The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการจัดทำงบกระแสเงินสดมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pennapa Seeda, 2023-09-06 04:10:43

คู่มือการจัดทำงบกระแสเงินสดมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

คู่มือการจัดทำงบกระแสเงินสดมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ก คํานํา งบกระแสเงินสด (Cash Flow Statement) เปนเครื่องมือสําคัญที่ทําใหผูใชงบการเงิน ทราบถึงเงินสดที่ไดรับเขา (Cash Inflow) เงินสดที่หนวยงานจายออกไป (Cash Outflow) รวมทั้ง แสดงถึงเงินสดเปลี่ยนแปลงสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน กิจกรรมการลงทุนและกิจกรรมการจัดหาเงิน ของหนวยงาน ในระหวางงวดบัญชีหนึ่งมีประโยชนเพื่อนําไปใชเปนเครื่องมือในการบริหารสภาพคลอง และประเมินถึงความสามารถของหนวยงานในเรื่องการรับเงินและการจายเงิน มาตรฐานการบัญชีภาครัฐ ฉบับที่ 1 เรื่อง การนําเสนอรายงานการเงิน ไดระบุใหงบกระแส เงินสดเปนสวนหนึ่งของรายงานการเงินที่หนวยงานตองจัดทํา แมวายังไมไดประกาศใชมาตรฐานการ บัญชีภาครัฐ ฉบับที่ 2 เรื่อง งบกระแสเงินสด แตกรมบัญชีกลางไดออกแนวปฏิบัติการจัดทํางบกระแส เงินสดตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0410.3/ว 422 ลงวันที่ 25 พฤศจิกายน 2547 เรื่องการ จัดทํางบกระแสเงินสด จากที่กลาวขางตนเห็นไดวามีแนวปฏบัติในการจัดทําและเปดเผยขอมูลที่หลากหลาย จึงทํา ใหผูจัดทํางบการเงินตองใชความระมัดระวังและความเชี่ยวชาญในการวิเคราะหรายการทางบัญชีที่ เกี่ยวของกับงบกระแสเงินสด เพื่อใหงบกระแสเงินสดไดแสดงถึงเงินสดไหลเขาและเงินสดไหลออกได ตรงตามความเปนจริงของหนวยงานนั้นๆ ซึ่งหากการจัดทํางบกระแสเงินสดไมถูกตองจะกอใหเกิดการ หลงผิดในการวิเคราะหความหมายของงบกระแสเงินสด และไมแสดงถึงเงินสดที่ไดรับเขาและเงินสดที่ จายออกไปตลอดจนยอดคงเหลือของเงินสดที่แทจริงของรอบระยะเวลาบัญชีนั้น ซึ่งจะกอใหเกิด ผลเสียกับหนวยงานในเรื่อง การเปดเผยขอมูลอยางเพียงพอจึงเปนผลใหเกิดขอยุงยากในการจัดทํา ดังนั้นผูจัดทําจึงไดจัดทํา คูมือการจัดทํางบกระแสเงินสด ฉบับนี้ เพื่อเปนประโยชนตอมหาวิทยาลัย และผูที่เกี่ยวของ รวมถึงผูที่สนใจเรื่องนี้ตามสมควร นางสาวเพ็ญนภา สีดา กองคลัง สํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 30 กรกฎาคม 2566


ข สารบัญ หนา คํานํา ก สารบัญ ข สารบัญตาราง ค สารบัญภาพ ง บทที่ 1 บทนํา 1 1.1 ความเปนมา 1 1.2 วัตถุประสงค 2 1.3 ประโยชนที่ไดรับ 2 1.4 ขอบเขตและขอจํากัด 2 1.5 คํานิยาม 3 บทที่2 กฎหมายที่เกี่ยวของและหลักเกณฑวิธีปฏิบตัิงาน 4 2.1 มาตรฐานการบัญชี 4 2.2 การนําเสนองบกระแสเงินสด 4 บทที่ 3 ขั้นตอนการปฏิบตัิงาน 8 3.1 บทบาทหนาที่ 8 3.2 หนาที่หลัก / ลักษณะงานที่ปฏิบัติ 9 3.3 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน การจัดทํางบกระแสเงินสด 10 บทที่ 4 ปญหา อุปสรรค แนวทางแกไข 30 4.1 ปญหาในการจัดทํางบกระแสเงินสด 30 4.2 แนวทางแกไข 30 4.3 ขอเสนอแนะ 30 บรรณานุกรม 31


ค สารบัญตาราง หนา ตารางที่ 1 ตารางสรุปการคํานวณกระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน 17 ตารางที่ 2 ตารางสรุปการคํานวณกระแสเงินสดจากกิจกรรมการดําเนินงานทางออม 19


ง สารบัญรูป หนา รูปภาพที่ 1 ความสัมพันธของเกณฑเงินสดกับเกณฑคงคาง 11 รูปภาพที่ 2 แสดงความเชื่อมโยงระหวาง งบแสดงฐานะการเงิน งบแสดงผลการดําเนินงาน และงบกระแสเงินสด 16 รูปภาพที่ 3 ผังแสดงรายละเอียดขั้นตอนการจัดทํางบกระแสเงินสด 29


บทที่ ๑ บทนํา ๑.1 ความเปนมา เงินสด เปนรายการทางบัญชีที่สําคัญรายการหนึ่ง ที่แสดงถึงสภาพคลองของหนวยงาน วามีมากเพียงใด หนวยงานจึงใหความสนใจการเปลี่ยนแปลงของเงินสด ทั้งนี้เพื่อใชเปนขอมูลการ ตัดสินใจตางๆ ที่เกี่ยวของกับการดําเนินงานของหนวยงาน เงินสดและงบกระแสเงนิสดจะแสดงใหเห็น ถึงการเปลี่ยนแปลงของเงินสดวาเปนไปอยางไรบาง มีสาเหตุมาจากสิ่งใด และแสดงแหลงที่มาและ แหลงใชไปของเงินสดในแตละงวดเวลาวาไดมาจากทางใดเปนจํานวนเทาใด โดยเฉพาะอยางยิ่งจะ แสดงใหทราบถึงเงินสดที่ไดมาและใชไปในกิจกรรมเกี่ยวกับการจัดหาเงินทุน การลงทุน และการ ดําเนินงาน ระเบียบมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีวาดวยการเงินและทรัพยสิน พ.ศ. 2560 ไดกําหนดให สวนราชการจัดทํางบกระแสเงินสดอีกงบหนึ่งนอกจากงบแสดงฐานะการเงินและงบแสดงผลการ ดําเนินงาน และตองนําเสนองบกระแสเงินสดในแตละรอบระยะเวลารายงาน ซึ่งผูบริหารจําเปนตองใช ขอมูลในงบกระแสเงินสดชวยในการพิจารณาตัดสินใจในการบริหารงานใหเพียงพอ เพื่อใหหนวยงาน ไมมีความเสี่ยงตอการขาดสภาพคลองทางการเงินอันอาจมีผลกระทบตอการดําเนินงานของหนวยงาน การจัดทํางบกระแสเงินสดตามมาตรฐานการบัญชี มีความซับซอนและขั้นตอนการจัดทําที่ยาก พอสมควรโดยเฉพาะการพิจารณาจําแนกรายการเงินสดที่ไดมาและเงินสดที่ใชไปใหเปนไปตาม มาตรฐานการบัญชี ดังนั้นจึงจําเปนตองจัดทําคูมือการจัดทํางบกระแสเงินสด เพื่อกําหนดหลักการ วิธีการและลําดับขั้นตอนในการพิจารณาจัดทํางบกระแสเงินสดใหเปนไปอยางถูกตองตามมาตรฐาน การบัญชี และงายตอการทําความเขาใจของผูจัดทํางบกระแสเงินสดและเปนประโยชนอยางสูงสุดตอ คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยและผูใชงบการเงนิอื่น เนื้อหาสาระสําคัญของการจัดทํางบกระแสเงินสดจะกลาวถึง 1) ความสําคัญของงบกระแสเงินสด มีประโยชนตอคณะกรรมการดําเนินการบริหาร มหาวิทยาลัยนําไปใชในการบริหารจัดการสภาพคลองของมหาวิทยาลัยอยางไรบาง 2) รูปแบบงบกระแสเงินสด พรอมคําอธิบายการจัดรายการในงบกระแสเงินสด 3) ขั้นตอนการจัดทํางบกระแสเงินสด โดยเริ่มตั้งแต การจําแนกรายการกระแสเงินสด ไดมาและกระแสเงินสดใชไปภายใตกิจกรรมดําเนินงาน กิจกรรมลงทุนและกิจกรรมจัดหาเงิน มี หลักการพิจารณาอยางไรบาง 4) เครื่องมือการจัดทํางบกระแสเงินสดคือการจัดทํากระดาษทําการงบกระแสเงินสด โดยอธิบายถึงลําดับขั้นตอนการพิจารณารายการในงบแสดงผลการดําเนินงานและงบแสดงฐานะ การเงิน 5) การจัดทํางบกระแสเงินสด โดยอธิบายการนําขอมูลจากกระดาษทําการงบกระแสเงิน สดมาจัดทํางบกระแสเงินสดในรูปแบบรายงาน


2 คูมือการจัดทํางบกระแสเงินสด นางสาวเพ็ญนภา สีดา นักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการ 1.2 วัตถุประสงค เพื่อใหหนวยงานในมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ใชเปนคูมือในการจัดทํางบกระแสเงินสด ใหทราบถึงการเคลื่อนไหวของกระแสเงินสดของหนวยงานในรอบระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ซึ่งแสดให ทราบวาหนวยงานไดรับเงินมาจากแหลงใดและนําไปใชในเรื่องใด ณ วันที่จัดทํารายงานการเงินมีเงิน เหลืออยูเทาใด ทั้งนี้ ผูใชรายงานการเงินสามารถนําไปวิเคราะหเพื่อประเมินความสามารถของ หนวยงานที่จะไดรับ-จายเงินสดและความจําเปนของหนวยงานในการใชเงินสดเพื่อการดําเนินงาน 1.๓ ประโยชนที่ไดรับ 1.3.๑ เพื่อวางแผนการใชจายเงินของหนวยงาน 1.3.๒ เพื่อเปนขอมูลในการบริหารจัดการเงินสดของหนวยงาน ซึ่งงบแสดงฐานะ การเงิน และงบแสดงผลการดําเนินงานทางการเงินไมสามารถแสดงขอมูลเหลานี้ใหเห็นได เนื่องจาก การจัดทําบัญชีตามเกณฑคงคาง 1.3.๓ หนวยงานสามารถนําขอมูลที่แสดงในงบกระแสเงินสดไปวิเคราะหความจําเปนที่ จะใชเงินสดของหนวยงาน รวมทั้งสามารถตรวจสอบการใชเงินงบประมาณของหนวยงานไดดวย 1.3.4 หนวยงานสามารถจัดสรรเงินงบประมาณที่มีอยางจํากัดใหเกิดประโยชนสูงสุด หากเงินที่มีอยูไมเพียงพอสามารถวางแผนการใชเงินใหสอดคลองและเพียงพอกับความตองการใชเงิน ของหนวยงานเกิดประสิทธิภาพในการจัดการหนี้สินและเงินงบประมาณ นอกจากนี้ งบกระแสเงินสดยังชวยใหผูใชรายงานการเงินสามารถเปรียบเทียบผลการ ดําเนินงานของหนวยงานตางๆ ไดดียิ่งขึ้น เนื่องจากเปนรายงานที่ตัดผลกระทบที่เกิดจากการเลือกใช หลักการและนโยบายบัญชีที่แตกตางกันสําหรับรายการและเหตุการณเดียวกันออกไปรวมทั้งขจัด ปญหาการปนสวนรายไดและคาใชจายในแตละรอบระยะเวลาบัญชี 1.4 ขอบเขตและขอจํากัด คูมือการจัดทํางบกระแสเงินสดฉบับนี้ใชกับผูปฏิบัติงานดานบัญชี ของมหาวิทยาลัย อุบลราชธานี โดยการจัดทํางบกระแสเงินสดใหเปนไปตามขอกําหนดในมาตรฐานการบัญชี และตอง นําเสนองบกระแสเงินสดเปนสวนหนึ่งของงบการเงินของหนวยงานที่นําเสนอในแตละรอบระยะเวลา รายงาน


3 คูมือการจัดทํางบกระแสเงินสด นางสาวเพ็ญนภา สีดา นักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการ 1.5 คํานิยาม คําศัพทที่ใชในการจัดทํางบกระแสเงินสด ตามมาตรฐานการบัญชี มีความหมาย โดยเฉพาะ ดังนี้ งบกระแสเงินสด (Cash Flow Statement) หมายถึง งบการเงินที่แสดงเงินสดที่ไดรับเขา (Cash Inflow) เงินสด ที่จายออกไป (Cash Outflow) และเงินสดเปลี่ยนแปลง สุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน กิจกรรมการลงทุน และ กิจกรรมจัดหาเงินของกิจการในระหวางงวดบัญชีหนึ่ง โดย กระทบยอดเงินสดยกมาตนงวดกับเงินสดคงเหลือปลายงวด เงินสด (Cash) หมายถึง เงินสดในมือและเงินฝากธนาคารที่ตองจายคืนเมื่อทวงถาม เชน เงินสดยอย เช็คที่ถึงกําหนดชําระแตยังไมไดนําฝาก เช็คเดินทาง เงินฝากธนาคารกระแสรายวันและออมทรัพย เปนตน รายการเทียบเทาเงินสด (Cash equivalents) หมายถึง เงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคลองสูง โดยมีวันครบกําหนด ภายในระยะเวลา 3 เดือน หรือนอยกวานับจากวันที่กิจการ ไดมา ซึ่งพรอมที่จะเปลี่ยนเปนเงินสดในจํานวนที่ทราบได และมีความเสี่ยงที่ไมมีนัยสําคัญตอการเปลี่ยนแปลงใน มูลคา เชน เงินฝากประจําที่มีอายุไมเกิน 3 เดือน เปนตน กระแสเงินสด (Cash flows) หมายถึง การเขาและออกของเงินสดและรายการเทียบเทาเงนิสด กิจกรรมดําเนินงาน (Operating Activities) หมายถึง กิจกรรมหลักที่กอใหเกิดรายไดของกิจการและกิจกรรมอื่นที่ มิใชกิจกรรมลงทุนหรือกิจกรรมจัดหาเงิน กิจกรรมลงทุน (Investing Activities) หมายถึง การไดมาและการจําหนายสินทรัพยระยะยาวและเงินลงทุน อื่น ซึ่งไมรวมอยูในรายการเทียบเทาเงินสด กิจกรรมจัดหาเงิน (Financing Activities) หมายถึง กิจกรรมที่มีผลทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในขนาดและ องคประกอบของสวนของเจาของและสวนของการกูยืมเงิน ของหนวยงาน


บทที่ ๒ กฎหมายที่เกยี่วของและหลักเกณฑวิธีการปฏิบัติงาน 2.1 มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการบัญชีภาครัฐ ฉบับที่ 1 เรื่องการนําเสนอรายงานการเงิน รายงานการเงิน ฉบับสมบูรณประกอบดวยรายการทุกขอ ดังตอไปนี้ 1. งบแสดงฐานะการเงนิ 2. งบแสดงผลการดําเนินงานทางการเงิน 3. งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสินทรัพยสุทธิ/สวนทุน 4. งบกระแสเงินสด 5. รายงานเปรียบเทียบงบประมาณที่ไดรับอนุมัติจัดสรรและจํานวนเงินที่ใชจริง ซึ่ง อาจจะแสดงเปนรายงานแยกตางหากหรือแสดงในหมายเหตุประกอบงบการเงิน 6. หมายเหตุประกอบงบการเงิน ซึ่งประกอบดวยสรุปนโยบายการบัญชีที่สําคัญ และ ขอมูลที่ใหคําอธิบายอื่น 7. ขอมูลเปรียบเทียบของงวดกอนตามที่ระบุไวในยอหนาที่ 40 และ 40ก ซึ่งกอนหนานี้ผูจัดทําไดกลาวถึงการจัดทํางบแสดงฐานะการเงิน งบแสดงผลการ ดําเนินงานทางการเงิน และหมายเหตุประกอบงบการเงิน แลว ในคูมือเลมนี้ผูจัดทําจะไดนําเสนอการ จัดทํางบกระแสเงินสด โดยงบกระแสเงินสดจะเปนประโยชนตอผูใชงบการเงิน เพื่อเปนเกณฑในการ ประเมินความสามารถของหนวยงาน ในการกอใหเกิดเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด รวมถึง ประเมินความตองการการใชกระแสเงินสดของหนวยงานในอนาคต แมวากรมบัญชีกลางยังไมได ประกาศใชมาตรฐานการบัญชีภาครัฐ ฉบับที่ 2 เรื่อง งบกระแสเงินสด แตไดมีการแจงเวียนแนว ปฏิบัติการจัดทํางบกระแสเงินสดตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0410.3/ว 422 ลงวันที่ 25 พฤศจิกายน 2547 เรื่องการจัดทํางบกระแสเงินสด และไดกําหนดไววางบกระแสเงินสดตองแสดง กระแสเงินสดในระหวางรอบระยะเวลารายงาน 2.2 การนําเสนองบกระแสเงินสด หนวยงานตองแสดงกระแสเงินสดรับและกระแสเงินสดจายที่เกิดขึ้นในระหวางรอบ ระยะเวลารายงานในงบกระแสเงินสด โดยจําแนกกระแสเงินสดเปน 3 กิจกรรม ดังนี้ 1) กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน (Cash Flows from Operating Activities) 2) กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน (Cash Flows from Investing Activities) 3) กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน (Cash Flows from Financing Activities) 2.2.1 การแสดงกระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน (Cash Flows from Operating Activities) เปน กระแสเงินสดที่เกิดจากกิจกรรมหลักที่กอใหเกิดรายไดของหนวยงาน และจากกิจกรรมอื่นที่ไมใช


5 คูมือการจัดทํางบกระแสเงินสด นางสาวเพ็ญนภา สีดา นักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการ กิจกรรมลงทุนหรือกิจกรรมจัดหาเงิน โดยทั่วไปแลว กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงานสามารถ แสดงใหเห็นถึงความสามารถในการดําเนินงานของหนวยงานในการกอใหเกิดกระแสเงินสดที่เพียงพอ สําหรับการดําเนินงานของหนวยงาน การชําระคืนเงินกูยืม การจายเงินปนผล ตลอดจนการลงทุนใหม โดยไมจําเปนตองพึ่งพาการจัดหาเงินจากแหลงเงนิทุนภายนอก ตัวอยางของกระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน 1. เงินสดรับจากการขายสินคาและการใหบริการ 2. เงินสดรับจากรายไดคาสิทธิคาธรรมเนียม คานายหนา และรายไดอื่น 3. เงินสดจายผูขายสําหรับสินคาและบริการ 4. เงินสดจายแกพนักงานและจายแทนพนักงาน 5. เงินสดจายหรือไดรับคืนคาภาษีเงินได ยกเวนหากรายการดังกลาวสามารถระบุ เจาะจงไดกับกิจกรรมลงทุนและกิจกรรมจัดหาเงิน 6. เงินสดรับและจายจากสัญญาที่ถือไวเพื่อซื้อขายหรือเพื่อคา นอกจากนี้รายการขายที่ดินอาคารและอุปกรณ อาจทําใหเกิดผลกําไรหรือขาดทุนซึ่งจะ รวมอยูในกําไรหรือขาดทุนที่รับรูกระแสเงินสดที่เกี่ยวของกับรายการดังกลาวเปนกระแสเงินสด จาก กิจกรรมลงทุน และหากมีเงินสดจายเพื่อผลิตหรือเพื่อซื้อสินทรัพยซึ่งถือไวเพื่อใหผูอื่นเชา และ ตอมา ถือไวเพื่อขาย ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 เรื่อง ที่ดินอาคารและ อุปกรณ ใหถือเปนกระแสเงิน สดจากกิจกรรมดําเนินงาน สวนเงินสดรับจากคาเชาและการขาย สินทรัพยในเวลาตอมาก็ใหถือเปน กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงานเชนเดียวกัน การถือหลักทรัพยและเงินใหกูยืมเพื่อซื้อขายหรือเพื่อคา จะมีลักษณะคลายกับสินคา คงเหลือที่ซื้อมาเพื่อขายตอดังนั้น กระแสเงินสดที่เกิดจากการซ้ือและขายหลักทรัพยเพื่อซื้อขาย หรือ เพื่อคาใหจัดเปนกระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน เงินสดจายลวงหนาและเงินใหกูยืมโดยสถาบัน การเงินใหถือเปนกิจกรรมดําเนินงาน เนื่องจากเปนรายการที่เกี่ยวของกับกิจกรรมหลักที่กอใหเกิด รายไดของกิจการ การจัดทํางบกระแสเงินสดของหนวยงานภาครัฐ กรมบัญชีกลางยังไมไดประกาศใช มาตรฐานการบัญชีภาครัฐ ฉบับที่ 2 เรื่อง งบกระแสเงินสด แตไดมีการแจงเวียนแนวปฏิบัติการจัดทํา งบกระแสเงินสดตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0410.3/ว 422 ลงวันที่ 25 พฤศจิกายน 2547 เรื่อง การจัดทํางบกระแสเงินสด และไดจัดทํารูปแบบและกําหนดวิธีการแสดงกระแสเงินสดจาก กิจกรรมดําเนินงาน ไว 2 วิธี ดังนี้ 1. วิธีทางตรง (Direct method) วิธีทางตรง เปนวิธีที่แสดงเงินสดรับและเงินสดจายตามลักษณะของรายการหลักที่สําคัญ หนวยงานควรแสดงกระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงานโดยใชวิธีทางตรง เนื่องจากเปนวิธีที่ใหขอมูล ที่อาจเปนประโยชนในการประมาณการกระแสเงินสดในอนาคต ซึ่งหากใชวิธีทางออมหนวยงานจะไม สามารถประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตได


6 คูมือการจัดทํางบกระแสเงินสด นางสาวเพ็ญนภา สีดา นักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการ ขอมูลรายการหลักตาง ๆ ของเงินสดรับและเงินสดจายในวิธีทางตรงอาจหาไดจาก รายการตาง ๆ ดังนี้ 1. การบันทึกรายการบัญชีของหนวยงาน 2. การปรับปรุงรายการขาย ตนทุนขาย (รายไดดอกเบี้ยและรายไดที่มีลักษณะ เดียวกัน และดอกเบี้ยจาย และคาใชจายที่มีลักษณะเดียวกันของสถาบันการเงนิ) และรายการ อื่นในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรับการเปลี่ยนแปลงในระหวางงวดของสินคา คงเหลือ ลูกหนี้และเจาหนี้ที่เกิดจากการดําเนินงาน รายการอื่นที่ไมกระทบเงินสด และรายการอื่นซึ่งผลกระทบของ เงินสดถือเปนกระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุนหรือ กิจกรรมจัดหาเงิน 2. วิธีทางออม (Indirect method) วิธีทางออม เปนวิธีที่แสดงดวยยอดกําไรหรือขาดทุน ปรับปรุงดวยผลกระทบของ รายการที่ไมเกี่ยวกับเงินสด รายการคางรับ หรือคางจายของเงินสดรับหรือเงินสดจายที่เกี่ยวของกับ การดําเนินงานในอดีตหรือในอนาคต และรายการรายไดหรือคาใชจายที่เกี่ยวของกับกระแสเงินสดจาก การลงทุนหรือการจัดหาเงิน กระแสเงินสดสุทธิจากการดําเนินงานหาไดจากการปรับปรุงกําไรหรือขาดทุนดวย ผลกระทบของรายการตอไปนี้ 1. การเปลี่ยนแปลงในระหวางงวดของสินคาคงเหลือ ลูกหนี้และเจาหนี้ที่เกิดจากการ ดําเนินงาน 2. รายการที่ไมกระทบเงินสด เชน คาเสื่อมราคา ประมาณการหนี้สิน ภาษี เงินไดรอตัด บัญชี ผลกําไรและขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้นจากการแปลงคาเงินตราตางประเทศ และ กําไรที่ยังไมไดรับจากหนวยงานที่เกี่ยวของกัน 3. รายการอื่นทั้งหมด ซึ่งผลกระทบของเงินสดถือเปนกระแสเงินสดจาก กิจกรรมลงทุน หรือกิจกรรมจัดหาเงิน นอกจากนี้ในวิธีทางออม กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงานอาจแสดงโดยวิธี ทางออมดวยการแสดงรายการรายไดและคาใชจายตามที่ปรากฏในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ รวมทั้ง การเปลี่ยนแปลงในระหวางงวดของสินคาคงเหลือ ลูกหนี้ และเจาหนี้ที่เกิดจากการดําเนินงาน 2.2.2 การแสดงกระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน (Cash Flows from Investing Activities) เปนกระแส เงินสดที่เกิดจากกิจกรรมเกี่ยวกับการไดมาและการจําหนายสินทรัพยระยะยาวและเงินลงทุนอื่นของ หนวยงาน ซึ่งไมรวมอยูในรายการเทียบเทาเงินสด ซึ่งกระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุนแสดงใหเห็นถึง รายจายที่หนวยงานจายไป เพื่อใหไดมาซึ่งทรัพยากรที่จะกอใหเกิดรายไดและกระแสเงินสดในอนาคต ทั้งนี้ เฉพาะรายจายที่สงผลใหเกิดการรับรูสินทรัพยในงบแสดงฐานะการเงินเทานั้นที่สามารถจัด ประเภทเปนกิจกรรมลงทุน


7 คูมือการจัดทํางบกระแสเงินสด นางสาวเพ็ญนภา สีดา นักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการ ตัวอยางของกระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน 1. เงินสดจายเพื่อซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยไมมีตัวตนและสินทรัพย ระยะ ยาวอื่น ซึ่งเงินสดจายนี้ใหรวมถึงเงินสดจายที่เปนตนทุนในการพัฒนาสินทรัพย และ เงินสดจายที่เกี่ยวของกับที่ดิน อาคารและอุปกรณที่กิจการสรางขึ้นเอง 2. เงินสดรับจากการขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยไมมีตัวตนและสินทรัพย ระยะยาวอื่น 3. เงินสดจายเพื่อซื้อตราสารทุนหรือตราสารหนี้ของกิจการอื่น และสวนไดเสียใน การ รวมคา (นอกเหนือจากเงินสดที่จายเพื่อไดมาซึ่งตราสารที่จัดเปนรายการเทียบเทา เงินสดหรือที่ ถือไวโดยมีวัตถุประสงคเพื่อซื้อขายหรือเพื่อคา) 4. เงินสดรับจากการขายตราสารทุนหรือตราสารหนี้ของกิจการอื่น และสวนไดเสีย ใน การรวมคา (นอกเหนือจากเงินสดรับจากการขายตราสารที่จัดเปนรายการเทียบเทา เงินสดหรือที่ ถือไวโดยมีวัตถุประสงคเพื่อซื้อขายหรือเพื่อคา) 5. เงินสดจายลวงหนาและเงินใหกูยืมแกบุคคลอื่น (นอกเหนือจากเงินจายลวงหนา และ เงินใหกูยืมโดยสถาบันการเงิน) 6. เงินสดรับชําระคืนจากเงินจายลวงหนาและเงินใหกูยืมแกบุคคลอื่น (นอกเหนือจาก เงินจายลวงหนาและเงินใหกูยืมโดยสถาบันการเงิน) 2.2.3 การแสดงกระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน (Cash Flows from Financing Activities) เปน กระแสเงินสดที่เกิดจากกิจกรรมที่มีผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในขนาดและองคประกอบของสวนของ เจาของและสวนของการกูยืมของหนวยงาน ทั้งนี้ กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงินแสดงใหเห็นถึง ประโยชนในการคาดคะเนสิทธิเรียกรองในกระแสเงินสดในอนาคตจากผูใหเงินทุนแกหนวยงาน ตัวอยางของกระแสเงินที่เกิดจากกิจกรรมจัดหาเงิน 1. เงินสดรับจากการออกหุนหรือตราสารทุนอื่น 2. เงินสดที่จายใหกับผูเปนเจาของเพื่อซื้อหรือไถถอนหุนของหนวยงานนั้น 3. เงินสดที่จายชําระเงินกูยืม 4. เงินสดที่ผูเชาจายเพื่อลดจํานวนหนี้สินซึ่งเกิดขึ้นจากสัญญาเชาที่มีลักษณะเปน สัญญาเชาการเงิน


บทที่ ๓ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3.1 บทบาทหนาที่ ตามมาตรฐานการกําหนดตําแหนงของนักวิชาการเงินและบัญชีระดับชํานาญการ ปฎิบัติงานใน ฐานะผูปฏิบัติงานที่มีประสบการณ โดยใชความรู ความสามารถ ความชํานาญงาน ทักษะและ ประสบการณสูงในงานดานวิชาการเงินและบัญชี ปฏิบัติงานที่ตองทําการศึกษา คนควา วิเคราะห สังเคราะห หรือวิจัย เพื่อการปฏิบัติงานหรือพัฒนางาน หรือแกไขปญหาในงานที่มีความยุงยากและมี ขอบเขตกวางขวาง และปฏิบัติงานอื่นตามที่ไดรับมอบหมาย หรือ ปฏิบัติงานในฐานะหัวหนางาน มีหนาที่และความรับผิดชอบในการควบคุมการปฏิบัติงานดาน วิชาการเงินและบัญชีที่มีขอบเขตเนื้อหาของงานหลากหลาย และมีขั้นตอนการทํางานที่ยุงยากซับซอน คอนขางมาก โดยตองกําหนดแนวทางการทํางานที่เหมาะสมกับสถานการณ ตลอดจนกํากับ ตรวจสอบ ผูปฏิบัติงานเพื่อใหงานที่รับผิดชอบสําเร็จตามวัตถุประสงคและปฏิบัติหนาที่อื่นตามที่ไดรับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในดานตางๆ ดังนี้ 3.1.1 ควบคุม จัดทําบัญชี เอกสารรายงานความเคลื่อนไหวทางการเงิน ทั้งเงินในและเงินนอก งบประมาณ เงินทุนหมุนเวียน เพื่อแสดงสถานะทางการเงนิและใชเปนฐานขอมูลที่ถูกตองตามระเบียบ วิธีการบัญชีของสวนราชการ 3.1.2 ควบคุม จัดทําและดําเนินการตางๆ ในดานงบประมาณ ตรวจสอบรายงานการเงินตางๆ เพื่อใหการปฏิบัติงาน และรายงานการเงินและบัญชีถูกตองตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดใหเปน ปจจุบัน 3.1.3 วิเคราะห และเสนอความเห็นเกี่ยวกับระเบียบปฏิบัติดานการเงิน การงบประมาณและ การบัญชี ชี้แจงคําขอตั้งงบประมาณรายรับ-รายจายประจําปตอสํานักงบประมาณ จัดสรรงบประมาณ ไปใหนวยงานตางๆ เพื่อใหการจัดสรรงบประมาณตรงกับความจําเปนและวัตถุประสงคของแตละ หนวยงาน 3.1.4 ศึกษา วิเคราะห ประเมินผล และติดตามผลการใชจายเงินงบประมาณรายจายจัดทํา รายงานผลการปฏิบัติงานตามแผน เพื่อใหการใชจายเงินเปนไปอยางถูกตอง มีประสิทธิภาพ และใช เปนแนวทางในการปรับปรุงการจัดทําและจัดสรรงบประมาณ 3.1.5 ศึกษา คนควา วิเคราะห สังเคราะหหรือวิจัยดานวิชาการเงินและบัญชี จัดทําเอกสาร วิชาการ คูมือเกี่ยวกับงานในความรับผิดชอบ และเผยแพรผลงานทางดานวิชาการเงินและบัญชีเพื่อ พัฒนางานวิชาการ และพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น 3.1.6 ใหบริการวิชาการดานตางๆ เชน ฝกอบรม เผยแพรความรูความเขาใจเกี่ยวกับหลักการ และวิธีการของงานวิชาการเงินและบัญชี ใหคําปรึกษา แนะนํา ตอบปญหาและชี้แจงเรื่องตางๆ เกี่ยวกับงานในหนาที่ เพื่อใหสามารถปฏิบัติงานไดอยางถูกตอง มีประสิทธิภาพ เขารวมประชุม


9 คูมือการจัดทํางบกระแสเงินสด นางสาวเพ็ญนภา สีดา นักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการ คณะกรรมการตางๆ ที่ไดรับแตงตั้ง เพื่อใหขอมูลทางวิชาการประกอบการพิจารณาและตัดสินใจและ ปฏิบัติหนาที่อื่นที่เกี่ยวของ 3.1.7 ในฐานะหัวหนางาน นอกจากอาจปฏิบัติงานตามขอ (3.1.1) – (3.1.6) ดังกลาวขางตน แลวตองทําหนาที่กําหนดแผนงาน มอบหมาย ควบคุม ตรวจสอบ ใหคําปรึกษา แนะนํา ปรับปรุงแกไข ติดตามประเมินผล และแกไขปญหาขอขัดของในการปฏิบัติงานในหนวยงานที่รับผิดชอบ เพื่อใหการ ปฏิบัติงานบรรลุตามเปาหมายและผลสัมฤทธิ์ที่กําหนด 3.2 หนาที่หลัก / ลักษณะงานที่ปฏิบตั ดังนี้ ิ 3.2.๑ จัดทํารายงานการเงิน เงินงบประมาณแผนดิน ในระบบ UBUFMIS ทุกคณะ/สํานัก 3.2.1.1 ตรวจสอบความถูกตองของเอกสารดานการรับและเบิกจาย กอนการ Interface ขอมูล ดานรับ ดานจาย จากระบบการเงินไประบบบัญชี และ Interface ขอมูลเจาหนี้จาก ระบบการเงินไประบบบัญชี 3.2.1.2 โอนขอมูลระบบเจาหนี้ พรอมตรวจสอบความครบถวนของการบันทึก รายการบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป แลวจึงตรวจสอบการผานรายการจากสมุดบัญชีไปยังบัญชีแยก ประเภท และตรวจสอบความครบถวนถูกตองของขอมูลบัญชีแยกประเภทที่นํามาแสดงในรายงาน การเงิน 3.2.1.3 โอนขอมูลดานรับเงินโอนจากกรมบัญชีกลาง พรอมตรวจสอบความครบถวน ของการบันทึกรายการบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป แลวจึงตรวจสอบการผานรายการจากสมุดบัญชีไปยัง บัญชีแยกประเภท และตรวจสอบความครบถวนถูกตองของขอมูลบัญชีแยกประเภทที่นํามาแสดงใน รายงานการเงิน 3.2.1.4 โอนขอมูลดานจาย พรอมตรวจสอบความครบถวนของการบันทึกรายการ บัญชีในสมุดรายวันทั่วไป แลวจึงตรวจสอบการผานรายการจากสมุดบัญชีไปยังบัญชีแยกประเภท และ ตรวจสอบความครบถวนถูกตองของขอมูลบัญชีแยกประเภทที่นํามาแสดงในรายงานการเงนิ 3.2.1.5 ทําการประมวลผลรายการ เพื่อเรียกงบทดลองขึ้นมาตรวจสอบ เพื่อ ตรวจสอบรายละเอียดเบื้องตนวามีบัญชีรายการใดที่มีความผิดพลาดเกิดขึ้น โดยตรวจสอบดุลบัญชี ของแตละบัญชีที่แสดงในชอง “ยอดยกไป” ของงบทดลอง หลังจากนั้นตรวจสอบความสัมพันธของ รายการบัญชีและจํานวนเงินที่ปรากฏรายการเคลื่อนไหวในงวดปจจุบันในชอง “เดบิต” กับชอง “เครดิต” รวมถึงความสัมพันธของรายการบัญชีแยกประเภทในชอง “ยอดยกไป” เมื่อทราบวาบัญชีใด มีความผิดพลาดจึงตรวจสอบรายละเอียดการบันทึกรายการในบัญชีแยกประเภทและปรับปรุงรายการ บัญชีใหถูกตองแลวทําการประมวลผลรายการอีกครั้งหลังจากปรับปรุงรายการบัญชี 3.2.1.6 จัดทํางบทดลอง เงินงบประมาณแผนดิน (งบเดือน) ของทุกคณะ/สํานัก 3.2.1.7 จัดทํางบกระทบยอดเงินฝากธนาคาร เงินงบประมาณแผนดิน (บัญชี มหาวิทยาลัย) และบัญชีเงินสดคงเหลือ


10 คูมือการจัดทํางบกระแสเงินสด นางสาวเพ็ญนภา สีดา นักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการ 3.2.2 จัดทํารายงานการเงินและวิเคราะหงบการเงินมหาวิทยาลัย รายงานการเงินรวมมหาวิทยาลัย ประกอบดวยเงินงบประมาณแผนดินและเงินนอก งบประมาณ (เงินรายได) ซึ่งประกอบดวยงบการเงนิดังนี้ 3.2.2.1 งบแสดงฐานะทางการเงนิ 3.2.2.2 งบแสดงผลการดําเนินงาน (รายไดและคาใชจาย) 3.2.2.3 หมายเหตุประกอบงบการเงนิ 3.2.2.4 งบกระแสเงินสด 3.2.2.5 สรุปรายไดและคาใชจาย (รายคณะ/สํานัก) 3.2.2.6 วิเคราะหงบการเงิน จัดทํางบการเงินรวมเปนรายไตรมาส และรายงานประจําปงบประมาณ นําเสนอตอคณะกรรมการ มหาวิทยาลัย และสภามหาวิทยาลัย เพื่อใชประกอบการตัดสินใจและประเมินผลเกี่ยวกับดานการ จัดสรรทรัพยากร ฐานะทางการเงิน ผลการดําเนินงาน ของมหาวิทยาลัยและจัดสงรายงานการเงิน ประจําปใหกับหนวยงานภายในและหนวยงานภายนอกมหาวิทยาลัย เชน กรมบัญชีกลาง สํานักตรวจ เงินแผนดิน สํานักงบประมาณ สํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา ในรอบการประเมินตอสัญญาจางระยะที่ 4 ผูเขียนไดจัดทําคูมือการปฏิบัติงานดานการจัดทํางบ การเงินรวม โดยไดกลาวถึงการจัดทํางบแสดงฐานะการเงิน งบแสดงผลการดําเนินงานและหมายเหตุ ประกอบงบการเงินแลว ในคูมือฉบับนี้จะนําเสนอการจัดทํางบกระแสเงินสด ซึ่งเปนรายงานการเงินที่ แสดงการเคลื่อนไหวของกระแสเงินสดของหนวยงานในรอบระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง เพื่อแสดงใหทราบ วาหนวยงานไดรับเงินมาจากแหลงใดและนําไปใชในเรื่องใด ณ วันที่จัดทํารายงานการเงินมีเงิน เหลืออยูเทาใด ทั้งนี้ยังชวยใหผูใชรายงานการเงนิสามารถเปรียบเทียบผลการดําเนินงานของหนวยงาน ไดดียิ่งขึ้น เนื่องจากเปนรายงานที่ตัดผลกระทบที่เกิดจากการเลือกใชหลักการและนโยบายบัญชีที่ แตกตางกันสําหรับรายการและเหตุการณเดียวกันออกไป รวมทั้งขจัดปญหาการปนสวนรายไดและ คาใชจายในแตละรอบระยะเวลาบัญชี อีกทั้งหนวยงานยังสามารถนําไปวิเคราะหเพื่อประเมิน ความสามารถของหนวยงานที่จะไดรับ-จายเงินสดและความจําเปนของหนวยงานในการใชเงินสดเพื่อ การดําเนินงานในอนาคตดวย 3.3 การจัดทํางบกระแสเงินสด จากความสัมพันธของเกณฑเงินสดกับเกณฑคงคางทําใหหนวยงานทราบถึงรายการหรือ เหตุการณที่เกิดขึ้นทั้งดานรายไดและคาใชจายในแตละรอบระยะเวลาบัญชี โดยไมไดคํานึงวารายการ ดังกลาวมีการรับ-จายเงินหรือไม แตการจัดทําบัญชีตามเกณฑเงินสดสามารถแสดงถึงการรับ-จายเงิน สดในรอบระยะเวลาบัญชีนั้นๆ ไดดังรูปที่ 1


11 คูมือการจัดทํางบกระแสเงินสด นางสาวเพ็ญนภา สีดา นักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการ แนวคิดในการจัดทํางบกระแสเงินสด จากสมการบัญชี (Accounting Equation) สินทรัพย = หนี้สิน + สวนทุน เงินสดและรายการเทียบเทา + สินทรัพยที่ไมใชเงินสดฯ = หนี้สิน + สวนทุน ดังนั้น การเปลี่ยนแปลง ในเงินสดฯ + การเปลี่ยนแปลงใน สินทรัพยที่มิใชเงินสด = การเปลี่ยนแปลง ในหนี้สิน + การเปลี่ยนแปลงใน สวนทุน หรือกลาวอีกนัยหนึ่งวา การเปลี่ยนแปลง ในเงินสดฯ = การเปลี่ยนแปลง ในหนี้สิน + การเปลี่ยนแปลง ในสวนทุน - การเปลี่ยนแปลงใน สินทรัพยที่มิใชเงินสด 3.3.1 การจําแนกรายการในงบกระแสเงินสด เมื่อนําแนวคิดในการจัดทํางบกระแสเงินสดมาพิจารณา หนวยงานจะสามารถระบุสาเหตุ ของการเปลี่ยนแปลงเงินสดที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในบัญชีตางๆ ที่ไมใชเงินสดและสามารถจําแนก รายการตามการตัดสินใจทางดานการเงินในกิจกรรมตางๆ ไดดังนี้ 3.3.1.1 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน (Cash Flows from Operating Activities) เปนกระแสเงินสดที่เกิดจากกิจกรรมหลักที่กอใหเกิดรายไดของหนวยงาน และจาก กิจกรรมอื่นที่ไมใชกิจกรรมลงทุนหรือกิจกรรมจัดหาเงิน โดยทั่วไปแลว กระแสเงินสดจากกิจกรรม ดําเนินงานสามารถแสดงใหเห็นถึงความสามารถในการดําเนินงานของหนวยงานในการกอใหเกิด กระแสเงินสดที่เพียงพอสําหรับการดําเนินงานของหนวยงาน การชําระคืนเงินกูยืม การจายเงินปนผล ตลอดจนการลงทุนใหม โดยไมจําเปนตองพึ่งพาการจัดหาเงินจากแหลงเงนิทุนภายนอก เชน รายได คาใชจาย รายไดสูง(ต่ํา)กวาคาใชจายตามเกณฑคงคาง เงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน หกับันทกึรายไดแลวแตไมไดรับเงนิบวก เงินที่รับเขาแตไมไดบันทึกเปนรายได บวก เงินที่จายแลวแตไมไดบันทึกคาใชจาย หัก บันทึกคาใชจายแลวแตไมไดจายเงิน รูปที่ 1 ความสัมพันธของเกณฑเงนิสดกับเกณฑคงคาง


12 คูมือการจัดทํางบกระแสเงินสด นางสาวเพ็ญนภา สีดา นักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการ เงินสดรับ - จากงบประมาณ - จากเงนิกูของรัฐบาล - จากการขายสินคาและใหบริการ - จากรายไดอื่น - จากการรับบริจาค/เงินชวยเหลือ - กิจกรรมอื่นๆ ที่ไมใชกิจกรรมการลงทุนหรือกิจกรรมจัดหาเงิน เชน จากเงินรับฝาก จากการจัดเก็บรายไดแผนดิน เงินสดจาย - ซื้อสินคาและบริการ - คาใชจายบุคลากร - คาใชจายในการดําเนินงาน - คาใชจายเงินอุดหนุน - จากการบริจาค/ชวยเหลือ - กิจกรรมอื่นๆ ที่ไมใชกิจกรรมการลงทุนหรือกิจกรรมจัดหาเงิน เชน จายคืนเงินรับฝาก นํารายไดแผนดินสงคลัง การจัดทํางบกระแสเงินสดของหนวยงานภาครัฐ กรมบัญชีกลางยังไมไดประกาศใช มาตรฐานการบัญชีภาครัฐ ฉบับที่ 2 เรื่อง งบกระแสเงินสด แตไดมีการแจงเวียนแนวปฏิบัติการจัดทํา งบกระแสเงินสดตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0410.3/ว 422 ลงวันที่ 25 พฤศจิกายน 2547 เรื่อง การจัดทํางบกระแสเงินสด และไดจัดทํารูปแบบและกําหนดวิธีการแสดงกระแสเงินสดจาก กิจกรรมดําเนินงาน ไว 2 วิธี ดังนี้ 1. วิธีทางตรง (Direct method) วิธีทางตรง เปนวิธีที่แสดงเงินสดรับและเงินสดจายตามลักษณะของรายการหลักที่สําคัญ หนวยงานควรแสดงกระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงานโดยใชวิธีทางตรง เนื่องจากเปนวิธีที่ใหขอมูล ที่อาจเปนประโยชนในการประมาณการกระแสเงินสดในอนาคต ซึ่งหากใชวิธีทางออมหนวยงานจะไม สามารถประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตได ขอมูลรายการหลักตาง ๆ ของเงินสดรับและเงินสดจายในวิธีทางตรงอาจหาไดจาก รายการตาง ๆ ดังนี้ 1. การบันทึกรายการบัญชีของหนวยงาน 2. การปรับปรุงรายการขาย ตนทุนขาย (รายไดดอกเบี้ยและรายไดที่มีลักษณะ เดียวกัน และดอกเบี้ยจาย และคาใชจายที่มีลักษณะเดียวกันของสถาบันการเงนิ) และรายการ อื่นในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรับการเปลี่ยนแปลงในระหวางงวดของสินคา คงเหลือ ลูกหนี้และเจาหนี้ที่เกิดจากการดําเนินงาน รายการอื่นที่ไมกระทบเงินสด และรายการอื่นซึ่งผลกระทบของ เงินสดถือเปนกระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุนหรือ กิจกรรมจัดหาเงิน


13 คูมือการจัดทํางบกระแสเงินสด นางสาวเพ็ญนภา สีดา นักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการ ตัวอยางงบกระแสเงินสดที่แสดงกระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงานดวยวิธีทางตรง ชื่อหนวยงาน.................. งบกระแสเงินสด สําหรับปสิ้นสุดวันที่30 กันยายน 256x หนวย : บาท กระแสเงินสดจากกจิกรรมการดาํเนินงาน เงนิสดรับจากงบประมาณ xx เงนิสดรับจากเงินกูของรัฐบาล xx เงนิสดรับการขายสินคาและใหบรกิาร xx เงนิสดรับจากรายไดอื่น xx เงนิสดรับจากการรับบริจาค/เงนิชวยเหลือ xx เงนิสดรับอื่นๆ เชน จากเงินรับฝาก จากการจัดเก็บรายไดแผนดิน xx เงนิสดจายคาใชจายดานบุคลากร (xx) เงนิสดจายคาใชจายในการดาํเนินงาน (xx) เงนิสดจายคาใชจายเงนิอุดหนุน (xx) เงนิสดจายจากการบริจาค/ชวยเหลือ (xx) เงนิสดจายอื่นๆ เชน จายคืนเงนิรบัฝาก นํารายไดแผนดินนําสงคลัง (xx) xx กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดาํเนินงาน xx กระแสเงินสดจากกจิกรรมการลงทุน เงนิสดรับจากการขายที่ดิน อาคาร อุปกรณ xx เงนิสดรับจากการขายเงนิลงทนุระยะยาว xx เงินสดจายจากการซื้อเงนิลงทุน (xx) เงินสดจายจากการซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ (xx) กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมลงทุน (xx) กระแสเงินสดจากกจิกรรมการจดัหาเงิน เงนิสดรับจากการขอวงเงนิทดรองราชการ xx เงนิสดจายเงินทดรองราชการคืนคลัง (xx) xx เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น/(ลดลง) สุทธิ xx เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันตนงวด xx เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันปลายงวด xx


14 คูมือการจัดทํางบกระแสเงินสด นางสาวเพ็ญนภา สีดา นักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการ 2. วิธีทางออม (Indirect method) วิธีทางออม เปนวิธีที่แสดงดวยยอดกําไรหรือขาดทุน ปรับปรุงดวยผลกระทบของ รายการที่ไมเกี่ยวกับเงินสด รายการคางรับ หรือคางจายของเงินสดรับหรือเงินสดจายที่เกี่ยวของกับ การดําเนินงานในอดีตหรือในอนาคต และรายการรายไดหรือคาใชจายที่เกี่ยวของกับกระแสเงินสดจาก การลงทุนหรือการจัดหาเงิน กระแสเงินสดสุทธิจากการดําเนินงานหาไดจากการปรับปรุงกําไรหรือขาดทุนดวย ผลกระทบของรายการตอไปนี้ 1. การเปลี่ยนแปลงในระหวางงวดของสินคาคงเหลือ ลูกหนี้และเจาหนี้ที่เกิดจากการ ดําเนินงาน 2. รายการที่ไมกระทบเงินสด เชน คาเสื่อมราคา ประมาณการหนี้สิน ภาษี เงินไดรอตัด บัญชี ผลกําไรและขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้นจากการแปลงคาเงินตราตางประเทศ และ กําไรที่ยังไมไดรับจากหนวยงานที่เกี่ยวของกัน 3. รายการอื่นทั้งหมด ซึ่งผลกระทบของเงินสดถือเปนกระแสเงินสดจาก กิจกรรมลงทุน หรือกิจกรรมจัดหาเงิน นอกจากนี้ในวิธีทางออม กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงานอาจแสดงโดยวิธี ทางออมดวยการแสดงรายการรายไดและคาใชจายตามที่ปรากฏในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ รวมทั้ง การเปลี่ยนแปลงในระหวางงวดของสินคาคงเหลือ ลูกหนี้ และเจาหนี้ที่เกิดจากการดําเนินงาน ตัวอยางงบกระแสเงินสดที่แสดงกระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงานดวยวิธีทางออม ชื่อหนวยงาน.................. งบกระแสเงินสด สําหรับปสิ้นสุดวันที่30 กันยายน 256x หนวย : บาท กระแสเงินสดจากกจิกรรมการดาํเนินงาน รายไดสูง (ตํา่) กวาคาใชจายสุทธิxxx สินทรัพยหมุนเวียนลดลง xx สินทรัพยหมุนเวียนเพิ่มขึ้น (xx) หนี้สินหมุนเวียนเพิ่มขึ้น xx หนี้สินหมุนเวียนลดลง (xx) คาเสื่อมราคาและตดัจําหนาย xx กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดาํเนินงาน (xx) กระแสเงินสดจากกจิกรรมการลงทุน เงนิสดรับจากการขายที่ดิน อาคาร อุปกรณ xx เงนิสดรับจากการขายเงนิลงทนุระยะยาว xx


15 คูมือการจัดทํางบกระแสเงินสด นางสาวเพ็ญนภา สีดา นักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการ เงินสดจายจากการซื้อเงนิลงทุน (xx) เงินสดจายจากการซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ (xx) กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมลงทุน (xx) กระแสเงินสดจากกจิกรรมการจดัหาเงิน เงนิสดรับจากการขอวงเงนิทดรองราชการ xx เงนิสดจายเงินทดรองราชการคืนคลัง (xx) xx เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น/(ลดลง) สุทธิ xx เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันตนงวด xx เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันปลายงวด xx 3.3.1.2 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน (Cash Flows from Investing Activities) เปนกระแสเงินสดที่เกิดจากกิจกรรมเกี่ยวกับการไดมาและการจําหนายสินทรัพยระยะ ยาวและเงินลงทุนอื่นของหนวยงาน ซึ่งไมรวมอยูในรายการเทียบเทาเงินสด ซ่ึงกระแสเงินสดจาก กิจกรรมลงทุนแสดงใหเห็นถึงรายจายที่หนวยงานจายไป เพื่อใหไดมาซึ่งทรัพยากรที่จะกอใหเกิดรายได และกระแสเงินสดในอนาคต ทั้งนี้ เฉพาะรายจายที่สงผลใหเกิดการรับรูสินทรัพยในงบแสดงฐานะ การเงินเทานั้นที่สามารถจัดประเภทเปนกิจกรรมลงทุน เชน เงินสดรับ - จากการขายที่ดิน อาคาร อุปกรณ - จากการขายเงินลงทุนระยะยาว เงินสดจาย - จากการซื้อที่ดิน อาคาร อุปกรณ - จากการปรับปรุงสินทรัพยไมหมุนเวียนซึ่งทําใหอายุการใชงานเพิ่มขึ้นและประโยชน เชิงเศรษฐกิจในอนาคตหรือศักยภาพในการใหบริการเพิ่มขึ้น - จากการซื้อเงินลงทุนระยะยาว 3.3.1.3 กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน (Cash Flows from Financing Activities) เปนกระแสเงินสดที่เกิดจากกิจกรรมที่มีผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในขนาดและ องคประกอบของสวนของเจาของและสวนของการกูยืมของหนวยงาน ทั้งนี้กระแสเงนิสดจากกิจกรรม จัดหาเงินแสดงใหเห็นถึงประโยชนในการคาดคะเนสิทธิเรียกรองในกระแสเงินสดในอนาคตจากผูให เงินทุนแกหนวยงาน เชน เงินสดรับ - จากการกูยืมเพื่อใชในการดําเนินงานโดยหนวยงานรับผิดชอบการชําระหนี้เอง - จากการขอวงเงินทดรองราชการ เงินสดจาย - จายชําระหนี้เงินกูยืม - จายเงินทดรองราชการคืนคลัง


16 คูมือการจัดทํางบกระแสเงินสด นางสาวเพ็ญนภา สีดา นักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการ รายการกระแสเงินสดบางรายการมีความยุงยากในการจําแนกกิจกรรมซึ่งควรใชดุลย พินิจเขาชวยในการตัดสินใจ อยางไรก็ตาม การจําแนกกิจกรรมควรพิจารณาถึงแหลงที่มาสําคัญของ กระแสเงินสดที่เกี่ยวของกับรายการนั้นๆ 3.3.2 ขอมูลที่ใชในการจัดทํางบกระแสเงินสด ขอมูลที่ใชในการจัดทํางบกระแสเงินสด ประกอบดวย งบแสดงฐานะการเงนิงบแสดงผล การดําเนินงาน เปรียบเทียบกับปที่ผานมากับปจจุบัน และขอมูลเพิ่มเติมอื่นๆ ซึ่งสามารถแสดงความ เชื่อมโยงระหวางงบแสดงฐานะการเงิน งบแสดงผลการดําเนินงาน และงบกระแสเงนิสด ไดดังรูปที่2 สําหรับป สิ้นสุด 31 กันยายน 2565 ณ 1 ตุลาคม 2564 ณ 30 กันยายน 2565 รูปที่ 2 แสดงความเชื่อมโยงระหวาง งบแสดงฐานะการเงิน งบแสดงผลการดําเนินงาน และงบกระแสเงินสด 3.3.3 การจัดทํางบกระแสเงินสด 3.3.3.1 วิธีทางตรง จัดทําโดย 1) วิธีการคาํนวณ 2) วิธีการใชบัญชีแยกประเภท 3.3.3.2 วิธีทางออม จัดทําโดย 1) วิธีการคาํนวณ 2) วิธีการใชกระดาษทําการ การจัดทํางบกระแสเงินสดจากกิจกรรมการดําเนินงานโดยวิธีทางตรงชวยใหผูใช รายงานทางการเงินมองเห็นถึงเงินสดรับ-จาย ระหวางรอบระยะเวลาบัญชีไดชัดเจน ซึ่งจะเปนวิธีที่ให ขอมูลที่เปนประโยชนในการประมาณการกระแสเงินสดในอนาคต ซึ่งเปนขอมูลที่จะไมไดรับจากการ จัดทํางบกระแสเงินสดทางออม งบแสดงผลการดําเนินงาน รายได คาใชจาย หนี้สินและ สวนของ เจาของ สินทรัพย งบแสดงฐานะการเงิน หนี้สินและ สวนของ เจาของ สินทรัพย งบแสดงฐานะการเงิน งบกระแสเงินสด กิจกรรมดําเนินงาน กิจกรรมลงทุน กิจกรรมจดัหาเงิน


17 คูมือการจัดทํางบกระแสเงินสด นางสาวเพ็ญนภา สีดา นักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการ 3.3.3.1 การจัดทํางบกระแสเงินสดวิธีทางตรง 3.3.3.1.1 วิธีการคํานวณ เปนการปรับปรุงรายไดและคาใชจายของหนวยงานดวย รายการในงบแสดงฐานะทางการเงินที่เกี่ยวของ ขั้นตอนในการจัดทํา 1) เปรียบเทียบงบแสดงฐานะทางการเงิน 2 งวดบัญชี (ปปจจุบันกับปกอน) 2) ปรับปรุงรายการตางๆในงบแสดงผลการดําเนินงานทางการเงินใหแสดงตามเกณฑ เงินสด ทําไดโดยการพิจารณาถึงการเปลี่ยนแปลงของรายการในงบแสดงฐานะทางการเงินที่เกี่ยวของ กับรายการในงบแสดงผลการดําเนินงานทางการเงินแลวนํามาปรับปรุง เชน รายไดจากการขายสินคา และการบริการจะสัมพันธกับการเปลี่ยนแปลงของบัญชีลูกหนี้จากการขายสินคาหรือบริการ คาใชจาย ในการดําเนินงานจะสัมพันธกับการเปลี่ยนแปลงของบัญชีคาใชจายจายลวงหนา คาใชจายคางจาย เจาหนี้ ใบสําคัญคางจาย นอกจากนี้ยังมีรายการคาใชจายที่ไมไดใชเงินสดรวมอยูดวย เชน คาเสื่อม ราคา คาตัดจําหนาย หนี้สงสัยจะสูญ หนี้สูญ เปนตน 3) พิจารณารายการในงบแสงดฐานะการเงินที่เหลือวามีผลกกระทบกับเงินสดและ รายการเทียบเทาหรือไม อยางไร 4) พิจารณาขอมูลเพิ่มเติมวามีผลกระทบกับเงินสดและรายการเทียบเทาหรือไม อยางไร 5) พิจารณารายการตางๆ ที่มีผลกระทบกับเงินสดและรายการเทียบเทา (จากขอ 3,4) วาอยูในกิจกรรมใด 6) จัดทํางบกระแสเงินสดทั้ง 3 กิจกรรม ตารางสรุปการคํานวณกระแสเงินสดจากกิจกรรมการดําเนินงานทางตรง รายการ บวก ลบ ผลลัพธ 1. รายไดจากงบประมาณ + รับลวงหนาที่เพิ่มขึ้น + คางรับลดลง - รับลวงหนาที่ลดลง - คางรับที่เพิ่มขึ้น เงนิสดรับจาก งบประมาณ 2. รายไดจากการขายและ ใหบริการ + ลูกหนี้จากการขายสินคา และบริการที่ลดลง - ลูกหนี้จากการขายสินคา และบริการเพิ่มขึ้น เงนิสดรับจากการขาย และบริการที่ลดลง 3. คาใชจาย + วัสดุคงเหลือที่เพิ่มขึ้น +คางจายที่ลดลง +เจาหนี้คาสินคาและบริการที่ ลดลง - วัดสุคงเหลือทลี่ดลง - คางจายที่เพิ่มขึ้น - เจาหนี้คาสินคาและ บริการที่เพิ่มขึ้น เงนิสดจายคาใชจาย ตารางที่ 1 ตารางสรุปการคํานวณกระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน 3.3.3.1.2 วิธีการใชบญัชแียกประเภท หนวยงานที่เลือกใชสมุดรายวันขั้นตนแบบแบง ตามประเภทเงิน ประกอบดวย สมุดเงินสด สมุดเงินฝากธนาคาร สมุดเงินฝากคลัง จะสามารถเก็บ ขอมูลจากบัญชีแยกประเภทพรอมทั้งรายละเอียดมาจัดทํางบกระแสเงินสดวิธีทางตรงได สําหรับ หนวยงานที่ใชสมุดรายวันขั้นตนที่แบงตามรายการรับจายเงิน ซึ่งประกอบดวย สมุดรายวันเงินรับ สมุด รายวันเงินจาย จะไมสามารถเก็บขอมูลการรับ-จายเงินจากบัญชีแยกประเภทมาจัดทํางบกระแสเงินสด


18 คูมือการจัดทํางบกระแสเงินสด นางสาวเพ็ญนภา สีดา นักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการ ได เนื่องจากขอมูลในบัญชีแยกประเภท เปนขอมูลที่สรุปรายการที่เกิดขึ้นของรายการเงินสดและ รายการเทียบเทาเงินสดในแตละวัน 3.3.3.2 การจัดทํางบกระแสเงินสดวิธีทางออม 3.3.3.2.1 วิธีการคํานวณ เปนการปรับปรุงรายไดสูง(ต่ํา)กวาคาใชจายตามเกณฑคง คางใหเปนรายไดสูง(ต่ํา)กวาคาใชจายตามเกณฑเงนิสด ขั้นตอนในการจัดทํา 1) เปรียบเทียบงบแสดงฐานะทางการเงิน 2 งวดบัญชี (ปปจจุบันกับปกอน) 2) นํารายไดสูง(ต่ํา) กวาคาใชจายจากกิจกรรมตามปกติเปนตัวตั้ง 3) พิจารณารายการตางๆ ในงบแสดงฐานะทางการเงินวามีผลกระทบตอเงินสดและ รายการเทียบเทา อยางไร 4) ปรับปรุง “รายไดสูง(ต่ํา)กวาคาใชจายจากกิจกรรมปกติ” ดังนี้ บวก คาเสื่อมราคา/คาตัดจําหนาย/หนี้สงสัยจะสูญ/หนี้สูญ สินทรัพยหมุนเวียน(ที่ไมใชเงินสดและรายการเทียบเทาฯ)ที่ลดลง หนี้สินหมุนเวียนเพิ่มขึ้น ขาดทุนจากการจําหนายสินทรัพย/เงินลงทุน หัก สินทรัพยหมุนเวียน(ที่ไมใชเงินสดและรายการเทียบเทาฯ)ที่เพิ่มขึ้น หนี้สินหมุนเวียนที่ลดลง กําไรจากการจําหนายสินทรัพย/เงินลงทุน จะไดกระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน 5) พิจารณารายการในงบแสงดฐานะการเงินที่เหลือวามีผลกกระทบกับเงินสดและ รายการเทียบเทาหรือไม อยางไร 6) พิจารณาขอมูลเพิ่มเติมวามีผลกระทบกับเงินสดและรายการเทียบเทาหรือไม อยางไร 7) พิจารณารายการตางๆ ที่มีผลกระทบกับเงินสดและรายการเทียบเทา (จากขอ 3,4) วาอยูในกิจกรรมใด 8) จัดทํางบกระแสเงินสดทั้ง 3 กิจกรรม


19 คูมือการจัดทํางบกระแสเงินสด นางสาวเพ็ญนภา สีดา นักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการ ตารางสรุปการคํานวณกระแสเงินสดจากกิจกรรมการดําเนินงานทางออม ประเภทบัญชี เพิ่มขึ้น/ลดลง การปรับปรุง สินทรัพยหมุนเวียน ยกเวนเงินสด/รายการเทียบเทาฯ เพิ่มขึ้น ลบ สินทรัพยหมุนเวียน ยกเวนเงินสด/รายการเทียบเทาฯ ลดลง บวก หนี้สินหมุนเวียน เพิ่มขึ้น บวก หนี้สินหมุนเวียน ลดลง ลบ คาเสื่อมราคา/คาตัดจําหนาย/ หนี้สงสัยจะสูญ/หนี้สูญ ปนี้ บวก กําไรจากการขายทรัพยสิน/เงินลงทุน (ไมใชจากการดําเนินงาน) ปนี้ ลบ ขาดทุนจากการขายทรัพยสิน/เงินลงทุน (ไมใชจากการดําเนินงาน) ปนี้ บวก ตารางที่ 2 ตารางสรุปการคํานวณกระแสเงินสดจากกิจกรรมการดําเนินงานทางออม การจัดทํางบกระแสเงินสดทางออมเปนวิธีที่งายตอการจัดทําแตไมแสดงใหเห็น แหลงที่มาและใชไปของเงินสดและรายการเทียบเทาฯ แตจะเนนไปที่การเปลี่ยนแปลงของสินทรัพย หมุนเวียนและหนี้สินหมุนเวียนเปนสําคัญ ทําใหยากตอการที่ผูใชรายงานการเงินจะเขาใจขอมูลที่เแส ดงในงบกระแสเงินสด แตไมวาหนวยงานจะใชวิธีใดก็ตาม กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมการ ดําเนินงานที่คํานวณไดจะตองเทากันเสมอ 3.3.3.2.2 วิธีการใชกระดาษทําการ หนวยงานที่มีรายการปรับปรุงบัญชีคอนขางมากหรือ มีรายการบัญชีที่ยุงยากสลับซับซอน วิธีการใชกระดาษทําการจะชวยในการจําแนกรายการและ ชวยใหสามารถวิเคราะหรายการบัญชีไดงายขึ้นเพื่อหารายการที่มีผลกระทบกับเงินสดมาจัดทํา งบกระแสเงินสด ซึ่งวิธีนี้จะสามารถใหขอมูลไดชัดเจนมากกวาวิธีอื่น ๆ ขั้นตอนในการจัดทํา 1) สรุปรายการในงบแสดงฐานะการเงินโดยแบงออกเปนรายการที่มียอดดุลทางดานเด บิตและรายการที่มียอดดุลทางดานเครดิต โดยแสดงบัญชีปรับมูลคาตาง ๆ เชน คาเสื่อมราคา คาตัดจําหนาย หนี้สงสัยจะสูญ หนี้สูญ เปนรายการยอดดุลทางดานเครดิต 2) บันทึกยอดตัวเลขในงบแสดงฐานะการเงินตนงวดและปลายงวดของแตละบัญชีลงใน กระดาษทําการในชอง “งบแสดงฐานะการเงนิตนงวด” และ “งบแสดงฐานะการเงินปลายงวด” 3) วิเคราะหรายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงตัวเลขในชวงบน (งบแสดงฐานะการเงิน) จะกระทบการเปลี่ยนแปลงตัวเลขในชวงลาง (งบกระแสเงินสด) 4) บันทึกจํานวนเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการวิเคราะหรายการบัญชีลงในชองการ วิเคราะหรายการบัญชี โดย


20 คูมือการจัดทํางบกระแสเงินสด นางสาวเพ็ญนภา สีดา นักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการ สินทรัพย เพิ่มขึ้นทางดานเดบิต และลดลงทางดานเครดิต หนี้สินและสวนทุน เพิ่มขึ้นทางดานเครดติและลดลงทางดานเดบิต และพิจารณาวารายการที่เกิดขึ้นอยูภายใตกิจกรรมใดของงบกระแสเงินสด 5) ตรวจสอบยอดคงเหลือของแตละบัญชี ณ วันปลายงวด โดยการกระทบยอดงบแสดง ฐานะการเงิน ณ วันตนงวดกับการปรับปรุงในชองการวิเคราะหรายการบัญชีซึ่งจะตองไดยอด คงเหลือเทากับงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันปลายงวด 6) รวมยอดทางดานเดบิตและเครดิตในชองการวิเคราะหรายการบัญชีเฉพาะที่ปรากฏใน กิจกรรมการดําเนินงาน กิจกรรมการลงทุน กิจกรรมการจัดหาเงิน ดังนี้ 6.1) หากดานเดบิต มากกวา ทางดานเครดิต ใหบันทึกผลตางที่เกิดขึ้นในชองการ วิเคราะหรายการบัญชีทางดานเดบิตของบัญชีเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด (ชวงบน) และ ทางดานเครดิตของายการเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่ม(ลด)สุทธิ (ชวงลาง) 6.2) หากดานเดบิต นอยกวา ทางดานเครดิต ใหบันทึกผลตางที่เกิดขึ้นในชองการ วิเคราะหรายการบัญชีทางดานเครดิต ของบัญชีเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด (ชวงบน) และ ทางดานเดบิตของรายการเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่ม(ลด)สุทธิ (ชวงลาง) 7) นํายอดคงเหลือในบัญชี เงินสดและรายการเทียบเทาฯ ณ วันตนงวดบวก (หัก) กับ รายการวิเคราะหบัญชี หากการวิเคราะหรายการบัญชีถูกตองจะตองเทากับเงินสดและรายการเทียบเทาฯ ณ วันปลายงวด 8) คัดลอกรายการทั้งหมดที่บันทึกในกระดาษทําการในชองกิจกรรมการดําเนินงาน กิจกรรม การลงทุน กิจกรรมการจัดหาเงินลงในงบกระแสเงินสดตามปกติ รายการเปลี่ยนแปลงในกระดาษทําการไมตองนําไปบันทึกในสมุดรายวันขั้นตนหรือ ผานรายการบัญชีแตอยางใดและมิใชรายการปรับปรุงหรือแกไขบัญชีตาง ๆ ในงบแสดงฐานะการเงิน แตเปนเพียงรายการที่แสดงเพื่อวัตถุประสงคในการจัดทํางบกระแสเงินสดเทานั้น


21 คูมือการจัดทํางบกระแสเงินสด นางสาวเพ็ญนภา สีดา นักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการ กรณีศึกษาการจัดทํางบกระแสเงินสด หนวยงาน ก งบแสดงฐานะทางการเงินเปรียบเทียบ ณ วันที่ 30 กันยายน (หนวย : บาท) 2565 2564 การเปลยี่นแปลง สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงนิสดและรายการเทียบเทาเงินสด 176,995,730.49 178,786,248.39 (1,790,517.90) วัสดุคงเหลือ 291,925.77 333,702.84 (41,777.07) สินทรัพยหมุนเวียนอื่น 0.00 0.00 0.00 รวมสินทรัพยหมุนเวียน 177,287,656.26 179,119,951.23 (1,832,294.97) สินทรัพยไมหมุนเวียน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิ 96,009,525.18 82,600,956.51 13,408,568.67 สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น 0.00 0.00 0.00 รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน 96,009,525.18 82,600,956.51 13,408,568.67 รวมสินทรัพย 273,297,181.44 261,720,907.74 11,576,273.70 หน้สีินและสินทรัพยสุทธิ/สวนทุน หน้สีิน หน้สีินหมุนเวียน เจาหนี้ระยะสั้น 100.00 2,903,919.77 (2,903,819.77) เงนิรับฝากระยะสั้น 8,025.00 8,025.00 0.00 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 0.00 0.00 0.00 รวมหนี้สินหมุนเวียน 8,125.00 2,911,944.77 (2,903,819.77) รวมหนี้สิน 8,125.00 2,911,944.77 (2,903,819.77) สินทรัพยสุทธิ/สวนทุน ทุน 90,384,187.40 90,384,187.40 0.00 รายไดสูง/(ต่ํา) กวาคาใชจายสะสม 182,904,869.04 168,424,775.57 14,480,093.47 องคประกอบอื่นของสินทรัพยสุทธ/ิสวนทุน 0.00 0.00 0.00 รวมสินทรัพยสุทธิ/สวนทุน 273,289,056.44 258,808,962.97 14,480,093.47 รวมหนี้สินและสินทรัพยสุทธิ/สวนทุน 273,297,181.44 261,720,907.74 11,576,273.70


22 คูมือการจัดทํางบกระแสเงินสด นางสาวเพ็ญนภา สีดา นักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการ หนวยงาน ก งบแสดงผลการดําเนินงานทางการเงิน สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน (หนวย : บาท) 2565 2564 รายได รายไดจากงบประมาณ 65,435,650.32 81,022,986.03 รายไดจากคาธรรมเนียมและบริการ 35,005,565.00 48,486,920.23 รายไดจากการอุดหนุนอื่นและบรจิาค 935,500.00 853,492.00 รายไดอื่น 218,396.12 516,932.30 รวมรายได 101,595,111.44 130,880,330.56 คาใชจาย คาใชจายบุคลากร 63,330,923.17 80,742,296.65 คาตอบแทน 4,742,877.25 6,189,472.92 คาใชสอย 5,897,727.10 7,698,121.44 คาสาธารณูปโภค 3,184,181.14 3,148,087.64 คาวัสดุ 2,195,758.45 5,345,179.27 คาเสื่อมราคา 0.00 10,519,717.72 คาใชจายจากการอุดหนุนอื่นและบริจาค 8,393,526.54 9,338,897.52 คาใชจายอื่น 776,967.00 1,368,888.65 รวมคาใชจาย 88,521,960.65 124,350,661.81 รายไดสูง/(ตํา่)กวาคาใชจายกอนตนทุนทางการเงิน ตนทุนทางการเงนิ0.00 0.00 รายไดสูง/(ตํา่)กวาคาใชจายสุทธ 13,073,150.79 ิ 6,529,668.75 ขอมูลเพิ่มเติม ณ 30 กันยายน 2566 1. หนวยงานไดรับจัดสรรเงินคาธรรมเนียมการศึกษา ปเกา จํานวน 1,562,115.75 บาท 2. หนวยงานไดจัดซื้อครุภัณฑ จํานวน 13,408,568.67 บาท เปนเงินสด 3. สิ้นปงบประมาณ หนวยงานไดตรวจนับวัสดุคงเหลือ จํานวน 113,396.00 บาท


23 คูมือการจัดทํางบกระแสเงินสด นางสาวเพ็ญนภา สีดา นักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการ ขั้นตอนในการคํานวณหากระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงานดวยวิธีทางตรง 1) คํานวณหาจํานวนเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดวา เพิ่มขึ้นหรือลดลงจากปกอน เทาใด โดยดูจากงบแสดงฐานะทางการเงินเปรียบเทียบ ตามงบแสดงฐานะทางการเงินของหนวยงาน ก แสดงเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดปลายป 2564 และปลายป 2565 เปนจํานวนเงินเทากับ 178,786,248.39 บาท และ 176,995,730.49 บาท ดังนั้น จํานวนเงินสดและรายการเทียบเทา เงินสดของหนวยงาน ก จึงลดลง 1,790,517.90 บาท 2) คํานวณหากระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน รายการที่จะคํานวณมีดังนี้ 2.1) เงินสดรับจากการใหบริการ ซึ่งคํานวณมาจากรายไดจากเงินงบประมาณ รายได จากคาธรรมเนียมและบริการ รายไดจากเงินอุดหนุนและบริจาคและรายไดอื่นที่บันทึกไวตามเกณฑคง คางและปรากฎอยูในงบแสดงผลการดําเนินงานทางการเงิน เปนจํานวน 101,595,111.44 บาท จากนั้นนํามาปรับปรุงดวยยอดรายไดจากงบประมาณคางรับ และ ณ 30 กันยายน 2565 คณะมี รายไดจากการจัดสรรคาธรรมเนียมปเกา จํานวน 1,562,115.75 บาท ดั้งนั้น ในการคาํนวณหาเงิน สดรับจากการใหบริการนั้นสามารถกระทําไดดังนี้ เงินสดรับการการใหบริการ = รายไดจากเงินงบประมาณ + รายไดจากคาธรรมเนียมและบริการ + รายไดจากเงินอุดหนุนและบริจาค + รายไดอื่น + รายไดจาก งบประมาณคางรับตนงวด – รายไดจากงบประมาณคางรับปลายงวด + รายไดจากการจัดสรรคาธรรมเนียมปเกา = 65,435,650.32+35,005,565.00+935,500.00+ 218,396.12 + 1,562,115.75 = 103,157,227.19 บาท 2.2) เงินสดจายเปนคาใชจายในการดําเนินงาน ซึ่งคํานวณมาจากคาใชจายในการ ดําเนินงานที่บันทึกไวตามเกณฑคงคางและปรากฎอยูในงบแสดงผลการดําเนินงานทางการเงิน จากนั้น นํามาปรับปรุงดวยคาเสื่อมราคา คาตัดจําหนาย ตลอดจนหนี้สงสัยจะสูญ จากนั้นตองปรับปรุงดวยการ เปลี่ยนแปลงในบัญชีคาใชจายจายลวงหนาและบัญชีคาใชจายคางจายที่ปรากฎในงบแสดงฐานะทาง การเงินเปรียบเทียบ ดังนั้นในการคํานวณหาเงินสดจายเปนคาใชคาใชจายในการดําเนินงานนั้น สามารถกระทําได ดังนี้ เงินสดจายเปนคาใชจายในการดําเนินงาน = คาใชจายจากการดําเนินงาน - คาเสื่อมราคา – คาตัด จําหนาย = 88,521,960.65 บาท เงินสดจายใหแกเจาหนี้การคา = หนี้สินหมุนเวียนอื่นตนงวด – หนี้สินหมุนเวียนอื่นปลาย งวด = 2,903,819.77 บาท จากรายละเอียดการคํานวณขางตน สามารถแสดงกระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรม ดําเนินงานของหนวยงาน ก ดวยวิธีทางตรง ไดดังนี้


24 คูมือการจัดทํางบกระแสเงินสด นางสาวเพ็ญนภา สีดา นักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการ เงินสดรับจากการใหบริการ 103,157,227.19 เงินสดจายเปนคาใชจายในการดําเนินงาน ( 88,521,960.65) เงินสดจายใหแกเจาหนี้การคา (2,903,819.77) กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน 11,618,050.77 3) คํานวณหากระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมลงทุน รายการที่จะคํานวณ มีดังนี้ จากขอมูลขางตน จะเห็นไดวา ในระหวางป 2565 หนวยงาน ก ไดจายเงินเพื่อซื้อที่ดิน อาคารและครุภัณฑ โดยที่ไมมีการขายที่ดิน อาคารและครุภัณฑ ออกไปในระหวางป 2565 ดังนั้น ยอดที่เพิ่มขึ้นของรายการที่ดิน อาคารและครุภัณฑ ในงบแสดงฐานะทางการเงินเปรียบเทียบนั้นก็คือ ยอดซื้อที่ดิน อาคารและครุภัณฑ ในระหวางป 2565 นั่นเอง ซึ่งสามารถแสดงรายละเอียดการ คํานวณ ไดดังนี้ เงินสดจายจากการซื้อที่ดิน อาคารและครุภัณฑ = ราคาทุนของที่ดิน อาคารและอุปกรณปลายงวด - ราคาทุนของที่ดิน อาคารและอุปกรณตนงวด = 96,009,525.18 – 82,600,956.51 = 13,408,568.67 บาท 4) คํานวณหากระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงิน จากขอมูลขางตน จะเห็นไดวาในระหวางป 2565 หนวยงาน ก ไมมีรายรับและรายจาย จากกิจกรรมจัดหาเงินดังกลาว


25 คูมือการจัดทํางบกระแสเงินสด นางสาวเพ็ญนภา สีดา นักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการ จากขอมูลขางตน สามารถแสดงงบกระแสเงินสดดวยวิธีทางตรงไดดังนี้ หนวยงาน ก งบกระแสเงินสด สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2565 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน เงินสดรับจากการใหบริการ 103,157,227.19 เงินสดจายใหแกเจาหนี้การคา (2,903,819.77) เงินสดจายเปนคาใชจายในกิจกรรมดําเนินงาน (88,635,356.65) กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน 11,618,050.77 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดจายจากการซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ (13,408,568.67) กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมลงทุน (13,408,568.67) กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน 0.00 กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงิน 0.00 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดลดลง ( 1,790,517.90) เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันตนงวด 178,786,248.39 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันสิ้นงวด 176,995,730.49 ขั้นตอนในการคํานวณหากระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงานดวยวิธีทางออม 1) คํานวณหาจํานวนเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดวาเพิ่มขึ้นหรือลดลงจากปกอน เทาใด โดยดูจากงบแสดงฐานะทางการเงินเปรียบเทียบ ซึ่งในขั้นตอนนี้จะเหมือนกันไมวาจะจัดทํางบ กระแสเงินสดทางตรงหรือทางออม ทั้งนี้ ตามงบแสดงฐานะทางการเงินของหนวยงาน ก แสดงเงินสด และรายการเทียบเทาเงินสดปลายป 2564 และปลายป 2565 เปนเงินจํานวนเทากัน 178,786,248.39 บาท และ 176,995,730.49 บาท ตามลําดับ ดังนั้น จํานวนเงินสดและ รายการเทียบเทาเงินสดของหนวยงาน จึงลดลง 1,790,517.90 บาท 2) คํานวณหากระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงานโดยเริ่มตนจากรายไดสูงกวาคาใชจาย สุทธิจากงบแสดงผลการดําเนินงานทางการเงินมาปรับปรุงรายการที่ไมเกี่ยวของกับเงินสด ตลอดจน รายการผลกําไรหรือขาดทุนในงบแสดงผลการดําเนินงานทางการเงินที่เกิดจากกิจกรรมลงทุนหรือ กิจกรรมจัดหาเงิน เชน ผลกําไรจากการขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ สวนลดหรือสวนเกินมูลคาที่ตัด จําหนายในระหวางงวด ดังนี้ 2.1) คาเสื่อมราคา เปนคาใชจายในงบแสดงผลการดําเนินงานทางการเงิน แตไมไดมีการ จายเปนเงินสด ดังนั้น ในการคํานวณหากระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงานของหนวยงาน ดวย วิธีทางออมนั้นตองนําคาเสื่อมราคาที่ปรากฎในงบแสดงผลการดําเนินงานทางการเงินมาบวกเขากับ


26 คูมือการจัดทํางบกระแสเงินสด นางสาวเพ็ญนภา สีดา นักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการ รายไดสูงกวาคาใชจายสุทธิ ป 2565 เพื่อทําใหเปนกระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดํานเนินงาน เนื่องจากคาเสื่อมราคาเปนคาใชจายที่ไมไดจายเปนเงนิสด 2.2) คาตัดจําหนาย เปนคาใชจายในงบแสดงผลการดําเนินงานทางการเงิน แตไมไดมี การจายเปนเงินสด ดังนั้น ในการคํานวณหากระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงานของหนวยงาน ดวยวิธีทางออมนั้นตองนําคาตัดจําหนายที่ปรากฎในงบแสดงผลการดําเนินงานทางการเงินมาบวกเขา กับรายไดสูงกวาคาใชจายสุทธิ 2.3) หนี้สงสัยจะสูญ เปนคาใชจายในงบแสดงผลการดําเนินงานทางการเงิน แตไมไดมี การจายเปนเงินสด ดังนั้น ในการคํานวณหากระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงานนั้นจึงตองนําจํานวน หนี้สงสัยจะสูญมาบวกกับรายไดสูงกวาคาใชจายสุทธิ 2.4) ผลกําไรหรือขาดทุนจากการขายสินทรัพย เนื่องจากเงินสดที่เกี่ยวของกับการขาย รายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ ตลอดจนเงินลงทุนนั้นถือเปนกิจกรรมลงทุน แตในการคํานวณกําไร สุทธิในงบแสดงผลการดําเนินงานไดนําผลกําไรหรือขาดทุนจากการขายสินทรัพยนั้นมารวมคํานวณ ดวย ดังนั้น ในการคํานวณหากระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงานตองนําผลกําไรจากการขาย สินทรัพยนั้นมาหักออกจากรายไดสูงกวาคาใชจายสะสมและนําผลขาดทุนจากการขายสินทรัพยนั้นมา บวกกับรายไดสูงกวาคาใชจายสุทธิ 3) คํานวณหาการเปลี่ยนแปลงของสินทรัพยหมุนเวียนและหนี้สินหมุนเวียนที่เกี่ยวของกับ กิจกรรมดําเนินงานจากงบแสดงฐานะทางการเงินเปรียบเทียบ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงดังกลาว สงผลใหเกิดกระแสเงินสดรับและจายของหนวยงาน โดยใชหลักการในการจัดทํางบกระแสเงินสดดวย วิธีทางออม ดังนี้ - สินทรัพยที่เกี่ยวของกับกิจกรรมดําเนินงานเพิ่มขึ้น นําไปหักออกจากรายไดสูงกวา คาใชจายสุทธิของหนวยงาน - สินทรัพยที่เกี่ยวของกับกิจกรรมดําเนินงานลดลง นําไปบวกเขากับรายไดสูงกวาคาใชจาย สุทธิของหนวยงาน - หนี้สินที่เกี่ยวของกับกิจกรรมดําเนินงานเพิ่มขึ้น นําไปบวกเขากับรายไดสูงกวาคาใชจาย สุทธิของหนวยงาน - หนี้สินที่เกี่ยวของกับกิจกรรมดําเนินงานลดลง นําไปหักออกจากรายไดสูงกวาคาใชจาย สุทธิของหนวยงาน จากขอมูลในงบแสดงฐานะทางการเงินเปรียบเทียบของหนวยงาน ก สามารถคํานวณหาการ เปลี่ยนแปลงของสินทรัพยหมุนเวียนและหนี้สินหมุนเวียนที่เกี่ยวของกับกิจกรรมดําเนินงานได ดังนี้ 3.1) จากขอมูลเพิ่มเติม ในระหวางป 2565 หนวยงานไดรับการจัดสรรคาธรรมเนียม การศึกษา แตไมปรากฎในงบแสดงผลการดําเนินงาน แตรายการดังกลาวทําใหสินทรัพยเพิ่มขึ้น จํานวน 1,562,115.75 บาท นั่นหมายความวา ในระหวางป 2565 หนวยงานไดรับเงินสดมากกวา รายไดในงบแสดงผลการดําเนินงาน ดังนั้น ในการคํานวณหากระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน ดวยวิธีทางออมจึงตองนํารายการดังกลาวมาบวกเขากับรายไดสูงกวาคาใชจายสุทธิ 3.2) หนี้สินหมุนเวียนอื่นลดลง ในระหวางป 2565 หนี้สินหมุนเวียนอื่นลดลงเปน จํานวน 2,903,819.77 บาท นั่นหมายความวา ในระหวางป 2565 หนวยงานจายเงินสดไป


27 คูมือการจัดทํางบกระแสเงินสด นางสาวเพ็ญนภา สีดา นักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการ มากกวาคาใชจายในงบแสดงผลการดําเนินงาน ดังนั้น ในการคํานวณหากระแสเงินสดสุทธิจาก กิจกรรมดําเนินงานดวยวิธีทางออมจึงตองนําหนี้สินหมุนเวียนอื่นที่ลดลงจํานวน 2,903,819.77 บาท มาหักออกจากรายไดสูงกวาคาใชจายสุทธิ จากรายละเอียดการคํานวณขางตน สามารถแสดงกระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน ของหนวยงาน ก ดวยวิธีทางออมได ดังนี้ รายไดสูงกวาคาใชจายสุทธิ 13,073,150.79 ปรับปรุงรายไดสูงกวาคาใชจายสําหรับปใหเปนกระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน เงินจัดสรรคาธรรมเนียมปเกา 1,562,115.75 วัสดุคงเหลือ (113,396.00) เจาหนี้การคาลดลง (2,903,819.77) กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน 11,618,050.77 ขอสังเกต ไมวาจะคํานวณกระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงานดวยวิธีทางตรงหรือวิธีทางออมก็ ตาม จะมีจํานวนเทากัน 4) คํานวณหากระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุนและกิจกรรมจัดหาเงินจากการวิเคราะหการ เปลี่ยนแปลงยอดคงเหลือของบัญชีที่เกี่ยวของกับกิจกรรมลงทุนและกิจกรรมจัดหาเงินในงบแสดง ฐานะทางการเงินเปรียบเทียบ เชน บัญชีที่ดิน อาคารและอุปกรณ โดยมีวิธีในการคํานวณเชนเดียวกับ วิธีที่แสดงสําหรับกระแสเงินสดทางตรงใน 3) และ 4) จากการวิเคราะหขอมูลขางตน สามารถแสดงงบกระแสเงินสดดวยวิธีทางออมได ดังนี้


28 คูมือการจัดทํางบกระแสเงินสด นางสาวเพ็ญนภา สีดา นักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการ หนวยงาน ก งบกระแสเงินสด สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2565 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน รายไดสูงกวาคาใชจายสุทธิ 13,073,150.79 ปรับปรุงรายไดสูงกวาคาใชจายสําหรับปใหเปนกระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน เงินจัดสรรคาธรรมเนียมปเกา 1,562,115.75 วัสดุคงเหลือ (113,396.00) เจาหนี้การคาลดลง (2,903,819.77) กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน 11,618,050.77 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดจายจากการซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ (13,408,568.67) กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมลงทุน (13,408,568.67) กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน 0.00 กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงิน 0.00 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด(ลดลง) (1,790,517.90) เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันตนงวด 178,786,248.39 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันสิ้นงวด 176,995,730.49 3.3.4 การเปดเผยขอมูล การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับกระแสเงินสดนั้น แบงออกเปน 2 ลักษณะ 3.3.4.1 การเปดเผยขอมูลในหมายเหตุประกอบงบการเงินภายใตหัวขอสรุปนโยบาย บัญชีที่สําคัญ โดยใหเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับงบกระแสเงินสดวา “เงินสด” ในงบกระแสเงินสดนั้น หมายถึง เงินสดในมือ เงินฝากธนาคารทุกประเภท 3.3.4.2 การเปดเผยขอมูลภายใตหัวขอตางๆ ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน โดยเผิด เผยขอมูลเกี่ยวกับกระแสเงินสดที่เห็นวา มีสาระสําคัญ เชน 3.3.4.2.1 ขอมูลเกี่ยวกับกระแสเงินสดที่มีสาระสําคัญที่หนวยงานจายไปใน ระหวางป เชน จํานวนเงินสดที่มีนัยสําคัญที่ถืออยูในมือ แตไมอาจนําไปใชไดและใหมีคําชี้แจงของ คณะกรรมการประจําหนวยงาน ประกอบดวย 3.3.4.2.2 ขอมูลที่เกี่ยวกับกิจกรรมลงทุนและกิจกรรมจัดหาเงินที่ไมเปนเงิน สดแตที่มีสาระสําคัญ เชน การซื้อทรัพยสินโดยการทําสัญญาเชาการเงิน การซื้อทรัพยสินโดยการกอ หนี้ การแลกเปลี่ยนทรัพยสินไมเปนตัวเงินตางๆ และ การไดรับบริจาคทรัพยสิน


29 คูมือการจัดทํางบกระแสเงินสด นางสาวเพ็ญนภา สีดา นักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการ เพื่อใหการจัดทํางบกระแสเงินมีขั้นตอนและสามารถตรวจสอบความถูกตองไดงายยิ่งขึ้น จึง สามารถสรุปขั้นตอนในการจัดทํางบกระแสเงินสด ได ดังนี้ ผังแสดงรายละเอียดขั้นตอนการจัดทํางบกระแสเงินสด รูปที่ 3 ผังแสดงรายละเอียดขั้นตอนการจัดทํางบกระแสเงินสด ขั้นที่ 1 วิเคราะหขอมูล งบแสดงฐานะทางการเงิน งบแสดงผลการดาํเนินงาน คํานวณหากระแสเงินสดสุทธิ ขั้นที่ 2 คํานวณหากระแสเงิน สดสุทธิ ยอดคงเหลอืตนงวด รายการกระทบ ยอดคงเหลือปลายงวด กิจกรรมดําเนินงาน กจิกรรมลงทุน กิจกรรมจดัหาเงินเงินสดเพิ่มขึ้น/(ลดลง) ขั้นที่ 3 จัดทํางบกระแสเงินสด กจิกรรมดําเนินงาน กิจกรรมลงทุน กจิกรรมจดัหาเงิน เงินสดสทุธเิพิ่มขนึ้/(ลดลง) รายไดสูง(ต่ํา)กวาคาใชจายสุทธกิอนการ เปลี่ยนแปลงสินทรัพย/ หนี้สิน สินทรัพยดําเนนิงานหนี้สินดําเนินงานขั้นที่ 4 เปดเผย หมายเหตุประกอบงบ หัวขอนโยบายการบัญชี-คําจํากัดความของคําวา “เงินสด” หัวขออื่น - เงินสดที่ไมสามารถนําไปใชได - รายการที่มิใชเงินสดที่มี สาระสําคัญ (ซื้อสินคาโดยวิธีเชา ซอ)/การจัดสรร


บทที่ ๔ ปญหา อุปสรรค แนวทางแกไข และการพัฒนางาน 4.1 ปญหาในการจัดทํางบกระแสเงินสด ผูจัดทํางบกระแสเงินสดสวนใหญประสบความยุงยากในการจัดทําเนื่องจากในการจัดทํางบ กระแสเงินสดตองปรับกระทบรายการรายไดสูง(ต่ํา)กวาคาใชจายสุทธิจากเกณฑคงคางใหเปนกระแส เงินสดรับ(จาย)สุทธิจากรายไดสูง(ต่ํา)กวาคาใชจายจากเกณฑเงนิสด ซึ่งตองอาศัยความรูความเขาใจใน การจัดทํา ซึ่งปญหาที่พบบอยๆในการจัดทํางบกระแสเงินสด มีดังนี้ 4.1.1 รายการปรับปรุงที่มีลักษณะเหมือนกับคาเสื่อมราคา เปนคาใชจายที่ตองนําไปปรรับ ปรุงกระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงานซึ่งจะตองนําไปบวกกับรายไดสูง(ต่ํา)กวาคาใชจาย เพื่อจะได กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน 4.1.2 ลูกหนี้ (สุทธิ) คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ เปนบัญชีปรับมูลคาลูกหนี้ทําใหลูกหนี้แสดงดวย มูลคาสุทธิที่คาดวาจะรับชําระคืน บัญชีคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญมีผลตอกระแสเงินสดจากกิจกรรม ดําเนินงานหรือไมนั้น ขึ้นอยูกับวิธีการในการจัดทํางบกระแสเงินสดวาใชวิธีทางตรงหรือวิธีทางออม 4.1.3 การเปลี่ยนแปลงของรายการสินทรัพยหมุนเวียนและหนี้สินหมุนเวียนบางรายการใน การปรับขอมูลจากรายไดสูง(ต่ํา)กวาคาใชจายตามเกณฑคงคางมาเปนกระแสเงินจากกิจกรรม ดําเนินงาน (หรือรายไดสูง(ต่ํา)กวาคาใชจายเกณฑเงินสด) สวนหนึ่งเกิดจากการนํารายการหมุนเวียน มาปรับ กิจการตองคํานึงถึงการเปลี่ยนแปลงของรายการหมุนเวียนบางรายการที่กระทบกระแสเงินสด แตไมกระทบโดยทั่วไปมักจะเปนกิจกรรมลงทุนหรือกิจกรรมจัดหาเงิน 4.1.4 รายการพิเศษและรายการไมปกติ กระแสเงินสดจากรายการพิเศษและรายการไม ปกติที่ไมเกี่ยวของกับการดําเนินงานของกิจกรรมหลักควรจะแยกแสดงออกเปนกิจกรรมลงทุนหรือ กิจกรรมจัดหาเงินตามลักษณะของรายการ 4.2 แนวทางแกไข งานบัญชี จัดทําคูมือการจัดทํางบกระแสเงินสด เพื่องายและมีความเขาใจตอการจัดทํางบ กระแสเงินสดและใหเปนไปแนวทางเดียวกัน 4.3 ขอเสนอแนะ ควรมีการจัดการแลกเปลี่ยนเรียนรู (KM) อบรม สัมมนา เพื่อใหเกิดความรูดานการจัดทํางบ กระแสเงินสด และความเขาใจของการวิเคราะหรายการตางๆที่เกี่ยวของ


31 บรรณานุกรม กรมบัญชีกลาง สํานักมาตรฐานดานการบัญชีภาครัฐ. (2561). หลักการและนโยบายบัญชีสําหรับ หนวยงานภาครัฐฉบับที่ 2. กรุงเทพ กรมบัญชีกลาง สํานักมาตรฐานดานการบัญชีภาครัฐ. (2556). มาตรฐานการบัญชีภาครัฐ ฉบับที่ 1 เรื่อง การนําเสนองบการเงนิ. กรุงเทพ เจริญ เจษฎาวัลย. (2551). พจนานุกรม อังกฤษ-ไทย คําศัพทงบ กระแสเงินสด = English-Thai dictionary of cash flow statement terms. นนทบุรี: พอดี. ดวงสมร อรพินท. (2549). งบกระแสเงินสด: ไมใชเรื่องยากอีกตอ ไป. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ. (2553). มาตรฐานการ บัญชีฉบับที่7 (ปรับปรุง 2552) เรื่องงบกระแสเงินสด. กรมสงเสริมอุตสาหกรรม. (2559). การจัดทํางบกระแสเงินสดแบบงาย, จากเว็บไซต: https://bsc.dip.go.th/th/category/financial-accounting/fs-SimpleStatement ดร.วรศกัดิ์ทุมมานนท(2560). งบกระแสเงินสดและการจัดทํางบกระแสเงินสด จากการยื่นแบบผาน อินเทอรเน็ต. จากเว็บไซต https://www.dbd.go.th/download/article/article_20181002095333.pdf


Click to View FlipBook Version