โรงเรียนพระนารายณ์ ได้เปิดทำการเรียนการสอนมาเป็นระยะเวลาสี่สิบกว่าปี ตั้งแต่ก่อตั้งโรงเรียนจนถึง ปีการศึกษา 2566 มีนักเรียนสำเร็จการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 42 รุ่น และระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 6 จำนวน 24 รุ่น ซึ่งแสดงว่าผู้ปกครองนักเรียนได้ให้ความไว้วางใจส่งบุตรหลานในความปกครองเข้าเรียนอย่าง ต่อเนื่องมาโดยตลอด สิ่งที่ผู้ปกครองทุกท่านมุ่งหวัง คือ ให้บุตรหลานมีความรู้ มีความสามารถ และมีประสบการณ์ ต่อยอดความสำเร็จในชีวิต ในปีการศึกษาที่ผ่านมา โรงเรียนพระนารายณ์ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลนักเรียน ผู้ปกครอง ครู และบุคลากรทางการศึกษา และมีมาตรการป้องกันการระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) มีการส่งเสริมพัฒนาการศึกษาของนักเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนการสอนที่ใช้สื่อและเทคโนโลยีประกอบการเรียนรู้ ของนักเรียนให้ก้าวไกล ทันยุคสมัย ส่งเสริมให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันทักษะและแสดงความสามารถทาง วิชาการและความสามารถพิเศษทุกครั้งที่มีโอกาส ผนวกกับความทุ่มเทแรงกายและแรงใจของบุคลากรภายในโรงเรียน จึงทำให้ปรากฏผลความสำเร็จของนักเรียนเป็นที่น่าชื่นชมของผู้ปกครอง ชุมชนและองค์กรภายนอก มีการบริหารงาน แบบกระจายอำนาจภายในโรงเรียน จึงทำให้การทำงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีประสิทธิภาพ มากขึ้น รวมถึงการพัฒนาโรงเรียนโดยมีชุมชนและหน่วยงานภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมด้วย ขอขอบคุณผู้ปกครองทุกท่านที่ให้ความไว้วางใจต่อคณะผู้บริหาร ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ของโรงเรียนพระนารายณ์เป็นผู้เตรียมความพร้อมให้บุตรหลานหรือนักเรียนในความปกครองของท่าน ก้าวสู่อนาคต ที่สดใส ขอขอบคุณคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการสมาคมผู้ปกครองและครู คณะกรรมการ สมาคมศิษย์เก่า ผู้ปกครอง ชุมชน องค์กรภาครัฐและภาคเอกชน ที่ให้การส่งเสริม สนับสนุนและให้กําลังใจแก่คณะครู และบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนในการปฏิบัติงานจนประสบความสำเร็จ ตามเป้าหมายของโรงเรียนทุกประการ จึงสร้างความเชื่อมั่นว่าโรงเรียนจะเจริญก้าวหน้าไปได้อย่างมั่นคง ( นายวีระวัฒน์ วัฒนา ) ผู้อำนวยการโรงเรียนพระนารายณ์ คํานํา
แผนผังโรงเรียนพระนารายณ์..................................................................................................... .. 1 ข้อมูลทั่วไปของโรงเรียนพระนารายณ์......................................................................................... 2 ประวัติโรงเรียนพระนารายณ์.................................................................................................... ... 2 - 5 เครื่องแบบนักเรียนโรงเรียนพระนารายณ์.................................................................................... 6 -10 กลุ่มบริหารงานบุคคล.................................................................................................................. 11 โครงสร้างการบริหารโรงเรียน ปีการศึกษา 2567 12 ข้อมูลข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ปีการศึกษา 2567 13 - 20 กลุ่มบริหารวิชาการ...................................................................................................................... 21 โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนพระนารายณ์ ปีการศึกษา 2567 22 - 39 แนวปฏิบัติงานทะเบียนวัดผล 40 - 41 กลุ่มบริหารกิจการนักเรียน.......................................................................................................... 42 ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษา พ.ศ. 2548 43 – 44 กฎกระทรวง กำหนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษา พ.ศ. 2548 45 ระเบียบโรงเรียนพระนารายณ์ ว่าด้วยวินัยและพฤติกรรมนักเรียน 46 ระเบียบโรงเรียนพระนารายณ์ ว่าด้วยการไว้ทรงผมของนักเรียน พ.ศ. 2566 47 หมวดที่ 1 นักเรียน 48 หมวดที่ 2 ลักษณะความผิด 49 หมวดที่ 3 เกณฑ์การตัดคะแนนความประพฤติ 50 – 53 หมวดที่ 4 แนวทางการบันทึกความดีหรือเกียรติคุณของนักเรียนโรงเรียนพระนารายณ์ 54 หมวดที่ 5 ระเบียบการแต่งกายและทรงผม 55 – 58 หมวดที่ 6 การเข้าร่วมกิจกรรม 59 คำสั่งโรงเรียนพระนารายณ์ ที่ 152/2567 เรื่อง แต่งตั้งครูที่ปรึกษาประจำชั้นนักเรียน 60 – 64 การใช้บัตรประจําตัวนักเรียนโรงเรียนพระนารายณ์ 65 กลุ่มบริหารทั่วไป.......................................................................................................................... 66 งานอนามัยโรงเรียน 67 งานโภชนาการโรงเรียน 68 งานอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม 69 งานธนาคารโรงเรียน 70 งานประชาสัมพันธ์โรงเรียน 71 - 72 เพลงมาร์ชพระนารายณ์ และเพลงลูกพระนารายณ์..................................................................... 73 สารบัญ
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๒ ชื่อโรงเรียน โรงเรียนพระนารายณ์ สถานที่ตั้ง เลขที่ 83 หมู่ 8 ถนนเฉลิมพระเกียรติ ตำบลท่าศาลา อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี รหัสไปรษณีย์ 15000 รูปพระนารายณ์สี่กร ล้อมรอบด้วยช่อชัยพฤกษ์มงกุฎเปล่งรัศมีอยู่เบื้องบน ชื่อโรงเรียนอยู่ด้านล่าง สีประจำโรงเรียน น้ำเงิน-ขาว อักษรย่อ พ.น.ร. คําขวัญ วินัย เพียร น้ำใจ เรียบร้อย คติพจน์ สติ โลกสม ชาคโร “สติเป็นเครื่องทำให้ตื่นในโลก” หมายเลขโทรศัพท์โรงเรียนพระนารายณ์ 0-3641-3111 เว็บไซต์โรงเรียน www.pranarai.ac.th E-mail [email protected] วันสถาปนาโรงเรียน 8 กุมภาพันธ์ 2523 “โรงเรียนพระนารายณ์” เป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ของ กรมสามัญศึกษา กระทรวง ศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ตำบลท่าศาลา อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี ห่างจากศาลากลางจังหวัดลพบุรี ออกไป ตามเส้นทางถนนพหลโยธิน ประมาณ 3 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 56 ไร่ 3 งาน 26 ตารางวา ข้อมูลทั่วไปของโรงเรียนพระนารายณ์ เครื่องหมายประจำโรงเรียน ประวัติโรงเรียนพระนารายณ์
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๓ ผู้ก่อตั้งโรงเรียนคือ นายชงค์ วงษ์ขันธ์ และนายสุพจน์ วัฒนประดิษฐ์ ต่อมา นายเจริญ เจริญทรัพย์, พันเอก (พิเศษ) วิเชียร อ่อนนุช, นายประวัติ (ย้ง) งามพันธุ์ดิศร และคณะกรรมการชุดหนึ่ง ดำเนินการจัดหา ซื้อที่ดินในท้องที่ตำบลท่าศาลา อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี ซึ่งเป็นที่ตั้งของโรงเรียนในปัจจุบัน ต่อมา นายโชดก วีรธรรมพูลสวัสดิ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดลพบุรี ได้ยื่นเรื่องขอจัดตั้งโรงเรียน ต่อกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งตอนแรกใช้ชื่อว่า “โรงเรียนพิบูล 2” แต่ทางคณะกรรมการ เห็นว่าควรใช้ชื่อเดิมของโรงเรียนประจำจังหวัด ของลพบุรีจึงได้ขอตั้งชื่อโรงเรียน ไปยังกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ และได้ประกาศจัดตั้งโรงเรียนขึ้น เมื่อ วันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2523 และใช้ชื่อว่า “โรงเรียนพระนารายณ์” หลังจากนั้นได้มีการก่อสร้างอาคารเรียนชั่วคราวหลังคามุงแฝก จำนวน 5 ห้องเรียน ทำถนนหินลูกรัง ถมที่และปรับปรุงพื้นที่ สร้างอาคารเรียน ชั่วคราว 20 ห้อง บ้านพักครู 3 หลัง ห้องน้ำ - ห้องส้วม 2 หลัง ตลอดจน มีผู้บริจาคสมทบอีกเป็นจำนวนมาก ในปี พ.ศ. 2524 โรงเรียนได้รับงบประมาณจากกรมสามัญศึกษาก่อสร้าง อาคารเรียน 318 ค จำนวน 2 หลัง อาคารโรงฝึกงาน 2 ยูนิต บ้านพักครู 1 หลัง ห้องน้ำ - ห้องส้วม 2 หลัง และอาคารเรียนชั่วคราว 18 ห้องเรียน อีกทั้งยังได้รับเงินบริจาคจากผู้ปกครองนักเรียนและผู้มีจิตศรัทธาจำนวนหนึ่ง จึงสามารถสร้างอาคารเรียนได้สำเร็จ และรับนักเรียนเข้าเรียนได้จำนวน 40 ห้องเรียน ปี พ.ศ. 2525 จำนวนนักเรียนมีเพิ่มขึ้นถึง 2,984 คน ซึ่งต้องใช้ห้องเรียน ทั้งหมด จำนวน 60 ห้องเรียน โรงเรียนได้รับงบประมาณจากกรมสามัญศึกษา สร้างอาคารเรียน 318 ค อีก 1 หลัง โรงฝึกงาน 1 ยูนิต บ้านพัก ครู 1 หลัง บ้านพักภารโรง 1 หลัง ห้องน้ำ - ห้องส้วม 1 หลัง และได้รับบริจาคเป็นวัสดุ สร้างสนามบาสเก็ตบอล จาก นายพีรศักดิ์ ศิริพานิชกร เป็นเงิน 100,000 บาท นอกจากนี้ยังมีคณะครู อาจารย์นักเรียน ผู้ปกครอง และ ผู้มีจิตศรัทธาร่วมกันบริจาคสร้างศาลาร่วมใจอีก 1 หลัง ราคาประมาณ 200,000 บาท ปี พ.ศ. 2529 โรงเรียนพระนารายณ์ สมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนพระนารายณ์ กลุ่ม ส.ว.น.พ. และ ผู้มีจิตศรัทธา ได้ร่วมกันสร้างหอพระพุทธรูป ประจำโรงเรียน เพื่อเป็นการสนองนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ที่ต้องการ ให้มีพระพุทธรูปประจำสถานศึกษาและเพื่อเฉลิมฉลองในวโรกาสมหามงคลสมัยที่พระบาทสมเด็จ พระปรมินทร์มหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเจริญพระชนมพรรษา ครบ 5 รอบ ได้รับเงินบริจาคเป็นค่าก่อสร้างทั้งสิ้น 178,250 บาท โดยตั้งชื่อหอพระนี้ว่า “หอพุทธนวมินทร์” ปี พ.ศ. 2531 สร้างอาคารเรียน 316 หลัง เพิ่มอีก 1 หลัง งบประมาณ 4,540,000 บาท ปี พ.ศ. 2533 สร้างโรงฝึกงานเพิ่มอีก 1 หลัง ปี พ.ศ. 2535 สร้างบ้านพักผู้บริหาร 1 หลัง บ้านพักภารโรง 1 หลัง งบประมาณ 584,000 บาท ปี พ.ศ. 2536 สร้างบ้านพักภารโรง 1 หลัง ในวงเงิน 121,000 บาท และ สร้างลู่วิ่งมาตรฐาน ในวงเงิน 500,000 บาท ปี พ.ศ. 2541 โรงเรียนพระนารายณ์ได้เปิดทำการสอนในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย โดยเริ่มรับ ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 2 ห้องเรียน ปี พ.ศ. 2547 เปิดสอนแผนการเรียนภาษาอังกฤษเป็นสื่อ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 1 ห้องเรียน และโรงเรียนได้รับรางวัลโรงเรียนพระราชทาน ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๔ ปี พ.ศ. 2548 เปิดสอนแผนการเรียนคณิตศาสตร์ ภาษาไทย มุ่งสู่เตรียมทหาร ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปี พ.ศ. 2553 ได้เข้าร่วมในโครงการเรียนมาตรฐานสากล (World - Class Standard School) ปี พ.ศ. 2560 ได้รับรางวัลคุณภาพแห่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน (OBECOA) ปี พ.ศ. 2564 ได้รับรางวัลโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ระดับ 4 ดาว ปัจจุบันโรงเรียนพระนารายณ์จัดการเรียนการสอน ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีพุทธศักราช 2551 เป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) เป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล ผ่านการรับรองรางวัล OBECQA Awards เมื่อปี พ.ศ. 2560 จัดชั้นเรียนตามแผนการจัดการเรียน มัธยมศึกษา ปีที่ 1 จำนวน 14 ห้อง, มัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 14 ห้อง, มัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 14 ห้อง, มัธยมศึกษา ปีที่ 4 จำนวน 10 ห้อง, มัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 10 ห้อง และมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 10 ห้อง ผู้บริหาร 5 คน ข้าราชการครู 127 คน ลูกจ้างประจำ 2 คน และบุคลากรทางการศึกษา 30 คน ด้วยความสามารถในการบริหารงานของฝ่ายบริหารงาน และความตั้งใจ ในการสอนและตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ อย่างเต็มความสามารถของคณะครู และบุคลากรทุกฝ่ายในโรงเรียน ความร่วมมือในการสนับสนุนแก่โรงเรียน ในด้านต่าง ๆ ของผู้ปกครองและชุมชน ทั้งในอดีตและปัจจุบัน ทำให้โรงเรียนมีความเจริญก้าวหน้า มีชื่อเสียง ได้รับการคัดเลือกจากกระทรวงศึกษาธิการให้เป็นโรงเรียนดีเด่น ระดับมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ได้รับรางวัลโรงเรียน พระราชทานในปี พ.ศ. 2547 นับว่าโรงเรียนพระนารายณ์ เป็นสถาบันการศึกษาที่มีความสำคัญของจังหวัดลพบุรี เป็นที่ยอมรับของชาวลพบุรี และชุมชนโดยทั่วไป “โรงเรียนคุณภาพชั้นนํา ก้าวทันเทคโนโลยี มีความรู้คู่คุณธรรม น้อมนําหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สู่วิถีใหม่อย่างอย่างยั่งยืน” 1. จัดการศึกษาที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม และ ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการเรียนรู้ บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. ส่งเสริมและพัฒนาครูให้มีการจัดการเรียนการสอนอย่างหลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 3. ส่งเสริมและพัฒนาการบริหารจัดการศึกษาอย่างเป็นระบบด้วยเทคโนโลยีอย่างมีคุณภาพ ตามหลักธรรมาภิบาล 4. ส่งเสริมและพัฒนาสิ่งแวดล้อมให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพ เอื้อต่อการเรียนรู้และมีความปลอดภัย ในสถานศึกษา 5. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ และเทคโนโลยีดิจิทัล สู่ความเป็นเลิศทางวิชาการอย่างยั่งยืน วิสัยทัศน์ พันธกิจ (MISSION)
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๕ 1. ผู้เรียนมีคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม และใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการเรียนรู้ บนพื้นฐานหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง 2. ครูจัดการเรียนการสอนอย่างหลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 3. โรงเรียนมีการบริหารจัดการศึกษาอย่างเป็นระบบด้วยเทคโนโลยีอย่างมีคุณภาพตามหลักธรรมาภิบาล 4. โรงเรียนใช้สิ่งแวดล้อมให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพ เอื้อต่อการเรียนรู้ และมีความปลอดภัย ในสถานศึกษา 5. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ และเทคโนโลยีดิจิทัล สู่ความเป็นเลิศทางวิชาการอย่างยั่งยืน ลูกพระนารายณ์ ซื่อสัตย์ มีวินัย น้ำใจงาม คุณธรรมเด่น เน้นวิชาการ เป้าประสงค์ (GOAL) อัตลักษณ์ของสถานศึกษา เอกลักษณ์ของสถานศึกษา
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๖
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๗
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๘
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๙
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๑๐
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๑๒ โครงสร้างการบริหารโรงเรียนพระนารายณ์ - สมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนพระนารายณ์ - สมาคมศิษย์เก่าโรงเรียนพระนารายณ์ - เครือข่ายผู้ปกครอง ม.ต้น / ม.ปลาย ผู้อำนวยการโรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน รองผู้อำนวยการ กลุ่มบริหารงานบุคคล 1. งานวางแผนอัตรากำลัง สรรหา และบรรจุแต่งตั้ง 2. งานวินัยและการรักษาวินัย ยกย่องเชิดชูเกียรติ 3. งานส่งเสริมประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติงาน 4. งานพัฒนาบุคลากร 5. งานส่งเสริมวิทยฐานะ ของข้าราชการครู 6. งานเวรยามรักษาความปลอดภัย ในสถานศึกษา 7. งานลูกจ้างชั่วคราวชาวไทย และชาวต่างชาติ 8. งานเลขานุการผู้อำนวยการ หัวหน้า กลุ่มบริหารงานบุคคล รองผู้อำนวยการ กลุ่มบริหารงบประมาณ 1. งานแผนงาน 2. งานพัสดุและสินทรัพย์ 3. งานการเงินและบัญชี 4. งานระดมทรัพยากร เพื่อการศึกษา 5. งานระบบควบคุมภายใน และ ITA 6. งานตรวจสอบภายใน 7. งานระบบศูนย์อาหารโรงเรียน 8. งานน้ำดื่มโรงเรียน 9. งานสารสนเทศกลุ่มบริหาร งบประมาณ หัวหน้า กลุ่มบริหารงบประมาณ รองผู้อำนวยการ กลุ่มบริหารกิจการนักเรียน 1. สำนักงานกลุ่มบริหาร กิจการนักเรียน 2. งานระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียน 3. งานส่งเสริมประชาธิปไตย 4. งานส่งเสริมพัฒนาและ แก้ไขพฤติกรรมนักเรียน 5. งานป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติด 6. งานโรงเรียนคุณธรรม 7. งานวินัยจราจรและ ความปลอดภัย 8. งานกิจกรรมพิเศษ 9. งานคณะสี 10. งานระดับชั้น 11. งานเครือข่ายผู้ปกครอง หัวหน้า กลุ่มบริหารกิจการนักเรียน รองผู้อำนวยการ กลุ่มบริหารทั่วไป 1. สำนักงานกลุ่มบริหารทั่วไป 2. งานสารบรรณโรงเรียน 3. งานยานพาหนะ 4. งานโภชนาการ 5. งานอนามัยโรงเรียน 6. งานสวัสดิการโรงเรียน 7. งานนันทนาการ 8. งานประชาสัมพันธ์ 9. งานชุมชนสัมพันธ์ 10. งานอาคารสถานที่ และสิ่งแวดล้อม 11. งานสาธารณูปโภค 12. งานองค์กรสนับสนุน โรงเรียน 13. งานธนาคารโรงเรียน 14. งานโสตทัศนูปกรณ์ 15. งานระบบเครือข่าย หัวหน้า กลุ่มบริหารทั่วไป 1. งานสำนักงานกลุ่มบริหารวิชาการ 2. งานหลักสูตรและการจัดการเรียน การสอน 3. งานห้องโครงการพิเศษ 4. งานโรงเรียนมาตรฐานสากล 5. งานทะเบียนวัดผล 6. งานรับนักเรียน 7. งานวิจัยทางการศึกษา 8. งานประกันคุณภาพการศึกษา 9. งานสารสนเทศโรงเรียน 10. งานนิเทศภายใน 11. งานจัดการเรียนร่วม 12. งานห้องสมุด 13. งานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - งานแนะแนว - ลูกเสือ – เนตรนารี - ชุมนุม - นักศึกษาวิชาทหาร 14. งานสื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ 1๕. กลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระฯ หัวหน้า กลุ่มบริหารวิชาการ รองผู้อำนวยการ กลุ่มบริหารวิชาการ
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๑๓ นายวีระวัฒน์ วัฒนา ผู้อำนวยการโรงเรียน นายภัทร แสงเพ็ง นางวรรณา เวียงแก้ว นางสาวกมลทิพย์ ทองเย็น นางสาวมณธิชา คล้ายแก้ว รองผู้อำนวยการโรงเรียน กลุ่มบริหารกิจการนักเรียน รองผู้อำนวยการโรงเรียน กลุ่มบริหารวิชาการ รองผู้อำนวยการโรงเรียน กลุ่มบริหารทั่วไป รองผู้อำนวยการโรงเรียน กลุ่มงบประมาณ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย นางสาวศิริพร ครองเคหา นางอุรักษ์ สุริยวงษ์ นางนัฏฐนารี เขียวสะอาด นางจริยา คล้ายพรหม นางสาวสมปอง เหมือนวงษ์ ครูชำนาญการ ครูชำนาญการพิเศษ ครูชำนาญการพิเศษ ครูชำนาญการพิเศษ ครูชำนาญการ นางสุภาภรณ์ เตชะไตรภพ นาวสาวสุชาวดี โสพรม นางสาวน้ำทิพย์ แก้วจำลอง นางวรางคณา ภารสงัด นายวีรภัทร พันธ์ชา ครูชำนาญการ ครูชำนาญการ ครูชำนาญการ ครูชำนาญการ ครู นางสาวมาศสุภา เฉยรอด นางสาวณัฐธิดา แก้วชาติ นางสาววาสินี รอดสัมฤทธิ์ ครู ครู ครู คณะผู้บริหารโรงเรียน
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๑๔ งานห้องสมุด นางสาวกนกมณี ดีศิริภากนก นางสาวรำเพย บุตร์ดาเลิศ ครูชำนาญการ ครูชำนาญการ งานแนะแนว นางจาริญา นิลสนธิ นางสาววิภาพร เทียนดี นางสาวพุทธิตา มงคลสาร นางสาวณัฐพัชร หอมมาลา ครูชำนาญการพิเศษ ครูชำนาญการ ครู ครู กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม นายณัฐชา ปั้นลายนาค นางสุธาสินี ขำวารี นางรุ่งทิพย์ วัฒนา นางปุณยธร วุฒิประภา นางสาววิภาพร พลพืช ครูชำนาญการ ครูชำนาญการพิเศษ ครูชำนาญการพิเศษ ครูชำนาญการ ครูชำนาญการ นางกนกวรรณ พงศ์สุวรรณ นางสาวกานติมา ท้วมทอง นายปัถวี มีประเสริฐโชค นางสาวมุทิตา ย่องไทยสง นางพิกุล มีใจเจือ ครูชำนาญการ ครูชำนาญการ ครูชำนาญการ ครูชำนาญการ ครูชำนาญการ
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๑๕ นางสาวชลธิชา แสงอิ่ม นางสาวนภาพร ภุมรินทร์ นายครรชิต แก้วนาค นางสาวแก้วอุษา แสงเขียว นางสาวจันทรวรรณ ท้วมดี ครูชำนาญการ ครูชำนาญการ ครู ครู ครู นายธนบัตร พึ่งอิ่ม ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ นางทัศน์วรรณ พูลเพิ่ม นายเกียรติพล กองสุทธิ์ใจ นางประภาพร วารีนิล นางสาวแสงระวี สาระพันธ์ นางสาวสิชา มีภักดี ครูชำนาญการพิเศษ ครูชำนาญการพิเศษ ครูชำนาญการพิเศษ ครู ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา นางสาวพิชชาพร พุ่มมาก นางกุลนรี วายุเหือด นายวิศรุต สว่างศรี นายฆโนทัย บ่วงเพ็ชร นายสุจิตต์ กล่อมปัญญา ครูชำนาญการ ครูชำนาญการพิเศษ ครูชำนาญการ ครูชำนาญการ ครูชำนาญการ นางสาวศตกมล ศรีอะภัย นางสาวกาญจน์ทิพา ศรีสุคนธมิตร นางสาวชญานิษฐ์ ทองมีศรี นางสาวมาริษา สิริวัฒนานนท์ ครู ครู ครู ครู
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๑๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ นางพิกุล บุญแก้ว นายพัลลภ ทองหล่อ นางสาววนิดา ปานโต นางกรกนก หาญไชยนะ นางสาวฉัตรธิดา ชัยโพธิ์ศรี ครูชำนาญการ ครูชำนาญการพิเศษ ครูชำนาญการพิเศษ ครูชำนาญการพิเศษ ครูชำนาญการพิเศษ นางสาวกันธิชา เพชรดี นางกาญจนา เหลาหอม นางพัสวี สละชีพ นางสาวทิพวรรณ สายโย นายณรงค์ศักดิ์ หงษ์ตะนุ ครูชำนาญการพิเศษ ครูชำนาญการพิเศษ ครูชำนาญการพิเศษ ครูชำนาญการ ครูชำนาญการ นางสาวธิดารัตน์ คำพุฒ นายพงศ์เทพ ทองพรม นางสาวชนิศกาญจน์ มั่นคง นางสาวปิยะดา บุญประดิษฐ์ นางสาววิรัชยา กัณหา ครูชำนาญการ ครูชำนาญการ ครูชำนาญการ ครูชำนาญการ ครู นางสาวรุ่งนภา นิ่มตลุง นายพงษ์สิทธิ์ สวนศรี นายสถาพร พฤกรัตน์ นายเอกชัย เปรมปราคิน นางสาวจิราพร หมอบอก ครู ครู ครู ครู ครู นางสาวสาธิกา เสมากูล ครู
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๑๗ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี นางทิศนา เหมือนวงศ์ นางสาวยุพยงค์กลั่นประเสริฐ นางสุขสวัสดิ์ บุญยโรจน์ นางสาววีณาวรรณ จันทขันธ์ นางศิริรัตน์ ทองนอก ครูชำนาญการพิเศษ ครูชำนาญการพิเศษ ครูชำนาญการพิเศษ ครูชำนาญการพิเศษ ครูชำนาญการพิเศษ นางสาวธรณ์ภัคอร กรอบทอง นางกฤติยา ขจรมา นางอุไรรัตน์ สีบำรุงสาสน์ นางสาวเพชรรัตน์ อภัยภักดิ์ ครูชำนาญการพิเศษ ครูชำนาญการพิเศษ ครูชำนาญการ ครูชำนาญการ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ นางสาวนงลักษณ์ ทองสุข นางณัฐยา ไทยนิยม นางนวนมณี วงษ์เทียน นางสาวพิชญา เกตุสกุล นายชุมพล เพ็งอินทร์ ครูชำนาญการพิเศษ ครูชำนาญการพิเศษ ครูชำนาญการพิเศษ ครูชำนาญการพิเศษ ครูชำนาญการพิเศษ นางทิพย์วรรณ สุวรรณี นางนันท์นภัสศ์ วงษ์มณี นางสาวปทิตตา เพ็งเที่ยง นางสาวมณีรัตน์ ยาบุญ นางอารีรัตน์ เรียบเรียง ครูชำนาญการพิเศษ ครูชำนาญการพิเศษ ครูชำนาญการ ครูชำนาญการ ครูชำนาญการ
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๑๘ นางสาวนันทนา ปาโสม นางสาวกัลยา จันทา นางสาวเบญจวรรณ สีดาหวีด นางสาวปาริชาติ อุปรี นางสาวอรชา อาจสามารถศิริ ครู ครู ครู ครู ครู นายปิยวัฒน์ ประคองพวก นางสาวอาภาภรณ์ นาคทองดี ครู ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ นางกุลรัศมิ์ ปิ่นนาค นางพนิจาภรณ์ สวัสดิโรจน์ นางสาวชัญปภา แจ้งพร้อม นางชนม์ชนก โสดากุล นางสาวอภิชาดา โฆษิตวานิช ครูชำนาญการพิเศษ ครูชำนาญการพิเศษ ครูชำนาญการพิเศษ ครูชำนาญการพิเศษ ครูชำนาญการพิเศษ นางสาวณปภัช รุจิระกุล นางสาวนันทวัน จันทรสิทธิ์ นางอาภรณ์ศิริ สุริยะโวหาร นางสาวหทัยรัก อังกาบศรี นางสาวอรวรรณ์ ธรรมสระ ครูชำนาญการพิเศษ ครูชำนาญการ ครูชำนาญการ ครูชำนาญการ ครูชำนาญการ นางสาวจีรนันท์ แก่นเสา นางสาวศิริอร พรผุดผ่อง นางสาวกุลฉัตร รัตนสุวรรณ นางสาวมริสรา เทียนชัย นางสาวกมลทิพย์ ม้วนทอง ครูชำนาญการ ครูชำนาญการ ครูชำนาญการ ครู ครู
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๑๙ นายสันติภูมิ กัณหา นางสาวฐิติรัตน์ พูนทรัพย์ นางสาวภัทรมน แก้วกระจ่าง ครู ครู ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปศึกษา นางสาวสุรัชนา จาดจีน นางสมลักษณ์ โตยิ่ง นางสาวพนิดา ทัตตะทองคำ นายอนุพงษ์ ยินดีรมย์ นายชัชวาล เวชสุวรรณ ครูชำนาญการ ครูชำนาญการพิเศษ ครูชำนาญการพิเศษ ครูชำนาญการ ครูชำนาญการ นายจิรานุวัฒน์ นาประสิทธิ์ นางสาวชลธิชา เอื้ออารีราษฎร์ ครู ครู ครู นักวิชาการเงินและบัญชี นางสาวบุษยา กิ่งสำโรง นักวิชาการเงินและบัญชี
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๒๐ เจ้าหน้าที่สำนักงาน นางกนกศิลป์ สืบสุข นางสาวรติยา สิงห์โต นางสาวอรอุมา ชินโคกสูง นางสาวนันท์นภัส ขอสุข นางปุณญิสา ศรีชมภู เจ้าหน้าที่ธุรการ เจ้าหน้าที่ ห้องพิการเรียนร่วม เจ้าหน้าที่การเงิน เจ้าหน้าที่สำนักงาน กลุ่มบริหารกิจการนักเรียน เจ้าหน้าที่สำนักงาน กลุ่มบริหารวิชการ นางสาวณัฐธิดา รักษาพล นางเจนจิรา วงษ์ครุฑ นางสาวปิยวรรณ กลิ่นเผือก นายนิรุตต์ ปานฉิม นายธนผล พาณิชย์พิสิฐพงษ์ เจ้าหน้าที่ โสตและเทคโนโลยี เจ้าหน้าที่ ห้องพยาบาล เจ้าหน้าที่การเงิน เจ้าหน้าที่ สื่อและสิ่งพิมพ์ ครูอัตราจ้าง นางสาวทิพย์พารัตน์ แย้มวงษ์ นายณภัทร สันติวงศ์ เจ้าหน้าที่พัสดุ เจ้าหน้าที่ทะเบียนวัดผล
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๒๒ โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนพระนารายณ์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น แผนการเรียนโครงการพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ รายวิชา เวลาเรียน (ชั่วโมง) ม.1 ม.2 ม.3 รายวิชาพื้นฐาน 880 (22 นก.) 880 (22 นก.) 880 (22 นก.) ภาษาไทย 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) คณิตศาสตร์ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) สุขศึกษาและพลศึกษา 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) ศิลปะ 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) การงานอาชีพ 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) รายวิชาเพิ่มเติม/กิจกรรมที่สถานศึกษา จัดเพิ่มเติมตามความพร้อมและจุดเน้น 320 (8 นก.) 360 (9 นก.) 320 (8 นก.) คณิตศาสตร์ 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) ภาษาต่างประเทศ 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) ภาษาไทย 40 (1 นก.) ห้องสมุดและการค้นคว้า 40 (1 นก.) การศึกษาค้นคว้าอิสระ 80 (2 นก.) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 120 120 กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 ลูกเสือ-เนตรนารี 40 40 40 ชุมนุม 40 40 40 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 15 15 15 รวมเวลาเรียนทั้งหมดตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 3,600 ชั่วโมง
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๒๓ โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนพระนารายณ์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น แผนการเรียนโครงการพิเศษ ภาษาอังกฤษ รายวิชา เวลาเรียน (ชั่วโมง) ม.1 ม.2 ม.3 รายวิชาพื้นฐาน 880 (22 นก.) 880 (22 นก.) 880 (22 นก.) ภาษาไทย 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) คณิตศาสตร์ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) สุขศึกษาและพลศึกษา 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) ศิลปะ 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) การงานอาชีพ 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) รายวิชาเพิ่มเติม/กิจกรรมที่สถานศึกษา จัดเพิ่มเติมตามความพร้อมและจุดเน้น 320 (8 นก.) 360 (9 นก.) 320 (8 นก.) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) ภาษาต่างประเทศ 240 (6 นก.) 240 (6 นก.) 240 (6 นก.) ภาษาไทย 40 (1 นก.) ห้องสมุดและการค้นคว้า 40 (1 นก.) การศึกษาค้นคว้าอิสระ 80 (2 นก.) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 120 120 กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 ลูกเสือ-เนตรนารี 40 40 40 ชุมนุม 40 40 40 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 15 15 15 รวมเวลาเรียนทั้งหมดตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 3,600 ชั่วโมง
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๒๔ โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนพระนารายณ์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น แผนการเรียนวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ รายวิชา เวลาเรียน (ชั่วโมง) ม.1 ม.2 ม.3 รายวิชาพื้นฐาน 880 (22 นก.) 880 (22 นก.) 880 (22 นก.) ภาษาไทย 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) คณิตศาสตร์ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) สุขศึกษาและพลศึกษา 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) ศิลปะ 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) การงานอาชีพ 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) รายวิชาเพิ่มเติม/กิจกรรมที่สถานศึกษา จัดเพิ่มเติมตามความพร้อมและจุดเน้น 320 (8 นก.) 360 (9 นก.) 320 (8 นก.) คณิตศาสตร์ 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) ภาษาต่างประเทศ 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) ภาษาไทย 40 (1 นก.) ห้องสมุดและการค้นคว้า 40 (1 นก.) การศึกษาค้นคว้าอิสระ 80 (2 นก.) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 120 120 กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 ลูกเสือ-เนตรนารี 40 40 40 ชุมนุม 40 40 40 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 15 15 15 รวมเวลาเรียนทั้งหมดตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 3,600 ชั่วโมง
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๒๕ โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนพระนารายณ์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น แผนการเรียน ภาษาอังกฤษ รายวิชา เวลาเรียน (ชั่วโมง) ม.1 ม.2 ม.3 รายวิชาพื้นฐาน 880 (22 นก.) 880 (22 นก.) 880 (22 นก.) ภาษาไทย 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) คณิตศาสตร์ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) สุขศึกษาและพลศึกษา 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) ศิลปะ 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) การงานอาชีพ 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) รายวิชาเพิ่มเติม/กิจกรรมที่สถานศึกษา จัดเพิ่มเติมตามความพร้อมและจุดเน้น 320 (8 นก.) 360 (9 นก.) 320 (8 นก.) คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) ภาษาต่างประเทศ 240 (6 นก.) 240 (6 นก.) 240 (6 นก.) ภาษาไทย 40 (1 นก.) ห้องสมุดและการค้นคว้า 40 (1 นก.) การศึกษาค้นคว้าอิสระ 80 (2 นก.) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 120 120 กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 ลูกเสือ-เนตรนารี 40 40 40 ชุมนุม 40 40 40 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 15 15 15 รวมเวลาเรียนทั้งหมดตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 3,600 ชั่วโมง
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๒๖ โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนพระนารายณ์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น แผนการเรียน ทั่วไป รายวิชา เวลาเรียน (ชั่วโมง) ม.1 ม.2 ม.3 รายวิชาพื้นฐาน 880 (22 นก.) 880 (22 นก.) 880 (22 นก.) ภาษาไทย 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) คณิตศาสตร์ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) สุขศึกษาและพลศึกษา 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) ศิลปะ 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) การงานอาชีพ 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) รายวิชาเพิ่มเติม/กิจกรรมที่สถานศึกษา จัดเพิ่มเติมตามความพร้อมและจุดเน้น 320 (8 นก.) 360 (9 นก.) 320 (8 นก.) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) ภาษาต่างประเทศ 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) ภาษาไทย 40 (1 นก.) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 40 (1 นก.) การงานอาชีพ 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) ศิลปะ 40 (1 นก.) 80 (2 นก.) สุขศึกษาและพลศึกษา 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) ห้องสมุดและการค้นคว้า 40 (1 นก.) การศึกษาค้นคว้าอิสระ 80 (2 นก.) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 120 120 กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 ลูกเสือ-เนตรนารี 40 40 40 ชุมนุม 40 40 40 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 15 15 15 รวมเวลาเรียนทั้งหมดตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 3,600 ชั่วโมง
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๒๗ โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนพระนารายณ์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนโครงการพิเศษวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ รายวิชา เวลาเรียน (ชั่วโมง) ม.4 ม.5 ม.6 รายวิชาพื้นฐาน 560 (14 นก.) 540 (13.5 นก.) 540 (13.5 นก.) ภาษาไทย 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) คณิตศาสตร์ 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 100 (2.5 นก.) 80 (2 นก.) 120 (3 นก.) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 80 (2 นก.) สุขศึกษาและพลศึกษา 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) ศิลปะ 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) การงานอาชีพ 20 (0.5 นก.) 20 (0.5 นก.) 20 (0.5 นก.) ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) รายวิชาเพิ่มเติม/กิจกรรมที่สถานศึกษา จัดเพิ่มเติมตามความพร้อมและจุดเน้น 680 (17 นก.) 760 (19 นก.) 700 (17.5 นก.) คณิตศาสตร์ 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 180 (4.5 นก.) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 480 (12 นก.) 480 (12 นก.) 480 (12 นก.) ภาษาต่างประเทศ 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) การศึกษาค้นคว้าอิสระ 80 (2 นก.) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 80 80 80 กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 ชุมนุม 40 40 40 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 20 20 20 รวมเวลาเรียนทั้งหมดตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 3,600 ชั่วโมง
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๒๘ โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนพระนารายณ์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนโครงการพิเศษ ภาษาอังกฤษ-ภาษาจีน รายวิชา เวลาเรียน (ชั่วโมง) ม.4 ม.5 ม.6 รายวิชาพื้นฐาน 560 (14 นก.) 540 (13.5 นก.) 540 (13.5 นก.) ภาษาไทย 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) คณิตศาสตร์ 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 100 (2.5 นก.) 80 (2 นก.) 120 (3 นก.) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 80 (2 นก.) สุขศึกษาและพลศึกษา 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) ศิลปะ 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) การงานอาชีพ 20 (0.5 นก.) 20 (0.5 นก.) 20 (0.5 นก.) ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) รายวิชาเพิ่มเติม/กิจกรรมที่สถานศึกษา จัดเพิ่มเติมตามความพร้อมและจุดเน้น 640 (16 นก.) 700 (17.5 นก.) 660 (16.5 นก.) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 60 (1.5 นก.) 80 (2 นก.) 40 (1 นก.) ภาษาต่างประเทศ 560 (14 นก.) 580 (13.5 นก.) 560 (14 นก.) ภาษาไทย 40 (1 นก.) สุขศึกษาและพลศึกษา 20 (0.5 นก.) ห้องสมุดและการค้นคว้า 20 (0.5 นก.) การศึกษาค้นคว้าอิสระ 80 (2 นก.) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 80 80 80 กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 ชุมนุม 40 40 40 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 20 20 20 รวมเวลาเรียนทั้งหมดตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 3,600 ชั่วโมง
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๒๙ โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนพระนารายณ์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ รายวิชา เวลาเรียน (ชั่วโมง) ม.4 ม.5 ม.6 รายวิชาพื้นฐาน 560 (14 นก.) 540 (13.5 นก.) 540 (13.5 นก.) ภาษาไทย 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) คณิตศาสตร์ 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 100 (2.5 นก.) 80 (2 นก.) 120 (3 นก.) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 80 (2 นก.) สุขศึกษาและพลศึกษา 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) ศิลปะ 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) การงานอาชีพ 20 (0.5 นก.) 20 (0.5 นก.) 20 (0.5 นก.) ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) รายวิชาเพิ่มเติม/กิจกรรมที่สถานศึกษา จัดเพิ่มเติมตามความพร้อมและจุดเน้น 640 (16 นก.) 720 (18 นก.) 660 (16.5 นก.) คณิตศาสตร์ 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 420 (10.5 นก.) 440 (11 นก.) 400 (10 นก.) ภาษาต่างประเทศ 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) ห้องสมุดและการค้นคว้า 20 (0.5 นก.) ภาษาไทย 40 (1 นก.) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 20 (0.5 นก.) การศึกษาค้นคว้าอิสระ 80 (2 นก.) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 80 80 80 กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 ชุมนุม 40 40 40 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 20 20 20 รวมเวลาเรียนทั้งหมดตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 3,600 ชั่วโมง
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๓๐ โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนพระนารายณ์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียน ภาษาอังกฤษ-คณิตศาสตร์ รายวิชา เวลาเรียน (ชั่วโมง) ม.4 ม.5 ม.6 รายวิชาพื้นฐาน 560 (14 นก.) 540 (13.5 นก.) 540 (13.5 นก.) ภาษาไทย 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) คณิตศาสตร์ 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 100 (2.5 นก.) 80 (2 นก.) 120 (3 นก.) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 80 (2 นก.) สุขศึกษาและพลศึกษา 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) ศิลปะ 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) การงานอาชีพ 20 (0.5 นก.) 20 (0.5 นก.) 20 (0.5 นก.) ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) รายวิชาเพิ่มเติม/กิจกรรมที่สถานศึกษา จัดเพิ่มเติมตามความพร้อมและจุดเน้น 640 (16 นก.) 700 (17.5 นก.) 660 (16.5 นก.) คณิตศาสตร์ 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 60 (1.5 นก.) 80 (2 นก.) 40 (1 นก.) ภาษาต่างประเทศ 280 (7 นก.) 280 (7 นก.) 280 (7 นก.) ภาษาไทย 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) ห้องสมุดและการค้นคว้า 20 (0.5 นก.) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 40 (1 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) สุขศึกษาและพลศึกษา 20 (0.5 นก.) ศิลปะ 20 (0.5 นก.) การศึกษาค้นคว้าอิสระ 80 (2 นก.) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 80 80 80 กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 ชุมนุม 40 40 40 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 20 20 20 รวมเวลาเรียนทั้งหมดตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 3,600 ชั่วโมง
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๓๑ โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนพระนารายณ์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียน ภาษาอังกฤษ-ภาษาญี่ปุ่น รายวิชา เวลาเรียน (ชั่วโมง) ม.4 ม.5 ม.6 รายวิชาพื้นฐาน 560 (14 นก.) 540 (13.5 นก.) 540 (13.5 นก.) ภาษาไทย 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) คณิตศาสตร์ 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 100 (2.5 นก.) 80 (2 นก.) 120 (3 นก.) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 80 (2 นก.) สุขศึกษาและพลศึกษา 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) ศิลปะ 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) การงานอาชีพ 20 (0.5 นก.) 20 (0.5 นก.) 20 (0.5 นก.) ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) รายวิชาเพิ่มเติม/กิจกรรมที่สถานศึกษา จัดเพิ่มเติมตามความพร้อมและจุดเน้น 640 (16 นก.) 700 (17.5 นก.) 660 (16.5 นก.) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 60 (1.5 นก.) 80 (2 นก.) 40 (1 นก.) ภาษาต่างประเทศ 560 (14 นก.) 540 (13.5 นก.) 560 (14 นก.) ภาษาไทย 40 (1 นก.) ห้องสมุดและการค้นคว้า 20 (0.5 นก.) สุขศึกษาและพลศึกษา 20 (0.5 นก.) การศึกษาค้นคว้าอิสระ 80 (2 นก.) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 80 80 80 กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 ชุมนุม 40 40 40 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 20 20 20 รวมเวลาเรียนทั้งหมดตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 3,600 ชั่วโมง
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๓๒ โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนพระนารายณ์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียน ทั่วไป ไทย-สังคม (พละ) รายวิชา เวลาเรียน (ชั่วโมง) ม.4 ม.5 ม.6 รายวิชาพื้นฐาน 560 (14 นก.) 540 (13.5 นก.) 540 (13.5 นก.) ภาษาไทย 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) คณิตศาสตร์ 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 100 (2.5 นก.) 80 (2 นก.) 120 (3 นก.) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 80 (2 นก.) สุขศึกษาและพลศึกษา 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) ศิลปะ 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) การงานอาชีพ 20 (0.5 นก.) 20 (0.5 นก.) 20 (0.5 นก.) ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) รายวิชาเพิ่มเติม/กิจกรรมที่สถานศึกษา จัดเพิ่มเติมตามความพร้อมและจุดเน้น 640 (16 นก.) 700 (17.5 นก.) 660 (16.5 นก.) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 60 (1.5 นก.) 80 (2 นก.) 40 (1 นก.) ภาษาต่างประเทศ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) ภาษาไทย 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 120 (3 นก.) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 120 (3 นก.) การงานอาชีพ 160 (4 นก.) ศิลปะ 40 (1 นก.) 20 (0.5 นก.) 20 (0.5 นก.) สุขศึกษาและพลศึกษา 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) ห้องสมุดและการค้นคว้า 20 (0.5 นก.) การศึกษาค้นคว้าอิสระ 80 (2 นก.) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 80 80 80 กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 ชุมนุม 40 40 40 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 20 20 20 รวมเวลาเรียนทั้งหมดตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 3,600 ชั่วโมง
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๓๓ โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนพระนารายณ์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียน ทั่วไป ไทย-สังคม (คหกรรม) รายวิชา เวลาเรียน (ชั่วโมง) ม.4 ม.5 ม.6 รายวิชาพื้นฐาน 560 (14 นก.) 540 (13.5 นก.) 540 (13.5 นก.) ภาษาไทย 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) คณิตศาสตร์ 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 100 (2.5 นก.) 80 (2 นก.) 120 (3 นก.) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 80 (2 นก.) สุขศึกษาและพลศึกษา 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) ศิลปะ 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) การงานอาชีพ 20 (0.5 นก.) 20 (0.5 นก.) 20 (0.5 นก.) ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) รายวิชาเพิ่มเติม/กิจกรรมที่สถานศึกษา จัดเพิ่มเติมตามความพร้อมและจุดเน้น 640 (16 นก.) 700 (17.5 นก.) 660 (16.5 นก.) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 60 (1.5 นก.) 80 (2 นก.) 40 (1 นก.) ภาษาต่างประเทศ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) ภาษาไทย 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 120 (3 นก.) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 120 (3 นก.) การงานอาชีพ 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 240 (6 นก.) ศิลปะ 40 (1 นก.) 20 (0.5 นก.) 20 (0.5 นก.) ห้องสมุดและการค้นคว้า 20 (0.5 นก.) การศึกษาค้นคว้าอิสระ 80 (2 นก.) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 80 80 80 กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 ชุมนุม 40 40 40 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 20 20 20 รวมเวลาเรียนทั้งหมดตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 3,600 ชั่วโมง
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๓๔ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 1.1 เป็นพลเมืองดีของชาติ 1.2 ธํารงไว้ซึ่งความเป็นชาติไทย 1.3 ศรัทธา ยึดมั่นและปฏิบัติตนตามหลักศาสนา 1.4 เคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์ สุจริต 2.1 ประพฤติตรงตามความเป็นจริงต่อตนเองทั้งทางกาย วาจา ใจ 2.2 ประพฤติตรงตามความเป็นจริงต่อผู้อื่นทั้งทางกาย วาจา ใจ 3. มีวินัย 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับของโรงเรียนและสังคม 4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ 4.2 แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนด้วยการเลือก ใช้สื่ออย่างเหมาะสม สรุปเป็นองค์ความรู้ และสามารถนําไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 5.1 ดำเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม 5.2 มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 6.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในหน้าที่การงาน 6.2 ทำงานด้วยความเพียรพยายาม และอดทนเพื่อให้งานสำเร็จตามเป้าหมาย 7. รักความเป็นไทย 7.1 ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมไทย และมีความกตัญญูกตเวที 7.2 เห็นคุณค่าและใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 7.3 อนุรักษ์และสืบทอดภูมิปัญญาไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 ช่วยเหลือผู้อื่นด้วยความเต็มใจ โดยไม่หวังผลตอบแทน 8.2 เข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อโรงเรียนชุมชนและสังคม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โรงเรียนพระนารายณ์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๓๕ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 1. สามารถคัดสรรสื่อที่ต้องการอ่านเพื่อหาข้อมูลสารสนเทศได้ตามวัตถุประสงค์ สามารถสร้างความเข้าใจ และประยุกต์ใช้ความรู้จากการอ่าน 2. สามารถจับประเด็นสำคัญและประเด็นสนับสนุน โต้แย้ง 3. สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ ความสมเหตุสมผล ความน่าเชื่อถือ ลำดับความและความเป็นไปได้ของเรื่องที่อ่าน 4. สามารถสรุปคุณค่า แนวคิด แง่คิดที่ได้จากการอ่าน 5. สามารถสรุป อภิปราย ขยายความแสดงความคิดเห็น โต้แย้ง สนับสนุน โน้มน้าว โดยการเขียนสื่อในรูปแบบ ต่างๆ เช่น ผังความคิด เป็นต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 1. สามารถอ่านเพื่อการศึกษา ค้นคว้า เพิ่มพูนความรู้ ประสบการณ์และการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน 2. สามารถจับประเด็นสำคัญลำดับเหตุการณ์จากการอ่านสื่อที่มีความซับซ้อน 3. สามารถวิเคราะห์สิ่งที่ผู้เขียนต้องการสื่อสารกับผู้อ่าน และสามารถวิพากษ์ ให้ข้อเสนอแนะในแง่มุมต่างๆ 4. สามารถประเมินความน่าเชื่อถือ คุณค่า แนวคิดที่ได้จากสิ่งที่อ่านอย่างหลากหลาย 5. สามารถเขียนแสดงความคิดเห็นโต้แย้ง สรุป โดยมีข้อมูลอธิบายสนับสนุน อย่างเพียงพอและสมเหตุสมผล สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ประกอบด้วย องค์ความรู้ ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู้ และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ซึ่งกําหนดให้ผู้เรียนทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจำเป็นต้อง เรียนรู้ โดยแบ่งเป็น 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้ คะแนนรวม ระดับคุณภาพ 80-100 3 : ดีเยี่ยม 70-79 2 : ดี 50-69 1 : ผ่านการประเมิน 0-49 0 : ไม่ผ่านการประเมิน ตัวชี้วัดความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 คุณภาพผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๓๖
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๓๗ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กำหนดจุดหมาย สมรรถนะสำคัญของ ผู้เรียนและมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดีมีปัญญา มีคุณภาพ ชีวิตที่ดีและมีขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีระดับโลก กําหนดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามมาตรฐานเรียนรู้/ ตัวชี้วัดที่กำหนดในกลุ่มสาระการเรียนรู้ ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้มีความสามารถด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 1. การวัดประเมินผลการเรียนรู้ตามรายกลุ่มสาระการเรียนรู้ ผู้สอนทำการวัดประเมินผลการเรียนรู้ผู้เรียนเป็นรายวิชาตามตัวชี้วัดที่กำหนด ในหน่วยการเรียนรู้ ด้วยวิธีการที่หลากหลาย ให้ได้ผลการประเมินตามความสามารถที่แท้จริง ของผู้เรียนโดยทำการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ไปพร้อมกับการจัดการเรียนการสอน ได้แก่ การสังเกตพัฒนาการและความประพฤติของผู้เรียน สังเกต พฤติกรรมการเรียนการร่วมกิจกรรมและการทดสอบ ซึ่งผู้สอนต้องนํานวัตกรรมการวัดแลประเมินผลการเรียนรู้ ที่หลากหลาย เช่น การประเมินสภาพจริง การประเมินการปฏิบัติงาน การประเมินงานโครงงานและการประเมิน จากแฟ้มสะสมงานไปใช้การประเมินผลการเรียนรู้ควบคู่กับการใช้แบบทดสอบแบบต่างๆ และต้องให้ความสำคัญ กับการประเมินระหว่างปี /ภาค มากกว่าการประเมินปลายปี/ ภาค แผนภาพ แสดงองค์ประกอบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ องค์ประกอบของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560)
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๓๘ คะแนนร้อยละ ระดับผลการเรียน ความหมายของผลการประเมิน 80-100 4 ดีเยี่ยม 75-79 3.5 มาก 70-74 3 ดี 65-69 2.5 ค่อนข้างดี 60-64 2 ปานกลาง 55-59 1.5 พอใช้ 50-54 1 ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ 0-49 0 ต่ำกว่าเกณฑ์ 2. การประเมินผลการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน การประเมินการผลอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน เป็นการประเมินศักยภาพของผู้เรียนในการอ่าน ฟัง ดู และรับรู้ จากหนังสือ เอกสารและสื่อต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง และนํามาคิดวิเคราะห์เนื้อหาสาระที่นําไปสู่การแสดง ความคิดเห็น การสังเคราะห์สร้างสรรค์ในเรื่องต่างๆ และถ่ายทอดความคิดนั้น ด้วยการเขียนจินตนาการอย่าง เหมาะสมและมีคุณค่าแก่ตนเอง สังคมและประเทศชาติ พร้อมด้วยประสบการณ์และทักษะในการเขียนที่มีสํานวน ภาษาถูกต้อง มีเหตุผลและลําดับขั้นตอนในการนําเสนอ สามารถสร้างความเข้าใจแก่ผู้อ่าน วิเคราะห์ และเขียน สรุปผลเป็นรายปี/รายภาค เพื่อวินิจฉัยและใช้เป็นข้อมูลเพื่อประเมิน การเลื่อนชั้นเรียน และการจบการศึกษาใน ระดับต่างๆ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่อง อ่าน (รับสาร) หนังสือ เอกสาร วิทยุ โทรทัศน์ สื่อต่างๆ ฯลฯ แล้วสรุปเป็นความรู้ความเข้าใจของตนเอง คิดวิเคราะห์ วิเคราะห์ สังเคราะห์ หาเหตุผล แก้ปัญหาและสร้างสรรค์ เขียน (สื่อสาร) ถ่ายทอดความรู้ ความคิด สื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) และตามที่สถานศึกษากำหนดเพิ่มเติม เป็นการประเมินรายคุณลักษณะแล้วรวบรวมผล การประเมินจากผู้ประเมินทุกฝ่ายนํามาพิจารณาและสรุปผลเป็นรายปี /รายภาค เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการประเมิน การเลื่อนชั้นเรียนและการจบการศึกษา ระดับต่างๆ ดังแผนภาพ การให้ระดับผลการเรียน
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๓๙ 3. การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นการประเมินการปฏิบัติกิจกรรมตามจุดประสงค์และเวลา ในการเข้าร่วมกิจกรรมตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในแต่ละกิจกรรมและใช้เป็นข้อมูลในการประเมินการเลื่อนชั้นเรียน และการจบการศึกษาระดับต่างๆ ดังแผนภาพ 1. ผู้เรียนต้องเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 66 หน่วยกิต และรายวิชา เพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากำหนด 2. ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิต ตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชา พื้นฐาน 66 หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 11 หน่วยกิต 3. ผู้เรียนมีผลการเรียนประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์ การประเมิน ตามที่สถานศึกษากําาหนด 4. ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษา กำหนด 5. ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์ตามที่สถานศึกษากําาหนด การจบระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๔๐ 1. ผู้เรียนต้องเรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 41 หน่วยกิต และรายวิชา เพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากำหนด 2. ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิต ตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชา พื้นฐาน 41 หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต 3. ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์ การประเมินตามที่ สถานศึกษากำหนด 4. ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษา กำหนด 5. ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์ตามที่สถานศึกษากําาหนด 1. การมอบตัวและการลงทะเบียนเป็นนักเรียน นักเรียนที่ผ่านการคัดเลือกตามประกาศของโรงเรียนจะต้องมอบตัวตามวันและเวลา ที่โรงเรียนได้กำหนดไว้ มีผู้ปกครองมาทำการมอบตัว โดยจะต้องมีเอกสารและหลักฐาน ต่อไปนี้ 1.1 ใบแสดงวุฒิการศึกษาว่าจบการศึกษาภาคบังคับ เช่น ใบ ปพ.1 : หรือ ประกาศนียบัตร 1.2 สูติบัตร 1.3 สําเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านที่มีชื่อนักเรียน บิดา มารดาและผู้ปกครอง (กรณีนักเรียนอาศัยอยู่กับ บุคคลอื่นที่ไม่ใช่บิดามารดา) 1.4 เอกสารอื่นๆ กรณีที่มีการเปลี่ยนชื่อ นามสกุลของตนเอง หรือของบิดามารดา หรือการเปลี่ยน วัน เดือน ปีเกิด หลักฐานดังกล่าวข้างต้นจะต้องเป็นเอกสารที่มีข้อมูลตรงกัน นำข้อมูลประวัติมากรอกลงในใบมอบตัว ตามแบบฟอร์มของโรงเรียน โดยโรงเรียนจะเก็บหลักฐานที่เป็นสำเนาภาพถ่ายเอกสารเท่านั้น ส่วนฉบับจริง จะคืนให้กับนักเรียน โดยจะนำข้อมูลจากใบมอบตัวไปลงทะเบียนนักเรียนต่อไป 2. การขอแก้ไขข้อมูลประวัติ ในกรณีที่ทราบว่าข้อมูลประวัติไม่ตรงกับหลักฐานความเป็นจริง เช่น วัน เดือน ปีเกิด ไมถูกตอง บิดา มารดา เปลี่ยนยศ หรือหากมีความประสงค์จะขอเปลี่ยนแปลงให้ยื่นคำร้องของผู้ปกครองเพื่อขอเปลี่ยนแปลงแก้ไข (ขอแบบคำร้องที่งานทะเบียนวัดผล) พร้อมทั้งแนบหลักฐานสำคัญ เช่น สูติบัตร สำเนาทะเบียนบ้าน แบบ ช.3 คำสั่งเลื่อนยศ หรือสำเนาบัตรประจำตัวของบิดา มารดา ที่เป็นยศปัจจุบัน แล้วแต่กรณี และควรยื่นในภาคเรียน แรกของปีการศึกษา (ประมาณเดือนกรกฎาคม) แนวปฏิบัติงานทะเบียนวัดผล การจบระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์หน้า ๔๑ 3. การขอใบรับรอง นักเรียนที่ตองการให้โรงเรียนรับรองว่าปัจจุบันกำลังเรียนอยู่ที่โรงเรียนพระนารายณ์เพื่อนำไปเป็นหลักฐาน ขอทุนการศึกษาและศึกษาตอ ใหยื่นคำร้องขอใบรับรองพรอมรูปถายปจจุบัน ขนาด 3x4 ซม. หรือ 1.5 นิ้ว จำนวน 1 รูป ใบรับรองจะมีผลใช้ไดภายใน 120 วัน นับตั้งแต่วันออกให้กรณีที่นักเรียนได้โควตาศึกษาต่อ จากโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัย โรงเรียนจะออกสำเนา ปพ.1 ให้แก่นักเรียน 4. การขอระเบียนแสดงผลการเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ปพ.1 : พ) ใบระเบียนแสดงผลการเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ปพ.1 : พ) โรงเรียนจะออกให้โดยนักเรียนตอง ดำเนินการ ดังนี้ 4.1 ยื่นคําร้องขอใบ ปพ.1 : พ พร้อมส่งรูปถ่ายปัจจุบัน ขนาด 3x4 ซม. หรือ 1.5 นิ้ว ที่ห้องทะเบียนวัดผล 4.2 หากใบ รบ.1-ป หรือ ปพ.1-พ ของนักเรียนที่จบไปแล้วหาย จะขอใหม่ไดโดยดําเนินการ ดังนี้ - กรณีวุฒิการศึกษาหาย ยื่นคํารองพรอมแนบใบแจงความและสงรูปถายปจจุบัน สวมเสื้อเชิ้ตสีขาว ขนาด 2 นิ้ว สำหรับขอ รบ.1 หรือ 1.5 นิ้ว สำหรับขอ ปพ.1 5. การยื่นคำรองขอสอบแก้ตัวและการขอแก้ไข “0” “ร” “มส” “มผ” นักเรียนที่มีผลการเรียนรายวิชาใด เป็น “0” “ร” “มส” “มผ” ให้ดำเนินการ ดังนี้ 5.1 ขอแบบคําร้องที่งานทะเบียนวัดผล และยื่นคำร้องตามวัน เวลา ที่กำหนด ณ ห้อง ทะเบียนวัดผล 5.2 ติดตอครูผู้สอนเพื่อนัดหมายในการสอบทันที ผลการประเมินของการสอบแกไข “0” “ร” “มส” ระดับ ผลการเรียนที่ได้ไม่เกิน “1” ผลการประเมินของการสอบแกไข “มผ” ระดับผลการเรียน “ผ” นักเรียนมีโอกาส สอบแกตัวไดไมเกิน 2 ครั้ง ถาไมมาสอบแกตัวครั้งแรกถือวาหมดสิทธิ์สอบแกตัว ครั้งที่ 1 และถาสอบแกไข “ร” หรือ “มส” แลวได้ผลการเรียน “0” มีสิทธิ์สอบแกตัวไดอีก 2 ครั้ง 6. การอนุมัติการจบหลักสูตร ในแต่ละปีการศึกษา โรงเรียนกำหนดการอนุมัติให้นักเรียนจบหลักสูตรไว้ 2 รุ่น คือ - รุ่นที่ 1 ระหว่างวันที่ 25-31 มีนาคม ของทุกปี(จบพร้อมรุ่น) - รุ่นที่ 2 ระหว่างวันที่ 1 เมษายน-15 พฤษภาคม ของทุกปี(จบไม่พร้อมรุ่น) หมายเหตุ 1. การขอหลักฐานเอกสารทางการศึกษาทุกประเภท สามารถติดตอยื่นคํารองไดที่หองทะเบียนวัดผล และ ติดตอขอรับได้ภายใน 3 วันทำการ 2. การมาติดตอราชการต้องแตงกายเรียบรอย ถาเปนนักเรียนโรงเรียนพระนารายณ และกําลังศึกษาอยู่ ตองแตงเครื่องแบบนักเรียนที่ถูกต้องตามระเบียบของโรงเรียน 3. เมื่อตองการติดตองานใดๆ กับงานทะเบียนวัดผล ใหศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องนั้นๆ จากคูมือนักเรียน หรืออานปายประกาศใหเขาใจ 4. การติดตอขอรับเอกสารหลักฐาน ต้องมาติดต่อตรงตามเวลาที่กําหนด 5. นักเรียนควรวางแผนการขอหลักฐานเอกสารทุกประเภทไวลวงหนา โดยเฉพาะชวงปดภาคเรียน
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์ หน้า ๔๓ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 65 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 รัฐมนตรี ว่าการกระทราวงศึกษาธิการ จึงได้ว่างระเบียบ ว่าด้วยการลงโทษนักเรียนและนักศึกษา ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกระทราวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษา พ.ศ. 2548” ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันแระกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิกระเบียบกระทราวงศึกษาธิการว่าด้วย การลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษา พ.ศ. 2543 ข้อ 4 ในระเบียบนี้ “ผู้บริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษา” หมายความว่า ครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ ผู้อำรวยการ อธิการบดี หรือหัวหน้า ของโรงเรียนหรือสถานศึกษา หรือตำแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นของโรงเรียนหรือสถานศึกษานั้น “กระทำความผิด” หมายความว่าการที่นักเรียนหรือนักศึกษาประพฤติฝ่าฝืนระเบียบ ข้อบังคับของสถานศึกษา หรือของกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ หรือกฎหมายกระทรวงว่าด้วยความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษา “การลงโทษ” หมายความว่า การลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษาที่กระทำความผิด โดยมีความมุ่งหมายเพื่อ อบรมสั่งสอน ข้อ 5 โทษที่จะลงโทษแก่นักเรียนหรือนักศึกษาที่กระทำผิด มี 4 สถาน ดังนี้ 5.1 ว่ากล่าวตักเตือน 5.2 ทำทัณฑ์บน 5.3 ตัดคะแนนความประพฤติ 5.4 ทำกิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ข้อ 6 ห้ามลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษาด้วยวิธีรุนแรง หรือแบบกลั่นแกล้ง หรือลงโทษด้วยความโกรธหรือ ด้วยความพยาบาท โดยให้คำนึงถึงอายุของนักเรียนหรือนักศึกษาและความร้ายแรงของพฤติกรรมประกอบการลงโทษด้วย การลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษาให้เป็นไปเพื่อเจตนาที่จะแก้นิสัยและความประพฤติไม่ดีของนักเรียนหรือ นักศึกษาให้รู้สำนึกในความผิด และกลับประพฤติตนในทางที่ดีต่อไป ให้ผู้บริหารโรงเรียนรหรือสถานศึกษา หรือผู้ที่ผู้บริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษามอบหมายเป็นผู้มีอำนาจ ในการลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษา ข้อ 7 การว่ากล่าวตักเตือน ใช้ในกรณีนักเรียนหรือนักศึกษากระทำความผิดไม่ร้ายแรง ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษา พ.ศ. 2548
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์ หน้า ๔๔ ข้อ 8 การทำทัณฑ์บน ใช้ในกรณีนักเรียนหรือนักศึกษาที่ประพฤติตนไม่เหมาะสมกับสถาพนักเรียนหรือ นักศึกษาตามกฎกระทรวงว่าด้วยความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา หรือกรณีทำให้เสื่อมเสียชื่อเสียงและเกียรติศักดิ์ ของสถานศึกษาหรือฝ่าฝืนระเบียบของสถานศึกษาหรือไม่รับโทษว่ากล่าว ตักเตือนแล้ว แต่ยังไม่เข็ดหลาบ การทำทัณฑ์บนให้ทำเป็นหนังสือและเชิญบิดามารดาหรือผู้ปกครองมาบันทึกรับทราบความผิดและรับรอง การทำทัณฑ์บนไว้ด้วย ข้อ 9 การตัดคะแนนความประพฤติ ให้เป็นไปตามระเบียบปฏิบัติว่าด้วยการตัดคะแนนความประพฤติ นักเรียนและนักศึกษาของแต่ละสภานศึกษากำหนด และให้ทำบันทึกข้อมูลไว้เป็นหลักฐาน ข้อ 10 ทำกิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใช้ในกรณีที่นักเรียนและนักศึกษากระทำความผิดที่สมควร ต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจัดกิจกรรมให้เป็นไปตามแนวทางที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนด ข้อ 11 ให้ปลัดกระทราวงศึกษาธิการ รักษาการให้เป็นไป ตามระเบียบนี้และให้มีอำนาจตีความและ วินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติ ตามระเบียบนี้ ประกาศ ณ วันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2548 อดิศัย โพธารามิก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์ หน้า ๔๕ กฎกระทรวง กำหนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษา พ.ศ. 2548 อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 64 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 อันเป็น กฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 31 มาตรา 34 มาตรา 35 มาตรา 36 มาตรา 39 มาตรา 48 และมาตรา 50 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติดแห่งกฎหมาย รัฐมนตรีว่าการกระทราวงศึกษาธิการออก กฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 นักเรียนและนักศึกษาต้องไม่ประพฤติตน ดังต่อไปนี้ (1) หนัเรียนหรือออกนอกสถานศึกษาโดยไม่ได้รับอนุญาตในช่วงเวลาเรียน (2) เล่นการพันน จัดให้มีการเล่นการพนัน หรือมั่วสุมในวงการพนัน (3) พกพาอาวุธหรือวัตถุระเบิด (4) ซื้อ จำหน่าย แลกเปลี่ยน เสพสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ สิ่งมึนเมา บุหรี่ หรือยาเสพติด (5) ลักทรัพย์ กรรโชกทรัพย์ ข่มขู่ หรือบังคับขืนใจเพื่อเอาทรัพย์บุคคลอื่น (6) ก่อเหตุทะเลาะวิวาท ทำร้ายร่างกายผู้อื่น เตรียมการหรือกระทำใดๆ อันน่าจะก่อให้เกิดความไม่สงบ เรียบร้อยหรือขัดต่อศีลธรรมอันดีของประชาชน (7) แสดงพฤติกรรมทางชู้สาวซึ่งไม่เหมาะสมในที่สาธารณะ (8) เกี่ยวข้องกับการค้าประเวณี (9) ออกนอกสถานที่พักเวลากลางคืน เพื่อเที่ยวเตร่หรือรวมกลุ่ม อันเป็นการสร้างความเดือดร้อนให้แก่ ตนเองหรือผู้อื่น ข้อ 2 ให้โรงเรียนหรือสถานศึกษากำหนดระเบีบยว่าด้วยความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษาได้เท่าที่ ไม่ขัดหรือแย้งกับกฎกระทรวงนี้ ให้ไว้ ณ วันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2548 จาตุรนต์ ฉายแสง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
คู่มือนักเรียน โรงเรียนพระนารายณ์ หน้า ๔๖ บททั่วไป ข้อที่ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า ระเบียบโรงเรียนพระนารายณ์ ว่าด้วยวินัยและพฤติกรรมนักเรียน ข้อที่ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับแก่นักเรียนโรงเรียนพระนารายณ์ ข้อที่ 3 ในกรณีที่โรงเรียนได้กำหนด ระเบียบปฏิบัติ ข้อบังคับ ซึ่งมีบทลงโทษเพื่อความผิดไว้เป็นการเฉพาะกรณี ให้ถือตามกฎระเบียบข้อบังคับนี้ ข้อที่ 4 การลงโทษนักเรียนให้ปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการลงโทษนักเรียน นักศึกษา พ.ศ. 2548 ข้อที่ 5 ในระเบียบนี้คำว่า “นักเรียน” หมายถึง นักเรียนปัจจุบันของโรงเรียนพระนารายณ์ “ครูที่ปรึกษา” หมายถึง ครูทุกคนของโรงเรียนพระนารายณ์ “ผู้อำนวยการ” หมายถึง ผู้ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนพระนารายณ์ “รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารกิจการนักเรียน” หมายถึง ผู้ดำรงตำแหน่งรองผู้อำนวยการหรือรักษาการ รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารกิจการนักเรียน “คณะกรรมการพิจารณาบทลงโทษ” หมายถึง คณะกรรมการกลุ่มบริหารกิจการนักเรียนที่ได้รับแต่งตั้ง “คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน) หมายถึง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนพระนารายณ์ “ผู้ปกครอง” หมายถึง บิดา มารดา ผู้อนุบาล ผู้รับบุตรบุญธรรม และผู้ปกครองตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ และให้หมายความรวมถึง พ่อเลี้ยง แม่เลี้ยง ผู้ปกครองสวัสดิภาพ นายจ้าง ตลอดจนบุคคลอื่น ซึ่งรับเด็กไว้ในความอุปการะเลี้ยงดู หรือเด็กอาศัยอยู่ด้วย ระเบียบโรงเรียนพระนารายณ์ ว่าด้วยวินัยและพฤติกรรมนักเรียน