The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

e-book ครูดีเด่นวันครู 65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by bboonlang9, 2021-12-30 11:45:36

e-book ครูดีเด่นวันครู 65

e-book ครูดีเด่นวันครู 65

แบบประเมินครผู มู้ ีผลงานดีเด

เน่ืองในงานวนั ครู

ประจำปี ๒๕๖๕

จา่ สบิ ตารวจบุญแรง แสนหมน่ื

ตาแหน่ง
ครผู สู้ อน

โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดนบา้ นควนตะแบก

สงั กดั กองกากบั การตารวจตระเวนชายแดนท่ี ๔๓
กองบญั ชาการตารวจตระเวนชายแดน

ด้านประวตั ิส่วนตวั

แบบประกอบการคดั เลือกครู ตชด. ดีเด่น ด้านท่ี
ประจาปี การศึกษา ๒๕๖๔ แบบประวตั ิ ครู ตชด. ๑

๑.ยศ ช่ือ ช่ือสกลุ

จา่ สบิ ตารวจบุญแรง แสนหมน่ื
๒.วนั เดือน ปี เกิด

๒๐ มกราคม ๒๕๒๖
๓. วนั เดือน ปี ท่ีเข้ารบั ราชการตารวจ

๒๗ มนี าคม ๒๕๕๓
๔. วนั เดือน ปี ที่ได้รบั การแต่งตงั้ ให้ปฏิบตั ิหน้าที่ครตู ชด.

๕ มนี าคม ๒๕๕๕
๕. ประวตั ิการรบั ราชการโดยสงั เขป

- ทาหน้าทค่ี รผู สู้ อนครงั้ แรก ทโ่ี รงเรยี นตารวจตระเวนชายแดนบา้ นหาดทราย
หมทู่ ่ี ๖ ตาบลธารครี ี อาเภอสะบา้ ยอ้ ย จงั หวดั สงขลา

- ทาหน้าทผ่ี ชู้ ว่ ยครใู หญ่ ยศ จา่ สบิ ตารวจ เมอ่ื วนั ท่ี ๑๘ กนั ยายน ๒๕๖๓
ทโ่ี รงเรยี นตารวจตระเวนชายแดนบา้ นควนตะแบก หมทู่ ่ี ๙ ตาบลเกาะเต่า
อาเภอป่าพะยอม จงั หวดั พทั ลุง

ด้านประวตั ิส่วนตวั

ประวตั ิด้านการศึกษา ด้านที่


๖.ประวตั ิการศึกษา / อบรมเพ่ิมเติมหลงั จากการบรรจุเป็ นข้าราชการ
ตารวจ

ระดบั ประถมศึกษา

โรงเรยี นตารวจตระเวนชายแดนบา้ นหนองมะแซว ปี ๒๕๓๗

ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น

โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะหอ์ านาจเจรญิ ๒๕๔๐

ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

โรงเรยี นอานาจเจรญิ ๒๕๔๓
ระดบั ปริญญาตรี

มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ วทิ ยาเขต องครกั ษ์ ปี๒๕๔๘
สาขาศลิ ปศาสตรบ์ ณั ฑติ วชิ าเอก การพฒั นาชมุ ชน
ระดบั ป. บณั ฑิต (วิชาชีพคร)ู

มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช ปี ๒๕๖๑ สาขาหลกั สูตรและการ
สอน

ด้านประวตั ิส่วนตวั

ประวตั ิด้านการศึกษา ด้านที่


๗.ประวตั ิการศึกษา / อบรมเพิ่มเติมหลงั จากการบรรจุเป็ นข้าราชการ
ตารวจ

- อบรมหลกั สตู รครตู ารวจ D.A.R.E. รนุ่ ๗๗ ปี

๒๕๕๕

- อบรมผฝู้ ึกสอนกรฑี าหลกั สตู ร T-Licence ปี

๒๕๕๗

- อบรมหลกั สตู รผกู้ ากบั ลกู เสอื สามญั /สารอง ปี ๒๕๖๒

- อบรมภาษาองั กฤษเพอ่ื ใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ปี ๒๕๖๒

- อบรมการวเิ คราะหห์ ลกั สตู รการประเมนิ ผล

การเรยี นรรู้ ะดบั ประถมศกึ ษา ปี ๒๕๖๒

- เขา้ รว่ มเป็นคณะทางานโครงการ TFE ยกระดบั ผลสมั ฤทธิ ์ ปี

๒๕๖๓

- อบรมการพฒั นายกระดบั ผลสมั ฤทธิ ์ ปี ๒๕๖๔

ด้านวินัย คณุ ธรรม จริยธรรม
และจรรยาบรรณวิชาชีพ

ตอนที่ ๑ การมีวินัย

๑. ด้านคณุ ธรรมและจริยธรรม

๑.๑ มีความประหยดั เป็นผทู้ ่รี ูจ้ กั ใชจ้ ่ายในสงิ่ ท่จี าเป็ น ไม่ฟุ่มเฟือยใช้
จา่ ยแต่พอเหมาะสมกบั ฐานะ รูจ้ กั ปรบั ปรุง ดดั แปลงแกไ้ ข วสั ดุ อุปกรณ์ ของใชท้ ่ี
หาไดม้ าใช้
ในชวี ติ ครอบครวั อยา่ งเรยี บงา่ ย

๑.๒ มีความยุติธรรม เป็นผูท้ ่ไี ม่มีความลาเอยี งไม่ว่าต่อเพ่ือนร่วมงาน
ศษิ ย์ และประชาชน วางตวั เป็นกลาง ใชห้ ลกั ของเหตุผลในการดาเนินชวี ติ

๑.๓ มีความเมตตา กรุณา มีความรักต่อศิษย์ เพ่ือนร่วมงาน และ
ครอบครวั
ชว่ ยเหลอื เพอ่ื นรว่ มงาน ศษิ ยเ์ สมอเมอ่ื มคี วามเดอื ดรอ้ นตามกาลงั ทพ่ี อจะชว่ ยเหลอื กนั ได้
ดแู ลรบั ผดิ ชอบครอบครวั ไมม่ บี กพรอ่ ง

๑.๔ มีความรบั ผิดชอบ และตรงต่อเวลา มคี วามขยนั และรกั ษา
เวลาปฏิบตั ิงานปฏิบตั ิงานตรงต่อเวลาเสมอ และยงั ใช้เวลานอกเหนือเวลาทางา น
ทางานทร่ี บั ผดิ ชอบเพอ่ื ใหเ้ สรจ็ ลุลว่ งตรงตามเวลาและเป้าหมาย

๑.๕ มีความรกั และเอาใจใส่ต่อศิษย์ เป็นผทู้ ค่ี อยติดตามกลุ่มลูกศษิ ย์ท่ี
สอน
และศษิ ย์ภายในโรงเรยี น ติดตามเยย่ี มเยยี นท่บี ้านจดั กิจกรรมต่างๆ พยายามใหเ้ กิด
ความร่วมมอื กนั ทุกคน และใหศ้ ษิ ยเ์ ก่ามโี อกาสร่วมกจิ กรรมดว้ ยเพ่อื สรา้ งความสมั พนั ธ์
อนั ดี

๑.๖ มีความซ่ือสตั ยส์ จุ ริต เป็นผมู้ คี วามมนั่ คงต่อความสตั ย์ และสุจรติ
ซง่ึ ดไู ดจ้ ากผลการปฏบิ ตั งิ านต่อ งาน ผรู้ ว่ มงาน และศษิ ย์

ด้านวินัย คณุ ธรรม จริยธรรม
และจรรยาบรรณวิชาชีพ

ตอนที่ ๑. การมีวินัย

๑. ด้านคณุ ธรรมและจริยธรรม
๑.๗ เจตคตทิ ด่ี ตี ่อเพ่อื นร่วมงานและสถานศกึ ษา เป็นผู้ทม่ี เี จต

คตทิ ด่ี ตี อ่ เพอ่ื นรว่ มงานและสถานศกึ ษา มคี วามเออ้ื เฟ้ือตอ่ เพ่อื นรว่ มงาน แ ละ
ยงั ใชเ้ วลาวา่ งดแู ล ปรบั ปรงุ สถานศกึ ษาอยเู่ ป็นประจา

๑.๘ มคี วามเออ้ื เฟ้ือเผ่อื แผต่ ่อศษิ ย์ เป็นผทู้ ค่ี อยชว่ ยเหลอื ดแู ล
ศษิ ยอ์ ยา่ งสม่าเสมอมใี จโอบออ้ มอารี ตงั้ ใจฝึกฝนฝึกหดั พยายามสัง่ สอนศษิ ย์
และคดิ เสมอวา่ ครตู อ้ งเป็นแบบอยา่ งทด่ี ี เป็นแมพ่ มิ พข์ องชาติ

๑.๙ มคี วามศรทั ธาต่อวชิ าชพี ครู เป็นผทู้ ป่ี ฏบิ ตั งิ านดา้ นอาชพี ครู
อยา่ งเตม็ ความสามารถ มกี ารจดั กจิ กรรมทห่ี ลากหลาย ปรบั ปรงุ การเรียนการ
สอน บรู ณาการใชเ้ ทคโนโลยี สรา้ งความรสู้ กึ ทด่ี ตี ่อเดก็ และชุมชน ใหค้ วามรู้
แกผ่ ปู้ กครองนกั เรยี นในการดแู ลบุตรหลาน การงานอาชพี และอน่ื ๆ

ด้านวินัย คณุ ธรรม จริยธรรม
และจรรยาบรรณวิชาชีพ

ตอนท่ี ๑. การมีวินัย

การตรงต่อเวลา การอุทศิ เวลา ใหแ้ ก่ทางราชการ

๒. ด้านบคุ ลิกภาพ และผเู้ รยี นอยา่ งต่อเน่อื ง

๒.๑ การแต่งกายสะอาด มคี วามเรยี บรอ้ ยในการแต่งกายและเป็นผทู้ ่ีรกั

ความสะอาด เป็นแบบอยา่ งทด่ี แี กศ่ ษิ ยแ์ ละหมนั่ อบรมสงั่ สอน ตกั เตอื นเร่อื งความสะอาด
๒.๒ ท่วงทีวาจา พดู จาฉะฉาน พดู จาชดั ถอ้ ยชดั คา หนกั แน่นมนั่ คง
๒.๓ กิริยา มารยาท เป็นผู้ รกั ษากริ ยิ ามารยาทใหเ้ หมาะกบั กาลเทศะ รูต้ น

รบู้ ุคคล รสู้ ถานท่ี และรเู้ วลา
๒.๔ การประพฤติ และการปฏิบตั ิงาน เป็นแบบอยา่ งทด่ี แี ก่ศษิ ย์ ไม่เสพสง่ิ

เสพตดิ ทกุ ชนิด ประพฤตติ น ปฏบิ ตั ติ น และการงาน ตรงเวลาทางานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายเตม็
ความสามารถเป็นแบบอยา่ งทด่ี แี กศ่ ษิ ยเ์ สมอ

๒.๕ มีความเชื่อมนั่ ในตนเอง การพดู การแสดงออกการกระทาท่ถี ูกต้อง

ตามครรลองครองธรรม กลา้ ทจ่ี ะทาอยา่ งหนกั แน่นมนั่ คงและมคี วามเชอ่ื มนั่ ในตนเอง

ด้านวินัย คณุ ธรรม จริยธรรม
และจรรยาบรรณวิชาชีพ

ตอนท่ี ๑. การมีวินัย

การตรงต่อเวลา การอทุ ิศเวลา ให้แก่ทางราชการ
และผเู้ รียนอย่างต่อเน่ือง

๓. ด้านมนุษยส์ มั พนั ธ์ และสมั พนั ธภ์ าพในครอบครวั
๓.๑ มนุษยส์ มั พนั ธก์ บั เพ่ือนร่วมงานและบคุ คลภายนอก
เป็นท่ีรกั และพอใจของเพ่ือนร่วมงาน รกั การทางานเป็นทีม ใ ช้

หลกั การของเหตุผล และหลกั ประชาธปิ ไตย รบั ฟังความคดิ เหน็ ของผูอ้ ่นื และ
ยอมรบั เสยี งส่วนใหญ่ในทางท่ถี ูกต้อง การตดิ ต่อสมั พนั ธ์ กบั บุคคลภายนอก
หรอื หน่วมงานอ่นื อยา่ งสม่าเสมอ การตอ้ นรบั ผมู้ าเยย่ี มเยยี นโรงเรียน ผปู้ กครอง
นกั เรยี น และบุคคลในชมุ ชนเป็นอยา่ งดยี ง่ิ

๓.๒ สัมพนั ธภาพในครอบครวั มีความรกั ผูกพันกับครอบครัว
ปฏบิ ตั ติ นเป็นหวั หน้าครอบครวั ทด่ี ใี หค้ วามรกั ความอบอุ่นครอบ ภรรยา และบุตร
อยรู่ ว่ มกนั

ด้านวินัย คณุ ธรรม จริยธรรม
และจรรยาบรรณวิชาชีพ

ตอนท่ี ๑. การมีวินัย

๔. ด้านความสมั พนั ธก์ บั

๔.๑ การมีส่วนร่วมกบั กิจกรรมต่าง ๆ ท่ีชมุ ชนจดั ขึ้น มสี ว่ นร่วมกบั ทุก
กิจกรรมท่ชี ุมชนจดั ข้นึ โดยจะมีส่วนช่วยเหลือประจา และจะได้รบั เชิญทุกครงั้ ถ้าไม่ติด
ราชการท่อี ่นื หรอื ไปนอกพ้นื ท่ี นอกจากน้ียงั มีส่วนช่วยเหลือแนะนา ในการจดั กิจกรรม
ชุมชนโดยทาง ผูน้ าชุมชน ผูน้ าศาสนา องค์การบรหิ ารส่วนตาบล จะมาพบปะพูดคุย
ปรกึ ษาปัญหาและแนะนาหรอื ขอความคดิ เหน็ อยเู่ ป็นประจาทาใหเ้ กดิ ความสมั พนั ธอ์ นั ดี
ตอ่ กนั เรอ่ื ยมา

๔.๒ การให้ความช่วยเหลือหน่วยงานต่างๆ การมสี ว่ นรว่ มกบั หน่วยงาน
อน่ื เป็นอยา่ งดี ทงั้ ระดบั อาเภอ ดแู ลการเลอื กตงั้ ในพน้ื ท่ี องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลศรี
บรรพต โรงเรยี นสอนศาสนาอาเภอศรสี าคร

๔.๓ มีความสามารถปรบั ตวั ให้เข้ากบั ขนบธรรมเนียม ประเพณี และ
วฒั นธรรมท้องถิ่น เป็นผูร้ ูห้ ลกั ขนบธรรมเนียมประเพณีปฏบิ ตั ิ และยอมรบั สามารถ
สรา้ งความกลมกลนื และเขา้ กบั ชมุ ชนไดเ้ ป็นอยา่ งดี และเป็นทย่ี อมรบั ในชุมชน

๔.๔ ความศรทั ธาและยอมรบั ของคนทวั่ ไป เป็นผทู้ ช่ี ุมชน ประชาชน
ผปู้ กครองนักเรยี น เยาวชน นักเรยี น ศษิ ยเ์ ก่า และบุคคลทวั่ ไปยอมรบั นับถือ ทางดา้ น
มนุษยส์ มั พนั ธ์ ความขยนั ความโอบออ้ มอารี และการชว่ ยเหลอื งานสว่ นรวม

ด้านวินัย คณุ ธรรม จริยธรรม
และจรรยาบรรณวิชาชีพ

ตอนที่ ๒. การประพฤติตนเป็นแบบอย่างท่ีดี

ความอุตสาหะ ขยนั อดทน มงุ่ มนั่ และรบั ผดิ ชอบตอ่ ผลสมั ฤทธิ ์

ของงาน โดยยดึ หลกั ประหยดั คมุ้ คา่ มปี ระสทิ ธภิ าพ

ตอนที่๓ คณุ ลกั ษณะครผู สู้ อน

๑. ด้านการสอน

๑.๑ ความสามารถในการสอน

มคี วามตงั้ ใจทจ่ี ะถ่ายทอดความรแู้ กน่ กั เรยี น สุขมุ รอบคอบ และใชห้ ลกั การ

สอนโดยยดึ เดก็ เป็นศูนยก์ ลางเปิดโอกาสใหเ้ ดก็ ไดแ้ สดงความคดิ แสดงออกและได้ลงมอื

ปฏบิ ตั จิ รงิ เพ่อื ใหเ้ กดิ การเรยี นรูท้ ่แี ทจ้ รงิ ยงั มกี ารนาระบบการสอนท่ีใหช้ ุมชนมสี ่วนร่วมใน

การสอน จดั ทาเป็นลกั สูตร บูรณาการวิชาการกบั งานภูมปิ ัญญา สอนให้เกิดช้ินงาน

เป็นแบบอยา่ งทงั้ เดก็ และยงั ประโยชน์แก่ชุมชนในการหาแนวทางการทางานร่วมกัน สรร

สรา้ งความสมั พนั ธ์ ผปู้ กครองมโี อกาส ได้ทากจิ กรรมร่วมกนั กบั นักเรยี นและครู และยงั

จดั การเรยี นการสอนระบบโครงงานจนเกดิ ผลงานมากมาย

๑.๒ การเตรียมการสอน

ใหค้ รมู กี ารเตรยี มการสอนและเตรยี มตวั อยเู่ สมอ ตลอดจนการคดิ วางแผนการ

สอน เพราะจะทาใหเ้ กดิ ผลดเี วลาทาการสอนจะไดไ้ มต่ ดิ ขดั เกดิ ความน่าเชอ่ื ถือ มกี าร

สรรหาวสั ดุ อุปกรณ์ การสอนลว่ งหน้า โดยเฉพาะการทาหลกั สตู รทอ้ งถน่ิ ตอ้ ง

วางแผนการกาหนดการสอน ขอบเขตการสอน เตรยี มตวั บคุ คล การเตรยี มวสั ดุ สถานท่ี

ด้านวินัย คณุ ธรรม จริยธรรม
และจรรยาบรรณวิชาชีพ

ตอนที่ ๒. การประพฤติตนเป็นแบบอย่างท่ีดี

๑.๓ ความตงั้ ใจและนาเทคนิคใหม่ ๆ มาใช้

ในกระบวนการเรยี นการสอน เพอ่ื ใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ ความพยายามสรรหา

วธิ กี ารทห่ี ลากหลาย เชน่ การใชส้ ่อื กระตุน้ การเรยี นรู้ การใชเ้ ครอ่ื งมอื เทคโนโลยใี หมๆ่

การจดั สถานทใ่ี หม่ ตลอดจนการหากรรมวธิ กี ารใหมๆ่ ทจ่ี ดั ทากใ็ ชใ้ นรปู แบบของ

กระบวนกจิ กรรมการมสี ว่ นรว่ ม โครงงาน การสารวจ การประดษิ ฐ์ ทส่ี าคญั กระตุน้ ให้

เรยี นรเู้ พอ่ื นาไปใชไ้ ดใ้ นชวี ติ จริ

๑.๔ การจดั ทาส่อื การเรยี นการสอน

ผลติ ส่อื การเรยี นการสอนจากเศษวสั ดจุ ากภมู ปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ และจากงาน

สนบั สนุนการสอนวทิ ยาลยั ชุมชน ในโปรแกรมการศกึ ษาปฐมวยั มกี ารผลติ สอ่ื การสอนก็

นามาสนบั สนุนในโรงเรยี นเป็นประจา

๑.๕ เทคนิควธิ ีการวดั ผลทด่ี ี และใช้ผลนนั้ ปรับปรุงการเรียนการสอนใช้หลักการวดั ผลการ

เรยี นรตู้ ามสภาพจรงิ และนามาปรบั ปรุงนกั เรียนรายกลุ่ม รายบคุ คล ตามกลุ่มและบุคคลทีจ่ ะ

ถนดั หรือตามความสามารถ เพ่ือเพมิ่ พัฒนาการในทางทีด่ ขี องแต่ละราย แต่ละกลุ่ม

๑.๖ ใช้ทรพั ยากรอยา่ งคมุ้ ค่าและเหมาะสมกับท้องถน่ิ

นาวสั ดเุ หลือใช้ในท้องถิ่นและวัสดุที่จดั หาไดง้ า่ ยมาจดั เป็นรปู แบบการเรียนรู้

ผลิตเปน็ ผลผลติ ภัณฑ์นกั เรียน รวมท้งั การผสมผสานความรู้ สร้างสรรค์ชิ้นงานเปน็

แบบอย่างทง้ั เด็กนกั เรียน และชมุ ชน ดงั จะเห็นไดจ้ ากการนาเสนอในรปู โครงงานการ

ประดิษฐ์ การสร้างมูลคา่ เพม่ิ การสารวจและนาภมู ิปญั ญามาใช้ในการเรียนการสอน

ด้านวินัย คณุ ธรรม จริยธรรม
และจรรยาบรรณวิชาชีพ

การประพฤตติ นเป็นแบบอยา่ งทด่ี ี

การยดึ มนั่ ในคุณธรรม จรยิ ธรรม
มคี วามศรทั ธา และปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ศาสนา

- เล่ือมใสในหลักธรรมคาสอน การบรรพชาในการเป็นพุทธนิกชน และ
ทดแทนคณุ บดิ า มารดา
- สง่ เสรมิ ใหล้ กู ศษิ ย์ โดยการใชห้ ลกั เหตุผลของการเป็นชาวพทุ ธ
- จดั กจิ กรรมเยย่ี มเยยี น ขอพร พรอ้ มมอบของขวญั ใหผ้ สู้ ูงอายุและผพู้ กิ าร
ในวนั ขน้ึ ปีใหมไ่ ทย
- จดั กจิ กรรมไหวค้ รู เพอ่ื น้อมราลกึ ถงึ พระคุณครบู าอาจารย์ รวมถงึ ศษิ ยเ์ กา่
- จดั กจิ กรรมทาบุญในวนั สาคญั ต่างๆ ทางศาสนา และวนั น้อมราลึกในพระ
มหากรณุ าธคิ ุณทุกๆพระองค์
- เชญิ ชวนทากจิ กรรมบรจิ าคโลหติ โดยสภากาชาดไทย

เกียรติประวตั ิผรู้ บั การประเมิน

ครผู สู้ อน ประจาปี ๒๕๖๔

เกียรติคณุ และความดี

เกียรติประวตั ิผรู้ บั การประเมิน

ครผู สู้ อน ประจาปี ๒๕๖๔

เกียรติคณุ และความดี

เกียรติบตั รนักเรียนที่ได้รบั

ความภาคภมู ิใจในผลงาน

นักเรียนได้รบั รางวลั ประเภทการเขยี นเรียงความระดบั ดี ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๕ จาก
โครงการสว่ นพระองคส์ มเดจ็ พระกนิษฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกช
กุมารี

เขม็ รางวลั นักเรียนท่ีได้รบั

เขม็ พระราชทานรางวลั

นักเรยี นได้รบั รางวลั ประเภทการเขยี นเรยี งความระดบั ดี ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ จาก
โครงการสว่ นพระองคส์ มเดจ็ พระกนิษฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกช
กุมารี

เกียรติประวตั ิผรู้ บั การประเมิน

ครผู สู้ อน ประจาปี ๒๕๖๔

เกียรติคณุ และความดี

ขา้ พเจา้ รบั รองว่าปัจจุบนั ขา้ ฯ ไม่เป็นผู้อยู่ระหว่างถูกสอบสวนว่า
กระทาผดิ วนิ ยั หรอื ถูกฟ้องคดอี าญาซง่ึ ศาลประทบั ฟ้อง ในรอบปี
การศกึ ษา ไมเ่ คยถูกลงทณั ฑท์ างวนิ ัย หรอื ถูกศาลพพิ ากษาลงโทษแต่
อยา่ งใด
เป็นความจรงิ

(ลงชอ่ื ) จา่ สบิ ตารวจ
(บญุ แรง แสนหมน่ื )
ผกู้ รอกประวตั ิ

(ลงชอ่ื ) ดาบตารวจ
(โกศล แกว้ มณ)ี

ตาแหน่ง ครใู หญ่ ร.ร..ตชด.บา้ นควนตะแบก
ผรู้ บั รองประวตั ิ

งานฝ่ ายวิชการโรงเรยี น

งานฝ่ ายวิชาการโรงเรียน

งานฝ่ ายวิชาการโรงเรียน

ทาเนียบบคุ ลากร

งานฝ่ ายวิชาการโรงเรียน

ทาเนียบครผู สู้ อนแต่ละช่วงชนั้

งานฝ่ ายวิชาการโรงเรียน

ทาเนียบคณะกรรมสถานศึกษา

สายงานวิชาการโรงเรียน

จดั กระบวนการเรยี นการสอนตามหลกั สตู ร ปี พ.ศ.๒๕๕๑ จดั ทาแผน
ยกระดบั ผลสมั ฤทธใิ ์ นแต่ละปีการศกึ ษา เพอ่ื การพฒั นาอยา่ งมคี ุณภาพ

จดั ทาเอกสารการยา้ ยเขา้ – ออกของนกั เรยี น และเอกสารการจบ
ของนกั เรยี นทงั้ หมด

การสง่ เสรมิ การศกึ ษาใหน้ กั เรยี นมกี ารพฒั นาการเรยี นรูต้ ามวยั
และสมวยั ตามมาตรฐานการศกึ ษา

ครแู นะแนวการศกึ ษาใหก้ บั นกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ และศษิ ย์
เก่า

พฒั นารปู แบบการเรยี นการสอนในทนั ต่อสถานการณ์ปัจจบุ นั

สายงานวิชาการโรงเรียน

1.ช่ือโครงการ โครงการส่งเสริมระเบียบวินัยในการเรียน
แผนงาน : ฝ่ายบรหิ ารวชิ าการ
ลกั ษณะของโครงการ โครงการต่อเน่อื ง
ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ โรงเรยี นตารวจตระเวนชายแดนบา้ นควนตะแบก
๒. หลกั การและเหตผุ ล

มุ่งพฒั นาผเู้ รยี นมคี วามสมดุล ทงั้ ดา้ นร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มจี ติ สานึกใน
ความเป็นพลเมอื งไทยและเป็นพลโลกยดึ มนั่ ในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มี
พระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข มคี วามรู้และทกั ษะพ้นื ฐาน รวมทงั้ เจตนค ติ โดย
มุง่ เน้นผเู้ รยี นเป็นสาคญั การเสรมิ สรา้ งระเบยี บวนิ ัย เป็นสงิ่ ท่ีสาคญั ในการส่งเสรมิ
สนับสนุนและพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ คี ุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ สอดรบั กบั อตั ลกั ษณ์ของ
โรงเรยี น วนิ ยั ดี มมี ารยาท

ดงั นัน้ โรงเรยี นเรยี นตารวจตระเวนชายแดนบ้านควนตะแบกจงึ ได้จดั กจิ กรรม
ระเบยี บดี มวี นิ ัย ในสถานศกึ ษา เพ่อื ใหน้ ักเรยี นไดแ้ สดงความสามารถทางดา้ นกิจกรรม
ระเบยี บวนิ ัย และยงั ปฏบิ ตั ติ นตามมารยาทไทยไดถ้ ูกตอ้ ง สามารถนาไปใชใ้ น
ชวี ติ ประจาวนั ของนกั เรยี น

การบริหารจดั การงานวิชาการ

๓.วตั ถปุ ระสงค์
1. เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นมรี ะเบยี บวนิ ยั บรรลผุ ลตาม อตั ลกั ษณ์ ปรชั ญาโรงเรยี น ท่ี

กาหนดไว้
๒. เพอ่ื ปลกู ฝังสง่ เสรมิ เรอ่ื งคุณธรรม – จรยิ ธรรม ใหแ้ กผ่ เู้ รยี น
๓. เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นสามารถปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมทไ่ี มพ่ งึ ประสงคไ์ ด้

๔.เป้ าหมาย
๔.1เชิงปริมาณ
1.รอ้ ยละ 8๕ ของผเู้ รยี นทุกคนมรี ะเบยี บวนิ ยั บรรลุผล ตามอตั ลกั ษณ์

ปรชั ญาของโรงเรยี น ทก่ี าหนดไว้
๒.รอ้ ยละ 8๕ ของผเู้ รยี นทกุ คน มคี ณุ ธรรม – จรยิ ธรรม

๔.๒ เชิงคณุ ภาพ
1.รอ้ ยละ 8๕ ของผเู้ รยี นทกุ คนปฏบิ ตั ติ นตามระเบยี บวนิ ยั

บรรลุผลตามอตั ลกั ษณ์ ปรชั ญาโรงเรยี น ทก่ี าหนดไว้
๒.รอ้ ยละ 8๕ ของผเู้ รยี นมคี ุณธรรม – จรยิ ธรรมสามารถปรบั เปลย่ี น

พฤตกิ รรมทไ่ี มพ่ งึ ประสงคไ์ ด้

ด้านการปฏิบตั ิงาน ๔ งาน

หน้าที่ท่ีได้รบั มอบหมายการปฏิบตั ิงาน

1. งานฝ่ายวชิ าการโรงเรยี น
๒. งานโครงการพระราชดารฯิ
๓. งานทนุ การศกึ ษานกั เรยี น
๔. งานอ่นื ๆ

ด้านการเรียนการสอน ด้านท่ี


1. วชิ าภาษาไทยระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ -

๒. วชิ าภาษาองั กฤษระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ -

๓. คาพน้ื ฐานของนกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี
๔๖. วชิ าสขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษานกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี

๕. วชิ าศลิ ปะ-ดนตรนี กั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖

๖. หน้าทพ่ี ลเมอื งนกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖

งานฝ่ ายวิชาการโรงเรียน

สายงานวิชาการโรงเรียน

งานวชิ าการโรงเรยี นตารวจตระเวนชายบ้านควนตะแบกมี
นโยบายการพัฒนาทางด้านการเรียนการสอนโดยยึดหลักให้
นักเรียนมีความรู้ความสามารถตามตัวช้ีวัดของมาตรฐานของ
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารทก่ี าหนดและสอดแทรกหลกั สตู รทอ้ งถน่ิ เพอ่ื ให้
นกั เรยี นมคี วามเขา้ ใจในทอ้ งถน่ิ ของตนเอง

แผนการปฏบิ ตั งิ านฝ่ายวชิ าการเพอ่ื ใหเ้ กดิ ศกั ยภาพดา้ น
การศกึ ษาในการพฒั นารปู แบบการบรหิ ารจดั การในโครงสรา้ ง
PDCA
P-Plan คอื การวางแผน
D-DO คอื การปฏบิ ตั ติ ามแผน
C-Check คอื การตรวจสอบ
A-Act คอื การปรบั ปรงุ การดาเนินการ

ประชมุ วางแผนการดาเนินงานโครงการส่งเสริม ด้านท่ี
ศกั ยภาพทางการศึกษาด้านวินัยในนักเรียนทกุ ฝ่ าย ๓

ทีมงาน กสศ.รว่ มทาโครงการพัฒนาศกั ยภาพครู
ตชด.บา้ นควนตะแบกตามโครงการสร้างวินัในการเรยี นสง่ เสริมผลสัมฤทธ์ิ

โครงการส่งเสริมศกั ยภาพครแู ละส่งเสริมวินัยใน ด้านท่ี

นักเรียน
คณะทางานวางแผนการดาเนิ นโครงการ

ทมี งาน กสศ.ร่วมทาโครงการพัฒนาศักยภาพครู
ตชด.บา้ นควนตะแบกตามโครงการสร้างวนิ ใั นการเรียนส่งเสริมผลสัมฤทธ์ิ

โครงการส่งเสริมศกั ยภาพครแู ละส่งเสริมวินัยใน ด้านท่ี

นักเรียน
คณะทางานวางแผนการดาเนิ นโครงการ

กิจกรรมการเรียนการสอน รปู แบบ On site ด้านที่


กิจกรรมการเรียนการสอนแบบ on site ด้านที่


กิจกรรมการเรียนการสอน ด้านท่ี


กจิ กรรมการเรียนการสอนแบบ On site เนน้ ผูเ้ รียนเปน็ สาคัญ

กิจกรรพฒั นาผเู้ รียน ด้านที่


กจิ กรรมส่งเสรมิ พฒั นาผเู้ รยี นฝึกการมีระเบยี บวนิ ยั การ
ดูแลรักษาทรัพยากร และการรับผดิ ชอบต่อสังคม

กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนเสริมทกั ษะชีวิต ด้านที่


กิจกรรมส่งเสริมการมีระเบยี บ ด้านที่
วินัย ๓

การสง่ เสริมกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียนสง่ เสรมิ ความมีวินยั และภาวะผนู้ าท่ดี ี

กิจกรรมมีระเบยี บวินัยใน ด้านที่
ห้องเรียน ๓

การสง่ เสริมกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียนส่งเสรมิ ความมีวินยั และภาวะผนู้ าท่ดี ี

กิจกรรมส่งเสริมสมาธินาปัญญา ด้านที่


การสง่ เสริมกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียนสง่ เสรมิ ความมวี นิ ยั และภาวะผนู้ าท่ดี ี

กิจกรรมการสรา้ งผ้นู าต้นแบบในการมีวินัยในการ ด้านที่
เรียน ๓

การส่งเสรมิ กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี นสง่ เสริมความมวี ินัยและภาวะผ้นู าท่ดี ี

กิจกรรมส่งเสริมสรา้ งวินัยใน
นักเรียน

กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาผเู้ รียนใหเ้ กิดความมวี นิ ัยภาวะผู้นาและผู้ตามท่ีดี

กิจกรรมจิตอาสาบาเพญ็
ประโยชน์

การสง่ เสรมิ กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี นความมวี นิ ยั
ในการบาเพญ็ ประโยชนต์ ่อสงั คม

ส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน

กจิ กรรมการเลอื กประธานนกั เรียนสง่ เสริมการมีประชาธิปไตยใน
โรงเรียนเพื่อสรา้ งวนิ ยั ในการรับผิดชอบตอ่ สังคมในอนาคต

ส่งเสริมคณุ ธรรมตามแบบโรงเรียนวิถี
พทุ ธ

กจิ กรรมสรา้ งแบบอยา่ งทดี่ หี นนุ เสริมคณุ ธรรมจรยิ ธรรมให้เกิดขน้ึ ในโรงเรยี น
“แบบอยา่ งทดี่ ีมีค่ามากกวา่ คาสอน” ผ่านการปฏบิ ตั จิ ริงและนาไปใชไ้ ด้

ส่งเสริมคณุ ธรรมตามแบบโรงเรียนวิถี
พทุ ธ

กจิ กรรมสร้างแบบอยา่ งที่ดหี นุนเสริมคุณธรรมจริยธรรมให้เกิดขน้ึ ในโรงเรยี น
“แบบอย่างท่ดี ีมคี ่ามากกว่าคาสอน” ผา่ นการปฏิบตั จิ ริงและนาไปใชไ้ ด้

กิจกรรมส่งเสริมศกั ยภาพด้าน
กีฬา

กจิ กรรมส่งเสริมความเปน็ เลิศทางดา้ นต่างๆ เชน่ ด้านกีฬา ท้งั การแขง่ ขนั
ระดับภาค และระดบั ชมุ ชน เพ่อื ให้นักเรยี นมีรา่ งกายแขง็ แรง

กิจกรรมส่งเสริมศกั ยภาพด้าน
กีฬา

กจิ กรรมส่งเสริมความเปน็ เลิศทางดา้ นต่างๆ เชน่ ด้านกีฬา ท้งั การแขง่ ขนั
ระดับภาค และระดบั ชมุ ชน เพ่อื ให้นักเรยี นมีรา่ งกายแขง็ แรง

ด้านการผลิตสื่อประกอบการสอน

1.วตั ถปุ ระสงค์
1. เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นเกดิ ทกั ษะความสามารถในการวเิ คราะหใ์ นเรอ่ื งทส่ี อนอยา่ ง

มปี ระสทิ ธภิ าพ
๒. เพอ่ื สนบั สนุนการเรยี นการสอนของครใู หม้ ปี ระสทิ ธภิ าพยกระดบั คุณภาพ

การศกึ ษา
๓. เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นมสี ว่ นรว่ มในการเรยี นรแู้ บบ ( Active learning by doing )

๒.เป้ าหมาย
๔.1เชิงปริมาณ
1.รอ้ ยละ 9๕ ของผเู้ รยี นมคี วามรคู้ วามสนใจในสอ่ื ทค่ี รใู ชส้ อนไดเ้ ป็นอยา่ ง

ดี
๒.รอ้ ยละ 9๕ ครใู ชส้ อ่ื ในการประกอบการเรยี นการสอนในหอ้ งเรยี น

๔.๒ เชิงคณุ ภาพ
1.รอ้ ยละ 90 ของผเู้ รยี นมคี วามเขา้ ใจในเน้อื หามากยง่ิ ขน้ึ ในการใชส้ อ่ื

ประกอบการเรยี นการสอน
๒.รอ้ ยละ 90 ของผเู้ รยี นมคี วามกระตอื รอื รน้ ในการเรยี นการสอนเม่อื มสี อ่ื

ประกอบการสอนของครู

การส่งเสริมด้านการเรียนการสอน

สื่อการเรียนการสอน ด้านท่ี


ส่ือการสอนเพ่ือให้ครใู ช้ในการจดั การเรียนการสอน
แก้ไขปัญหาอ่านไม่ออก – เขียนไมค่ ล่อง

การวดั และประเมินผลทางวิชาการ

ผลการการปฏิบตั ิงานด้าน ด้านท่ี
วิชาการ ๓

การส่งเสริมด้านการเรียนการสอน

ส่ือการเรียนการสอน ด้านที่


การสรา้ งส่ือการเรียนการสอนการท่ีครใู ช้สอน
เพื่อแก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออกเขียนไมค่ ล่อง


Click to View FlipBook Version