The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

2.เนื้อหาหน่วยที่ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ราห์ นารนี, 2020-06-08 09:09:21

2.เนื้อหาหน่วยที่ 1

2.เนื้อหาหน่วยที่ 1

หน่วยท่ี 1 ความรทู้ ่ัวไปเก่ียวกับบญั ชตี ้นทุน

สาระการเรียนรู้

1. ลักษณะท่วั ไปของตน้ ทนุ
2. วตั ถปุ ระสงคข์ องบัญชีตน้ ทุน
3. การจาแนกประเภทของตน้ ทุน
4. สนิ ค้าคงเหลือ
5. ความสัมพนั ธร์ ะหว่างการบัญชีการเงินและการบญั ชตี ้นทนุ
6. งบการเงนิ

แนวคดิ

การบัญชตี ้นทนุ เป็นการบัญชที เ่ี ก่ียวกบั การสะสมตน้ ทุนในด้านการผลิตของธรุ กจิ ท่ีทาการ
ผลติ สินคา้ ข้ึนเองหรือท่ีเรยี กว่า กจิ การอตุ สาหกรรม นกั บัญชีจะต้องจาแนกตน้ ทุนและวิเคราะห์ได้
ว่ารายการใดจะถือเปน็ ต้นทนุ ผลิตหรอื ไม่ เพื่อให้การคานวณต้นทุนผลิตภัณฑเ์ ป็นไปอย่างถูกต้องมาก
ที่สดุ และผูบ้ ริหารสามารถนาไปใช้ตดั สินใจทางด้านการตลาด

ผลการเรยี นรู้ทค่ี าดหวงั

1. อธบิ ายลกั ษณะทั่วไปของตน้ ทุนได้
2. อธิบายวัตถุประสงคข์ องบัญชตี ้นทนุ ได้
3. จาแนกประเภทของตน้ ทนุ ได้
4. อธิบายลกั ษณะของสนิ ค้าคงเหลือได้
5. อธบิ ายความหมายและความสัมพันธข์ องการบัญชีการเงนิ และการบญั ชตี ้นทนุ ได้
6. จดั ทางบการเงินของกจิ การอุตสาหกรรมได้

การบญั ชีตน้ ทนุ 1 รหสั 3201 – 2003 หน้า - 2

หน่วยที่ 1 ความรทู้ ัว่ ไปเกยี่ วกบั บัญชีตน้ ทนุ

ลกั ษณะท่ัวไปของตน้ ทนุ

ในการดาเนินธุรกิจโดยท่ัวไปนั้น วัตถุประสงค์ท่ีสาคัญคือ ต้องการกาไรจากการดาเนินงาน
และการท่ีจะบรรลวุ ัตถุประสงค์ดังกล่าวได้น้ัน ผู้บริหารหรือเจ้าของกิจการจาเป็นต้องทราบข้อมูลใน
ดา้ นตา่ ง ๆ เกย่ี วกับการบริหารงานและบรหิ ารทรพั ยากรท่ีมีอยอู่ ย่างเต็มความสามารถ การบัญชีเป็น
การบริหารข้อมูลท่ีผู้บริหารหรือเจ้าของกิจการ นามาใช้ประโยชน์ในการวางแผนและควบคุมการ
ปฏบิ ตั งิ าน ในธรุ กจิ ทซ่ี อื้ สินค้ามาขายหรือทีเ่ รยี กว่า กิจการซอื้ มาขายไป สามารถคานวณต้นทุนของ
สินค้าที่ซ้ือมาและขายไปตามหลักฐานท่ีเก่ียวข้องกับการซ้ือสินค้าเหล่านั้นมา เช่น ใบกากับสินค้า
ใบกากับภาษี เป็นต้น กิจการประเภทน้ีจะคานวณต้นทุนของสินค้าที่ขึ้นมาแล้วจึงขายโดยการซ้ือ
วัตถุดิบมาแปรสภาพให้เป็นสินค้าสาเร็จรูปเสียก่อน ซ่ึงต้นทุนในการผลิตสินค้าสาเร็จรูปคานวณได้
โดย นาต้นทุนผลติ ทีเ่ บิกใช้

1. วตั ถดุ ิบ(ต้นงวด)
บวก ซื้อวัตถดุ บิ ระหว่างงวด(สทุ ธ)ิ
หัก วัตถดุ ิบ(ปลายงวด)

2. ค่าแรงงานงานทางตรง
3. ค่าใชจ้ า่ ยการผลิต
กระบวนการของต้นทุนในกิจการอุตสาหกรรมน้ันจะดาเนินการไปตามวงจรต้นทุน อัน
ประกอบด้วยการจัดหาทรัพยากรการผลิต กระบวนการผลิต การเก็บรักษาในคลังสินค้า และการ
ขายสินค้า ในการผลิตสินค้านอกจากต้องคานึงถึงคุณภาพของสินค้าและต้องต้องผลิตให้ได้ตาม
มาตรฐานทตี่ ง้ั ไวแ้ ลว้ ยงั ตอ้ งผลติ ให้มีราคาทนุ ต่าที่สุดเท่าทจ่ี ะทาได้

วัตถปุ ระสงคข์ องบัญชตี ้นทนุ (objective of cost accounting)

วตั ถุประสงค์ท่ีสาคญั ของการบัญชตี น้ ทนุ มี 3 ประเภท
1. เพ่อื ตีราคาสินคา้ คงเหลือและวัดผลการดาเนินงาน (Inventory valuation and
Income determination) กล่าวคือ จะสะสมข้อมูลต้นทุนท่ีเกิดข้ึนโดยมีการบันทึกและจาแนก
ประเภทไว้ ซึ่งจะมานามาใช้ในการตีราคาสินค้าคงเหลือ อันได้แก่วัตถุดิบ งานระหว่างทา และ
สินค้าสาเร็จรูป เพ่ือนารายการเหล่านี้ไปจัดทางบแสดงฐานะทางการเงิน นอกจากน้ันแล้วข้อมูล
ต้นทุนยังใช้ในการคานวณต้นทุนสินค้าท่ีผลิตได้และต้นทุนสินค้าท่ีขายของงวด เพื่อจัดทางบกาไร
ขาดทุนด้วย
2. เพอ่ื ประโยชน์ในการวางแผนและควบคุม (Planning and control) ฝา่ ยบรหิ ารจะ
ใช้ข้อมูลต้นทุนในอดีตในการจัดทาแผนการดาเนินงานขึ้นล่วงหน้าในรูปของปริมาณหรือตัวเลข ซึ่ง
เรียกว่า “งบประมาณ” (Budget) เพ่ือเป็นแนวทางในการดาเนินงานของผู้บริหารหรือเจ้าหน้าท่ีท่ี
เกี่ยวข้อง ส่วนในด้านการควบคุมจะมีการเก็บข้อมูลที่เกิดขึ้นจริง จัดทาเป็น “รายงานผลการ

นางสาวนารนี ดอเลา๊ ะ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ สาขาวิชาการบญั ชี

การบญั ชีตน้ ทุน 1 รหสั 3201 – 2003 หนา้ - 3

ปฏบิ ัติงาน” (Performance reports) แล้วนามาเปรียบเทียบกับงบประมาณที่กาหนดไว้ เพ่ือจะได้
ทราบว่ามผี ลแตกต่างระหว่างต้นทุนที่เกิดข้ึนจริงกับต้นทุนท่ีงบประมาณไว้หรือไม่ หากมีผลแตกต่าง
(Variances) เกิดขึน้ ต้องพิจารณาว่าเป็นผลแตกต่างที่ดี (Favorable variances) หรือผลแตกต่าง
ที่ไม่ดี (Unfavorable variances) จานวนมากน้อยเพียงใด และเกิดขึ้นจากสาเหตุใด ซ่ึงจะเป็น
ประโยชนต์ อ่ ฝ่ายบริหารในการควบคุม ต้นทนุ และปรบั ปรุงงการดาเนินงานให้มีประสทิ ธภิ าพยิง่ ข้ึน

3. เพ่อื ประโยชน์ในการตัดสินใจของฝ่ายบริหาร (Decision-making) การพิจารณาของฝ่าย
บรหิ ารในการเลอื กทางเลือกที่ดที ่สี ุดจากทางเลือกต่าง ๆ จาเป็นต้องทราบข้อมูลต้นทุนท่ีเกี่ยวข้องกับ
ทางเลือกแต่ละทางเลือกน้ันเพื่อประกอบการตัดสินใจ ข้อมูลต้นทุนดังกล่าวนี้ ควรจะเป็นข้อมูล
ต้นทุนในอนาคตที่ได้จากการปรับปรุงเปล่ียนแปลงข้อมูลในอดีตให้เข้ากับสถานกา รณ์และปัญหาท่ี
เกี่ยวขอ้ ง จงึ เหน็ ไดว้ ่า ข้อมูลต้นทุนในอดีตคิดจะเป็นเพียงสิ่งที่ช่วยในการพยากรณ์ต้นทุนในอนาคต
เท่าน้นั แตไ่ ม่ใช่ขอ้ มูลทใี่ ชใ้ นการตดั สนิ ใจ ตวั อยา่ งปัญหาที่ฝ่ายบริหารต้องทาการตดั สินใจได้แก่ การ
ขยายโรงงาน การเพิ่มหรอื ลดสายผลิตภณั ฑ์ เปน็ ต้น

สรปุ ได้ว่า วตั ถปุ ระสงค์ของการบญั ชีต้นทุน คือ
1. ใช้ในการคานวณต้นทนุ ขายประจางวดซงึ่ จะไดน้ าไปเปรียบเทยี บกบั รายไดค้ ่าขายสาหรบั
งวดบญั ชีเดยี วกนั เพือ่ วดั ผลการดาเนินงานของกิจการเพ่ือจะไดท้ ราบกาไรหรือขาดทนุ สุทธิ
2. ใช้ในการคานวณหรอื ตีราคาสินค้าคงเหลอื เช่น วตั ถุดบิ คงเหลือ งานระหว่างทาสินคา้
สาเร็จรูปคงเหลือ เพื่อแสดงในงบแสดงฐานะทางการเงินของกจิ การ
3. เพือ่ เป็นข้อมูลในการวางแผนและควบคุม โดยการเปรยี บเทียบข้อมลู ท่เี กดิ ข้นึ จรงิ กับ
งบประมาณท่ีกาหนดไว้ หากมีผลแตกตา่ งทไี่ มน่ า่ พอใจ หรอื มขี ้อบกพร่องในการดาเนินงานฝา่ ย
บริหารจะแก้ไขไดทนั ทว่ งที
4. เพอื่ ใช้เปน็ เครื่องมือในการตัดสินใจทางการตลาด

การจาแนกประเภทของต้นทุน

ต้นทุน (Cost) หมายถึง มูลค่าของทรัพยากรที่สูญเสียไปเพ่ือให้ได้สินค้าหรือบริการโดย
มูลค่าน้ันจะต้องสามารถวัดได้เป็นหน่วยเงินตรา ซ่ึงเป็นลักษณะของการลดลงในสินทรัพย์หรื อ
เพิ่มขึ้นในหน้ีสิน ต้นทุนท่ีเกิดข้ึนอาจจะให้ประโยชน์ในปัจจุบันหรือในอนาคตก็ได้ เมื่อต้นทุนใดท่ี
เกิดขึ้นแล้ว และกิจการได้ใช้ประโยชน์ไปทั้งส้ินแล้ว ต้นทุนน้ันก็จะถือเป็น ‘ค่าใช้จ่าย’ (Expenses)
ดังน้ันค่าใช้จ่ายจึงหมายถึง ต้นทุนที่ได้ให้ประโยชน์และกิจการได้ใช้ประโยชน์ทั้งหมดไปแล้วใน
ขณะน้ันและสาหรับต้นทุนท่ีกิจการสูญเสียไป แต่จะให้ประโยชน์แก่กิจการในอนาคตเรียกว่า
สนิ ทรัพย์ (Assets)

ต้นทุน สามารถนาไปใช้ได้หลายรูปแบบ หลายความหมาย แล้วแต่วัตถุประสงค์ของผู้ใช้
ต้นทุนจะมีความหมายก็เฉพาะเมื่อต้นทุนนั้นสัมพันธ์กับวัตถุประสงค์เฉพาะหนึ่ง ๆ ซ่ึงต้นทุนได้เก็บ
สะสมไว้หรืออาจกล่าวได้ว่า มีต้นทุนต่าง ๆ กันสาหรับวัตถุประสงค์เฉพาะหน่ึง ๆ กัน ดังนั้นจึง
จาแนกประเภทตน้ ทนุ ตามลกั ษณะและวตั ถุประสงค์ของผ้ใู ช้ได้ดงั นค้ี ือ

1. จาแนกตามการเปลย่ี นแปลงในกจิ กรรม เป็นการพิจารณาว่าต้นทนุ จะเปล่ยี นแปลงไป

นางสาวนารนี ดอเล๊าะ ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการ สาขาวิชาการบัญชี

การบัญชตี ้นทนุ 1 รหัส 3201 – 2003 หนา้ - 4

อย่างไรเม่ือมีการเปลี่ยนแปลงปริมาณการผลิตหรือจานวนชั่วโมงท่ีใช้ในการผลิต โดยจาแนกเป็น
ต้นทุนผนั แปร ตน้ ทนุ คงที่ ต้นทุนกึ่งผันแปร

2. จาแนกตามความรบั ผดิ ชอบหรือจาแนกตามแผนกผลิตและการดาเนินงาน การจาแนก
ต้นทนุ ประเภทนี้ พบโดยทว่ั ไปในโรงงานท่ีผลิตสินคา้ สาเร็จรูป ซึ่งจะช่วยให้ฝ่าบริหารคานวณต้นทุน
ของสินคา้ สาเรจ็ รูป เพ่อื นาไปใช้ในการวดั ผลการดาเนนิ งาน ทงั้ ยังเปน็ เครอื่ งมือทีผ่ ู้บรหิ ารจะควบคุม
การปฏิบัติงานโดยพิจารณาจากต้นทุนและค่าใช้จ่ายท่ีเกิดขึ้นในแผนกด้วย ได้แก่ต้นทุนแผนกผลิต
ตน้ ทุนแผนกบริการ

3. จาแนกตามสว่ นประกอบของสินคา้ สาเร็จรปู โดยจาแนกเป็น ต้นทุนวัตถุดิบตน้ ทุน
แรงงานคา่ ใชจ้ า่ ยการผลติ การจาแนกเชน่ น้ี เปน็ การใหร้ ายละเอยี ดในการตรี าคาสินค้าคงเหลอื
(Inventory Valuation) และคานวณต้นทนุ ขายเพ่ือวัดผลการดาเนนิ งาน (Income
Determination)

4. จาแนกตามหนา้ ทใ่ี นองค์กรธุรกิจ การจดั สายงานองค์กรธุรกิจมักจะมีการแบ่งแยก
หนา้ ทใ่ี นการบริหารเปน็ ฝา่ ยการผลติ ฝา่ ยการตลาด ฝา่ ยบรหิ าร และฝ่ายการเงิน จึงมกี าร
รวบรวมและสะสมตน้ ทนุ ตามหนา้ ที่ดงั น้ี คือ ต้นทนุ ฝ่ายผลติ หรือต้นทุนการผลิต คา่ ใช้จ่ายในการ
ขาย ซ่ึงเป็นตน้ ทุนฝ่าการตลาด คา่ ใชจ้ ่ายในการบริหาร และตน้ ทนุ ทางการเงนิ หรอื คา่ ใช้จา่ ยทาง
การเงนิ (Financing Cost)

5. จาแนกตามการตัดสนิ ใจ และลกั ษณะทางเศรษฐกจิ ในการตัดสินใจในปญั หาต่าง ๆ
ในทางธุรกจิ ฝา่ ยบริหารยอ่ มตอ้ งการทางเลือกที่ดที ่ีสุด ซึง่ เป็นหนา้ ทข่ี องฝา่ ยต้นทนุ คงที่ตอ้ ง
รวบรวมข้อมูลต้นทุน เพื่อเสนอต่อผู้บรหิ ารเพ่อื นามาใชป้ ระกอบการตัดสนิ ใจ ข้อมูลตน้ ทนุ ประเภท
นี้ ได้แก่ ต้นทนุ จม (Sunk Cost) ต้นทุนเสยี โอกาส (Opportunity Cost) ต้นทุนท่ีหลีกเลี่ยง
ไม่ได้ (Unavoidable Cost) ตน้ ทนุ ท่ีต้องจ่ายเป็นเงินสด

6. จาแนกตามงวดเวลาหรอื งวดบญั ชี ในการคานวณผลการดาเนนิ งานในแตล่ ะงวดบัญชี
จะตอ้ งเปรยี บเทยี บคา่ ใชจ้ ่ายกับค่าขายทเ่ี กิดข้ึนในงวดเดยี วกนั คา่ ใช้จ่ายจะเป็นตน้ ทนุ ทีถ่ กู ใช้
ประโยชน์ไปแลว้ (Expired Cost) และคดิ เปน็ ค่าใช้จา่ ยในงวดบญั ชปี ัจจุบนั ต้นทุนส่วนที่ยังใช้ไม่
หมด (Unexpired Cost) ก็จะถือเปน็ ตน้ ทนุ ของสินทรพั ยย์ กไปงวดหนา้ เชน่ ต้นทนุ ผลิตภณั ฑ์
ส่วนตันทนุ ขายเปน็ ต้นทุนที่ถูกใชป้ ระโยชนไ์ ปแลว้ ถือเป็นค่าใชจ้ ่าย การพจิ ารณาตน้ ทนุ ตามงวดบัญชี
เช่นนี้กอ่ นให้เกิดการจาแนกต้นทุนเป็นตน้ ทนุ ผลิตภัณฑ์ (Product Cost) และต้นทนุ ประจางวด
(Period Cost)

7. จาแนกตามความประสงคใ์ นการวางแผนและควบคุม ในการบริหารงานที่มี
ประสทิ ธิภาพผบู้ ริหารจาเปน็ ตอ้ งมีการวางแผนไว้ล่วงหนา้ จึงตอ้ งมีการกาหนดต้นทนุ โดยประมาณ
หรือตน้ ทนุ มาตรฐานขน้ึ มาเป็นเคร่อื งมือในการบรหิ ารตน้ ทุนดังกล่าว ได้แก่ ต้นทุนโดยประมาณ
(Estimated Cost) ตน้ ทนุ มาตรฐาน (Standard Cost)

ตน้ ทนุ ผันแปรและต้นทุนคงที่

การจาแนกต้นทนุ ความสัมพนั ธ์กบั ระดับของกจิ กรรมนี้ บางครงั้ เรากเ็ รียกวา่ “การจาแนก
ต้นทุนตามพฤติกรรมของต้นทุน (Cost Behavior) ซึ่งมลี ักษณะท่ีสาคัญคือ เป็นการวิเคราะหจ์ านวน

นางสาวนารนี ดอเล๊าะ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการ สาขาวิชาการบัญชี

การบัญชตี ้นทุน 1 รหัส 3201 – 2003 หนา้ - 5

ของตน้ ทุนทจ่ี ะมีการเปลย่ี นแปลงไปตามปริมาณการผลติ หรือระดบั ของกจิ กรรมในการผลิตท้ังที่
เก่ยี วกบั การวางแผน การควบคมุ การประเมิน และวดั ผลการดาเนินงาน การจาแนกต้นทนุ ตาม
ความสัมพันธก์ ับระดับของกจิ กรรม เราสามารถทจ่ี ะจาแนกตน้ ทนุ ใน 3 ชนิดนคี้ ือ ตน้ ทุนผันแปร
ตน้ ทนุ คงที่ ต้นทุนผสม
ต้นทนุ ผันแปร (variable cost) หมายถึง ต้นทนุ ทจ่ี ะมตี ้นทุนวมเปลย่ี นแปลงไปตามสัดส่วนของ
การเปลยี่ นแปลงในระดับกจิ กรรมหรอื ปรมิ าณการผลิต ในขณะทต่ี ้นทุนต่อหน่วยจะคงท่ีเทา่ กันทุก ๆ
หน่วย โดยทวั่ ไปแล้วต้นทุนผันแปรนจี้ ะสามารถที่จะควบคุมไดโ้ ดยแผนกหรือหนว่ ยงานท่ที าใหเ้ กิด
ต้นทนุ ผนั แปรน้นั เชน่ ถ้ากิจการจะใชว้ ัตถดุ ิบทางตรงในการผลติ หนว่ ยละ 1,000 บาท ซ่งึ ถอื เปน็
ตน้ ทนุ ผนั แปร ดังนนั้ ถา้ กจิ การทาการผลิตสนิ คา้ 1 หนว่ ย ก็จะเสยี ตน้ ทุน 1,000 บาท ถา้ ผลิต 2
หน่วย ก็จะมีตน้ ทุนท้ังส้นิ 2,000 บาท หรอื ถ้าผลติ 5 หน่วย กจ็ ะมตี ้นทนุ ท้ังสนิ้ 5,000บาท ดัง
แสดงลกั ษณะของตน้ ทนุ ผนั แปรใน ดูภาพประกอบท่ี 1.1 -1.2

จานวนเงิน ตน้ ทุนผันแปร
8,000

7,000

6,000

5,000
4,000
3,000
2,000
1,000

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 ปริมาณ

รปู ภาพท่ี 1.1 แสดงพฤตกิ รรมของต้นทนุ ผนั แปรรวม

นางสาวนารนี ดอเล๊าะ ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการ สาขาวิชาการบัญชี

การบัญชตี น้ ทนุ 1 รหัส 3201 – 2003 หน้า - 6

จานวนเงิน
8,000
7,000
6,000
5,000
4,000
3,000
2,000 ตน้ ทุนผนั แปรต่อหน่วย

1,000
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 ปริมาณ

รปู ภาพท่ี 1.2 แสดงพฤติกรรมของต้นทนุ ผันต่อหนว่ ย

ต้นทุนคงท่ี (Fixed costs) คือ ตน้ ทนุ ท่ีมีพฤติกรรมคงที่ หมายถึงตน้ ทุนรวมท่มี ิได้

เปล่ยี นแปลงไปตามระดับของการผลิตในชว่ งของการผลติ ระดับหนง่ึ แตต่ ้นทนุ ต่อหนว่ ยก็จะ

เปล่ยี นแปลงในทางลดลงตามปริมาณการผลิตทม่ี ากขน้ึ นอกจากน้ีต้นทุนคงที่ยงั แบ่งออกเปน็ ตน้ ทุน

คงที่อีก 2 ลักษณะคือ ต้นทุนคงท่รี ะยะยาว (Committed Fixed Cost) เป็นต้นทุนคงท่ที ่ีไม่

เปลย่ี นแปลงไดใ้ นระยะส้ัน เชน่ สัญญาเช่าระยะยาว ค่าเส่ือมราคา เปน็ ตน้ ต้นทนุ คงท่ีระยะสัน้

(Discretionary Fixed Cost) จดั เปน็ ตน้ ทนุ คงที่ที่เกิดข้ึนเปน็ ครั้งคราวจากการประชมุ หรือตัดสนิ ใจ

ของผ้บู รหิ าร เช่น เงนิ เดือนของผู้จดั การโรงงาน คา่ เสื่อมราคาเคร่ืองจกั ร คา่ เบี้ยประกันโรงงาน

เคร่อื งจักร ค่าเช่าอาคารโรงงาน เงนิ เดือนแม่บา้ นทาความสะอาดโรงงงาน

ระดับกจิ กรรม ต้นทนุ ต่อหน่วย ตน้ ทนุ รวม

สินค้า 1 หน่วย 6,000 บาท 6,000 บาท

สินค้า 2 หนว่ ย 3,000 บาท 6,000 บาท

สนิ ค้า 3 หน่วย 2,000 บาท 6,000 บาท

ดงั ทีก่ ล่าวมาแล้ววา่ ต้นทนุ คงท่จี ะคงทเ่ี ฉพาะงวดเวลาหนง่ึ หรอื ช่วงกิจกรรมหนงึ่ เทา่ นัน้ ซ่ึง

เรยี กวา่ ช่วงกิจกรรมหน่ึงเทา่ นน้ั ซ่งึ เรยี กว่า ชว่ งท่มี ีความหมาย (Relevant Range) เชน่ ใน

ระยะเวลา 1 ปี ต้นทนุ คงทีข่ องบริษัทอาจไม่เปลี่ยนแปลงเลย แตใ่ นปถี ัดไปอาจมกี ารก่อสร้างโรงงาน

เพมิ่ ยอ่ มทาให้คา่ เสือ่ มราคาโรงงานเพิ่มขึ้นหรือเงินเดือนของผบู้ ริหารอาจสงู ขน้ึ กวา่ เดิมก็ได้

นอกจากนัน้ ตน้ ทุนคงทที จ่ี ่ายในแตล่ ะปีนั้นอาจใชไ้ ด้สาหรบั ช่วงการผลิต 30,000 ถงึ 90,000

ชวั่ โมงตอ่ เดอื นก็ได้ แต่หากมีการนดั หยดุ งานหรือเศรษฐกจิ ซบเซาอาจเป็นเหตุใหม้ ีการลดเงินเดือน

ของผูบ้ รหิ าร มกี ารขายเคร่อื งจักรหรือปิดโรงงาน ไมม่ ีกจิ กรรมการผลติ เกิดขึน้ ต้นทุนคงที่ย่อม

ลดลง ดูภาพประกอบท่ี 1.3

นางสาวนารนี ดอเล๊าะ ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการ สาขาวิชาการบญั ชี

การบญั ชตี น้ ทุน 1 รหสั 3201 – 2003 หน้า - 7

55,000 ตน้ ทนุ คงท่ี ณ ระดับ 30,000-90,000 ช่วั โมง
50,000
30,000

30 40 60 80 100 จานวนกจิ กรรม (พนั ชว่ั โมง)

ภาพที่ 1.3 แสดงความสมั พนั ธร์ ะหว่างตน้ ทนุ คงทกี่ ับจานวนกิจกรรม

จากภาพท่ี 1.3 จะเหน็ ว่าช่วงทีม่ ีความหมายคือชว่ ง 30,000 – 90,000 ชวั่ โมง ซึ่งมี
ตน้ ทนุ คงที่เกดิ ข้ึน 50,000 บาท สว่ นชว่ งที่ต่ากวา่ 30,000 ช่ัวโมง หรือมากกวา่ 90,000
ชั่วโมง จะเกดิ ขึน้ น้อยมาก เช่น ถ้าต่ากวา่ 30,000 ช่ัวโมง หมายถงึ การปดิ โรงงานซ่ึงในภาวะ
ปกติจะไม่เกิดขนึ้ หรอื ช่วงทเี่ กนิ กวา่ 90,000 ชวั่ โมงการจา้ ง ผ้คู วบคุมตรวจตราเพิ่มเตมิ

ต้นทนุ กึ่งผนั แปร (Semi-variable Cost) คือ ต้นทุนทม่ี ลี ักษณะผสมท้ังท่ีเป็นต้นทุนคงท่ี
และต้นทนุ ผันแปร นนั่ คือ จานวนรวมของตน้ ทุนจะเปลีย่ นแปลงตามปริมาณของกิจกรรม แต่ไม่ได้
แปรไปในอตั ราสว่ นโดยตรงกับปรมิ าณกจิ กรรม เชน่ คา่ โทรศพั ท์ ค่าเบยี้ ประกันภยั คา่ กาลังไฟ
ค่าตรวจสอบคุณภาพสินค้า เปน็ ต้น โดยทีต่ ้นทนุ ประเภทนปี้ ระกอบดว้ ยต้นทุน 2 ลกั ษณะ

ตวั อย่าง กจิ การจ่ายค่าจา้ งสาหรบั คนงานเก็บผลปาล์มในสวนปาล์มอตั รา 2,000 บาท ตอ่
เดือนบวกด้วยค่าจ้างกโิ ลกรัมละ 2 บาท ถา้ ในเดือนมกราคม คนงานเกบ็ ผลปาล์มได้ 2,000
กิโลกรัม กิจการจะต้องจา้ งรวม 6,000 บาท

ตน้ ทุนแผนกผลติ (Production Department Cost) แผนกผลติ เปน็ แผนกท่ีทาการแปร
สภาพวตั ถดุ ิบใหเ้ ป็นสนิ คา้ สาเร็จรูปโดยใช้แรงงานคนหรือเครือ่ งจกั ร ตน้ ทนุ ของแผนกผลิตจะถือเปน็
ตน้ ทนุ ของผลติ ภณั ฑ์เพราะเกี่ยวข้องกบั การผลติ โดยตรง เช่น แผนกตดั แผนกประกอบ แผนก
ตกแต่ง เป็นต้น

ต้นทุนแผนกบริการ (Service Department Cost) แผนกบรกิ ารเปน็ แผนกที่ไมไ่ ดผ้ ลติ
สนิ ค้าโดยตรงแตใ่ ห้บริการแก่แผนกอ่ืน ๆ ทัง้ ทเี่ ปน็ แผนกผลติ และแผนกบริการดว้ ยกนั แม้วา่ แผนก
บรกิ ารจะไม่ทาหน้าท่เี กยี่ วกบั การผลิตโดยตรงก็ตามแต่แผนกดังกล่าวก็ช่วยใหง้ านของแผนกผลิต
ดาเนนิ ไปไดด้ ้วยดี เช่น แผนกซ่อมแซม แผนกการเงนิ และบัญชี แผนกบคุ คล แผนกพัสดุเป็นต้น
ตน้ ทุนในแผนกผลติ แล้วจึงคานวณเป็นต้นทุนผลติ ภณั ฑ์

ต้นทุนผลิตภัณฑ์ (Product Cost) หมายถงึ ตน้ ทนุ ที่เปน็ ตัวสินค้า ในกจิ การอุตสาหกรรม
ตน้ ทนุ ผลิตภัณฑ์ ก็คือผลรวมของตน้ ทนุ วตั ถดุ บิ คา่ แรงงานและค่าใชจ้ า่ ยการผลิต สว่ นในกจิ การซื้อ
มาขายไป ต้นทนุ ผลิตภณั ฑ์คือคา่ ซ้ือสินค้า ต้นทุนผลิตภัณฑจ์ ะถูกตัดเป็นค่าใชจ้ ่ายคือ ตน้ ทุนขาย
เมือ่ กิจการขายสนิ ค้าได้ ดังน้ัน ตน้ ทนุ ขาย จงึ เปน็ คา่ ใชจ้ ่ายไมใ่ ช้ต้นทุน หากสนิ ค้ายังขายไม่ได้ก็จะ
แสดงไว้ในงบดลุ ในรูปของสนิ ทรัพย์

นางสาวนารนี ดอเล๊าะ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ สาขาวิชาการบญั ชี

การบญั ชตี น้ ทนุ 1 รหัส 3201 – 2003 หน้า - 8

ต้นทนุ ประจางวด (Period Cost) เป็นตน้ ทนุ ทไ่ี ม่เก่ยี วขอ้ งกับการผลิตหรอื ไม่ไดค้ ิดตาม
สินคา้ ท่ผี ลิต แตเ่ ป็นค่าใชจ้ ่ายในการบรหิ ารและคา่ ใชจ้ า่ ยในการขายซง่ึ เปน็ ค่าใช้จา่ ยที่จะตอ้ งไปหัก
จากยอดขาในงวดบญั ชีปัจจุบัน โดยถอื หลักว่าจะคดิ เปน็ ค่าใช้จ่ายในงวดบัญชไี ด้ ตอ่ เมื่องวดบญั ชี
นัน้ ได้รบั ประโยชน์จากค่าใชจ้ ่ายน้ัน ในกรณีมีคา่ เสื่อมราคาทีด่ ิน อาคารและอปุ กรณ์ ที่ไม่ได้
นาไปใชใ้ นการผลิต เช่น คา่ เส่ือมราคา – อปุ กรณส์ านักงาน ซ่งึ เป็นคา่ ใช้จ่ายในการบริหาร ดังนนั้
รายการน้จี ึงเปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยประจางวดท่ตี ้องนาไปหักจากยอดขายในงวดบัญชปี ัจจุบัน

ตน้ ทนุ ทจ่ี าแนกตามสว่ นประกอบของสินค้าสาเร็จรปู หรอื ทเ่ี รียกวา่ ต้นทุนการผลติ ซ่ึงจะ
ประกอบดว้ ยวตั ถดุ บิ คา่ แรงงาน และค่าใช้จา่ ยการผลติ

1. วตั ถุดิบ (Materials)
วัตถดุ ิบนับวา่ เปน็ ส่วนประกอบหลักของการผลิตสนิ ค้าหรือผลภิ ณั ฑ์สาเร็จรูปโดยทั่วไป ซง่ึ
ต้นทุนท่เี ก่ยี วกับการใชว้ ตั ถดุ ิบในการผลิตสินค้าอาจจะถกู แบง่ ออกเปน็ 2 ลักษณะคือ
1.1 วัตถุดิบทางตรง (Direct Materials) หมายถึง วตั ถุดบิ ที่ถูกใชโ้ ดยตรงในการผลิต
และแปรสภาพเปน็ ผลิตภณั ฑ์หรือสนิ ค้าสาเรจ็ รปู และจะเป็นสว่ นประกอบสาคญั สามารถคิดเข้าตวั
ผลิตภณั ฑไ์ ด้ หรอื สามารถบอกไดแ้ นช่ ดั ว่าผลิตภัณฑน์ น้ั ๆ มีต้นทุนวตั ถุดิบเท่าใด เชน่ ผา้ ที่ใช้ใน
การผลติ เสอื้ ผ้าสาเร็จรูป หนังสัตวท์ ใี่ ช้ในการผลติ กระเปา๋ แผ่นเหลก็ ท่ใี ชใ้ นการผลิตรถยนต์ เปน็ ต้น
สินค้าสาเรจ็ รูปจากกิจการหน่ึงอาจเป็นวัตถุของอีกกิจการหนึ่งกไ็ ด้ เชน่ ผ้าเป็นสินค้าสาเรจ็ รปู ใน
กจิ การทอผ้าและเป็นวตั ถุดบิ ของกิจการผลติ เสือ้ ผ้าสาเรจ็ รูป
1.2 วตั ถุดิบทางอ้อม (Indirect Materials) หมายถงึ วัตถดุ บิ ทถี่ ูกนามาใช้เพื่อทา
ให้การแปรสภาพวัตถุดบิ ทางตรงให้เปน็ สนิ คา้ สาเรจ็ รูปนัน้ สมบรู ณข์ ึน้ หรือเป็นสว่ นประกอบของ
สนิ ค้าสาเร็จรปู แตไ่ มไ่ ดเ้ ป็นสว่ นประกอบสาคัญ เน่ืองจากมีสัดสว่ นของตน้ ทุนน้อยกวา่ วัตถดุ ิบ
ทางตรงการคานวณต้นทุนท่ีใช้ไปสาหรับการผลติ สนิ คา้ แต่ละช้ิน แต่ละหน่วยทาไดย้ าก จึงถือวา่
วัตถดุ ิบทางออ้ มเปน็ ค่าใช้จา่ ยการผลิตอย่างหน่งึ เชน่ กระดุม ด้าย ถอื เป็นวัตถดุ บิ ทางอ้อมในการ
ผลติ เส้อื สาเรจ็ รูป เอน็ ทใ่ี ช้ในการเยบ็ กระเป๋า ตะปู น๊อต กาว เปน็ วัตถุดบิ ทางอ้อมในการผลิตโต๊ะ
เก้าอ้ี เปน็ ตน้
2. คา่ แรง (Labor) หมายถงึ ค่าจ้างหรอื ผลตอบแทนทีจ่ า่ ยใหแ้ กล่ กู จา้ งหรือคนงานทีท่ า
หน้าทเ่ี ก่ยี วข้องกบั การผลติ สนิ คา้ โดยปกตแิ ล้วค่าแรงงานจะถกู แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
ค่าแรงงานทางตรง (Direct labor) และค่าแรงงานทางอ้อม (indirect labor)
2.1 คา่ แรงงานงานทางตรง (Direct labor) หมายถึง คา่ แรงงานท่ีจาเป็นให้แกค่ นงาน
ทท่ี าการผลติ โดยตรง และสามารถบอกไดช้ ดเจนวา่ เป็นผลติ ภณั ฑ์ทชี่ ้นิ น้นั ๆ มตี น้ ทุนค่าแรงงานงาน
ทางตรงเทา่ ใด ลักษณะที่สาคัญของคา่ แรงงานงานทางตรงกค็ ือ คา่ แรงงานทางตรงจะผันแปรตาม
จานวนสินค้าท่ผี ลิต ถา้ เพิ่มการผลิตสินคา้ จานวนคา่ แรงงานทางตรงกจ็ ะเพ่ิมด้วย หากลดการผลิต
ต้นทนุ ประเภทน้ีก็จะลดลงไปด้วย เชน่ ค่าแรงงานของคนงานทม่ี ีหนา้ ท่ีประกอบเฟอรน์ ิเจอร์
คา่ แรงงานของคนงานที่ตัดและเย็บเสอื้ ผา้ เป็นต้น
2.2 คา่ แรงงานทางออ้ ม (Indirect Labor) หมายถึง ต้นทนุ คา่ แรงงานท่ีจา่ ย
ให้กบั คนงาน หรือพนักงานที่เกี่ยวข้องกบั การผลติ แตไ่ ม่ได้ทาการผลติ โดยตรงและการคานวณ
ตน้ ทุนวา่ เปน็ ของงานช้ินใด เทา่ ใดก็ทาได้ยาก เชน่ เงนิ เดือนทจี่ ่ายให้หวั หนา้ คนงาน เงินเดือนภาร
โรง ค่าจ้างพนกั งานยามรกั ษาการณ์โรงงาน เงินเดือนแม่บ้านทาความสะอาดโรงงาน เป็นตน้

นางสาวนารนี ดอเลา๊ ะ ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการ สาขาวิชาการบญั ชี

การบัญชตี น้ ทนุ 1 รหสั 3201 – 2003 หน้า - 9

คา่ แรงงานทางอ้อมจะไปผันแปรตามจานวนสินค้าที่ผลติ มากนัก หากมีการเพ่ิมหรอื ลดจานวนการ
ผลติ ไมม่ ากนกั คา่ แรงงานทางออ้ มจะไม่เปลี่ยนแปลง เว้นแตจ่ ะเปล่ียนแปลงจานวนผลิตอยา่ งมาก
จงึ จะทาให้คา่ แรงงานงานทางอ้อมเปล่ยี นแปลงไปด้วย

คา่ ใช้จ่ายการผลติ หมายถงึ ตน้ ทนุ การผลิตทีเ่ กิดข้นึ ในโรงงานนอกเหนือจากวัตถุดิบทางตรง
และค่าแรงงานทางตรง เป็นคา่ ใชจ้ า่ ยที่ไม่สามารถบอกได้ชัดเจนวา่ เปน็ ต้นทนุ ของผลติ ภัณฑ์ชนิ้ ใด
เปน็ จานวนเทา่ ใด เพราะค่าใช้จา่ ยประเภทนจ้ี า่ ยไปเพอ่ื เพ่ิมผลิตสนิ ค้าหลายชนิด หลายจานวน
รวมกัน เชน่ วตั ถุดบิ ทางอ้อม ค่าแรงงานงานทางอ้อม คา่ ไฟฟ้าโรงงาน ค่าโทรศพั ท์ ค่านา้ ประปา
ค่าเส่อื มราคา-เครื่องจกั ร ค่าเสื่อมราคา-อาคารโรงงาน ค่าเบย้ี ประกนั ภัยอาคารโรงงาน ค่าซอ่ มแซม
เครอ่ื งจักร เงินเดือนผ้จู ดั การโรงงาน เงินเดอื นแมบ่ า้ นทาความสะอาดโรงงาน เป็นตน้

การจาแนกตน้ ทุนตามความสาคญั และลกั ษณะของตน้ ทุนการผลิต
การจาแนกต้นทุนตามความสาคัญและลักษณะของต้นทุนการผลิตน้นั จะมีลกั ษณะท่ี
คล้ายคลึงกบั การจาแนกตน้ ทุนตามสว่ นประกอบของการผลิต ซง่ึ วัตถุประสงค์ของการจาแนกต้นทนุ
ในลักษณะก็เพื่อใชใ้ นการวางแผนและควบคุมมากกวา่ ท่จี ะจาแนกเพ่ือการคานวณต้นทนุ ของสินค้า
หรือบรกิ ารการจาแนกต้นทนุ ตามความสาคัญและลักษณะของตน้ ทุนการผลิต เราสามารถจาแนกได้
2 ชนดิ คอื
1. ตน้ ทนุ ขั้นตน้ (Prime costs) หมายถึง ตน้ ทนุ รวมระหว่างวัตถดุ ิบทางตรงและ
ค่าแรงงานงานทางตรง ซงึ่ ตามปกติเราจะถือวา่ ต้นทุนข้นั ต้นจะมีความสมั พันธ์โดยตรงกับการผลิต
รวมท้ังเป็นต้นทนุ ที่มีจานวนมากเมื่อเทยี บกบั ต้นทุนการผลติ ท้งั หมด แต่อยา่ งไรก็ตามในยคุ ปจั จบุ นั
การผลิตในธุรกจิ บางแห่งมกี ารใช้เครอ่ื งจกั รมากข้นึ ทาให้ต้นทนุ คา่ แรงงานงานทางตรงลดลง ใน
ลกั ษณะเชน่ น้ีต้นทุนข้ันตน้ ก็จะมคี วามสาคญั ลดลงเมื่อเทียบกบั ต้นทนุ แปรสภาพ
2. ตน้ ทุนแปรสภาพ (Conversion costs) หมายถึง ตน้ ทุนทเี่ กยี่ วกับแปรสภาพและการ
เปลี่ยนรปู แบบจากวัตถุดบิ ทางตรงให้กลายเปน็ สินค้าสาเร็จรปู ต้นทนุ แปรสภาพจะประกอบดว้ ย
คา่ แรงงานานทางตรง และค่าใชจ้ ่ายการผลิต จากทก่ี ลา่ วแลว้ ก็คือ เมื่อกิจการมีการลงทนุ ใน
เครอื่ งจักรมากขึ้น คา่ เสื่อมราคา คา่ ซ่อมบารงุ ซึ่งจดั เปน็ ค่าใชจ้ า่ ยการผลิต กจ็ ะมีจานวนมากขึน้
ตามไปด้วย ดังนนั้ ในปจั จุบันนสี้ าหรับธรุ กิจทีม่ ีการใชเ้ ทคโนโลยีช้นั สงู กจ็ ะใหค้ วามสาคัญกับต้นทนุ
แปรสภาพมากกว่าต้นทนุ ข้ันตน้ สรุปได้ว่า

ต้นทุนขั้นตน้ = วัตถดุ บิ ทางตรง + ค่าแรงงาน
ทางตรง

ต้นทนุ แปรสภาพ = ค่าแรงงานทางตรง + ค่าใชจ้ า่ ยการ
ผลติ

จากความหมายเกยี่ วกับพฤติกรรมของต้นทนุ ผนั แปร ต้นทุนคงที่ ตน้ ทุนผสม ทัง้ ในส่วน
ของตน้ ทุนการผลติ สนิ คา้ และค่าใชจ้ ่ายในการดาเนนิ งาน กพ็ อทจี่ ะยกตัวอ่างประเภทของตน้ ทนุ แต่
ละชนิดไดด้ งั นี้

นางสาวนารนี ดอเล๊าะ ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการ สาขาวิชาการบญั ชี

การบัญชตี น้ ทุน 1 รหสั 3201 – 2003 หน้า - 10

ตน้ ทนุ ผันแปร ต้นทุนคงท่ี ตน้ ทุนผสม

ตน้ ทนุ ก่ึงผนั แปร ต้นทุนเชงิ ชนั้

-วัตถุดบิ ทางตรง -คา่ บารุงรักษาอาคาร -คา่ เชา่ เครอื่ งจกั ร -คา่ ใชจ้ ่ายในการ
-วสั ดุโรงงาน -คา่ เส่ือมราคา
-คา่ แรงงานงานทางตรง (วธิ เี สน้ ตรง) -คา่ โทรศัพท์ ตรวจสอบคุณภาพ
(ท่ีจา่ ยในลักษณะ -คา่ เช่าโรงงาน
รายวัน รายชั่วโมง -ค่าภาษที รพั ยส์ นิ -ค่าแรงงานงานที่จา่ ยเปน็ -เงินเดือนผู้ควบคุมโรงงาน
หรอื ตามชิ้นงาน) -คา่ เบ้ียประกนั ภยั
-คา่ กาลงั ไฟฟา้ -ค่าเชา่ สานกั งาน เดือนและมคี ่าลว่ งเวลา
-คา่ น้ามนั เชอ้ื เพลงิ -ค่าโฆษณา
-คา่ เสื่อมราคา -ดอกเบี้ยจา่ ย -คา่ ใชจ้ ่ายเก่ียวกบั
(วธิ ีตามหน่วยผลติ )
-ค่านายหน้าพนักงานขาย สวสั ดกิ ารคนงานบาง

ประเภท

-ค่าใชจ้ า่ ยในการซอ่ มบารงุ

เคร่อื งจกั ร

สินค้าคงเหลือ

สินคา้ คงเหลือของกิจการอุตสาหกรรมจะแบง่ ออกเปน็ 3 ประเภท คอื
1. วตั ถดุ ิบ หมายถึง ส่งิ ของท่จี ะนามาแปรสภาพใหเ้ ป็นสินค้าสาเรจ็ รูปและคงเหลืออยู่ใน
มือเพ่ือรอทจี่ ะเขา้ ไปในกระบวนการผลติ วตั ถดุ ิบคงเหลือจะแสดงในงบดุลด้วยราคาทนุ สามารถ
แบ่งออก ได้เป็น 2 ประเภท
1.1 วตั ถุดบิ ทางตรง เปน็ วตั ถดุ ิบที่เปน็ สว่ นประกอบสาคญั ของสินค้าสาเร็จรปู และ
สามารถคานวณตน้ ทนุ เข้าเป็นสนิ ค้าสาเร็จรปู ได้โดยงา่ ยและชดั เจน
1.2 วัตถุดิบทางอ้อม หรือวัสดโุ รงงาน เปน็ วตั ถดุ บิ ที่นามาใช้เป็นส่วนประกอบของสนิ ค้า
สาเรจ็ รปู เช่นกนั แต่เปน็ ส่วนประกอบท่ีไม่สาคัญ
2. งานระหวา่ งทาหรือสนิ คา้ ระหวา่ งผลติ หมายถึง สนิ ค้าท่ีเขา้ สกู ระบวนการผลิต
แลว้ แตย่ งั ไมเ่ สร็จสมบูรณ์ จะต้องทาการผลิตเพม่ิ เติมก่อนทจี่ ะขายได้ จึงมฐี านะเป็นสนิ คา้ ทอี่ ยู่ใน
ระหว่างการผลติ ณ วนั ส้นิ งวดในงบดลุ ดว้ ยราคาทุนที่สะสมมานบั แต่วันทเ่ี รมิ่ ผลิตจนถึงวนั ท่ีในงบ
แสดงฐานะทางการเงนิ ต้นทุนที่สะสมไวป้ ระกอบดว้ ยต้นทุนวตั ถดุ ิบ และต้นทนุ แปรสภาพ
3. สนิ คา้ สาเรจ็ รปู คือ สินค้าทผี่ ลิตเสรจ็ สมบูรณแ์ ละอยู่ในสภาพพร้อมทจี่ ะขายได้ ณ
วันสน้ิ งวดในงบแสดงฐานะทางการเงิน สนิ ค้าสาเรจ็ รูปคงเหลือจะแสดงด้วยราคาทุนที่จ่ายไปในการ
ผลติ สินคา้ น้นั สนิ คา้ สาเรจ็ รปู คงเหลือของกจิ การอตุ สาหกรรมมีฐานะเช่นเดยี วกับสนิ ค้าคงเหลือของ
กจิ การซื้อมาขายไป

นางสาวนารนี ดอเล๊าะ ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการ สาขาวชิ าการบญั ชี

การบัญชีตน้ ทุน 1 รหสั 3201 – 2003 หน้า - 11

สินค้าคงเหลอื

วัตถุดบิ งานระหว่างทา สินคา้ สาเร็จรูป

วัตถดุ บิ ทางตรง

วัตถดุ บิ ทางออ้ ม

วิธีบนั ทึกวตั ถุดิบคงเหลือ

ในการโดยท่วั ไปจะมีวิธีบันทกึ สนิ ค้าคงเหลอื หรือวตั ถดุ บิ คงเหลือได้ 2 วธิ ี คอื
1. วธิ บี นั ทกึ วตั ถุดบิ คงเหลือแบบต่อเนอ่ื ง (Perpetual Inventory Method)
2. วธิ บี ันทกึ วตั ถดุ ิบคงเหลือแบบสิน้ งวด (Perpetual Inventory Method)
วธิ ีบนั ทึกวตั ถดุ ิบคงเหลือแบบต่อเนอื่ ง เปน็ วิธกี ารบนั ทึกบัญชีแสดงการเคล่ือนไหวของ
วัตถุดบิ ทกุ ประเภทตลอดเวลา เม่ือมีการซือ้ วตั ถุดบิ ทง้ั ทางตรงและทางอ้อมกจ็ ะบันทึกไว้ในบญั ชี
วตั ถดุ ิบเป็นสินทรัพย์ไว้ เมื่อมกี ารเบิกวตั ถุดบิ ไปใช้ในกจิ การกจ็ ะ เครดิต ออกจากบญั ชีวัตถุดบิ
ผลต่างระหวา่ งยอด เดบิต และ เครดิต คือยอดวัตถุดิบคงเหลือปลายงวด
วธิ บี ันทึกวัตถดุ บิ คงเหลือแบบส้ินงวด จะไมบ่ นั ทึกบญั ชแี สดงการเคลื่อนไหวของวัตถุดิบ
เม่อื ซื้อวตั ถดุ บิ ทางตรงจะบนั ทึกไว้ในบัญชีซ้ือวตั ถุดบิ เมื่อซอื้ วัตถดุ ิบทางอ้อมจะบันทึกไวใ้ นบญั ชวี ัสดุ
โรงงานหรอื บญั ชีวัตถุดบิ ทางออ้ ม เมอ่ื มีการเบิกวัตถุดบิ ท้ังทางตรงและทางอ้อมไปใช้ระหวา่ งงวดจะ
ไม่มีการบนั ทึกบญั ชี วัตถุดิบคงเหลือและวสั ดโุ รงงานคงเหลอื ณ วันสน้ิ งวดจะใช้วิธีตรวจนบั และตี
ราคาพร้อมกับบนั ทึกบญั ชไี ว้ การคานวณต้นทนุ วัตถดุ ิบเบิกใชจ้ ะกระทาได้กต็ ่อเม่ือทราบยอดวัตถุดบิ
ปลายงวดทตี่ ีราคาแล้ว

การบนั ทกึ วตั ถุดบิ คงเหลือแบบตอ่ เนอื่ ง การบนั ทึกวตั ถดุ ิบคงเหลอื แบบส้ินงวด

ตันทนุ วัตถดุ บิ เบกิ ใช้ (ได้จากบนั ทึกประจาวัน) 50,000 วัตถดุ บิ คงเหลอื ตน้ งวด

(จากการตรวจนับเม่อื ปลายงวดกอ่ น) 18,000

ซอ้ื วตั ถดุ บิ ระหว่างงวด 41,000

วตั ถุดิบท่มี ีไวเ้ พ่ือใช้ 59,000

หัก วัตถดุ บิ คงเหลือปลายงวด

(จากการตรวจนบั ) 9,000

ตน้ ทุนเบกิ ได้ 50,000

นางสาวนารนี ดอเลา๊ ะ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการ สาขาวิชาการบญั ชี

การบญั ชีตน้ ทุน 1 รหัส 3201 – 2003 หน้า - 12

การแสดงสินคา้ คงเหลือ
งบแสดงฐานะทางการเงินจดั เป็นงบการเงนิ ชนิดหน่ึงท่ีการบญั ชกี ารเงนิ มีหนา้ ทค่ี วาม

รับผดิ ชอบที่จะต้องแสดงรายละเอยี ดเก่ยี วกบั ฐานะการเงนิ ของกิจการให้มคี วามถูกต้อง เทย่ี งธรรม
และเชอ่ื ถือได้มากที่สดุ ในสว่ นทีก่ ารบญั ชีต้นทุนไดเ้ ข้าไปมีสว่ นเก่ยี วของก็คือการแสดงมูลคา่ สนิ คา้
คงเหลอื ในหมวดของสนิ ทรัพย์หมุนเวยี น ซึง่ จะต้องใช้หลกั การบัญชีตน้ ทุนในการรวบรวมขอ้ มลู
และการคานวณต้นทุนของสินคา้ คงเหลือ ซง่ึ ประกอบด้วย วัตถดุ บิ งานระหว่างผลติ และสินคา้
สาเร็จรูป

ธรุ กิจซอื้ ขายสินค้า ธุรกิจผลิตสินค้า

สนิ ทรพั ยห์ มนุ เวียน สินทรัพยห์ มุนเวียน

เงินสด xxx เงนิ สด xxx

ลกู หน้ี xxx ลูกหน้ี xxx

สินคา้ คงเหลือ xxx สินค้าคงเหลอื xxx
สินคา้ สาเรจ็ รปู

งานระหวา่ งผลติ xxx

วตั ถุดิบ xxx
เมื่อได้ทราบถงึ ความสมั พันธท์ ่ีการบญั ชีตน้ ทนุ มตี ่อการบัญชีการเงนิ แลว้ ขอใหส้ ังเกตว่าใน

การทาหนา้ ที่ของการบญั ชตี น้ ทุนเพื่อเสนอข้อมลู ใหแ้ ก่การบัญชกี ารเงนิ ทตี่ ้องการข้อมลู ทมี่ ีความ

ถูกต้องแม่นยาและเชื่อถือได้ อนั เป็นปรชั ญาสาคัญของการจดั ทางบการเงนิ เพื่อเสนอขอ้ มูลใหแ้ ก่

บคุ คลภายนอก ดงั น้ันการคานวณตน้ ทุนการผลิตของสินค้าที่จะนาไปคานวณตน้ ทนุ ขายในงบกาไร

ขาดทุน หรือแสดงมลู คา่ สินค้าคงเหลอื ในงบแสดงฐานะทางการเงิน ทถ่ี ือเปน็ หนา้ ท่ีของการบัญชี

ตน้ ทนุ จึงต้องมีลักษณะเปน็ หลกั การบัญชีหรอื วธิ ีการท่ีมีกฎเกณฑ์ทีถ่ ูกต้องและเป็นที่ยอมรบั กนั ทั่วไป

ความสัมพันธ์ระหว่างการบัญชีการเงินและการบญั ชตี ้นทุน

รายการ การบญั ชตี น้ ทุน การบญั ชกี ารเงิน
1. ผู้ใช้ขอ้ มลู คือใคร
2. หลักการจดั ทา -ผใู้ ชง้ บหรือรางานภายในกิจการ -ผูใ้ ช้งบการเงนิ ภายนอกกิจการ

3. งวดเวลาทีจ่ ดั ทา -อาจไม่เปน็ ไปตามหลักการบัญชีท่ี -ตอ้ งทาตามหลักการบญั ชที ่ี

4. หน่วยที่ใชว้ ดั คา่ ยอมรบั โดยท่วั ไป ยอมรบั โดยทวั่ ไป

5. จัดทาในลกั ษณะใด -ตามงวดเวลาที่ผ้บู รหิ ารภายใน -เมอื่ สิน้ งวดบญั ชี 1 ปี

กจิ การต้องการ(รายวนั ,ราย

สัปดาห,์ รายเดอื น หรือรายปี)

-อาจเปน็ หนว่ ยทผ่ี ลิต จานวน -วัดเปน็ จานวนเงนิ

ชัว่ โมง หรอื จานวนเงิน

-แล้วแต่ความต้องการใชข้ ้อมูล -แสดงฐานะรวมทง้ั กิจการ

ของผู้บรกิ ารฝา่ ยน้นั ๆ อาจแยก

เปน็ แต่ละฝ่ายแต่ละแผนก

นางสาวนารนี ดอเล๊าะ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ สาขาวชิ าการบัญชี

การบญั ชีต้นทุน 1 รหสั 3201 – 2003 หน้า - 13

งบการเงนิ

การคานวณตน้ ทนุ ขาย
การจดั ทางบการเงนิ เพื่อเสนอตอ่ บคุ คลภายนอกถอื เป็นหน้าท่แี ละความรับผดิ ชอบประการ
สาคญั ของการบัญชีการเงิน ในกรณีกิจการเปน็ ธรุ กิจซื้อขายสินค้าโดยท่ัวไปการคานวณต้นทนุ ขาย
เพอ่ื แสดงคา่ ใช้จา่ ในงบกาไรขาดทุนก็สามารถกระทาไดโ้ ดยไมต่ ้องอาศยั หลกั การบญั ชตี ้นทุน แต่ใน
กรณที ่ีกจิ การมลี ักษณะเป็นธุรกิจผลิตสินค้า การคานวณต้นทนุ ขายจาเปน็ ต้องอาศยั หลักการบัญชี
ตน้ ทนุ ในการคานวณต้นทุนการผลติ ของสินคา้ ที่ผลติ เพื่อขา ซ่งึ สามารถทาความเข้าใจได้จากการ
เปรยี บเทยี บการคานวณตน้ ทุนขายดังนี้

ธรุ กิจซือ้ ขายสินคา้ ธุรกจิ ผลติ สินค้า

สนิ คา้ คงเหลอื ตน้ งวด xxx สินคา้ สาเรจ็ รูปคงเหลือต้นงวด xxx
บวก ซ้ือสินคา้ (สุทธ)ิ xxx บวก ต้นทุนการผลติ สนิ ค้าสาเรจ็ รปู xxx
สินค้าทม่ี ไี วข้ ายทัง้ สิน้ xxx สนิ คา้ สาเร็จรปู ท่ีมไี ว้ขายทงั้ ส้ิน xxx
หัก สินค้าคงเหลือปลายงวด xxx หัก สินค้าสาเร็จรปู คงเหลือปลายงวด xxx

ต้นทุนขาย ต้นทนุ ขาย

งบการเงนิ ของกจิ กรรมอตุ สาหกรรม

โดยทว่ั ไปธุรกจิ ตอ้ งจดั ทางบการเงินท่สี าคัญ 2 งบ คือ งบกาไรขาดทนุ (Income
statement) และงบแสดงฐานะทางการเงิน (Balance Sheet or Statement of Financial
Position) สาหรบั กจิ การอุตสาหกรรมตอ้ งจัดทา งบตน้ ทุนการผลิต (Cost of Goods Sold
Statement) เพิม่ ขึน้ อกี งบหนึ่งนอกเหนือจากงบดังกลา่ วทั้ง 2 งบแลว้ งบตน้ ทนุ สนิ ค้าท่ีผลิตเป็น
งบแสดงให้เหน็ ถึงต้นทุนการผลิตท่เี กิดขน้ึ ในงวดหน่ึง ๆ และตน้ ทุนสินคา้ สาเรจ็ รปู ทผ่ี ลิตไดใ้ นงวด
น้นั ๆ ซง่ึ เป็นขอ้ มูลท่ีจะนาไปใชค้ านวณต้นทุนขายในงบกาไรขาดทนุ ของงวดเดยี วกัน ดังนน้ั งบตน้ ทุน
สินคา้ ท่ีผลติ จงึ ถือเป็นงบย่อยประกอบงบกาไรขาดทนุ ของกิจการอุตสาหกรรม

นางสาวนารนี ดอเลา๊ ะ ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการ สาขาวชิ าการบญั ชี

การบัญชตี ้นทนุ 1 รหสั 3201 – 2003 หน้า - 14

บรษิ ัท สยามอุตสาหกรรม จากัด
งบตน้ ทนุ การผลติ

สาหรับปี สิ้นสดุ วนั ที่ 31 ธันวาคม 2561

วัตถดุ ิบทางตรง : 20,000 (หน่วย : บาท)
วตั ถดุ บิ ทางตรง 1 มกราคม 120,000
บวก ซื้อวัตถดุ บิ ทางตรงทางตรงสุทธิระหว่างงวด 140,000 130,000
10,000 99.000
หกั วตั ถุดิบทางตรง 31 ธนั วาคม
ต้นทุนวตั ถุดิบทางตรงที่ใช้ในการผลิต 3,500 90,100
คา่ แรงงานทางตรง 7,000 319,100
คา่ ใช้จา่ ยการผลิต : 9,000 21,900
วตั ถุดิบทางออ้ ม 24,000 341,000
ค่าแรงงานทางออ้ ม 6,000
คา่ เสื่อมราคา-เครื่องจกั รในการผลิต 14,400 7,500
คา่ เช่าโรงงาน 22,000 333,500
ค่าเบี้ยประกันภัยโรงงาน 4,200
ค่าซอ่ มบารงุ โรงงาน
คา่ ไฟฟ้าในโรงงาน
ค่าใช้จา่ ยการผลติ อื่น ๆ ในโรงงาน
รวมค่าใช้จา่ ยการผลติ
ตน้ ทนุ การผลิตทัง้ ส้ิน
บวก งานระหวา่ งทา 1 มกราคม

หกั งานระหว่างทา 31 ธันวาคม
ตน้ ทนุ สนิ คา้ ทผี่ ลิตเสร็จ

บริษัท สยามอุตสาหกรรม จากดั

งบกาไรขาดทุน

สาหรับปี สิ้นสุดวนั ที่ 31 ธันวาคม 2561

(หนว่ ย : บาท)

รายได้จากการขาย 1,209,250

หกั ต้นทุนสินค้าที่ขาย (งบประกอบ 1) 345,500

กาไรข้ันตน้ 863,750

หกั ค่าใช้จา่ ยในการดาเนินงาน

คา่ ใช้จ่ายในการขาย (งบประกอบ 2) 288,500

คา่ ใช้จา่ ยในการบรหิ าร (งบประกอบ 3) 88,500

รวมคา่ ใชจ้ า่ ยในการดาเนินงาน 377,000

นางสาวนารนี ดอเลา๊ ะ ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการ สาขาวิชาการบัญชี

การบัญชีต้นทนุ 1 รหสั 3201 – 2003 หน้า - 15

กาไรจากการดาเนินงาน 486,750
บวก รายได้อืน่ 24,000
510,750
หัก ดอกเบย้ี จา่ ย 30,000
กาไรกอ่ นหักภาษเี งินได้ 480,750
หกั ค่าภาษีเงนิ ได้ 20% 96,150
กาไรสุทธิ 384,600

บรษิ ทั สยามอุตสาหกรรม จากัด (หน่วย : บาท)
งบตน้ ทุนสนิ ค้าที่ขาย (งบประกอบ 1)
สาหรบั ปี สน้ิ สดุ วันที่ 31 ธนั วาคม 2561 31,000
333,500
สนิ คา้ สาเรจ็ รปู 1 มกราคม 364,500
บวก ตน้ ทุนสนิ คา้ ทีผ่ ลิตเสร็จ 19,000
สนิ ค้าสาเร็จรูปทีม่ เี พ่ือขาย 345,500
หัก สินคา้ สาเร็จรูป 31 ธันวาคม
ตน้ ทนุ สนิ คา้ ที่ขาย (หน่วย : บาท)

บรษิ ทั สยามอุตสาหกรรม จากัด 60,000
งบคา่ ใชจ้ า่ ยในการขาย (งบประกอบ 2) 120,000
สาหรับปี สน้ิ สดุ วันที่ 31 ธันวาคม 2561
6,000
เงนิ เดือนพนักงานขาย 90,000
ค่านายหน้า 4,000
คา่ เสอ่ื มราคาอปุ กรณส์ านักงาน 5,000
ค่าโฆษณา 2,000
วสั ดุสานกั งานใชไ้ ป 1,500
ค่าพาหนะ 288,500
คา่ สาธารณปู โภคในสานักงาน
ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตลด็ อืน่ ๆ
รวม ค่าใช้จ่ายในการขาย

นางสาวนารนี ดอเลา๊ ะ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการ สาขาวชิ าการบัญชี

การบญั ชตี น้ ทนุ 1 รหสั 3201 – 2003 หน้า - 16

บรษิ ทั สยามอุตสาหกรรม จากัด (หน่วย : บาท)
งบคา่ ใชจ้ า่ ยในการบริหาร (งบประกอบ 3)
สาหรับปี ส้ินสดุ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2561 50,000
9,000
เงินเดอื นพนกั งานในสานักงาน 9,000
คา่ เสอื่ มราคาอุปกรณ์สานักงาน 12,000
วัสดุสานกั งานใชไ้ ป 5,000
ค่าเสอ่ื มราคาอาคารสานักงาน 3,500
ค่าสาธารณูปโภคในสานกั งาน 88,500
ค่าใชจ้ ่ายเบ็ดเตล็ดอ่ืนๆ
รวม คา่ ใช้จา่ ยในการบรหิ าร

บริษัท สยามอุตสาหกรรม จากัด

งบแสดงฐานะทางการเงนิ

สาหรบั ปี ส้ินสดุ วันท่ี 31 ธันวาคม 2561

(หนว่ ย : บาท)

สินทรพั ย์

สินทรพั ย์หมุนเวยี น :

เงนิ สด 100,000

เงนิ ฝากธนาคาร 320,000

ตัว๋ เงนิ รับ 50,000

ลกู หน้กี ารคา้ 12,000

สนิ ค้าคงเหลือ :

วัตถุดบิ ทางตรง 10,000

วัตถดุ บิ ทางออ้ ม 2,000

งานระหวา่ งทา 7,500

สนิ ค้าสาเรจ็ รูป 19,000

รวมสนิ ค้าคงเหลอื 38.500

คา่ ใช้จา่ ยจา่ ยลว่ งหน้า 4,200

รายได้คา้ งรบั 2,100

รวมสินทรพั ยห์ มุนเวยี น 526,800

สินทรัพย์ไม่หมุนเวยี น :

ทีด่ นิ 760,000

อาคารสานักงาน 500,000

หกั คา่ เสื่อมราคาสะสม-อาคารสานกั งาน 36,000 464,000

เครอ่ื งจักรและอปุ กรณ์โรงงาน 390,000

หัก คา่ เสื่อมราคาสะสม-เคร่ืองจกั รและอปุ กรณโ์ รงงาน 27,000 363,000

อุปกรณ์สานักงาน 120,000

นางสาวนารนี ดอเลา๊ ะ ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการ สาขาวิชาการบญั ชี

การบญั ชตี น้ ทุน 1 รหสั 3201 – 2003 หนา้ - 17

หกั ค่าเสือ่ มราคา-อุปกรณส์ านักงาน 30,000 90,000
รวมสินทรัพยไ์ มห่ มนุ เวียน 1,677,000
รวมสนิ ทรัพยท์ ้ังสิ้น 2,203,800

หน้ีสินและสว่ นของผู้ถือหุ้น 12,000
หนี้สินหมุนเวยี น : 3,000
เจ้าหนี้การค้า 90,000
คา่ ใช้จ่ายคา้ งจ่าย 105,000
คา่ ภาษเี งินได้ค้างจ่าย
รวมหนส้ี นิ หมนุ เวยี น 700,000
หนีส้ นิ ไมห่ มนุ เวยี น : 805,000
เงินกู้ธนาคาร
รวมหนี้สนิ ทั้งสน้ิ 900,000
45,000
สว่ นของผถู้ ือห้นุ 458,800
ทนุ จดทะเบยี น 1,398,800
หนุ้ สามัญ (1,000 หุน้ หุน้ ละ 900 บาท เรยี กชาระครบท้ังจานวน 2,203,800
สารองตามกฎหมาย
กาไรสะสม
รวมส่วนของผถู้ ือหุน้
รวมทง้ั สินและส่วนของผู้ถอื หุ้น

นางสาวนารนี ดอเล๊าะ ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการ สาขาวชิ าการบัญชี

การบัญชีตน้ ทุน 1 รหัส 3201 – 2003 หน้า - 18

คาศัพท์ คาศัพทท์ า้ ยหน่วยท่ี 1
Cost Accounting คาแปล
Cost of Goods Manufactured
Cost of Goods Sold การบัญชตี น้ ทนุ
Direct Labor งบต้นทุนผลิต
Direst Raw Materials ตน้ ทนุ สนิ คา้ ขาย
Estimated Cost ค่าแรงงานทางตรง
Evaluation วตั ถุดบิ ทางตรง
Expired Cost ต้นทนุ โดยประมาณ
Financial Accounting การประเมินคา่
Financial Statement ตน้ ทุนท่ถี ูกใชป้ ระโยชนห์ มดแลว้
Finished Statement การบัญชีการเงนิ /งบการเงิน
Fixed Cost ต้นทุนทางการเงิน
Income Determination สินคา้ สาเรจ็ รปู
Inventory Valuation ตน้ ทนุ คงที่
Manufacturing Overhead ผลการดาเนินงาน
Marketing costs การตีราคาสนิ ค้าคงเหลือ
Opportunity Cost ค่าใช้จา่ ยการผลติ
Period Cost คา่ ใชจ้ า่ ยในการขาย, ตน้ ทุนการตลาด
Periodic Inventory Method ต้นทุนเสยี โอกาส
Perpetual Inventory Method ต้นทุนประจางวด
Processing วิธบี ันทึกของคงเหลอื แบบส้ินงวด
Product Cost วธิ บี นั ทึกของคงเหลอื แบบต่อเน่ือง
Production Department Cost การประมวลผล
Relevant Range ตน้ ทนุ ผลิตภณั ฑ์
ต้นทนุ แผนกผลิต
Semivariable costs ชว่ งกิจกรรมทตี่ น้ ทนุ คงที่รวมและ
Service Department Cost ต้นทนุ กึ่งผันแปรต่อหน่วยคงที่อยา่ งสม่าเสมอ
Standard Cost ต้นทุนกึ่งผนั แปร
Sunk Cost ตน้ ทนุ แผนกบริการ
Unavoidable Cost ต้นทนุ มาตรฐาน
Unexpired Cost ต้นทนุ จม
Variable Cost ต้นทนุ หลกี เล่ียงไมไ่ ด้
Work in Process ต้นทุนทใ่ี ชไ้ ม่หมด
ตน้ ทุนผนั แปร
งานระหวา่ งทา

นางสาวนารนี ดอเล๊าะ ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการ สาขาวิชาการบัญชี


Click to View FlipBook Version