The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม (นาป่ามโนรถ) ฉบับสมบูรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by delta3bb, 2022-09-09 00:03:11

หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม (นาป่ามโนรถ) ฉบับสมบูรณ์

หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม (นาป่ามโนรถ) ฉบับสมบูรณ์

นวตั กรรมการจดั การเรียนรู้ “รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model” เพื่อพฒั นาสมรรถนะการคดิ ข้นั สูงของผู้เรยี น



คำนำ

ตามที่สำนักงานเลขาธิการคุรุสภาได้ดำเนินการคัดสรรผลงาน “หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม” ( One
School One Innovation : OSOI) เป็นประจำทุกปี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษาได้
สร้างสรรค์นวัตกรรมที่เหมาะสมกับบริบท มีคุณค่าทางวิชาการ เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาการศึกษาและพัฒนา
วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนนาป่ามโนรถ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต ๑
ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการพัฒนานวัตกรรมเพื่อวัตถุประสงค์ดังกล่าว จึงได้ดำเนินการพัฒนา
นวัตกรรมการจดั การเรียนรู้ “รปู แบบการจดั การเรียนรู้ QUICK Model เพอ่ื พัฒนาสมรรถนะการคิดข้ันสูงของ
ผู้เรียนโรงเรียนนาป่ามโนรถ” ขึ้น โดยใช้กระบวนการชุมชนการเรียนรู้แห่งวิชาชีพ (PLC) ขับเคลื่อน
การดำเนินงานจนประสบผลสำเร็จ จึงจัดทำเอกสารรายงานกระบวนการพัฒนานวัตกรรม รูปแบบการจัดการ
เรียนรู้ QUICK Model เพื่อพัฒนาสมรรถนะการคิดขั้นสูงของผูเ้ รยี นโรงเรียนนาป่ามโนรถขึ้น เพื่อนำเสนอผลงาน
“หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม”ประกอบด้วย บทสรุป ความเป็นมาและความสำคัญ วัตถุประสงค์
กระบวนการพฒั นานวัตกรรม ผลการดำเนนิ งาน และจุดเด่นหรอื ลกั ษณะพิเศษของผลงานนวตั กรรม

หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาและช่วย
จุดประกายความคิด หรือต่อยอดในการสร้างสรรค์ผลงานที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาผู้เรียนและการศึกษาของ
ชาติต่อไปในอนาคต

โรงเรยี นนาป่ามโนรถ

นวัตกรรมการจดั การเรยี นรู้ “รปู แบบการจัดการเรยี นรู้ QUICK Model” เพ่อื พฒั นาสมรรถนะการคดิ ขัน้ สูงของผเู้ รยี น

สารบัญ ข

คำนำ หนา้
สารบญั
แบบ นร. ๑ ก

๑. หนา้ ปก ๑
๒. บทสรุป ๑
๓. ความเป็นมาและความสำคัญ ๔
๔. วัตถุประสงค์ ๕
๕. กระบวนการพฒั นาผลงานหน่ึงโรงเรียน หน่งึ นวตั กรรม ๗

๑) สภาพปัญหาก่อนการพฒั นา ๗
๒) การออกแบบนวัตกรรมเพ่ือพัฒนา ๗
๓) ขนั้ ตอนการดำเนนิ งานพฒั นา ๑๕
๔) ผลงานท่ีเกิดข้นึ จากการดำเนินงาน ๒๒
๕) สรุปส่งิ ท่เี รยี นรแู้ ละปรบั ปรงุ ใหด้ ีข้นึ ๒๔
๖) การขยายผลและเผยแพรน่ วตั กรรม ๒๔
๖. ขอ้ เสนอแนะและแนวทางการพัฒนาอยา่ งตอ่ เนื่อง ๒๕
๗. จุดเดน่ หรอื ลกั ษณะพิเศษของผลงานนวตั กรรม ๒๕
๘. บรรณานุกรม ๒๖

นวัตกรรมการจดั การเรียนรู้ “รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model” เพ่ือพฒั นาสมรรถนะการคดิ ข้ันสงู ของผู้เรยี น



แบบ นร. ๑

การนำเสนอผลงาน “หน่งึ โรงเรียน หนึง่ นวัตกรรม” ประจำปี ๒๕๖๕

๑. หน้าปก ประกอบดว้ ย

๑) ชอื่ ผลงานหนง่ึ โรงเรียน หนง่ึ นวัตกรรม

รปู แบบการจัดการเรยี นรู้ QUICK Model เพ่อื พัฒนาสมรรถนะการคดิ ข้นั สงู ของผู้เรียนโรงเรยี นนาปา่ มโนรถ

๒) ระยะเวลาดำเนนิ งานตง้ั แต่ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔ ถงึ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๕

๓) การสง่ ผลงานหนง่ึ โรงเรียน หนงึ่ นวัตกรรม ( กรณุ าระบุ √ ลงใน ที่ตรงกบั ผลงาน )

✓ เปน็ ผลงานทีไ่ มเ่ คยส่งเข้ารบั การคัดสรรกบั คุรสุ ภา

เป็นผลงานทเ่ี คยส่งเขา้ รับการคดั สรรกบั คุรุสภา ปี ....... เรอ่ื ง ........แตไ่ ม่ไดร้ ับรางวัลของครุ ุสภา

เป็นผลงานทเ่ี คยไดร้ ับรางวัลของครุ สุ ภาและมกี ารนำมาพัฒนาเพ่ิมเติม หรือต่อยอดนวัตกรรม

(ต้องกรอกแบบ นร. ๒)

๔) ประเภทผลงานหนงึ่ โรงเรยี น หนง่ึ นวตั กรรม ( กรณุ าระบุ √ ลงใน ทีต่ รงกับผลงาน)

(เลอื กได้เพียง ๑ ดา้ นเทา่ น้ัน)

✓ การจดั การเรยี นรู้ ส่ือและเทคโนโลยีเพือ่ การเรยี นรู้

การบริหารและการจดั การสถานศึกษา การสง่ เสริมและพัฒนาผเู้ รียนใหเ้ ตม็ ศกั ยภาพ

การวดั และประเมนิ ผล

๕) ข้อมลู สถานศกึ ษา
ชื่อสถานศกึ ษา...........โ..ร..ง..เ.ร..ีย..น...น...า.ป...า่..ม...โ.น...ร..ถ..........เลขที่…............-............ถนน......................-......................
ตำบล/แขวง.............น..า..ป...า่ .....................อำเภอ/เขต ...........เ.ม..ือ...ง................จงั หวดั ...........ช..ล..บ...ุร..ี..................
รหัสไปรษณีย์..………๒.…๐…๐…๐…๐..…….…..โทรศัพท์ ....................-...................โทรสาร.................-.....................

๖) สังกัด ✓ ๑. สพป. ........ช..ล..บ...ุร..ี........เขต....๑....... ๒. สพม. เขต ..........จังหวดั .................................

๓. สอศ. ๔. สช. ๕. กทม. ๖. อปท. ..................................

๗. กศน. ๘. การศึกษาพิเศษ ๙. อื่น ๆ (โปรดระบุ)............................................

๗) ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา

ชื่อผู้บริหารสถานศึกษา นางสาว พรนิพา ปรีหะจินดา เลขบัตรประชาชน ๓๒๐๐๖๐๐๒๘๖๗๘๑

ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นนาปา่ มโนรถ วทิ ยะฐานะ ชำนาญการพิเศษ

โทรศพั ท์เคลอื่ นท่ี ๐๘๔-๖๘๐-๑๒๘๓ E-mail : [email protected]

นวตั กรรมการจดั การเรียนรู้ “รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model” เพ่อื พัฒนาสมรรถนะการคดิ ข้นั สงู ของผูเ้ รียน



๘) ผู้ประสานงาน

▪ ชอ่ื -นามสกุล นายณฐั วุฒิ อินน่มุ เลขบัตรประชาชน ๑๑๐๓๗๐๑๓๐๙๙๓๘

ตำแหนง่ ครู วทิ ยะฐานะ ไม่มวี ทิ ยฐานะ

โทรศัพทเ์ คลื่อนที่ ๐๘๙-๐๕๗-๕๖๗๑ E-mail : [email protected]

๙) คณะผูร้ ่วมพฒั นาผลงานนวตั กรรม ( ครู /นกั เรียน/ผ้ทู ีม่ สี ว่ นเก่ยี วขอ้ ง จำนวนตามจรงิ )

▪ ชอ่ื -นามสกลุ นางสาววาสนา เกาะแกว้ เลขบัตรประชาชน ๓๒๔๐๒๐๐๐๖๓๓๔๓

ตำแหนง่ ครู วิทยะฐานะ ชำนาญการพิเศษ

โทรศพั ท์เคลอ่ื นท่ี ๐๘๒-๒๕๘-๑๑๘๘ E-mail : [email protected]

▪ ชอ่ื -นามสกุล นายวิชาญ สวนศรี เลขบตั รประชาชน ๓๒๐๙๗๐๐๐๘๙๒๓๔

ตำแหนง่ ครู วทิ ยะฐานะ ชำนาญการ

โทรศพั ท์เคลอ่ื นที่ ๐๘๙-๖๐๖-๕๔๐๘ E-mail : [email protected]

▪ ชื่อ-นามสกลุ นางโสภนา ไวเรยี บ เลขบัตรประชาชน ๕๓๒๐๖๙๐๐๐๗๙๔๗

ตำแหน่ง ครู วิทยะฐานะ ชำนาญการ

โทรศพั ทเ์ คลอ่ื นท่ี ๐๘๖-๐๔๕-๖๙๓๒ E-mail : [email protected]

▪ ช่อื -นามสกลุ นางสาวอมั ราวดี ทองทา่ ชี เลขบัตรประชาชน ๓๘๔๑๒๐๐๒๓๗๘๔๓

ตำแหนง่ ครู วทิ ยะฐานะ ไมม่ วี ทิ ยฐานะ

โทรศพั ทเ์ คลอ่ื นที่ ๐๘๒-๓๒๒-๘๒๒๘ E-mail : [email protected]

▪ ชอ่ื -นามสกลุ นางสาวรชั ดา กรงิ่ กระจ่าง เลขบตั รประชาชน ๑๑๐๓๗๐๐๗๓๐๔๓๕

ตำแหน่ง ครู วิทยะฐานะ ไม่มวี ิทยฐานะ

โทรศพั ทเ์ คลอ่ื นท่ี ๐๙๑-๙๕๓๖๔๖๙ E-mail : [email protected]

▪ ชอ่ื -นามสกลุ นางสาวราตรี รอบคอบ เลขบตั รประชาชน ๑๓๒๐๖๐๐๐๘๙๐๒๔

ตำแหนง่ ครู วิทยะฐานะ ไม่มีวิทยฐานะ

โทรศพั ทเ์ คลอ่ื นที่ ๐๙๘-๓๔๐-๕๐๒๒ E-mail : [email protected]

▪ ชื่อ-นามสกลุ นางสาวจินตนา แก้วตาแสง เลขบตั รประชาชน ๑๔๕๑๐๐๐๑๕๒๐๗๘

ตำแหนง่ ครู วิทยะฐานะ ไมม่ ีวทิ ยฐานะ

โทรศพั ท์เคลอ่ื นท่ี ๐๙๑-๕๕๖๕๕๘๘ E-mail : [email protected]

นวตั กรรมการจดั การเรียนรู้ “รปู แบบการจัดการเรยี นรู้ QUICK Model” เพ่อื พัฒนาสมรรถนะการคดิ ขนั้ สูงของผเู้ รยี น



▪ ช่ือ-นามสกุล วา่ ทรี่ ้อยตรีหญงิ อมรรัตน์ อ่วมปน่ิ เลขบัตรประชาชน ๑๓๓๐๔๐๐๒๖๑๖๘๑

ตำแหนง่ ครู วิทยะฐานะ ไม่มีวทิ ยฐานะ

โทรศพั ท์เคลอ่ื นที่ ๐๘๕-๖๓๔-๖๕๘๙ E-mail : [email protected]

▪ ชอ่ื -นามสกุล นางสาวกนกวรรณ ไทยประเสรฐิ เลขบัตรประชาชน ๑๒๔๐๖๐๐๑๐๙๐๐๐

ตำแหนง่ ครู วทิ ยะฐานะ ไมม่ ีวทิ ยฐานะ

โทรศพั ทเ์ คล่อื นที่ ๐๘๘-๑๙๖๓๘๐๖ E-mail : [email protected]

▪ ชื่อ-นามสกลุ นายเกรยี งสิทธิ์ รัศมงี าม เลขบตั รประชาชน ๑๒๐๐๑๐๐๑๒๑๒๘๑

ตำแหน่ง ครูอัตราจ้าง

โทรศัพทเ์ คลื่อนท่ี ๐๘๘-๘๑๘-๘๙๘๙ E-mail : [email protected]

▪ ชอ่ื -นามสกุล นางสาววจิ ติ รา นุ่นขาว เลขบัตรประชาชน ๑๓๔๐๗๐๐๑๖๓๘๖๒

ตำแหนง่ ครูอตั ราจ้าง

โทรศพั ทเ์ คลื่อนที่ ๐๘๘-๐๘๒-๒๘๔๒ E-mail : [email protected]

▪ ชอ่ื -นามสกลุ นางสาวรุง่ ทวิ า จันสายออ เลขบัตรประชาชน ๑๑๑๙๙๐๐๔๗๗๗๓๙

ตำแหน่ง ครูอัตราจา้ ง

โทรศัพท์เคล่ือนท่ี ๐๙๔-๘๗๘๒๘๖๔ E-mail : [email protected]

▪ ชอ่ื -นามสกลุ นางสาวชมาพรรณ อุไร เลขบัตรประชาชน ๑๒๐๐๑๐๐๑๒๕๘๐๔

ตำแหนง่ ธรุ การ

โทรศัพทเ์ คลื่อนที่ ๐๖๕-๕๑๕-๘๗๕๕ E-mail : [email protected]

▪ ชอื่ -นามสกลุ นางสาวอุไรวรรณ สงั ขิลิต เลขบตั รประชาชน ๑๒๐๐๑๐๐๐๓๐๑๘๘

ตำแหนง่ พ่ีเลีย้ งเดก็ อนบุ าล

โทรศพั ท์เคลอ่ื นท่ี ๐๙๑-๗๒๖๖๕๖๙ E-mail : [email protected]

หมายเหตุ : กรณุ าบันทึกขอ้ มลู ลงใน https://school.ksp.or.th (KSP-School) กรณียงั ไม่ไดส้ มัครสมาชิก
หรอื ลมื รหสั เขา้ ระบบ กรณุ าเผ่ือเวลาอย่างนอ้ ย ๓ วันทำการ เพ่ือใหส้ ามารถส่งผลงานไดท้ นั ภายในวันท่ี ๒๘ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๕

นวัตกรรมการจดั การเรียนรู้ “รปู แบบการจัดการเรยี นรู้ QUICK Model” เพ่ือพฒั นาสมรรถนะการคดิ ขั้นสงู ของผูเ้ รยี น



๒. บทสรปุ

โรงเรียนนาป่ามโนรถ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต ๑ สำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดการเรียนการสอนตั้งแต่ชั้นอนุบาล ๑ ถึงประถมศึกษาปีที่ ๖ ในการจัด
การศึกษาของโรงเรียนมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะการคิด (thinking skills) ให้กับผู้เรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งทักษะ/
สมรรถนะการคิดขั้นสูง ซึ่งเป็นสมรรถนะสำคัญที่เป็นปัจจัยร่วมในการพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถใน
การสร้างสรรค์นวัตกรรม มีทักษะการทำงานเป็นทีม และเป็นผู้เรียนเชิงรุก (active learner) ซึ่งล้วนเป็น
ความสามารถท่ีมีความจำเป็นและสำคัญในการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑ ดังนั้นโรงเรียนจึงคิดค้นนวัตกรรม
“รูปแบบการจัดการเรียนรู้ QUICK Model” เพื่อพัฒนาสมรรถนะการคิดขั้นสูง (Higher Ordered Thinking
Skills) ของผเู้ รยี นขนึ้ ซง่ึ เปน็ รปู แบบการจัดการเรียนร้ทู ี่สังเคราะห์มาจากรูปแบบ/วิธีการจัดการเรยี นรู้ ๕ รูปแบบ
คือ ๑ การจัดการเรียนรู้แบบใช้คำถาม (Questioning Method) ๒ การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้
(Inquiry Process) ๓ การจัดการเรยี นรูแ้ บบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) ๔ การจัดการเรียนรู้
แบบใช้โครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning) และ ๕ การจัดการเรียนรู้ STEM โดยใช้การจัดการเรียนรู้
แบบใช้คำถามเป็นหลัก และนำแนวคิดเชิงคำนวณ (Computational Thinking) มาใช้เป็นเครื่องมือ/กลยุทธ์ใน
การพัฒนาสมรรถนะการคิดขั้นสูง โดยใช้กระบวนเรียนรู้แห่งวิชาชีพ (PLC) ขับเคลื่อนการดำเนินงาน ตั้งแต่
การวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน บริบท สภาพปัจจุบันปัญหาของโรงเรียน การศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูล
การออกแบบนวตั กรรม การวดั ผลประเมินผลและกำกับติดตาม

นวัตกรรม “รูปแบบการจัดการเรียนรู้ QUICK Model” นี้ มีจุดเด่น คือเป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้
ที่มีความแปลกใหม่ สามารถนำไปใช้ได้กับผู้เรียนเป็นรายบุคคล/คู่/กลุ่ม สามารถนำไปใช้สอนได้ในรายวิชาและ
กิจกรรมเสริมหลักสูตรได้ เป็นรูปแบบที่มีความยืดหยุ่นสามารถใช้ได้กับเป้าหมายการจัดการเรียนการสอนที่
แตกต่างกัน และเป็นรูปแบบที่เป็นกลยุทธ์การสอน (Instructional Strategy) ส่งผลให้เกิดการพัฒนาการจัด
การศึกษาของโรงเรียนทั้งระบบ ทั้งด้านผู้เรียน ครู ผู้บริหารและสถานศึกษาและสังคม ตลอดจนสามารถ
เป็นแบบอย่างทด่ี ี ดังน้ี

ดา้ นผเู้ รียน
๑. ผู้เรียนไดร้ บั การพัฒนาสมรรถนะการคิดขั้นสูง และมสี มรรถนะการคิดขั้นสูง ประกอบด้วย ๑) การคิด

อย่างมีวิจารณญาณ ๒) การคิดเชิงระบบ ๓) การคิดแก้ปัญหา ๔) การคิดสร้างสรรค์ ตามระดับ
การพฒั นา ตามความสามารถและศักยภาพของแตล่ ะบุคคล
๒. ผูเ้ รยี นสามารถนำสมรรถนะการคดิ ข้นั สูงไปประยุกต์ใช้ในการดำเนนิ ชวี ิต ตลอดจนสามารถแก้ปญั หา
ในชวี ิตประจำวนั ไดเ้ ปน็ อย่างดี และดำรงชวี ติ ในศตวรรษที่ ๒๑ ไดอ้ ยา่ งมีความสขุ

นวัตกรรมการจดั การเรยี นรู้ “รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model” เพ่อื พฒั นาสมรรถนะการคดิ ขน้ั สงู ของผู้เรียน



ดา้ นครู
๑. ครูเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันตามแนวทางชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) โดย

การจับคู่สอน (Buddy Teacher) การสอนเป็นคณะ (Team Teaching) ทำให้ครูสามารถออกแบบ/
พัฒนาการจัดการเรียนรู้ได้หลากหลาย เหมาะสมสอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคลของ
ผเู้ รียน และเพมิ่ ศกั ยภาพในการจัดการเรยี นการสอนได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ
๒. ครูเกิดการพัฒนาตนเอง สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และแสวงหาความเชี่ยวชาญจากเพื่อน
ร่วมงานและบุคคลที่อยู่ในชุมชนวิชาชีพของตน ได้มีโอกาสแสดงบทบาททั้งเป็นผู้ให้และผู้รับข้อมูล
ในระหวา่ งทีใ่ ห้ความช่วยเหลอื เพอ่ื นร่วมงาน มีกระบวนการทำงานเปน็ ทีมมากข้นึ
๓. ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพของครูผู้สอนในโรงเรียนมีความเข้มแข็ง จากการการทำงานแบบร่วมมือ
รวมพลงั สร้างความเขม้ แขง็ ทางวชิ าการใหก้ บั โรงเรยี น
ดา้ นผ้บู ริหารและสถานศึกษา
๑. โรงเรียนมีนวัตกรรมด้านการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาวิชาชีพของครูผู้สอนอย่างเป็นระบบและมี
ประสิทธิภาพ ส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียนอย่างยั่งยืน และสามารถเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับ
สถานศึกษาอ่ืน
๒. โรงเรียนมีองค์ความร้ดู า้ นการจัดการเรียนการสอนท่ีสำคัญ สามารถเผยแพร่ได้
๓. ผลการดำเนินงานตอบสนองโดยตรงต่อวสิ ยั ทัศน์และจดุ เน้นในการจัดการศึกษา รวมถงึ การประกัน
คุณภาพภายในของโรงเรยี น

๓. ความเปน็ มาและความสำคัญ

การจัดการศึกษาในปัจจุบันมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถ
สร้างสรรค์นวัตกรรมได้ มีทักษะการทำงานเป็นทีม และเป็นผู้เรียนเชิงรุก (active learner) ซึ่งความสามารถ
เหล่านี้ล้วนมีความจำเป็นและสำคัญในการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑ การพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะแห่งศตวรรษ
ท่ี ๒๑ ได้ จะมีทักษะสำคัญที่เป็นปัจจัยร่วมคือทักษะการคิด (thinking skills) โดยเฉพาะอย่างยิ่งทักษะ/
สมรรถนะการคิดขั้นสูง เพราะหากผู้เรียนมีทักษะการคิดในระดับที่สูง ผู้เรียนจะสามารถสร้างความรู้โดยผ่าน
การรวบรวมและลำดับข้อมูลบูรณาการเข้ากับทักษะการค้นคว้าการใช้วิจารณญาณ และการแก้ปัญหา สามารถ
สื่อสารความรู้ เพื่อใช้อธิบายประเด็นที่เกี่ยวข้อง และแก้ปัญหาที่จะเกิดขึ้นในบริบทของชีวิตจริงได้ ซ่ึง
โรงเรียนนาป่ามโนรถได้ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้ดำเนินการพัฒนาทักษะการคิดของผู้เรียนมาอย่าง
ต่อเนื่อง โดยใช้ “กระบวนการกลุ่ม” เป็นหลักในการดำเนินงานจัดกิจกรรมการเรียนรู้/ทำงานด้วยกระบวนการ
กลุ่ม ตั้งแต่ชั้น ป.๑- ป.๖ (ตั้งชื่อกลุ่มเป็นชื่อดอกไม้) ผ่านกิจกรรมชุมนุม ฝึกให้พี่ดูแลน้อง (Buddy) ฝึกให้
ผู้เรียนวางแผนการทำงาน และคิดแก้ปัญหาจากข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น ฝึกให้ผู้เรียนเรียนรู้เรื่องที่ผู้เรียนสนใจ

นวัตกรรมการจดั การเรียนรู้ “รูปแบบการจัดการเรยี นรู้ QUICK Model” เพอ่ื พฒั นาสมรรถนะการคดิ ขน้ั สงู ของผเู้ รยี น



สืบค้นข้อมูลจากเทคโนโลยีรอบตัว สื่อโซเชียลมีเดียต่างๆ ส่งผลให้ผลการประเมินความสามารถด้านการคิด
ของผู้เรียนโรงเรียนนาป่ามโนรถ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ มีผลการประเมินในภาพรวม อยู่ในระดับดีขึ้นไป ร้อยละ
๘๘.๐๗ และความสามารถในการแก้ปัญหาของผู้เรยี นอยู่ในระดับดีขึ้นไป ร้อยละ ๙๒.๖๖ (โรงเรียนนาป่ามโนรถ,
๒๕๖๓, หน้า ๑๑ )

เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ส่งผลให้
โรงเรียนไม่สามารถจัดการเรียนการสอนตามปกติ (On site) ได้ ทำให้ผู้เรียนไม่สามารถมาเรียนกับคุณครู
ที่โรงเรียนได้ ไม่สามารถจัดกิจกรรมกลุ่มให้กับผู้เรียนได้ ผู้เรียนจึงไม่ได้รับการฝึก/พัฒนาทักษะการคิด
ผ่านกิจกรรมกลมุ่ เหมอื นกบั ทกุ ปที ผ่ี า่ นมา ดงั นั้น โรงเรียนจงึ วางแผนดำเนนิ การพฒั นาทักษะการคิดใหก้ ับผู้เรียน
ให้มีความยืดหยุ่นเหมาะสมสอดคลอ้ งกับสถานการณ์การจดั การศึกษาของโรงเรียนในปัจจบุ ัน โดยมีเป้าหมายเพื่อ
พัฒนาสมรรถนะการคิดขั้นสูง (Higher Oder Thinking Skill) ของผู้เรียน ให้สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์
และตัดสินใจอย่างมีวิจารญาณบนหลักเหตุผลอย่างรอบด้าน โดยใช้คุณธรรมกำกับการตัดสินใจได้อย่าง
มีวิจารณญาณ มีความสามารถคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผลด้วยความเข้าใจถึงความเชื่อมโยงของสรรพสิ่งที่อยู่ร่วมกัน
อย่างเป็นระบบ ใช้จินตนาการและความรู้สร้างทางเลือกใหม่ เพื่อแก้ปัญหาที่ซับซ้อนได้อย่างมีเป้าหมาย
(กรอบหลักสูตรฐานสรรถนะ ของ สพฐ.) ซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายในการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาการ
คำนวณ คือ การพัฒนาผู้เรียนให้สามารถใช้ทักษะการคิดเชิงคำนวณ (computational thinking) ซึ่งเป็น
วิธีการคิดและแก้ปัญหาอย่างอย่างมีเหตุผลเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ สามารถใช้จินตนาการมองปัญหาด้วย
ความคิดเชงิ นามธรรม ทำให้สามารถเห็นแนวทางในการแกป้ ัญหาอย่างเป็นขั้นตอนและมีลำดบั วิธีคิด ซึ่งไม่จำกดั
อยู่เพียงแค่การคิดให้เหมือนคอมพิวเตอร์เท่านั้น และไม่ได้จำกัดอยู่เพียงการคิดในศาสตร์ของนักวิทยาการ
คอมพิวเตอร์ แต่จะเป็นกระบวนการความคิดเชิงวิเคราะห์เพื่อนำมาใช้แก้ปัญหาของมนุษย์ ประกอบด้วย
๑ การแบ่งปญั หาใหญ่ออกเป็นปัญหา/งานย่อย (decomposition) ๒ การพิจารณารปู แบบของปัญหาหรือวิธีการ
แก้ปัญหา (pattern recognition) ๓ การพิจารณาสาระสำคัญของปัญหา (abstraction) และ ๔ การออกแบบ
อลั กอรทิ ึม (algorithms) และการที่จะสง่ เสรมิ และพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะการคิดข้นั สูงไดน้ ัน้ ตอ้ งดำเนินการ
ผ่านกระบวนการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน/ห้องเรียน หรือกิจกรรมต่าง ๆ ในโรงเรียน ซึ่งรูปแบบ/วิธีการในการ
จัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะการคิดนั้นมีหลากหลาย เช่น การจัดการเรียนรู้แบบใช้คำถาม (Questioning
Method) การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน
(Problem-Based Learning) การจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning) การจัด
การเรียนรู้ STEM ซึ่งแต่ละรูปแบบ/วิธีการมีขั้นตอนการดำเนินงานที่มีความเหมือน/คล้ายกัน คือ การใช้คำถาม
การระบปุ ญั หา การศึกษาคน้ ควา้ สบื ค้น รวบรวมขอ้ มลู การลงมอื ปฏิบัติกจิ กรรม การนำเสนอและประเมินผล

ดังนั้น โรงเรียนนาป่ามโนรถ จึงคิดค้นนวัตกรรมในการพัฒนาสมรรถการคิดขั้นสูงของผู้เรียน โดยนำ
แนวคดิ เชงิ คำนวณมาใช้เปน็ เครอ่ื งมอื ในการพัฒนาผ่านกระบวนการจดั การเรียนรตู้ ามรปู แบบ QUICK Model

นวตั กรรมการจดั การเรียนรู้ “รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model” เพอื่ พฒั นาสมรรถนะการคดิ ข้ันสูงของผ้เู รียน



๔. วตั ถุประสงค์

๑. เพื่อพฒั นาสมรรถนะการคิดขั้นสูงของผเู้ รยี นโรงเรียนนาปา่ มโนรถ
๒. เพ่ือพัฒนาศักยภาพในการจดั การเรยี นการสอนด้วยกระบวนการชุมชนการเรียนรแู้ หง่ วชิ าชีพ (PLC)

ของครโู รงเรยี นนาป่ามโนรถ

๕. กระบวนการพฒั นาผลงานหนึ่งโรงเรยี น หน่งึ นวตั กรรม

๕.๑ สภาพปัญหากอ่ นการพัฒนา
เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ส่งผลให้โรงเรียน
ไม่สามารถจัดการเรียนการสอนตามปกติแบบ On site ได้ ตั้งแต่เปิดเรียน ปีการศึกษา ๒๕๖๔ เป็นต้นมา
โรงเรียนจึงจัดการเรียนการสอนแบบ On line, On demand และ On hand ให้กับผู้เรียน ซึ่งการที่โรงเรียน
ไม่สามารถเปิดเรียนแบบ On site ได้นั้น ทำให้ผู้เรียนไม่ได้มาโรงเรียน ไม่ได้รับการฝึก/พัฒนาทักษะการคิด
ด้วย “กระบวนการกล่มุ ” ผ่านกจิ กรรมชุมนมุ เพื่อฝึกให้พดี่ แู ลนอ้ ง (Buddy) ฝึกใหผ้ ้เู รยี นวางแผนการทำงานและ
คิดแก้ปัญหาจากขอ้ ผิดพลาดที่เกิดขึ้น ฝึกให้ผู้เรียนเรียนรู้เรื่องทีผ่ ู้เรียนสนใจ สืบค้นข้อมูลจากเทคโนโลยีรอบตวั
ส่ือโซเชยี ลมเี ดียตา่ งๆ เหมอื นกบั ทุกปีการศึกษาทผ่ี า่ นมา

๕.๒ การออกแบบนวตั กรรมเพื่อการพัฒนา
โรงเรียนนาป่ามโนรถ จึงได้ดำเนินการออกแบบนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ เพื่อแก้ปัญหาการจัด
การเรียนรู้ในการพัฒนาสมรรถนะการคิดขั้นสงู ให้กับผู้เรียน ให้มีความยืดหยุน่ เหมาะสมสอดคล้องกบั สถานการณ์
ของการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 ในปัจจุบัน โดยการศึกษาค้นคว้าแนวคิด
ทฤษฎี งานวิจัยต่าง ๆ เพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบและพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ รูปแบบ
การจัดการเรียนรู้ “QUICK Model”เพื่อพัฒนาสมรรถนะการคิดขั้นสูงของผู้เรียน ประกอบด้วยแนวคิด ทฤษฎี
ท่ีเกี่ยวข้องกับสมรรถนะการคิดขั้นสูง (Higher Oder Thinking Skill) องค์ประกอบของสมรรถนะการคิดขั้นสูง
ระดับการพัฒนาสมรรถนะการคิดขั้นสูง แนวทางการพัฒนาสมรรถนะการคิดขั้นสูง แนวคิดเชิงคำนวณ
(Computational Thinking) องค์ประกอบของแนวคิดเชิงคำนวณ เป้าหมายการพัฒนาแนวคิดเชิงคำนวณให้กับ
ผู้เรียน ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะการคิดขั้นสูงกับแนวคิดเชิงคำนวน รูปแบบ/วิธีการจัดการเรียนรู้เพื่อ
พัฒนาสมรรถนะการคิด ๕ รูปแบบ มาสังเคราะห์เป็นกรอบแนวคิดในการออกแบบนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
QUICK Model ดงั น้ี

นวัตกรรมการจดั การเรยี นรู้ “รูปแบบการจัดการเรยี นรู้ QUICK Model” เพือ่ พฒั นาสมรรถนะการคดิ ขัน้ สูงของผู้เรียน



แนวคิดสำคัญทใ่ี ช้ในการออกแบบนวตั กรรม
สมรรถนะการคดิ ขั้นสงู (Higher Order Thinking Skills : HOTS)

นยิ าม
สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และตัดสินใจอย่างมีวิจารญาณบนหลักเหตุผลอย่างรอบด้าน โดยใช้
คุณธรรมกำกับการตัดสินใจได้อย่างมีวิจารณญาณ มีความสามารถคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผลด้วยความเข้าใจถึง
ความเชอื่ มโยงของสรรพส่ิงที่อยู่รว่ มกันอย่างเปน็ ระบบ ใชจ้ นิ ตนาการและความรสู้ ร้างทางเลือกใหม่ เพ่ือแก้ปัญหา
ทีซ่ บั ซ้อนไดอ้ ย่างมเี ป้าหมาย
องค์ประกอบ
๑. การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking : HOT-CTC) หมายถึง การคิดพิจารณา ไตร่ตรอง
อย่างมีเหตุผลที่มีจุดประสงค์เพื่อตัดสินว่าสิ่งใดควรเชื่อหรือควรกระทำ โดยอาศัยการใช้ทักษะหรือกลยุทธ์ต่าง ๆ
เพื่อเพิม่ ความเป็นไปได้ของผลลัพธ์จากการตัดสินใจท่ีดี เชน่ ทกั ษะการตีความ ประเมนิ วิเคราะห์ สรุปความ และ
อธิบาย ตามหลักฐาน แนวคิด วิธีการ กฎเกณฑ์ หรือบริบทต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับข้อมูลที่รวบรวมหรือข้อมูลจาก
การสงั เกต ประสบการณ์ การใช้เหตุผล การสะท้อนคดิ การสื่อสาร และการโตแ้ ย้ง
๒. การคิดเชิงระบบ (System Thinking : HOT-STM) หมายถึง การคิดที่แสดงให้เห็นโครงสร้าง
ท้ังหมดที่เชื่อมโยงสัมพันธ์กันเป็นหนึ่งเดียวกันภายใต้บริบท/ปัจจัยของสิ่งแวดล้อมที่เกิดปัญหานั้น ๆ โดยมอง
ปัญหาให้ลึกลงไปกว่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ให้เห็นถึงแบบแผนหรือรูปแบบพฤติกรรมที่เกิดขึ้นให้เห็นรากเหง้าของ

นวัตกรรมการจดั การเรยี นรู้ “รปู แบบการจัดการเรยี นรู้ QUICK Model” เพื่อพัฒนาสมรรถนะการคดิ ขั้นสงู ของผ้เู รยี น



สถานการณ์และปจั จัยตา่ ง ๆ ท่เี ก่ียวขอ้ งกับสถานการณ์น้ัน ๆ จนเกิดความเขา้ ใจในสถานการณ์ของระบบนั้นอย่าง

ลกึ ซง้ึ นำไปสู่การแก้ปญั หาทรี่ ากเหงา้ ของปัญหาอย่างแท้จริง

๓. การคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking : HOT-CRT) หมายถงึ การคดิ ทห่ี ลากหลาย ริเริม่ ประเมิน

ปรับปรุง และพัฒนาต่อยอดความคิด เพื่อการแก้ปัญหาหรือสร้างทางเลือกที่มีประสิทธิภาพ การสร้าง

ความก้าวหน้าในความรู้ หรือการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ โดยอาศัยจินตนาการและทักษะพื้นฐานด้านการคิด

ริเริ่ม คิดคล่อง คิดยืดหยุ่น คิดละเอียดลออ คิดหลากหลาย คิดวิเคราะห์และสังเคราะห์เพื่อให้ได้สิ่งใหม่ที่ดีกว่า

แตกตา่ งไปจากเดมิ มีประโยชน์ และมคี ุณค่าต่อตนเอง ผ้อู น่ื และสังคมมากกว่าเดมิ

๔. การคิดแก้ปัญหา (Problem Solving Thinking : HOT-PRB) หมายถึง การคิดของบุคคลใน

การระบุปัญหา นิยามปัญหา รวบรวมข้อมูลเพื่อแก้ปัญหา ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา เลือกทางเลือกใน

การแก้ปัญหาและดำเนินการแกป้ ญั หาไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ โดยมีเกณฑท์ ่ีชดั เจนและครอบคลุ มทุกมิติ

ระดับการพัฒนา HOTS

ระดบั ระดบั การพฒั นา

ความสามารถ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐

ป.๑-ป.๓ เริ่มต้น กำลงั พฒั นา สามารถ เหนอื ความคาดหวงั

ป.๔-ป.๖ เรมิ่ ตน้ กำลงั พฒั นา สามารถ เหนอื ความคาดหวัง

ม.๑-ม.๓ เริ่มต้น กำลังพฒั นา สามารถ เหนอื ความคาดหวงั

ม.๔-ม.๖ เริ่มตน้ กำลังพฒั นา สามารถ เหนอื ความ
คาดหวงั

แนวคิดเชงิ คำนวณ (Computational Thinking)
เป็นกระบวนการในการแก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลเป็นขั้นตอน เพื่อหาวิธีการแก้ปัญหาใน

รูปแบบที่สามารถนำไป ประมวลผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทักษะนี้มีความสำคัญในการพัฒนาซอฟต์แวร์
นอกจากน้ี ยังสามารถนำไปใช้แก้ปัญหาในศาสตร์อื่น ๆ และปัญหาในชีวิตประจำวันได้ด้วย ทักษะ
การคดิ เชิงคำนวณมีองค์ประกอบดงั ต่อไปน้ี

๑. การแบ่งปัญหาใหญ่ออกเป็นปัญหา/งานย่อย (decomposition) เป็นการพิจารณา และแบ่ง
ปญั หา/งาน/สว่ นประกอบ ออกเป็นสว่ นยอ่ ย เพื่อใหจ้ ดั การกบั ปัญหาได้ งา่ ยขนึ้

๒. การพิจารณารูปแบบของปัญหาหรือวธิ ีการแกป้ ัญหา (pattern recognition) การพจิ ารณารปู แบบ
แนวโนม้ และลักษณะทวั่ ไปของปัญหา/ข้อมูล โดยพจิ ารณาว่า เคยพบปัญหาลักษณะน้ีมาก่อนหรือไม่
หากมีรูปแบบของปัญหาที่คล้ายกันสามารถนำ วิธีการแก้ปัญหานั้นมาประยุกต์ใช้ และพิจารณา
รูปแบบปัญหาย่อยซึ่งอยู่ภายใน ปัญหาเดียวกัน ว่ามีส่วนใดที่เหมือนกัน เพื่อใช้วิธีการแก้ปัญหา
เดียวกันได้ ทำให้ จัดการกบั ปัญหาไดง้ ่ายข้นึ และการทำงานมีประสิทธิภาพเพ่ิมข้นึ

นวัตกรรมการจดั การเรียนรู้ “รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model” เพอื่ พฒั นาสมรรถนะการคดิ ข้ันสูงของผู้เรียน

๑๐
๓. การพิจารณาสาระสำคัญของปัญหา (abstraction) เป็นการพิจารณารายละเอียด ที่สำคัญของ

ปญั หา แยกแยะสาระสำคญั ออกจากส่วนท่ีไมส่ ำคญั
๔. การออกแบบอลั กอริทึม (algorithms) ขั้นตอนในการแก้ปัญหาหรอื การทำงาน โดยมลี ำดับของคำส่ัง

หรอื วธิ ีการทชี่ ดั เจนท่ีคอมพิวเตอรส์ ามารถปฏิบตั ิตามได้

รปู แบบ/วธิ ีการจัดการเรยี นรู้ทพ่ี ัฒนาสมรรถนะการคดิ ๕ รูปแบบ
๑. การจดั การเรียนรู้แบบใช้คำถาม (Questioning Method)
๒. การจัดการเรียนรแู้ บบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process)
๓. การจัดการเรยี นรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning)
๔. การจัดการเรยี นรูแ้ บบใช้โครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning)
๕. การจดั การเรยี นรู้ (STEM)

นวตั กรรมการจดั การเรียนรู้ “รูปแบบการจัดการเรยี นรู้ QUICK Model” เพือ่ พฒั นาสมรรถนะการคดิ ข้ันสูงของผ้เู รียน

การเปรียบเทียบ/เช่ือมโยงรูปแบบ/วิธีการจ

การจัดการเรียนรู้แบบใช้ การเรียนแบบสืบเสาะหา การจดั การ
คำถาม (Questioning
ความรู้ Problem Ba
Method)
๕ ขนั้ ตอน (P

๑.ขั้นวางแผนการใช้คำถาม ๑.การสร้างความสนใจ ๑. ข้นั กำหนดป
การวางแผนไวล้ ว่ งหน้าวา่ จะใช้ (Engagement) นำเข้าสู่ a problem ตอ้
คำถามเพ่ือวัตถุประสงค์ใด บทเรยี นหรอื นำเข้าสู่เรอ่ื งทีอ่ ยู่ ดึงดูดผเู้ รยี นให้ค
รูปแบบหรือประการใดทจ่ี ะ ในความสนใจทเี่ กิดจากขอ้ เข้าใจแนวคดิ ท่ีล
สอดคลอ้ งกับเนื้อหาสาระและ สงสยั โดยครผู ้สู อนจะตอ้ ง ความท้าทายสา
วตั ถุประสงค์ของบทเรียน กระต้นุ ใหผ้ ้เู รียนเกดิ ความ ในสถานการณ์จ
Q สนใจใครร่ ู้ เพ่ือนำเข้าสู่ สนใจของผเู้ รยี น
บทเรียนหรือเน้ือหาใหมๆ่ อยากคน้ หาตอบ
เรียนรู้ต่างๆ ดว้

๒.ขัน้ เตรียมคำถาม การเตรียม ๒. การสํารวจและค้นหา ๒. ขั้นทำความ
(Identify) ต้อง
คำถามที่จะใช้ในการจดั (Exploration)เปดิ โอกาสให้ ผ้เู รียนมีสว่ นรว่
วเิ คราะหป์ ญั หา
กจิ กรรมการเรยี นรู้ โดยการ ผู้เรียนดำเนนิ การศึกษาค้นคว้า เขา้ ใจให้ชัดเจน
และอะไรคือสิง่
สร้างคำถามอยา่ งมีหลักเกณฑ์ โดยการรวบรวมข้อมูลดว้ ย

วธิ ีการตา่ ง ๆเพื่อตรวจสอบ

นวัตกรรมการจดั การเรยี นรู้ “

๑๑

จัดการเรยี นรู้เพือ่ พัฒนาสมรรถนะการคดิ ๕ รปู แบบ

รเรียนรู้แบบ การจัดการเรยี นรแู้ บบใช้ การจัดการเรียนการสอน

ased Learning โครงงานเปน็ ฐาน STEM

PBL) (PROJECT-BASED

LEARNING)

ปญั หา (Define ๑. ข้นั นำเสนอ ผสู้ อนให้ ๑.ขนั้ ระบปุ ัญหา (Problem

องเปน็ ปัญหาที่ ผเู้ รียนศกึ ษาใบความรู้ กำหนด Identification) ขั้นน้ีเป็นการ

ค้นหาความ สถานการณ์ ศึกษาสถานการณ์ พิจารณาเปรยี บเทยี บเหตุ

ลกึ ซง้ึ มากขนึ้ มี เล่นเกม ดูรูปภาพ ทง้ั หลาย ของปัญหาแลว้

ามารถ เกดิ ขึน้ ได้ จดั ลำดับความสำคัญเพื่อเลอื ก

จริง กระตนุ้ ความ สาเหตุทีส่ ำคญั ที่สุดเปน็

นให้รู้สึกสนใจ ประเดน็ สำหรับค้นหาวิธีแก้ไข

บจากแหลง่ ต่อไป เป็นการตัดสนิ วา่

วยตนเอง สถานการณ์ที่ต้องแก้ไขนน้ั

ปญั หาใดเปน็ “ปญั หาท่ี

แทจ้ รงิ ”

มเข้าใจปญั หา ๒. ข้นั วางแผน ผเู้ รยี นรว่ มกนั ๒.ขน้ั รวบรวมขอ้ มูลและ

งเปดิ โอกาสให้ วางแผน โดยการระดม แนวคิดทเี่ กยี่ วข้องกับปัญหา

วมในการ ความคดิ อภปิ รายหารือ (Related Information

า เพือ่ ทำความ ขอ้ สรุปของกลุ่ม เพื่อใช้เป็น Search) เปน็ การรวบรวม

นว่ายงั ไมร่ ู้อะไร แนวทางในการปฏิบัติ ข้อมลู และแนวคิดทาง

งทต่ี ้องการศึกษา วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และ

“รปู แบบการจัดการเรยี นรู้ QUICK Model” เพอื่ พัฒนาสมรรถนะการคดิ ขนั้ สูงของผูเ้ รียน

การจัดการเรียนรูแ้ บบใช้ การเรยี นแบบสืบเสาะหา การจัดการ
คำถาม (Questioning ความรู้ Problem Ba
๕ ขัน้ ตอน
Method) (P

สมมตุ ิฐานและ อธิบายและ
สรปุ

๓. ข้นั การใช้คำถาม ผสู้ อน ๓.การอธิบายและลงข้อสรุป ๓. ดำเนนิ การศ

สามารถจะใชค้ ำถามในทุก (Explanation)นำข้อมูลที่ได้มา (Brainstorm s

ขั้นตอนของการจดั กจิ กรรม วิเคราะห์และแปลผล เพ่อื หลังจากที่ทำคว

การเรยี นรูแ้ ละอาจจะสร้าง สรปุ ผลและนาํ เสนอผลที่ได้ใน แล้ว ผู้เรียนจะต

คำถามใหม่ทนี่ อกเหนือจาก รปู ต่าง ๆ เช่น การบรรยาย หนา้ ทกี่ นั ภายใน

คำถามที่เตรยี มไว้กไ็ ด้ ท้งั นตี้ ้อง สรปุ การสร้างแบบจําลอง เรียงลำดบั การท

เหมาะสมกบั เน้อื หาสาระและ สอดคลอ้ งกับปร

สถานการณน์ น้ั ๆ กำหนดเป้าหมา

และระยะเวลาใ

๔. ขนั้ สรุปและประเมินผล ๔. การขยายความรู้ ๔. สังเคราะห์ค

๔.๑ การสรปุ บทเรยี นผู้สอน (Elaboration) นําความร้ทู ี่ได้ and test the

อาจจะใช้คำถามเพ่ือการสรุป จากข้ันก่อนหน้าน้ี มาเช่ือมโยง สมาชกิ ในกลุม่ น

บทเรยี นกไ็ ด้ กับความรู้เดิมหรอื ใช้อธิบายถึง ประเด็นคน้ พบม

สถานการณห์ รือเหตุการณ์ ภายในกลุม่ เพื่อ

นวตั กรรมการจดั การเรียนรู้ “

๑๒

รเรียนรแู้ บบ การจดั การเรยี นรู้แบบใช้ การจดั การเรยี นการสอน
ased Learning โครงงานเป็นฐาน STEM
PBL) (PROJECT-BASED
LEARNING) เทคโนโลยีทีเ่ กีย่ วข้องกบั แนว
ทางการแก้ปญั หาและประเมิน
ศึกษาค้นควา้ ๓. ข้ันปฏิบตั ิ ผ้เู รยี นปฏิบตั ิ ความเป็นไปได้ ข้อดแี ละ
solutions) กิจกรรม เขยี นสรุปรายงานผล ข้อจำกัด
วามเข้าใจปัญหา ทีเ่ กิดข้นึ จากการวางแผน ๓.ขั้นออกแบบวธิ กี าร
ตอ้ งแบ่งมอบ ร่วมกัน แกป้ ญั หา (Solution Design)
นกลุ่ม จดั เป็นการประยุกตใ์ ชข้ ้อมูลและ
ทำงานให้ แนวคิดทีเ่ กีย่ วข้องเพ่ือการ
ระเด็นปญั หา ออกแบบช้นิ งานหรือวธิ กี ารใน
ายการดาเนนิ งาน การแก้ปัญหา โดยคำนงึ ถึง
ใหช้ ัดเจน ทรพั ยากร ข้อจำกัดและ
ความรู้ (Make ๔. ข้นั ประเมินผล การวดั และ เงือ่ นไขตามสถานการณท์ ่ี
best solution) ประเมินผลตามสภาพจริง โดย กำหนด
นำความรูห้ รือ ใหบ้ รรลุจุดประสงค์การเรยี นรู้ ๔.ข้ันวางแผนและดำเนนิ การ
มานำเสนอ ท่กี ำหนดไวใ้ นแผนการจัดการ แกป้ ญั หา (Planning and
อรว่ มกนั Development) เปน็ การ
กำหนดลำดับขนั้ ตอนของการ
สรา้ งช้ินงานหรือวิธกี าร แลว้ ลง

“รูปแบบการจัดการเรยี นรู้ QUICK Model” เพ่ือพัฒนาสมรรถนะการคดิ ขัน้ สงู ของผ้เู รียน

การจดั การเรยี นรู้แบบใช้ การเรยี นแบบสืบเสาะหา การจดั การ
คำถาม (Questioning ความรู้ Problem Ba
๕ ขัน้ ตอน
Method) (P

๔.๒ การประเมินผล ผ้สู อน เกยี่ วขอ้ ง โดยครูผสู้ อนอาจจัด ตรวจสอบขอ้ มลู
และผูเ้ รยี นรว่ มกันประเมินผล กจิ กรรมและให้ผเู้ รียนมีสว่ น หรอื ไม่
การเรียนรู้ โดยใชว้ ธิ ีการ รว่ มในกจิ กรรมนั้น ๆ เช่น ต้ัง
ประเมนิ ผลตามสภาพจริง คำถามจากการศึกษาเพ่ือให้ ๕. สรุปและปร
ผ้เู รยี นร่วมกันอภปิ รายและ คำตอบ (Evalu
แสดงความคิดเหน็ เพ่ิมเตมิ เมอ่ื ไดค้ ำตอบท
๕. การประเมินผล สมาชกิ ในกลมุ่ จ
(Evaluation) ขอ้ มูลท้ังหมดม
เปน็ ข้นั ของการประเมินการ เปน็ องค์ความร
เรยี นรู้ดว้ ยกระบวนการตา่ ง ๆ ประเมินประสิท
เช่น การทำข้อสอบ การทำ ทำงานของกลุ่ม
รายงานสรปุ หรอื การใหผ้ เู้ รยี น
ประเมนิ ตวั เอง เป็นตน้ เพื่อ
ตรวจสอบผูเ้ รียนว่ามคี วามรูท้ ี่
ถกู ต้องมากน้อยเพยี งไรจาก
การเรยี นรแู้ บบสืบเสาะหา
ความรู้

นวตั กรรมการจดั การเรยี นรู้ “

๑๓

รเรยี นรู้แบบ การจัดการเรียนร้แู บบใช้ การจดั การเรียนการสอน
ased Learning โครงงานเปน็ ฐาน STEM
PBL) (PROJECT-BASED
LEARNING) มือสร้างชนิ้ งานหรือพัฒนา
ลวา่ ถูกต้อง วิธีการเพอื่ ใช้ในการแก้ปญั หา
เรยี นรู้ โดยมีผสู้ อน ผ้เู รยี นและ
เพอื่ นรว่ มกันประเมนิ

ระเมนิ ค่าของ ๕.ทดสอบ ประเมนิ ผล และ
uate results) ปรบั ปรงุ แกไ้ ขวิธีการ
ท่ีชัดแจ้งแลว้ แก้ปญั หาหรอื ชนิ้ งาน
จะต้องช่วยกันนำ (Testing, Evaluation and
มาประมวลสร้าง Design Improvement) เป็น
รใู้ หม่ พร้อมทั้ง การทดสอบและประเมินการใช้
ทธิภาพการ งานของชน้ิ งานหรือวิธกี าร โดย
ม ผลที่ไดอ้ าจนำมาใช้ในการ
ปรับปรุงและพฒั นาใหม้ ี
ประสิทธิภาพในการแกป้ ัญหา
ได้อยา่ งเหมาะสมท่สี ดุ

“รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model” เพ่ือพัฒนาสมรรถนะการคดิ ขนั้ สงู ของผูเ้ รยี น

การจัดการเรียนรูแ้ บบใช้ การเรียนแบบสบื เสาะหา การจดั การ
คำถาม (Questioning ความรู้ Problem Ba
๕ ข้ันตอน
Method) (P

๖. นำเสนอและ
(Share results
ให้ผู้เรยี นจดั ทำ
ชิน้ งาน สำหรบั
ความร้ทู ่ีค้นพบ
หรือเผยแพร่ต่อ
สาธารณะ ในกา
เปิดโอกาสให้ผู้ฟ
ซักถามประเด็น
สนับสนนุ แนวค

นวัตกรรมการจดั การเรียนรู้ “

๑๔

รเรียนรแู้ บบ การจัดการเรยี นรู้แบบใช้ การจัดการเรียนการสอน
ased Learning โครงงานเปน็ ฐาน STEM
PBL) (PROJECT-BASED
LEARNING) ๖.นำเสนอวิธกี ารแกป้ ญั หา
ะประเมนิ ผล ผลการแกป้ ัญหาหรือชนิ้ งาน
s) (Presentation) เปน็ การ
ำเอกสารหรอื นำเสนอแนวคดิ และข้ันตอน
บนำเสนอองค์ การแก้ปัญหาของการสร้าง
บใหม่ต่อเพ่อื น ชนิ้ งานหรือการพฒั นาวิธกี าร
อ ให้ผอู้ น่ื เข้าใจและได้
ารนำเสนอต้อง ข้อเสนอแนะเพื่อการพฒั นา
ฟังสามารถ ต่อไป
นท่ีสงสยั หรือ
คดิ ได้

“รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model” เพ่อื พัฒนาสมรรถนะการคดิ ข้ันสูงของผ้เู รียน

๑๕

๕.๓ ขัน้ ตอนการพัฒนานวตั กรรม
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ QUICK Model เพื่อพัฒนาสมรรถนะการคิดขั้นสูงของผู้เรียน
โรงเรียนนาปา่ มโนรถ มขี ัน้ ตอนในการดำเนนิ งาน ดังนี้
๑. ขั้นการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน บริบท สภาพปัจจุบันปัญหาของโรงเรียน โดยวิเคราะห์ข้อมูลด้าน
คุณภาพผู้เรียนด้านการดำเนินงาน/การจัดการเรียนรู้/การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาสมรรถนะการคิดของผู้เรียน
ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานแนวทางในการพัฒนาสมรรถนะการคิดขั้นสูงโดย ใช้กระบวนเรียนรู้แห่งวิชาชพี
(PLC) ดำเนนิ งาน

https://shorturl.asia/QSNE
I
บันทกึ การวเิ คราะห์ข้อมลู พ้ืนฐานของโรงเรียน
๒. ขั้นการศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูล เพื่อออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยศึกษา
ค้นคว้าข้อมูลจากเอกสาร ตำรา รายงานวิจัย ฯลฯ เกี่ยวกับสมรรถนะการคิดขั้นสูง (Higher Order Thinking
Skills) ระดับการพัฒนาสมรรถนะการคิดขั้นสูง แนวคิดเชิงคำนวณ (Computational Thinking) องค์ประกอบ
ของแนวคิดเชิงคำนวณ เป้าหมายการพัฒนาแนวคิดเชิงคำนวณให้กับผู้เรียน ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะ
การคิดขั้นสูงกับแนวคิดเชิงคำนวน รูปแบบ/วิธีการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะการคิดขั้นสูง จากนั้นนำ
ข้อมูลดังกล่าวมาวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อออกแบบการจัดการเรียนรู้ในการพัฒนาสมรรถนะการคิดขั้นสูงให้กับ
ผูเ้ รยี น โรงเรียนนาป่ามโนรถ

นวัตกรรมการจดั การเรียนรู้ “รูปแบบการจัดการเรยี นรู้ QUICK Model” เพอื่ พฒั นาสมรรถนะการคดิ ขั้นสูงของผเู้ รียน

๑๖

๓. ขั้นการพัฒนาสมรรถนะการคิดขั้นสูงของผู้เรียน โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ QUICK Model
ซึ่งเป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ท่ีสังเคราะห์มาจากรูปแบบ/วิธีการจัดการเรียนรู้ ๑) การจัดการเรียนรู้แบบใช้
คำถาม (Questioning Method) ๒) การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ๓) การจัด
การเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) ๔) การจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน
(Project Based Learning) ๕) การจัดการเรียนรู้ STEM โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบใช้คำถามเป็นหลัก และนำ
แนวคดิ เชิงคำนวณ (Computational Thinking) มาใช้เป็นเครื่องมือ/กลยุทธ์ในการพฒั นาสมรรถนะการคิดขั้นสูง
ประกอบด้วยขัน้ ตอนการจัดการเรียนรู้ ๕ ข้ัน ดังน้ี

๓.๑ การต้ังคำถาม (Questions) เพ่อื ให้ผู้เรียนเกิดความสนใจใครร่ ู้ นำเข้าสบู่ ทเรยี นและใช้
การต้ังคำถามในทุกข้นั ตอนของการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้

๓.๒ การสร้างความเขา้ ใจ (Understanding) เพ่อื ให้ผ้เู รียนมีความรู้ เข้าใจทถ่ี ูกตอ้ งชดั เจน
เกย่ี วกบั ประเดน็ /ปญั หา สามารถระบปุ ระเดน็ /ปัญหา ลำดบั ความสำคัญของปญั หา

๓.๓ การสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry) เพ่อื ให้ผูเ้ รียนสามารถสบื คน้ และรวบรวมขอ้ มูลจาก
แหลง่ เรียนร้ตู า่ ง ๆ ด้วยวิธกี ารท่หี ลากหลายท่ีเก่ยี วขอ้ งกับแนวทางการแกป้ ญั หาและประเมิน
ความเปน็ ไปได้ ข้อดีและข้อจำกัด

๓.๔ การนำแนวคิดเชงิ คำนวณ (Computational Thinking) มาใช้เป็นเครือ่ งมือ/กลยุทธ์
ในการพฒั นาผู้เรยี น ให้สามารถสร้าง (Create) วางแผน/ออกแบบ กำหนดขน้ั ตอนการทำงาน/
การแกป้ ญั หา /จัดทำ /ผลติ /ประดษิ ฐ์ ชนิ้ งาน นวตั กรรม

๓.๕ การแลกเปลย่ี นเรียนรู้ (Knowledge Sharing) เพอ่ื ให้ผ้เู รียนแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ ข้อสรุป
องคค์ วามรู้ท่ีไดร้ ับกับผอู้ ืน่

๔. ข้ันการประเมิน ติดตามผล การพฒั นาสมรรถนะการคิดขน้ั สูงของผู้เรียน โดยการวดั ผลประเมินผล
สมรรถนะการคิดขั้นสูงของผู้เรียน การนเิ ทศ ติดตามผลการจัดการเรยี นการสอนของครู การสงั เกตชัน้ เรียน โดยใช้
กระบวนการเรียนรู้แหง่ วชิ าชพี (PLC)

นวัตกรรมการจดั การเรยี นรู้ “รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model” เพื่อพัฒนาสมรรถนะการคดิ ขน้ั สูงของผเู้ รียน

๑๗
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ QUICK Model เพอ่ื พัฒนาสมรรถนะการคดิ ขั้นสงู ของผูเ้ รยี น โรงเรียนนาป่ามโนรถ

๑. ข้นั การวเิ คราะหข์ ้อมูลพืน้ ฐาน บริบท สภาพปัจจบุ นั
ปัญหาของโรงเรียน โดยใชช้ ุมชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวชิ าชีพ

(PLC)

๒. ข้นั การศึกษา วิเคราะห์ และสงั เคราะห์ข้อมลู ที
เกย่ี วข้อง เพือ่ ออกแบบการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้

๓. ขั้นการพัฒนาสมรรถนะการคดิ ข้ันสงู ของผเู้ รียน

รปู แบบการจัดการเรยี นรู้ QUICK Model

แนวคิดเชงิ คำนวณ (Computational
thinking)

๔. ข้ันการประเมนิ ติดตามผล การพัฒนาสมรรถนะการคิดขนั้ สูงของผู้เรยี น โดยการวดั ผล
ประเมนิ ผลสมรรถนะการคดิ ขัน้ สูงของผูเ้ รยี น การนเิ ทศ ตดิ ตามผลการจัดการเรยี นการสอนของครู
การสงั เกตชั้นเรยี น โดยใชก้ ระบวนการเรยี นรูแ้ หง่ วิชาชีพ (PLC)
นวตั กรรมการจดั การเรียนรู้ “รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model” เพอื่ พัฒนาสมรรถนะการคดิ ขั้นสูงของผเู้ รยี น

๑๘

ตารางแสดงรายละเอียดความสัมพันธ์/เชื่อมโยงระหว่าง รูปแบบการจัดการเรียนรู้ QUICK Model
และรปู แบบ/วิธีการจดั การเรยี นรู้เพ่อื พัฒนาสมรรถนะการคิด ๕ รูปแบบ ดงั นี้

๕. การวพิ ากษน์ วัตกรรมโดยผูท้ รงคณุ วุฒแิ ละผเู้ ช่ียวชาญจากมหาวิทยาลยั บรู พา
ก่อนที่จะนำรูปแบบการจัดการเรียนรู้ QUICK Model ไปใช้จัดการเรียนรูใ้ ห้กับผู้เรียน ได้มีการวพิ ากษ์

นวัตกรรมโดยผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัยบูรพา ทั้งด้านความเป็นประโยชน์ ความเป็นไปได้
ความเหมาะสม และความถกู ต้องแมน่ ยำของนวตั กรรมฯ และนำข้อเสนอแนะไปปรับปรงุ แก้ไขใหม้ ีความสมบูรณ์

๖. วางแผนการนำนวตั กรรมไปใช้ในสถานศึกษาท้งั สถานศกึ ษา วีดีโอการวพิ ากษ์
https://zhort.link/AQg

นวัตกรรมการจดั การเรยี นรู้ “รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model” เพือ่ พัฒนาสมรรถนะการคดิ ขัน้ สูงของผเู้ รียน

๑๙

๖.๑ กำหนดกระบวนการ/ขน้ั ตอนนำนวตั กรรมไปใชใ้ นสถานศกึ ษาทั้งสถานศกึ ษา

กำหนดแนวทางการนำรูปแบบการจัดการเรยี นรู้ QUICK Model ไปใช้กับผเู้ รียน ๒ แนวทาง ดังน้ี
- บูรณาการในแผนการจัดการเรียนรู้เป็นการนำรูปแบบการจัดการเรียนรู้ QUICK Model
ไปใช้ในขั้นตอนของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสรรถนะการติดขั้นสูงของผู้เรียนผ่าน
ผลการปฏิบัติงาน การลงมือปฏิบัติ ไม่ว่าจะเป็นชิ้นงาน/โครงงาน/ภาระงานที่ได้รับมอบหมาย ซึ่งเป็นการพัฒนา
สมรรถนะการคิดของผูเ้ รยี นตามข้ันตอนของรูปแบบฯ ผ่านการจัดการเรียนการสอนในแตล่ ะรายวชิ า
- บูรณาการในกจิ กรรม เปน็ การนำรปู แบบการจัดการเรยี นรู้ QUICK ไปใช้ในขนั้ ตอนของการทำ
กิจกรรมของผู้เรียน ไม่ว่าจะเป็นชิ้นงาน/โครงงาน/ภาระงานที่ ได้รับมอบหมาย ซึ่งเป็นการพัฒนาสมรรถนะ
การคิดของผู้เรียนตามขั้นตอนของรูปแบบฯ ผ่านการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร การขับเคลื่อนรูปแบบการพัฒนา
สมรรถนะการคิดในการทำงานภายในโรงเรียน เป็นการขับเคลื่อนโดยบูรณาการในแผนการจัดการเรียนรู้และใน
กิจกรรมควบคู่กัน การบูรณาการในแผนการจัดการเรียนรู้ทำให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจในการพัฒนาสมรรถนะ
การคิดตามแนวคิด/หลักการของรปู แบบ (declarative knowledge) ส่วนการบรู ณาการในกิจกรรมเป็นการฝกึ ฝน
ทักษะสมรรถนะการคิดผ่านการทำงานจรงิ (procedural knowledge)
๖.๒ กำหนด Model Teacher , Buddy Teacher หลังจากกำหนดเป้าหมายและกระบวนการใช้
นวัตกรรมร่วมกันแล้ว โรงเรียนนาป่ามโนรถดำเนินการจัดประชุมเพื่อกำหนด Model Teacher , Buddy
Teacher รายวิชาและระดับช้ันทสี่ อนซึง่ แบง่ ไดท้ ั้งหมด ๑๐ กลมุ่ ดังนี้

ลำดบั ชื่อ-นามสกุล Model teacher ระดับช้นั วิชา ชอื่ -นามสกุล Buddy
๑ นางสาวจนิ ตนา แก้วตาแสง นางโสภนา ไวเรียบ
ป.๑ ภาษาองั กฤษ นางสาวรัชดา กร่ิงกระจา่ ง
๒ นายวชิ าญ สวนศรี นางสาววาสนา เกาะแก้ว
ป.๒ สงั คมศึกษาศาสนา นางสาวกนกวรรณ ไทยประเสรฐิ
๓ วา่ ท่ีรอ้ ยตรหี ญิงอมรรตั น์ อรุณเรือง และวัฒนธรรม
๔ นางสาวราตรี รอบคอบ นางสาวราตรี รอบคอบ
ป.๓ คณติ ศาสตร์ วา่ ทรี่ อ้ ยตรหี ญิงอมรรัตน์ อรุณเรือง
๕ นางสาวอัมราวดี ทองท่าชี นางสาววิจติ รา นุ่นขาว
๖ นางสาววาสนา เกาะแก้ว ป.๔ คณติ ศาสตร์
นายณัฐวฒุ ิ อนิ น่มุ
๗ นายณฐั วุฒิ อนิ น่มุ ป.๕ ภาษาไทย นายวชิ าญ สวนศรี
๘ นางโสภนา ไวเรียบ ป.๖ วทิ ยาศาสตร์ นายเกรียงสิทธ์ิ รศั มงี าม

ป.๕ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา นางสาวอัมราวดี ทองท่าชี
ป.๔ ภาษาอังกฤษ
นางสาวจินตนา แกว้ ตาแสง

นวตั กรรมการจดั การเรยี นรู้ “รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model” เพ่อื พฒั นาสมรรถนะการคดิ ข้นั สูงของผู้เรยี น

๒๐

ลำดับ ชือ่ -นามสกุล Model teacher ระดับชั้น วชิ า ชื่อ-นามสกุล Buddy
๙ นางสาวรชั ดา กริ่งกระจ่าง นางสาวรุง่ ทิวา จนั สายออ
อ.๒-๓ กิจกรรมเสริม
๑๐ นางสาวกนกวรรณ ไทยประเสรฐิ นางสาวอไุ รวรรณ สังขลิ ติ
ประสบการณ์

อ.๑ กิจกรรมเสริม

ประสบการณ์

๗. การนำนวัตกรรมไปใช้ในการจดั การเรียนรู้
๗.๑ ทดลองออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ใบงาน ฯลฯ โดยใชแ้ นวคดิ เชิงคำนวณ (Computational

Thinking) เป็นเครื่องมือ/กลยุทธ์ในการพัฒนาสมรรถนะการคิดขัน้ สูงให้กับผูเ้ รียน โดยคุณครูออกแบบกิจกรรม
การเรียนรู้ ใบงาน ฯลฯ แล้วนำเสนอให้ผู้บริหารและคณะครูภายในโรงเรียนร่วมกันวิพากษ์ ก่อนที่จะนำไปสู่
การเขยี นแผนการจัดการเรียนรตู้ ามรปู แบบ QUICK Model ตอ่ ไป

วดี โี อการวิพากษ์
https://zhort.link/AQj

๗.๒ เขียนแผนการจัดการเรยี นรูต้ ามข้ันตอนการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model โดยคุณครูผู้สอน
ระดับปฐมวัยและประถมศึกษา เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ตามขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ QUICK Model
ในวชิ า/กล่มุ สาระท่สี อน

นวตั กรรมการจดั การเรยี นรู้ “รูปแบบการจัดการเรยี นรู้ QUICK Model” เพอ่ื พัฒนาสมรรถนะการคดิ ขนั้ สงู ของผู้เรียน

๒๑

๗.๓ วิพากษ์แผนการจัดการเรียนรู้โดยผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัยบูรพา เพื่อ
นำข้อเสนอแนะตา่ ง ๆ ไปปรับปรุงแกไ้ ขก่อนจะนำไปใช้จัดการเรยี นรใู้ ห้กบั ผ้เู รยี น

วดี โี อการวิพากษแ์ ผนการจัดการเรียนรู้ https://zhort.link/AQm

๗.๔ นำแผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ปรบั ปรุงแกไ้ ขตามข้อเสนอแนะของผู้ทรงคณุ วฒุ ิ ไปใช้ในการ
จัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน โดยเปิดชั้นเรียน/สังเกตชั้นเรียนสะท้อนผล ดำเนินการเปิดชั้นเรียนทั้งสถานศึกษา
โดยดำเนินการจัดการเรียนรู้ตามแผนที่วางไว้ สังเกตและสะท้อนผลของพัฒนาการของผู้เรียนหลังผ่านขั้นตอน
การใช้นวัตกรรม

วดี โี อการการสอน
https://zhort.link/AQp

นวัตกรรมการจดั การเรียนรู้ “รปู แบบการจัดการเรยี นรู้ QUICK Model” เพื่อพัฒนาสมรรถนะการคดิ ข้นั สงู ของผเู้ รยี น

๒๒

๗.๕ สรุปถอดบทเรียนนวตั กรรม ดำเนนิ การทบทวนและสรปุ ประสบการณจ์ ากการจดั การเรียนการสอน

ของ Model Teacher เพ่อื ใหเ้ หน็ ถึงรายละเอียดของผลการจัดการเรยี นรวู้ า่ สำเรจ็ หรอื ล้มเหลวอย่างไร

กจิ กรรม วัน เดอื น ปี

วงรอบท่ี 1 วงรอบท่ี 2 วงรอบที่ 3

(ต.ค.- ธ.ค.) (ม.ค.) (ก.พ.)

การประชมุ ชีแ้ จงสมาชิกและการจดั ทีม PLC 
การกำหนดเป้าหมายการพฒั นาและเปา้ หมายผูเ้ รียนเรยี น(PLAN) 

รว่ มกันออกแบบการสอน (แผนการจัดการเรยี นรู)้ เพ่ือพัฒนา  
ผเู้ รยี น (PLAN) และวิพากษ์แผน

การเปิดชนั้ เรยี น/การสงั เกตชัน้ เรียนสะท้อนผล  

สรุปถอดบทเรยี นนวตั กรรมการแกป้ ัญหา  

๕.๔ ผลงานทเ่ี กิดจากการดำเนินงาน

๑) ผลที่เกดิ กับผเู้ รียน

โรงเรยี นนาป่ามโนรถ ดำเนินการเปดิ ชนั้ เรยี นตามวงรอบโดยใชร้ ูปแบบการจัดการเรยี นรู้ QUICK Model

เพื่อพัฒนาสมรรถนะการคิดข้นั สงู พบวา่ ผู้เรียนมสี มรรถนะการคดิ ขัน้ สูงอย่ใู นระดบั เร่มิ ตน้ ร้อยละ ๐.๗๔

ระดับกำลังพฒั นา รอ้ ยละ ๔๒.๓๕ ระดับสามารถ ร้อยละ ๕๒.๒๘ ระดบั เหนอื ความคาดหวัง ร้อยละ ๔.๖๒

ร้อยละผลการประเมนิ สมรรถนะการคดิ ข้ันสูงของผเู้ รยี นโรงเรยี นนาปา่ มโนรถ

วชิ า ระดับช้ัน ระดับการพฒั นาสมรรถนะการคดิ ขนั้ สงู
เร่ิมตน้ กำลงั พัฒนา สามารถ เหนอื ความคาดหวงั

ภาษาอังกฤษ ป.๑ - ๑๐๐ - -

สังคมศึกษาฯ ป.๒ - ๘๖.๓๖ ๑๓.๖๔ -

คณิตศาสตร์ ป.๒ - ๒๒.๗๓ ๔๐.๙๑ ๓๖.๓๖

คณิตศาสตร์ ป.๓ - ๔๓.๔๘ ๕๖.๕๒ -

ภาษาองั กฤษ ป.๔ - ๗๐ ๓๐ -

ภาษาไทย ป.๕ - - ๑๐๐ -

สุขศึกษาและพลศึกษา ป.๕ ๖.๖๗ ๕๓.๓๓ ๔๐.๐๐ -

วิทยาศาสตร์ ป.๖ - ๕.๒๖ ๘๙.๔๗ ๕.๒๖

วทิ ยาการคำนวณ ป.๖ - - ๑๐๐ -

เฉล่ยี รวม ๐.๗๔ ๔๒.๓๕ ๕๒.๒๘ ๔.๖๒

นวัตกรรมการจดั การเรยี นรู้ “รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model” เพ่ือพัฒนาสมรรถนะการคดิ ขน้ั สูงของผู้เรยี น

๒๓

ผลการประเมนิ สมรรถนะการคิดขัน้ สงู ผลงานนกั เรยี น

https://shorturl.asia/0ZCYE https://zhort.link/AQq

๒) ผลทีเ่ กิดกบั ครู
ครูสามารถออกแบบแผนการจัดการเรยี นรู้ และออกแบบใบงาน ชิ้นงานเพ่อื พฒั นาสมรรถนะ

การคดิ ขั้นสูงของผู้เรยี นไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ
๑. แผนการจัดการเรียนรู้ทีใ่ ชร้ ปู แบบการจัดการเรยี นรู้ QUICK Model ทุกรายวชิ า

https://shorturl.asia/ULH2h
๒. ใบงาน/ช้นิ งานจากนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ QUICK Model เพ่ือพัฒนาสมรรถนะการคิดขัน้ สูง

https://shorturl.asia/cdNPr
๓) ผลทเี่ กดิ กับสถานศึกษา

สถานศึกษาไดน้ วัตกรรมใหมเ่ พ่อื พัฒนาสมรรถนะการคดิ ข้ันสูงของผู้เรยี นเพ่ือเปน็ แนวทางใน
การจัดการเรยี นรู้ในหลักสูตรฐานสมรรถนะได้

๑. รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model เพอ่ื พฒั นาสมรรถนะการคดิ ขนั้ สูงของผเู้ รยี น

https://shorturl.asia/l6JdF

นวัตกรรมการจดั การเรียนรู้ “รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model” เพ่อื พัฒนาสมรรถนะการคดิ ขนั้ สงู ของผ้เู รยี น

๒๔

๕.๕ สรปุ สงิ่ ทเี่ รยี นรแู้ ละปรับปรุงให้ดีข้ึน
ผลท่เี กิดจากการดำเนินงาน

ผลลัพธ์ตอ่ ผ้เู รียน
๑. ผ้เู รยี นมีสมรรถนะการคดิ ขน้ั สูงซง่ึ สามารถวิเคราะห์ หาสาเหตุ ออกแบบ รวมถึงหาวธิ ีการ
แก้ปญั หาอยา่ งเปน็ ลำดับเปน็ ขนั้ เป็นตอนอยา่ งเป็นระบบได้
๒. ผเู้ รียนสามารถนำสมรรถนะการคิดขนั้ สูงไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวันได้
ผลลัพธ์ตอ่ ครู
๑. ครสู ามารถบูรณาการนวตั กรรมไปใช้เปน็ แนวทางในการจัดการเรยี นรู้ในสมรรถนะด้านอ่ืนๆ
ตามหลักสูตรฐานสมรรถนะทีก่ ำลงั จะประกาศใชใ้ นอนาคต
๒. ครเู กดิ การแลกเปลย่ี นเรยี นรู้รปู แบบวิธกี ารสอน ทำให้เกดิ รปู แบบการสอนทม่ี ีความ
หลากหลายผา่ นการเป็น Buddy Teacher และ Model Teacher ในชุมชนแหง่ การเรียนรู้ (PLC)
๓. ครทู ราบถงึ ปัญหาในการจดั การเรยี นรู้และการเขียนแผนการจัดการเรยี นรูข้ องตนเองจาก
การวิพากษ์ของผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งเป็นประโยชน์ในการใช้เป็นแนวทางในปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้และ
การเขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ
ปัญหาและการแก้ไข
๑. การนำรปู แบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model ไปใช้ในการจดั การเรยี นการสอนบาง
หน่วยการเรียนรู้ทำได้ค่อนข้างยาก เนื่องจากครูผู้สอนยังขาดความรู้ความเข้าใจที่แท้จริงเกี่ยวกับแนวคิด
เชิงคำนวณ ซึ่งเป็นเครื่องมือสำคัญที่ใช้ในการออกแบบกิจกรรม ใบงาน ใบความรู้ ฯลฯ ในการจัดการเรียนรู้ตาม
ขัน้ ตอนการสอนของรูปแบบการจัดการเรยี นรู้ QUICK Model
๒. ข้นั ตอนการสบื คน้ (I) สำหรบั ผู้เรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑- ๓ ใชเ้ วลามากเนอื่ งจากผูเ้ รยี น
มีประสบการณ์ในการคน้ คว้าหาความรเู้ องค่อนขา้ งน้อย

นวัตกรรมการจดั การเรยี นรู้ “รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model” เพอื่ พัฒนาสมรรถนะการคดิ ขน้ั สงู ของผเู้ รยี น

๒๕

๕.๖ การขยายผลและเผยแพรผ่ ลการพฒั นา
หลังจากที่โรงเรียนนาป่ามโนรถ ดำเนินการใช้นวัตกรรมรูปแบบการจัดการเรียนรู้ QUICK Model เพ่ือ
พัฒนาสมรรถนะการคิดขั้นสูงของผู้เรียน จนได้ผลการดำเนินงานที่สำเร็จเป็นรูปธรรมแล้ว จึงดำเนินการเผยแพร่
นวัตกรรมสำหรับผู้ที่สนใจได้ศึกษาค้นคว้าที่หน้าเว็ปไซต์โรงเรียนนาป่ามโนรถ https://www.napamanorot-
school.com/

๖. ข้อเสนอแนะและแนวทางการพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
การพัฒนาสมรรถนะการคิดขั้นสูง ซึ่งเป็นสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑ โดยการจัด

การเรยี นรู้รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model จะต้องใช้ระยะเวลาในการเรียนรู้ การฝึกฝน การลงมือปฏิบัติ
ของผู้เรียนอย่างต่อเนื่องจึงจะเกิดสมรรถนะ รูปแบบการจัดการเรียนรู้นี้ยังไม่สามารถใช้กับเนื้อหาในบางหน่วย
การเรยี นรู้จงึ ต้องนำปญั หานไี้ ปดำเนนิ การปรบั ปรุงแก้ไขใหม้ ีความสมบรู ณ์มากข้นึ
๗. จุดเด่น หรือลกั ษณะของผลงานนวตั กรรม

นวัตกรรมรูปแบบการจัดการเรียนรู้ QUICK Model เพื่อพัฒนาสมรรถนะการคิดขั้นสูงของผู้เรียนโรงเรียน
นาป่ามโนรถ เป็นนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่มีความแปลกใหม่ ทันสมัย รองรับการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางของ
หลักสูตรฐานสมรรถนะ (Competency-based Curriculum) ซึ่งเป็นหลักสูตรอนาคตที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนดให้
สถานศึกษาทกุ แหง่ ใช้ในปี ๒๕๖๗ ทว่ั ประทศ นอกจากนย้ี งั เป็นนวตั กรรมที่ส่งเสริมสนับสนุนให้ผเู้ รียนมีความเป็น Active
Learner อย่างแท้จริงในทุกขั้นตอนของการจัดการเรียนการสอน โดยมีครูเป็นผู้ชี้นำแนวทางด้วยคำถามในทุกขั้นของ
การจดั การเรียนรู้ (Q) สรา้ งความเขา้ ใจในเน้อื หาที่กำลงั ศกึ ษา (U) ผูเ้ รยี นได้ทำการค้นควา้ ข้อมลู ด้วยตัวเอง (I) ไดว้ ิเคราะห์
คำถามที่ครูสร้างขึ้นเพื่อส่งเสริมสมรรถนะการคิดขั้นสูงของผู้เรียน ได้ใช้แนวคิดเชิงคำนวณแก้ปัญหาเป็นลำดับ
อยา่ งเปน็ ข้ันเปน็ ตอน (C) รวมถงึ ได้แลกเปล่ียนเรียนรสู้ ิง่ ท่ผี ู้เรยี นได้ศึกษากบั เพ่ือนและคุณครใู นชัน้ เรียนอกี ด้วย (K)

นวัตกรรมการจดั การเรียนรู้ “รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model” เพอ่ื พัฒนาสมรรถนะการคดิ ขั้นสงู ของผเู้ รยี น

๒๖

๘. บรรณานกุ รม
CBE Thailand. สมรรถนะการคิดข้ันสูง (Higher Order Thinking Skills : HOTS). [ออนไลน์]. ได้จาก :
https://shorturl.asia/vWZfQ [สืบคน้ เมื่อ พฤจิกายน 2564].
CBE Thailand. ระดับการพัฒนาทกั ษะการคดิ ขั้นสูง. [ออนไลน์]. ไดจ้ าก : https://shorturl.asia/lz64S
[สบื ค้นเม่อื พฤจิกายน 2564]
ฉัตรพงศ์ ชแู สงนลิ . (2563). แนวคดิ เชงิ คำนวณ. [ออนไลน์]. ไดจ้ าก : https://www.scimath.org/lesson-
technology/item/10560-2019-08-28-02-43-20 [สืบค้นเม่ือ พฤจกิ ายน 2564]
ผศ.ชฎารัตน์ พิพัฒนนนั ท์. (2564). Unplugged Coding [ออนไลน์]. ไดจ้ าก : https://shorturl.asia/ShcnV
[สบื คน้ เมอื่ พฤจิกายน 2564]
ผศ.วันดี โตสุขศรี. การจัดการเรยี นรแู้ บบใช้คำถาม [ออนไลน์]. ไดจ้ าก
https://ns.mahidol.ac.th/english/th/departments/MN/th/km_clinical.html [สบื คน้ เมื่อ พฤจกิ ายน
2564]
นายธนภคั แสงมณุ .ี การเรยี นแบบสบื สอบหาความรู้ 5 ขนั้ ตอน [ออนไลน์]. ได้จาก :
http://www.thaischool.in.th/_files_school/84101600/workteacher/84101600_1_20210404-
210214.pdf [สืบค้นเมื่อ พฤจิกายน 2564]
Plook Teacher. (2562).การจัดการเรยี นรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน [ออนไลน์]. ได้จาก :
https://www.trueplookpanya.com/blog/content/77414/-blog-teaartedu-teaart-teamet-
[สบื คน้ เมื่อ พฤจิกายน 2564]
ครูอาชพี ดอทคอม. (2563). การจดั การเรยี นรู้แบบใช้โครงงานเปน็ ฐาน [ออนไลน์]. ได้จาก :
https://shorturl.asia/ijm9v [สืบค้นเมื่อ พฤจิกายน 2564]
ศูนย์สะเตม็ ศกึ ษาแห่งชาติ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี การจดั การเรยี นการสอนแบบ
STEM [ออนไลน์]. ได้จาก : http://www.stemedthailand.org/wp-content/uploads/2015/05/STEM-
Education2.pdf [สืบคน้ เมื่อ พฤจิกายน 2564]
สทศ. สพฐ. (2564). รา่ งเคร่อื งมือประเมินสมรรถนะการคดิ ขัน้ สงู ชัน้ ป.1-3 [ออนไลน์]. ได้จาก :
https://bet.obec.go.th/New2020/wp-content/uploads/2021/01/4-class-1.pdf
สทศ. สพฐ. (2564). ร่างเครือ่ งมือประเมินสมรรถนะการคิดขั้นสูง ชั้น ป.4-6 [ออนไลน์]. ไดจ้ าก :
https://bet.obec.go.th/New2020/wp-content/uploads/2021/01/4-class-2.pdf [สบื คน้ เมอ่ื พฤจิกายน
2564]

นวัตกรรมการจดั การเรยี นรู้ “รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model” เพ่อื พัฒนาสมรรถนะการคดิ ขัน้ สูงของผ้เู รยี น

นวตั กรรมการจดั การเรียนรู้ “รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ QUICK Model” เพื่อพฒั นาสมรรถนะการคดิ ข้นั สูงของผู้เรยี น


Click to View FlipBook Version