The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

สงกรานต์ปี 2565

สงกรานต์ปี 2565

สงกรานตแ์ บบ new normal

รว่ มประเพณีอย่างปลอดภัย ห่างไกล COVID-19

สแกนเพือ่ เข้ารว่ ม
กจิ กรรมสรงน้าพระออนไลน์

1. อัญเชิญพระพุทธรูปขึ้นมาเช็ดท้าความสะอาดเบื้องต้นด้วยผ้าผืนใหม่หรือฟองน้า
สะอาดทลี ะองค์ หากเป็น ‘กรอบรูป’ ให้ใช้ฟองน้าชุบน้าบิดหมาดแล้วเช็ดให้เกล้ียงเกลา หาก
เปน็ ‘พระเครื่อง’ ควรหากล่องเก็บใสไ่ วใ้ หเ้ ปน็ ระเบียบ

2. เมอ่ื ทา้ ความสะอาดเสรจ็ แล้ว ใหอ้ ัญเชญิ พระพุทธรปู ทั้งหมดไปประดษิ ฐานชวั่ คราวบน
โตะ๊ โดยมีพานหรือถาดรอง ประดับโตะ๊ ดว้ ยดอกไมห้ อม กลบี ดอกไม้ หรอื พวงมาลยั ใหส้ วยงาม

3. เตรยี มเคร่ืองหอม โดยการโรยดอกไม้หอม พวงมาลัย น้าหอม น้าอบ หรือน้าปรุง ใส่
ในขนั น้าสะอาดไวส้ า้ หรบั สรงน้าพระ

4. ท้าความสะอาดที่ประดิษฐานองค์พระประจ้าบ้าน เช่น หิ้งพระ โต๊ะหมู่บูชา
และสง่ิ ของทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับทีป่ ระดษิ ฐานองคพ์ ระให้สะอาดสะอ้าน

5. ชวนคนในบ้านตัง้ จติ อธษิ ฐานและรว่ มสรงนา้ พระไปพรอ้ มๆ กัน โดยน้าขันน้าทใี่ สเ่ คร่อื ง
หอมเตรยี มไว้สรงทอี่ งค์พระพทุ ธรูปให้ครบทุกองค์

ก่อนอัญเชิญพระพุทธรูปมาเช็ดท้าความสะอาด ให้กล่าว ค้าขอขมา ก่อนเพ่ือไม่ให้เกิด
โทษภยั เรม่ิ ดว้ ยการตั้งนะโม 3 จบ และกลา่ วค้าขอขมาดังนี้

ระตะนัตตะเย ปะมาเทนะ ทะวารัตตะเยนะ กะตงั
สัพพัง อะปะราธงั ขะมะตุ โน ภันเต

ค้าแปล : กายกรรม 3, วจีกรรม 4, มโนกรรม 3, ท่ีข้าพเจ้าได้ประมาทพลาดพลั้งใน
พระรัตนตรัย ดว้ ยความตั้งใจก็ดี ไมต่ ัง้ ใจกด็ ี ตอ่ หน้าก็ดี ลบั หลังกด็ ี ขอพระรัตนตรัยได้โปรดยก
โทษให้ข้าพเจา้ ด้วยเถดิ

จากนั้นจึงอญั เชิญพระพทุ ธรูปไปตัง้ สรงนา้ ณ ทกี่ ้าหนด พร้อมกลา่ วอาราธนาดังน้ี



สงกรานต์ คือ ประเพณีของประเทศไทย ลาว กัมพูชา พม่า ชนกลุ่มน้อยชาวไตแถบ
เวียดนาม และมนฑลยูนานของจีน รวมถึงศรีลังกา และประเทศทางตะวันออกของ
ประเทศอินเดีย สันนิษฐานกันว่า ประเพณีสงกรานต์น้ันได้รับวัฒนธรรมมาจากเทศกาลโฮลีใน
อินเดีย แต่เทศกาลโฮลีจะใช้การสาดสีแทน โดยจะจัดให้มีขึ้นในทุกวันแรม 1 ค้่า เดือน 4
ซึ่งก็คอื เดือนมีนาคม

สงกรานต์ เป็นคา้ ในภาษา สนั สกฤต ทห่ี มายถึง การเคลื่อนย้าย โดยเป็นการอุปมาถึงการ
เคลื่อนย้ายการประทับในจักรราศี หรือการเคล่ือนเข้าสู่ปีใหม่ตามความเช่ือของไทยและบาง
ประเทศในแถบเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ประเพณีสงกรานต์น้ันมีสืบทอดกันมาต้ังแต่โบราณคู่กับ
ตรุษ จึงมักเรียกรวมกนั ว่า ประเพณตี รุษสงกรานต์ หมายถงึ การส่งทา้ ยปเี ก่าตอ้ นรบั ปีใหม่

เดมิ ทวี นั ท่ีจัดสงกรานต์นี้น้ันจะมีการค้านวณทางดาราศาสตร์ แต่ในปัจจุบันได้มีการก้าหนด
วนั ทแ่ี นน่ อน คอื ต้ังแต่ 13 – 15 เมษายน แต่เดิม วันข้ึนปีใหม่ไทย คือ วันเริ่มปีปฏิทินของ
ไทยจนถึง พ.ศ. 2431 และได้มีการเปล่ียนแปลงมาเป็นวันท่ี 1 เมษายน เป็นวันขึ้นปีใหม่
จนถึง พ.ศ. 2483

เม่ือครั้งก่อน พิธีสงกรานต์ เป็นพิธีกรรมที่เกิดขึ้นภายในครอบครัว หรือชุมชนบ้านใกล้
เรอื นเคียง แตใ่ นปัจจบุ ันไดม้ กี ารเปลย่ี นแปลงให้พิธีสงกรานต์นั้นเป็นเทศกาลสงกรานต์ โดยได้
ขยายออกไปสู่คมเป็นวงกว้างมากขึ้น และมีแนวโน้มที่จะเปลี่ยนทัศคติ ตลอดจนความเช่ือไป
แต่เดิมในพิธีสงกรานต์จะใช้ น้า เป็นสัญลักษณ์ท่ีเป็นองค์ประกอบหลักของพิธี แก้กันกับ
ความหมายของฤดรู อ้ น ชว่ งเวลาท่ีพระอาทติ ยเ์ คลื่อนเขา้ สูร่ าศีเมษ ในวันน้ีจะใช้น้ารดให้แก่กัน
เพ่ือความชมุ่ ชน่ื มีการขอพรจากผู้ใหญ่ มีการรา้ ลึกและกตัญญูต่อบรรพบุรุษที่ล่วงลับ ต่อมาใน
สังคมไทยสมัยใหม่เกดิ เป็นประเพณีกลับบ้านในช่วงเทศกาลสงกรานต์ นับว่าวันสงกรานต์เป็น
วันครอบครัว อีกทั้งยังมีประเพณีที่สืบทอดมาต้ังแต่ด้ังเดิม อย่าง การสรงน้าพระท่ีน้ามาซ่ึง
ความเป็นสิริมงคล เพอ่ื ให้เป็นการเร่ิมต้นปีใหม่ที่มคี วามสขุ

ปจั จุบันได้มกี ารประชาสมั พันธ์ในเชิงท่องเที่ยวว่าเป็น Water Festival หรือ เทศกาลแห่งน้า
โดยได้ตัดขอ้ มูลในส่วนท่ีเป็นความเชื่อดั้งเดิมออกไป

การก้าเนิดวันสงกรานต์ มีเร่ืองเล่าสืบต่อกันมาโดยใจความจารึกที่วัดพระเชตุพนวิมลมัง
คลารามฯ วา่ …

เม่ือตน้ ภัทรกัลป์ มีเศรษฐีคนหนึ่ง มง่ั มีทรพั ยม์ าก แตไ่ มม่ ีบุตร บ้านอยู่ใกล้กับนักเลงสุรา
ซ่งึ นักเลงสุรานั้นมีบุตร 2 คน ท่ีผิวเนื้อดุจดั่งทอง วันหนึ่งนักเลงสุราเข้าไปในบ้านของเศรษฐีผู้
นนั้ แลว้ ด่าด้วยถอ้ ยค้าทีห่ ยาบคายตา่ งๆ นานๆ เศรษฐีเม่อื ได้ฟังแลว้ จงึ ถามวา่

พวกเจ้ามาพดู หยาบคายดูหม่ินเราผูเ้ ปน็ เศรษฐเี พราะเหตใุ ด
พวกนกั เลงสรุ าจงึ ตอบวา่

ท่านมีสมบัตมิ ากมายแตห่ ามบี ตุ รไม่ เมือ่ ทา่ นตายไป สมบัติกจ็ ะอนั ตรธานไปมหด หาประโยชน์
อันใดมไิ ด้ เพราะขาดทายาทผู้ปกครอง ขา้ พเจา้ มบี ตุ รถงึ 2 คน อกี ทั้งรูปรา่ งงดงามเสยี ด้วย
ข้าพเจ้าจึงดีกว่าท่าน

เศรษฐีครั้นได้ฟังก็เห็นจริงด้วย จึงเกิดความละอายต่อนักเลงสุรายิ่งนัก นึกใคร่อยากได้บุตร
บ้าง จากน้ันได้ท้าการบวงสรวงพระอาทิตย์และพระจันทร์ ตั้งจิตอธิษฐานเพื่อขอให้มีบุตร
เมื่ออยู่ถงึ 3 ปี กม็ ิไดม้ บี ตุ รตามทปี่ ราถนา

เมื่อขอบุตรจากพระอาทิตย์และพระจันทร์มิได้ตามดังท่ีปราถนา อยู่มาวันหน่ึงเมื่อถึงฤดู
คมิ หนั ต์ จติ รมาส (เดือน 5) โลกสมมติว่าเป็นวันมหาสงกรานต์ คือ พระอาทิตย์ยกจากราศีมีน
ประเวสสู่ราศีเมษ ผู้คนทั้งหลายต่างพากันเล่นนักขัตฤกษ์อันเป็นการรื่นเริงขึ้นปีใหม่ไปทั่วท้ัง
ชมพทู วีป ขณะนั้น เศรษฐจี ึงพาข้าทาสบริวารไปยังตน้ ไทรริมฝ่ังแมน่ ้าอนั เป็นทอ่ี ยู่แหง่ ปักษีชาติ
ทั้งหลาย เอาข้าวสารซาวน้า 7 คร้ังแล้วหุงบูชา รุกขพระไทร พร้อมด้วยสูปพยัญชนะอัน
ประณตี และประโคมดว้ ยดุรยิ างค์ดนตรตี า่ งๆ ต้ังจิตอธิษฐานขอบุตรจากรกุ ขพระไทร รุกขพระ
ไทรมีความกรุณา เหาะไปขอบุตรกบั พระอินทรใ์ ห้กับเศรษฐี
ต่อมา พระอินทร์จึงให้ธรรมบาลเทวบุตรลงไปปฏิสนธิในครรภ์ บิดามารดาจึงขนานนามว่า
ธรรมบาลกุมาร แล้วปลูกปราสาทขึ้นให้กุมารอยู่ใต้ต้นไทรริมสระฝั่งแม่น้าน้ัน ครั้นเมื่อกุมาร
เจริญข้ึนก็รู้ภาษานกและเรียนจบไตรเพทเม่ือมีอายุได้ 8 ขวบ อีกทั้งยังได้เป็นอาจารย์บอก
มงคลการต่างๆ แก่มนษุ ย์ชาวชมพทู วีปทัง้ ปวง

ซ่ึงขณะนั้น โลกทั้งหลายนับถือท้าวมหาพรหม มีกบิลพรหมองค์หนึ่งได้แสดงมงคลการแก่
มนุษย์ทั้งปวง เม่ือกบิลพรหมได้แจ้งเหตุที่ธรรมกุมารเป็นผู้มีช่ือเสียง เป็นท่ีนับถือของมนุษย์
ชาวโลกทั้งหลาย จงึ ได้ลงมาถามปัญหาแก่ธรรมกุมาร 3 ข้อ ดงั ความว่า

1.เวลาเชา้ สริ ิ คือ ราศีอยู่ทไ่ี หน
2.เวลาเทยี่ ง สิริ คือ ราศอี ยูท่ ีไ่ หน
3.เวลาเยน็ สิริ คอื ราศอี ยู่ทีไ่ หน

และท้าวกบลิ พรหมได้ให้สญั ญาวา่ ถ้าทา่ นแกป้ ัญหา 3 ขอ้ นีไ้ ด้ เราจะตัดศรี ษะมาบชู าทา่ น
ถ้าท่านแกไ้ มไ่ ด้ เราจะตดั ศีรษะของท่านเสยี ธรรมกุมารรับสัญญา แต่ผลัดแก้ปัญญาไป 7 ท้าว
กบิลพรหมกก็ ลบั ไปยงั พรหมโลก

ฝ่ายธรรมบาลกุมารพิจารณาปญั หาน้ันลว่ งไปได้ 6 แลว้ แตก่ ็ยังไม่เห็นอุบายท่ีจะตอบปัญหาได้
จึงคดิ วา่ พรงุ่ นีแ้ ลว้ หนอท่เี ราจะตอ้ งตายด้วยอาญาของท้าวกบิลพรหม เราหาต้องการไม่ จ้าจะ
หนีไปซกุ ซอ่ นตนเสียดกี ว่า เมื่อคิดแล้วกล็ งจากปราสาท ออกเท่ียวนอนที่ต้นตาล 2 ต้นซึ่งมีนก
อนิ ทรี 2 ตัวผัวเมียทา้ รงั อยู่บนต้นตาลน้ัน
ขณะทธ่ี รรมบาลกุมารนอนอยู่ใตต้ น้ ตาลนัน้ พลางไดย้ ินเสยี งนางนกอนิ ทรถี ามผวั ว่า พรุ่งนเี้ ราจะ
ไปหาอาหารท่ีไหน นกอินทรีตัวผู้จึงตอบว่า พรุ่งน้ีครบ 7 วันที่ท้าวกบิลพรหมถามปัญหาแก่
ธรรมบางกุมาร แตห่ ากธรรมบาลกุมารแก้ไมไ่ ด้ ทา้ วกบลิ พรหมกจ็ ะตดั ศรี ษะเสียตามสัญญา

เราท้ัง 2 จะได้กินเน้ือมนุษย์ คือ ธรรมบาลกุมารเป็นอาหาร นางนกอินทรีจึงถามว่า ท่านรู้
ปัญหาหรอื ผ้ผู ัวตอบวา่ รู้ แล้วก็เล่าใหน้ างนกอินทรีฟงั ต้ังแต่ตน้ จนปลายว่า

1. เวลาเชา้ ราศีอยู่ท่ี หน้า คนท้ังหลายจึงเอาน้าล้างหนา้
2. เวลาเทีย่ ง ราศีอยูท่ ี่ อก คนทัง้ หลายจงึ เอาน้าและแปง้ กระแจะจันทร์ลูกไลท้ อ่ี ก
3. เวลาเย็น ราศีอยูท่ ่ี เทา้ คนทงั้ หลายจึงเอานา้ ลา้ งเทา้

ธรรมบาลกุมารที่นอนอยู่ใต้ต้นไม้ได้ยินการสนทนาของท้ังสองก็จ้าได้ จึงมีความโสมนัส ปีติ
ยินดีเป็นอนั มาก จงึ เดินทางกลับมาที่ปราสาทของตน คร้ันถึงวาระเป็นค้ารบ 7 วันตามสัญญา
ท้าวกบิลพรหมก็ลงมาถามปัญหาท้ัง 3 ข้อตามที่นัดหมายกันไว้ ธรรมบาลกุมารก็วิสัชนา
แก้ปญั หาท้งั 3 ข้อตามที่ได้ฟังมาจากนกอินทรีน้ัน ท้าวกบิลพรหมยอมรับว่าถูกต้อง และยอม
แพ้แกธ่ รรมบาล จ้าตอ้ งตัดศีรษะของตันบูชาตามทสี่ ัญญาไว้ แต่ก่อนท่ีจะตัดศีรษะ ได้เรียกธิดา
ท้งั 7 อันเปน็ บาทบรจิ ารกิ าของพระอินทร์ คอื
1. นางทงุ ษะเทวี 2. นางรากษเทวี 3. นางโคราคเทวี 4. นางกิรณิ เี ทวี 5. นางมณฑาเทวี
6. นางกิมิทาเทวี 7. นางมโหธรเทวี

อันโลกสมมติว่าเป็นองค์มหาสงกรานต์กับท้ังเทพบรรษัทมาพร้อมกัน จึงได้บอกเรื่องราวให้
ทราบและตรสั ว่า พระเศียรของเรานี้ ถา้ ต้ังไวบ้ นแผน่ ดินก็จะเกดิ ไฟไหมไ้ ปท่วั โลกธาตุ

ถา้ จะโยนขน้ึ ไปบนอากาศฝนกจ็ ะแล้ง เจา้ ท้ัง 7 จงเอาพานมารองรบั เศียรของบิดาไว้เถิด คร้ันแล้ว
ทา้ วกบิลพรหมก็ตัดพระเศียรแคพ่ ระศอส่งให้นางทงุ ษะเทวีธิดาองค์ใหญ่ในขณะนั้น โลกธาตุก็เกิด
โกลาหลอลเวงยงิ่ นกั

เมอ่ื นางทุงษะมหาสงกรานตน์ ้าพานมารองรับพระเศียรของท้าวกบิลพรหม แล้วให้เทพบรรษัท
แห่ประทักษิณเวียนรอบเขาพระสุเมรุ 60 นาที จากน้ันจึงเชิญเข้าประดิษฐานไว้ในมณฑป
ณ ถ้าคันธลุ ี เขาไกรลาศ กระทา้ การบชู าดว้ ยเครื่องทพิ ย์ตา่ งๆ ตอ่ มาพระวษิ ณุกรรมเทพบุตรได้
เนรมิตโลงแก้ว อันประกอบไปดว้ ยแก้ว 7 ประการ แล้วให้เทพยดาท้ังหลายน้ามาซึ่งเถาฉมุนา
ตลงล้างน้าในสระอโนดาต 7 คร้งั แลว้ แจกกนั สังเวยทัว่ ทกุ ๆ พระองค์ คร้นั ได้วาระครบก้าหนด
365 วัน โลกสมมติว่าปีหนึ่งเป็นวันสงกรานต์ เทพธิดาทั้ง 7 ก็ทรงเทพพาหนะต่างๆ
ผลัดเปลี่ยนเวียนมาเชิญพระเศียรท้าวกบิลพรหมออกแห่ พร้อมด้วยเทพบรรษแสนโกฏิ
ประทักษณิ เวียบรอบเขาพระสุเมรรุ าชบรรษัทเป็นเวลา 60 นาที แล้วจึงน้ากลับไปประดิษฐาน
ไว้ตามเดิม ซ่ึงในแต่ละปีก็จะมีนางสงกรานต์แต่ละนางมาท้าหน้าที่ผลัดเปลี่ยนกันตามวัน
มหาสงกรานต์

การท้าบุญตักบาตร นับว่าเป็นการสร้างบุญสร้างกุศลให้กับตนเอง อีกท้ังยังเป็นการอุทิศส่วน
กุศลนั้นให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว การท้าบุญในลักษณะนี้มักจะมีการเตรียมไว้ล่วงหน้า
เมอื่ ถงึ เวลาท้าบุญก็จะน้าอาหารไปตักบาตรถวายพระภิกษุท่ีศาลาวัดโดยจัดเป็นที่รวมส้าหรับ
การทา้ บุญ ในวนั เดียวกันน้ีหลังจากท่ีได้ท้าบุญเสร็จเรียบร้อย ก็จะมีการก่อเจดีย์ทรายอันเป็น
ประเพณีทส่ี า้ คญั ในวนั สงกรานตอ์ กี ดว้ ย

การรดน้า นับได้ว่าเป็นการอวยพรปีใหม่ให้แก่กันและกัน น้าที่น้ามาใช้รดหัวในการน้ีมักเป็น
น้าหอมเจอื ด้วยน้าธรรมดา

การสรงน้าพระ เป็นการรดน้าพระพุทธรูปท่ีบ้านและที่วัด ซ่ึงในบางที่ก็จะมีการจัดให้สรงน้า
พระสงฆ์เพ่ิมเตมิ ดว้ ย

การบังสุกุลอัฐิ ส้าหรับเถ้ากระดูกของญาติผู้ใหญ่ที่ได้ล่วงลับไปแล้ว มักท้าที่เก็บเป็น
ลักษณะของเจดยี ์ จากน้ันจะนิมนต์พระไปบังสุกลุ

การรดน้าผู้ใหญ่ คือการท่ีเราไปอวยพรผู้ใหญ่ใท่ีห้ความเคารพนับถือ อย่าง ครูบาอาจารย์
มักจะนั่งลงกับท่ี จากนั้นผู้ที่รดก็จะเอาน้าหอมเจือกับน้าธรรมดารดลงไปท่ีมือ ผู้หลักผู้ใหญ่
ก็จะให้ศีลให้พรผู้ที่ไปรด หากเป็นพระก็อาจน้าเอาผ้าสบงไปถวายเพ่ือให้ผลัดเปลี่ยนด้วย
แต่ห า ก เป็นฆรา ว า สก็จ ะ ห า ผ้า ถุง ห รือผ้า ข า ว ม้า ไป ให้ เปลี่ย น มีคว า มห มา ย
กับการเรม่ิ ต้นส่งิ ใหม่ๆ ในวนั ปีใหม่ไทย

การดา้ หัว มจี ุดประสงค์คล้ายกบั การรดน้าของทางภาคกลาง สว่ นใหญ่จะพบเห็นการด้าหัวได้
ทางภาคเหนอื การดา้ หวั ท้าเพื่อแสดงความเคารพตอ่ ผ้ทู อี่ าวุโสว่า ไมว่ า่ เป็น พระ ผู้สูงอายุ ซ่ึง
จะมีการขอขมาในส่ิงท่ีได้ล่วงเกิน หรือเป็นการขอพรปีใหม่จากผู้ใหญ่ ของที่ใช้ในการด้าหัว
หลักๆ ประกอบด้วย อาภรณ์ มะพร้าว กล้วย สม้ ป่อย เทยี น และดอกไม้

การปล่อยนกปล่อยปลา ถือว่าการล้างบาปท่ีเราได้ท้าไว้ เป็นการสะเดาะเคราะห์ร้ายให้
กลายเปน็ ดี มแี ตค่ วามสุข ความสบายในวนั ขึ้นปใี หม่

การขนททรายเข้าวัด ในทางภาคเหนือนิยมขนทรายเข้าวัดเพ่ือเป็นนิมิตโชคลาคให้พบ
แต่ความสุข ความเจริญ เงินทองไหลมาเทมาดุจทรายท่ีขนเข้าวัด แต่ก็มีบางพ้ืนท่ีมี
ความเชื่อวา่ การนา้ ทรายทต่ี ดิ เท้าออกจากวัดเปน็ บาป จงึ ต้องขนทรายเข้าวัดเพ่ือไม่ให้
เกดิ บาป

ขอขอบคุณข้อมูล : Wikipedia.org
เว็บไซต์ http://event.sanook.com/day/songkran/

ผลิตสอ่ื โดย : นางสาวสิรภิ สั สรณ์ เปีย่ มทอง บรรณารักษอ์ ตั ราจา้ ง


Click to View FlipBook Version