํ้ ตกหินขนาดเล็ก ๆ ค่อย ๆ ไหลลาดหลน่ั ลงมา แล้วตกลงจากชน้ั หนิ สงู ราว 4 - 5 เมตร ขา้ งซ้ายของหน้าผามีตน้ ไทร
ใหญแ่ ละเปน็ เพงิ หินอยตู่ ดิ กนั ตกลงในแอ่งด้านลาง แล้วจึงไหลลงต่อไป
หมายเหตุ : กลุม่ นํ้าตกผารากไทร - ผากระจายน้ี ยังมนี ้าํ ตกผาชมพู (ตอ่ จากน้าํ ตกผาไทรไปอีก 500 เมตรและเดนิ ตอ่ ไปอกี 500 เมตร
ถึงนาํ้ ตกผาตะแบก แตน่ ้ําตกกล่มุ น้ี ไม่เปดิ ให้ทอ่ งเทีย่ ว เพราะเป็นย่านหากนิ ของช้างป่า อาจเกิดอนั ตรายจากสัตว์ปา่ ได ้ อีกท้ังมีการปดิ เส้น
ทางมาเปน็ เวลานับสบิ ปีแล้ว เส้นทางถกู ต้นไมข้ ้ึนทบั ทางเดิน

36

น้�ำ ตกเหวนรก

ท่ีตั้ง : หนว่ ยพิทกั ษ์อุทยานแห่งชาตทิ ี่ ขญ.20 (นํ้าตกเหวนรก) ต.นาหนิ ลาด อ.ปากพลี จ.นครนายก
พิกัด : 757658E 1581074N
การเขา้ ถึง : ใช้ถนนเขาใหญ่ - ด่านเนินหอม มงุ่ หนา้ ปราจีนบุรี จะเห็นปา้ ยเขา้ นํา้ ตกเหวนรก เลยี้ วซ้ายเอารถเข้าไปจอดในลาน แลว้ เดนิ
เทา้ ราว 1 กโิ ลเมตร แล้วเดนิ ลงบันไดปนู ที่คอ่ นข้างชนั ลงไปราว 100 เมตร ถงึ ลานชมนํา้ ตก
หมายเหตุ : เปน็ น้ําตกขนาดใหญ่ ตกต่อเนือ่ งกันราว 3 ชั้นใหญ่ ๆ ความสูงแต่ละชัน้ ราว 35 เมตร เมื่อนบั รวมกนั จึงเป็นน้ําตกท่ีสูงร่วม
100 เมตร สายน้าํ จากนา้ํ ตกเหวนรกไหลลงเข่ือนขุนดา่ นปราการชล
หนิ ในบรเิ วณนา้ํ ตกเหวนรกเปน็ หนิ ตะกอนภเู จา้ ไฟ ยคุ เพอรเ์ มยี น - ไทรแอสสกิ (ประมาณ 286 - 210 ลา้ นปกี อ่ น) วางตวั อยดู่ า้ นลา่ ง และ
มหี นิ ตะกอนยคุ จรู าสสกิ (ประมาณ 210 - 145 ลา้ นปกี อ่ น) ปดิ ทบั กระบวนการยกตวั ของแผน่ ดนิ ทำ�ใหเ้ กดิ รอยแตกในหนิ สง่ ผลใหห้ นิ กรอ่ น
และผพุ งั ไดง้ า่ ย สายนา้ํ ไดก้ ดั กรอ่ นอยา่ งตอ่ เนอ่ื งจนถงึ ชน้ั หนิ ทฟั ฟ์ ทำ�ใหห้ นิ แตกหลดุ รว่ งลงมาเปน็ กอ้ นตามแนวดง่ิ จนเกดิ เปน็ หนา้ ผาสงู ชนั

37

น้�ำ ตกเหวแหง้

ที่ต้ัง : ต.นาหนิ ลาด อ.ปากพลี จ.นครนายก
พิกัด : -
การเขา้ ถงึ : ใชถ้ นนสายเขาใหญ่ - เนนิ หอม
มุ่งหน้าปราจีนบุรี จะอยู่เลยทางเข้าน้ําตก
เหวนรกไปราว 500 เมตร ซ้ายมือ แล้วเดนิ
เท้าเข้าไปในป่าเลาะลำ�ห้วยไป ห่างถนนราว
100 เมตร
หมายเหตุ : เปน็ นา้ํ ตกขนาดเลก็ เปน็ หนิ
ทรายแป้งสีแดง ตกลงมาช้ันเดียวสูงราว 6
เมตร ในบรรยากาศทร่ี ม่ รน่ื มาก ดา้ นลา่ งเปน็
แอง่ นา้ํ ตน้ื ๆ และลานทรายสแี ดง

38

ดอกประดับดนิ

น�ำ้ ตกธารรัตนา

ที่ตั้ง : ต.นาหนิ ลาด อ.ปากพลี จ.นครนายก
พิกัด : 757120 1577035
การเข้าถึง : ใช้ถนนสายเขาใหญ่ - เนนิ หอม ม่งุ หนา้ ปราจีนบุรี อยกู่ ่อนถึงด่านเนินหอมราว 3 กม. ทางขวามอื จอดรถรมิ ทาง แลว้ เดนิ ลง
ไปราว 20 เมตร ถึงนํ้าตก
ลักษณะ : เป็นนํ้าตกเล็ก ๆ ที่มีต้นนํ้ามาจากเขาสมอปูน ในเขตจังหวัดปราจีนบุรี ไหลลงสู่อ่างเก็บนํ้าวังบอน จังหวัดนครนายก สายนํ้า
ไหลตกลงจากผาหินต่างระดับทิ้งระยะห่างกัน กลายเป็นนํ้าตกต่าง ๆ สองช่วง คือช่วงบนจะเป็นนํ้าตกขนาดเล็ก สูงราว 2 เมตร มี 2 - 3
ชั้น ทิ้งระยะห่าง ๆ กัน ถ้าเดินไปตามลำ�ธารนํ้าเรื่อย ๆ จะพบชั้นนํ้าตกสูงราว 40 เมตร ตกลงไปในแนวเกือบดิ่ง แต่ก่อนเคยมีกิจกรรม
ไต่หน้าผา ต่อมาได้ยกเลิกไป นํ้าจากธารรัตนานี้ไหลลงอ่างเก็บนํ้าวังบอน เป็นนํ้าตกเล็ก ๆ อีกสองสาย
บริเวณนํ้าตกธารรัตนา เป็นหินทัฟฟ์แสดงการไหล สีอมม่วงแดง มีแนวแตกเรียบเป็นหินภูเขาไฟยุคเพอร์เมียน - ไทรแอสสิก
(ประมาณ 286 - 210 ล้านปีก่อน)

39

ไปเขาสมอปูน

เส้นทาง ทาง 4WD
เดินเท้า เหล็กกน้ั ทาง

หนว‹ ยพ�ทักษ
อทุ ยานแหง‹ ชาติท่ี ขญ.11

(คลองเพกา)

ไปถนนหมายเลข 33 ไปบŒานตะครอŒ
(เทศบาลโพธง์ิ าม)

40

กลุม่ น้�ำ ตกดา้ นหน่วยพิทักษอ์ ทุ ยานแห่งชาตทิ ี่ ขญ.11 (คลองเพกา) และใกลเ้ คยี ง

นำ�้ ตกธารทพิ ย์

ที่ตั้ง : หมู่ 10 บ้านเนินหินตั้ง ต.หนองแก้ว อ.ประจันตคาม
จ.ปราจีนบุรี
พิกัด : 774464E 1571024N
การเขา้ ถึง : ใช้ทางหลวงหมายเลข 33 จากวงเวียนนเรศวร
(ทางขึ้นเขาใหญ่ด่านเนินหอม) มุ่งหน้าไปประจันตคาม เลย
บ้านหนองหัวลิง ก็จะถึงเทศบาลตำ�บลโพธิ์งาม มีสามแยก
เลี้ยวซ้ายเข้าไปตามทางหลัก ทางจะเลียบป่า ผ่านหน้าหน่วย
พิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ ขญ.11 (คลองเพกา) ไปตามทางหลัก
เรื่อย ๆ จนข้ามสะพานปูนสูง แล้วจะเห็นสามแยก (เลี้ยวขวา
ไปสวนไดโนเสาร์ - บา้ นตะครอ้ ) เลย้ี วซา้ ย ขา้ มลำ�ธารเลก็ ๆ แล้ว
ตรงไปตามทาง 3 กิโลเมตร ถึงลานจอดรถ เดินเท้า 100 เมตร

41

ลักษณะ : เป็นนํ้าตกหินทราย ที่ไหลลาดลงมาตามช่องเขา ที่ขนาบ
สองข้าง ไหลลงมาบนลานหินยาวนับร้อยเมตร ก่อนจะตกลงในช่องเขา
แคบ ๆ สูงราว 5 เมตร แล้วไหลลาดต่อไปออกนอกเขตป่า บรรยากาศ
ร่มรื่น ในฤดูฝนมีดอกไม้เล็ก ๆ เช่น ประดับดิน มอส เฟิน ดอกเข้า-
พรรษา ดอกเทียนน้อย ขึ้นบนก้อนหินทราย และทั่วบริเวณทำ�ให้
บรรยากาศแลดูมีสีสัน สดชื่น
หินบริเวณนี้เป็นหินทรายยุคจูราสสิก - ครีเทเชียส (อายุ
ประมาณ 210 - 65 ล้านปี) ในเนื้อหินมีรอยแตกเป็นจำ�นวนมาก
ในทิศทางเหนือ - ใต้ รอยแตกดังกล่าวตัดกันจนทำ�ให้หินในบริเวณนี้
แตกออกเป็นก้อนรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ซึ่งสามารถเห็นได้ทั่วไป
บริเวณนํ้าตก อีกทั้งสายนํ้ายังกัดเซาะและพัดพาก้อนหินให้หลุดออก
ไปจากชั้นหิน จนเกิดเป็นทางนํ้าลักษณะแบบลานหินในช่วงต้นของ
นํ้าตก ส่วนตอนปลายของนํ้าตกทางนํ้าได้กัดเซาะรอยแตก จนทำ�ให้
เกิดหน้านํ้าตกและตลิ่งผาหินที่สูงชัน จนมีลักษณะคล้ายกำ�แพง

42

น�้ำ ตกธารหินดาด

ท่ีต้ัง : ในความดูแลของหน่วยพิทักษ์อุทยาน-
แห่งชาติที่ ขญ.11 (คลองเพกา) ต. โพธิ์งาม
อ.ประจันตคาม จ.ปราจีนบุรี
พิกัด : -
การเข้าถึง : เป็นจุดพักแรมของเส้นทางเดินป่า
ระยะไกล คลองเพกา - หินดาด - คลองฟันปลา
- ทุ่งพรหมจรรย์ - เขาสมอปนู - เนนิ หอม โดยเดนิ
เทา้ จากหน่วยหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ราว 5
ชั่วโมงในเส้นทางเดินป่า
ลักษณะ : เป็นลานหินทรายกว้างนับร้อย ๆ ไร่
ที่ลำ�ธารนํ้าจะไหลลาดลงเเผ่กระจายเต็มลานหิน
แล้วจะไปไหลตกลงจากพื้นหินต่างระดับสูงราว 5
เมตร ที่ปลายลานหินกว้างแห่งนี้

43

น�ำ้ ตกบงั เอญิ ภาพ : เอก ชมไทย

ที่ต้ัง : ในความดูแลของหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ ขญ.11
(คลองเพกา) ต.โพธิ์งาม อ.ประจันตคาม จ.ปราจีนบุรี
พิกัด : -
การเขา้ ถึง : เป็นนํ้าตกที่อยู่ในเส้นทางเดินป่าคลองเพกา - นํ้าตก
บังเอิญ - นํ้าตกเหวอีอํ่า (หรือจะปรับเป็นเส้นทางเดินป่ามาจากเขา
สมอปูนก็ได้ ) ระยะเวลาเดินเท้าจากหน่วยหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่ง-
ชาติ 7 ชั่วโมงในเส้นทางป่า
ลักษณะ : เป็นแก่งนํ้าขนาดใหญ่ มีลานหินทรายในลำ�ห้วย นํ้าจะ
ไหลลาดหลั่นลงมา แล้วตกลงจากแก่งใหญ่ที่สูงราว 4 เมตร มีทาง
ลาดไหลราว 6 เมตร ลงมาหลายช้นั ผทู้ ช่ี อบท่องเท่ียวประเภทเดนิ ปา่
มักกำ�หนดใหเ้ ปน็ จุดพกั แรม เพราะมลี านทรายเล็ก ๆ รมิ ห้วยเหมาะกบั
การผูกเปลนอนริมนํ้า

ภาพ : เอก ชมไทย

44

น�้ำ ตกเหวออี ำ�่

ท่ีต้ัง : ในความดูแลของหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ ขญ.11 (คลองเพกา) ต.โพธิ์งาม อ.ประจันตคาม จ.ปราจีนบุรี
พิกัด : 774324E 1573829N
การเข้าถึง : ทางเข้าจะอยู่ระหว่างที่ตั้งหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ และสามแยกเข้านํ้าตกธารทิพย์ จากเส้นทางรอบแนวเขต เป็น
ทางลำ�ลองในป่าที่รถยนต์สามารถเข้าไปถึงได้ ทางไม่มีหล่มแต่เป็นก้อนหินขนาดใหญ่ บางช่วงเป็นร่องลึกขึ้นเนินเขาชันบางช่วง ระยะ
ทางราว 8 กิโลเมตร จากทางแยกรอบแนวเขต
ลักษณะ : เป็นนํ้าตกขนาดใหญ่ที่ตกหักลงมาจากหน้าผาหินชั้นเดียวในแนวดิ่ง สูงราว 25 เมตร หน้านํ้าตกกว้าง 40 เมตร ตกลงด้าน
ล่างที่มีกองหินถล่ม แล้วจึงไหลเข้าไปในป่า ก่อนจะไปร่วมกับลำ�ห้วยสายอื่น ที่กลายเป็นแก่งท่าข้ามใกล้นํ้าตกตาดหินยาว แล้วไหลไป
ลงบ้านตะคร้ออีกที
หมายเหตุ : เมื่อ 20 ปีก่อน พื้นที่บริเวณนํ้าตกเหวอีอํ่า เป็นพื้นที่ที่เคยถูกแผ้วถางจนเป็นทุ่งหญ้าคากว้างนับพัน ๆ ไร่ ต่อมามีโครงการ
ปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติเมื่อปี 2534 ปัจจุบันกลายเป็นป่าใหญ่ ที่พลิกฟื้นกลับขึ้นมาแล้ว ผู้ที่จะเข้าไปท่องเที่ยวนํ้าตกเหวอีอํ่าต้องมีการ
ขออนุญาตจากอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ก่อน

45

น้�ำ ตกสามงา่ ม

ที่ต้ัง : ในการดูแลของหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ ขญ.11 (คลองเพกา)
ต.โพธิ์งาม อ.ประจันตคาม จ.ปราจีนบุรี
พิกัด : -
การเข้าถึง : เป็นนํ้าตกที่อยู่ทางตะวันตกของหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ
โดยการเดินเท้าไปตามทางตรวจการณ์รอบแนวเขต แล้ววกเข้าป่า มีข้าม
ลำ�ธารนํ้าใหญ่ 1 ครั้ง ระยะเดินเท้าราว 5 ชั่วโมง ระยะทางราว 10 กิโลเมตร
ไม่มีขึ้นเขาชัน
ลักษณะ : เป็นนํ้าตกที่ตกลงมาจากหน้าผาหิน มีทั้งหมด 3 ชั้น ทิ้งระยะ
ห่างกัน ชั้นล่างสูดสูงราว 3 เมตร เป็นลานหินกว้าง ชั้นที่สองเป็นกองหิน
ขนาดใหญ่ สูงราว 6 เมตร และชั้นบนสุดสูงราว 15 เมตร ตกในแนวดิ่งทุกชั้น
ทิ้งระระยะห่างกันราว 20 เมตร ผู้ที่จะไปท่องเที่ยวนํ้าตกสามง่ามควรจะค้าง
พกั แรม นา้ํ จะมใี นชว่ งกรกฎาคม - ตลุ าคม นอกนน้ั นา้ํ จะนอ้ ยและแหง้ ในฤดแู ลง้

46

47

แกง‹ ทา‹ ขาŒ ม

หน‹วยจดั การตนŒ นาํ้
ตะครอŒ
หน‹วยพ�ทักษอทุ ยานแหง‹ ชาตทิ ี่ ขญ.10
(ประจนั ตคาม)

ไปน้ำตกธารทิพย บŒานตะครŒอ
ไปประจันตคาม
ไปออกถนน 33

48

กล่มุ นำ้�ตกทอี่ ยู่ในการดูแลของหน่วยพทิ กั ษ์อุทยานแหง่ ชาติ ท่ี ขญ.10 (ประจันตคาม)

กลมุ่ น�ำ้ ตกตามล�ำ หว้ ยตะครอ้ อยใู่ นความดแู ลของหนว่ ยพทิ กั ษอ์ ทุ ยานแหง่ ชาตทิ ่ี ขญ.10 (ประจนั ตคาม) แบง่ เปน็ กลมุ่
น�ำ้ ตก 2 สายคอื กลมุ่ ทม่ี าจากล�ำ หว้ ยตะครอ้ ซง่ึ ไหลมาจากทางตะวนั ตกเฉยี งเหนอื และกลมุ่ น�ำ้ ตกทางตะวนั ออก
ของหนว่ ย โดยกลมุ่ ทม่ี าจากล�ำ หว้ ยตะครอ้ เรยี งไปจากน�ำ้ ตกทอ่ี ย่ใู กลห้ นว่ ยทส่ี ดุ ไปจนถงึ ไกลสดุ คอื ....

นำ้�ตกตะครอ้

ที่ต้ัง : หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ ขญ.10 (ประจันตคาม) หมู่ 8
บ้านตะคร้อเหนือ ต.บุฝ้าย อ.ประจันตคาม จ.ปราจีนบุรี
พิกัด : 779846E 1569323N
การเขา้ ถึง : จากสี่แยกนเรศวร ใช้ทางหลวงหมายเลข 33 มุ่งหน้ากบินทร์บุรี
จนถึงอำ�เภอประจันตคาม ตรงสี่แยกไฟแดง เลี้ยวซ้ายเข้าไปตามทางสายหลัก
ราว 20 กิโลเมตร ถึงบ้านตะคร้อ มีทางแยกซ้ายมือเข้าไป 700 เมตร ถึงหน่วย
พิทักษ์อุทยานแห่งชาติ จอดรถในลานจอด แล้วเดินเท้าราว 200 เมตร ถึงนํ้าตก

49

ลักษณะ : เปน็ ลานหนิ กว้าง แตกเป็นแนวขึ้นไปทางทศิ เหนอื เกิดเปน็ แก่งน้ําตลอดท้ังลำ�ธาร เปน็ หนิ ทรายยคุ จแู รสสิก - ครเี ทเชียส (อายุ
ประมาณ 210 - 65 ล้านปี) ในเนื้อหินมีรอยแตกที่ตัดกันจนทำ�ให้หินในบริเวณนี้แตกออกเป็นก้อนสี่เหลี่ยมผืนผ้า ทั้งนํ้ายังกัดเซาะและ
พัดพาก้อนหินให้หลุดออกไปจากชั้นหิน จนทำ�ให้เกิดนํ้าตกที่มีลักษณะเป็นเหมือนขั้นบันไดหลายชั้น ลดหลั่นกันลงไป ส่วนหินที่ถูกนํ้า
พัดพาหลุดออกไป ไหลไปกองรวมที่ปลายนํ้า กลายเป็นแก่งนํ้า ผู้มาท่องเที่ยวนิยมมาเล่นนํ้าและพักผ่อนจำ�นวนมาก

50


Click to View FlipBook Version