ภาษาเพอื่ การสอื่ สาร
แนวคดิ สาคญั
ภาษากบั การสอื่ สารเป็ นสงิ่ ทไี่ ม่สามารถแยก
ออกจากกนั ได ้ เนื่องจากมนุษยใ์ ชภ้ าษาเป็ น
เครอื่ งมอื ในการถา่ ยทอดความรสู ้ กึ นึกคดิ จาก
คนหนึ่งไปสอู่ กี คนหนึ่ง การสอื่ สารทดี่ จี ะตอ้ งให ้
ผูร้ บั สารเขา้ ใจตรงตามวตั ถปุ ระสงคข์ องผูส้ ง่
สาร และทสี่ าคญั ทสี่ ดุ คอื สามารถรบั ขา่ วสารไป
ในทศิ ทางเดยี วกนั
จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม
๑. บอกความหมายของการสอื่ สารไดถ้ กู ตอ้ ง
๒. อธบิ ายความสมั พนั ธข์ องภาษากบั การสอื่ สารธรุ กจิ ไดถ้ กู ตอ้ ง
๓. บอกประเภทของสารแตล่ ะชนิดไดถ้ กู ตอ้ ง
๔. อธบิ ายใจความสาคญั ของสารไดถ้ กู ตอ้ ง
ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการ
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง/คา่ นิยม
แสดงออกดา้ นความสนใจใฝ่ รู ้
การตรงตอ่ เวลา
ความซอื่ สตั ย ์ สจุ รติ
ความมนี า้ ใจและแบง่ บนั
รกั ษาวฒั นธรรมประเพณีไทย
หวั ขอ้ เรอื่ ง
ววิ ฒั นาการของภาษากบั การ
สอื่ สาร
ภาษากบั การสอื่ สารในงาน
อาชพี
การแบ่งประเภทของสาร
การจบั ใจความสาคญั
ของสาร
๑. ววิ ฒั นาการของภาษากบั การสอื่ สาร
แบ่งออกเป็ น ๓ ยุค ๑.๑ ยคุ กอ่ น
ประวตั ศิ าสตร ์
๑.๒ ยคุ ประวตั ศิ าสตร ์
๑.๓ ยคุ เทคโนโลยใี หม่
๑.๑ ยคุ กอ่ นประวตั ศิ าสตร ์
มนุษยม์ กี ารรวมกลมุ่ กนั เป็ นสงั คม
อาศยั อยตู่ ามถา้ ระยะแรกใชเ้ ฉพาะ
ภาษาพูดเทา่ น้ัน ตอ่ มาจงึ ได ้
บนั ทกึ เรอื่ งราวดว้ ยรปู ภาพหรอื
สญั ลกั ษณ์ ซงึ่ สอื่ ใหเ้ ห็นถงึ การ
ดาเนินชวี ติ
๑.๒ ยคุ ประวตั ศิ าสตร ์
มนุษยเ์ รมิ่ รจู ้ กั ประดษิ ฐอ์ กั ษรขนึ้ ใชใ้ นการ
สอื่ สาร ภาษาในยคุ นีไ้ ดม้ กี ารพฒั นา
รปู แบบและวธิ กี ารเขยี น มที ง้ั ภาษารอ้ ย
แกว้ และภาษารอ้ ยกรอง
ตวั อยา่ งอกั ษรเฮยี โรกรฟิ ฟิ กส ์ อยี ปิ ต ์
ตวั อย่าง ลายสอื ไทย พยญั ชนะ สมยั พ่อขนุ รามคาแหง
ตวั อย่าง ลายสอื ไทย สระ สมยั พ่อขนุ รามคาแหง
๑.๓ ยคุ เทคโนโลยใี หม่
มนุษยย์ คุ นีส้ ามารถประดษิ ฐเ์ ครอื่ งมอื ที่
ทนั สมยั ตา่ งๆ มาชว่ ยท่นุ แรง โดยเฉพาะ
ในชว่ งครสิ ตศ์ ตวรรษที่ ๑๕ โยฮนั น์ กเู ต็น
เบอรก์ ชาวเยอรมนั ไดป้ ระดษิ ฐแ์ ท่นพมิ พ ์
เพอื่ ใชพ้ มิ พค์ มั ภรี ไ์ บเบลิ ฉบบั แรกของโลก
ถอื เป็ นการเรมิ่ ตน้ เขา้ สเู ทคโนโลยสี มยั ใหม่
๒. ภาษากบั การสอื่ สารในงานอาชพี
ลกั ษณะของภาษา ลกั ษณะของการสอื่ สาร
องคป์ ระกอบของการสอื่ สาร องคป์ ระกอบความเป็ นวชิ าชพี
คาสาคญั ในบทเรยี น
๒.๑ ลกั ษณะของภาษา
ภาษาแบบแผน • ใชใ้ นงานพกี าร
• งานทจี่ ะตอ้ งตดิ ตอ่ กบั
ภาษากงึ่
แบบแผน หน่วยงานราชการ
ภาษาปาก • ใชเ้ ขยี นหรอื พดู ในทาง
วชิ าการ
• ใชต้ ดิ ตอ่ งานดา้ นธรุ กจิ
• ใชเ้ ฉพาะกลมุ่ คาแสลง
• ใชก้ บั บคุ คลทคี่ นุ ้ เคยใน
การสนทนาทว่ั ไป
๒.๒ ลกั ษณะของการสอื่ สาร
๑) การสอื่ สารแบบทางเดยี ว ๒) การสอื่ สารแบบสองทาง
(Two-Way
(One-Way Communication) Communication)
เป็ นการสอื่ สารทผี่ รู้ บั สารรเู ้ นือ้ สารเพยี ง เป็ นการสอื่ สารทมี่ กี ารโตต้ อบ
ไปมาระหวา่ งผูส้ ง่ สารกบั ผูร้ บั
ฝ่ ายเดยี ว ไม่สามารถตอบสนองกลบั ไปยงั สารไดใ้ นขณะสง่ สารหรอื รบั
สาร ทาใหก้ ารสอื่ สารประสบ
ผสู้ ง่ สารได ้ ผลสาเรจ็ มากกวา่ การสอื่ สาร
แบบทางเดยี ว
๒.๔ องคป์ ระกอบของการสอื่ สาร
• ผูใ้ หข้ อ้ มูลขา่ วสารซงึ่ จะตอ้ งมที ศั นคติ คา่ นิยม
๑) ผูส้ ง่ สาร ความรคู ้ วามสามารถสอดคลอ้ งกบั ผูร้ บั สาร
• ผูร้ บั ขอ้ มูลขา่ วสารซงึ่ จะตอ้ งมที ศั นคติ คา่ นิยม ความรู ้
๒) ผูร้ บั สาร ความสามารถสอดคลอ้ งกบั ผูส้ ง่ สาร
• ทางเลอื กทผี่ ูส้ ง่ สารใชใ้ นการตดิ ตอ่ สอื่ สาร ๕ ชอ่ งทาง
๓) ชอ่ งทาง ไดแ้ ก่ ดู ฟัง สมั ผสั ทางกลนิ่ และทางรสชาติ
๔) สาร • ขอ้ มูล ขา่ วสาร สญั ญาณ รปู ภาพ ทสี่ ง่ ไปยงั
ผูร้ บั สาร
๒.๕ องคป์ ระกอบของธรุ กจิ
๑) ขน้ั ตอน ๒) ขนั้ ตอน ๓) ขนั้ ตอน
การผลติ การจดั การบรกิ าร
จาหน่าย
๒.๖ คาสาคญั ในบทเรยี น
วชิ า • ความร,ู ้ ความรทู ้ ไี่ ดเ้ ลา่ เรยี นหรอื
อาชพี ฝึ กฝนมา
วชิ าชพี
• งานทที่ าเป็ นประจาเพอื่ เลยี้ ง
ชพี
• วชิ าทไี่ ดศ้ กึ ษาเลา่ เรยี นแลว้ นาไปใชใ้ นการ
ประกอบอาชพี
• การปฏญิ าณตนวา่ ตอ่ สงิ่ ศกั ดสิ ์ ทิ ธทิ ์ งั้ หลายวา่ จะ
อาชวี ปฏญิ ญาณ ประกอบอาชพี ตามธรรมเนียมทวี่ างไวเ้ ป็ นบรรทดั
ฐาน
ธรุ กจิ • บคุ คลหรอื คณะบคุ คลรว่ มกนั ผลติ และ
จาหน่ายสนิ คา้ เพอื่ หวงั ผลกาไร
๓. การแบ่งประเภทของสาร
แสดง แสดงความ ประเมนิ
ขอ้ เท็จจรงิ คดิ เห็น คณุ คา่
แนะนาสง่ั ให ้ แนวคดิ
สอน ขอ้ สงั เกต แปลกใหม่
สนุ ทรยี ศา
สตร ์
๔. การจบั ใจความสาคญั ของสาร
ใจความสาคญั หมายถงึ ความคดิ ที่
เป็ นสารตั ถะสาคญั ของเรอื่ งทผี่ ูส้ ง่ สาร
ตอ้ งการบอกใหผ้ ูร้ บั สารทราบ
หลกั ในการจบั ใจความสาคญั
ชอื่
เรอื่ ง
สว่ น ย่อ
ขยาย หนา้
เลอื กขอ้ ท่ถี กู เพียงขอ้ เดียว
๑. ขอ้ ใดคอื ความหมายของคาวา่ อาชีพธุรกิจ
ก. การกระทาใดๆท่เี ก่ียวขอ้ งกบั สินคา้ และบรกิ าร
ข. การผลติ และการใหบ้ รกิ ารลกู คา้ เพ่ือหวงั ผลกาไร
ค. การแสวงหารายไดเ้ พ่ือดารงชีวติ
ง. การดาเนินกิจกรรมเก่ียวกบั การซอื้ ขายสินคา้
๒. ขอ้ ใดมคี วามสาคญั นอ้ ยท่สี ดุ เก่ียวกบั ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งภาษากบั ธรุ กิจ
ก. ธรุ กิจสามารถใชภ้ าษาเป็นส่อื เพ่ือใหค้ วามกระจา่ งแจง้ แก่ผบู้ รโิ ภค
ข. ใชภ้ าษาเป็นส่อื เพ่ือบอกปรมิ าณและคณุ ภาพของสนิ คา้
ค. ใชภ้ าษาเป็นส่อื เพ่ือโนม้ นา้ วผบู้ รโิ ภคใหค้ ลอ้ ยตามคาโฆษณา
ง. ใชภ้ าษาเป็นส่อื เพ่ือสรา้ งสมั พนั ธภาพท่ดี รี ะหวา่ งผผู้ ลิตและผบู้ รโิ ภค
๓. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ความสาคญั ของภาษาธรุ กิจ
ก. ใชภ้ าษาเป็นเครอ่ื งประชาสมั พนั ธ์
ข. ใชเ้ ป็นส่อื กลางในการส่อื สาร
ค. ใชบ้ อกอารมณค์ วามรูส้ กึ ของผใู้ ชส้ ินคา้
ง. ใชส้ ่อื ถงึ คณุ ภาพของสินคา้ และบรกิ าร
๔. วิวฒั นาการของการส่อื สารยคุ ใดท่เี ป็นกา้ วแรกของยคุ เทคโนโลยีสมยั ใหม่
ก. ชาวอียิปตป์ ระดิษฐอ์ กั ษรเฮียโรกรฟิ ฟิ กส์
ข. โยฮนั กเุ ตน็ เบอรก์ ประดิษฐ์แท่นพิมพห์ นงั สอื
ค. เซอร์ อเลก็ ซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์ ประดษิ ฐเ์ ครอื่ งโทรศพั ท์
ง. บิลเกทส์ ประดษิ ฐไ์ มโครซอฟทเ์ วิรด์ ใชก้ บั เครอ่ื งคอมพิวเตอร์
๕. การเลา่ ประวตั ิสว่ นตวั ในจดหมายสมคั รงานเป็นองคป์ ระกอบสว่ นใดของการส่ือสาร
ก. ผสู้ ง่ สาร
ข. ขอ้ มลู ขา่ วสาร
ค. ชอ่ งทาง
ง. ผรู้ บั สาร
๖. ขอ้ ใดเป็นปฏิกิรยิ าสะทอ้ นกลบั จากการรบั สาร
ก. โทรทศั น์
ข. เสียงหวั เราะ
ค. ผชู้ มทางบา้ น
ง. ข่าวภาคเท่ยี งของสถานีโทรทศั น์
๗. ขอ้ ใดเป็นความหมายของ “การส่อื สารภายในองคก์ าร” ท่ีชดั เจนท่ีสดุ
ก. การสง่ พนกั งานออกสารวจขอ้ มลู ใหม่ ๆ ทางการตลาด
ข. การโฆษณาขายสนิ คา้ ชนิดใหมท่ ่ีบรษิ ัทเรม่ิ วางขายในตลาด
ค. การประชมุ วางแผนเพ่ือปรบั กลยทุ ธท์ างการตลาด
ง. การสง่ ขา่ วสารประชาสมั พนั ธใ์ หห้ นว่ ยงานตา่ ง ๆ ทราบความเคล่ือนไหว
ในบรษิ ัท
๘. ขอ้ ใดเป็นความหมายของ “การส่อื สารภายนอกองคก์ าร” ท่ีชดั เจนท่ีสดุ
ก. บนั ทกึ ชีแ้ จงยอดจาหน่ายสนิ คา้ ตกใหผ้ จู้ ดั การทราบ
ข. ชีแ้ จงจดุ อ่อนของการประชาสมั พนั ธส์ นิ คา้ ใหผ้ จู้ ดั การทราบ
ค. รายงานสภาวะการตลาดในช่วงไตรมาสท่ี ๓ ใหผ้ จู้ ดั การทราบ
ง. สง่ จดหมายเสนอขายสินคา้ ชนิดใหมท่ ่ีจะวางตลาดใหล้ กุ คา้ ประจาทราบ
๙. “หากคณุ ไมไ่ ดซ้ ือ้ โทรทศั น์ SONY ในช่วงนี้ คณุ จะพลาดโอกาสทองอย่างน่าเสยี ดายท่สี ดุ ” ขอ้ ความนีจ้ ดั เป็นสาร
ลกั ษณะใด
ก. แสดงขอ้ เทจ็ จรงิ
ข. แสดงขอ้ คดิ เห็น
ค. ประเมนิ คณุ คา่
ง. แนะนาส่งั สอน
๑๐. “รายงานผลการสารวจตลาดผบู้ รโิ ภคใหผ้ จู้ ดั การบรษิ ัททราบ” เป็นสารลกั ษณะใด
ก. แสดงขอ้ เทจ็ จรงิ
ข. แสดงขอ้ คิดเหน็
ค. ประเมนิ คณุ คา่
ง. แนะนาส่งั สอน
๑๑. ขอ้ ใดเป็นการส่อื สารแบบทางการ
ก. เป็นส่อื สารในหมเู่ พ่ือนรว่ มงานและคนใกลช้ ิด
ข. เป็นการส่อื สารระหวา่ งหนว่ ยงานหนง่ึ ถงึ อีกหน่วยงานหนง่ึ
ค. เป็นส่อื สารท่ตี อ้ งอาศยั ความรวดเรว็ ฉบั ไวในการตดั สนิ ใจ
ง. เป็นการส่อื สารท่ไี มต่ อ้ งใชห้ ลกั ฐานหรอื เอกสารยืนยนั ความถกู ตอ้ ง
๑๒. การละเวน้ ท่จี ะบอกความบกพรอ่ งในการทางานของตน จดั เป็นปัญหาการส่อื สารดา้ นใด
ก. ขาดการกล่นั กรองขอ้ มลู
ข. การตีความขอ้ มลู ผิดพลาด
ค. การบิดเบือนขอ้ มลู
ง. ขอ้ มลู ขาดความเท่ยี งตรง
๑๓. การใชภ้ าษาถ่ิน ภาษาเฉพาะกลมุ่ ภาษาสแลง จดั เป็นปัญหาและอปุ สรรคท่ีเกิดขนึ้ จากส่งิ ใด
ก. ผสู้ ง่ สาร
ข. จดุ หมายปลายทางในการส่อื สาร
ค. ช่องทางหรอื สญั ญาณในการส่อื สาร
ง. การใสร่ หสั และถอดรหสั ขอ้ มลู ขา่ วสาร
๑๔. การท่รี ฐั บาลมีนโยบายจดั สง่ ขา้ ราชการท่เี ป็นคนในทอ้ งถ่ินกลบั ไปปฏิบตั ิงานยงั บา้ นเกิดของตน จดั เป็นการแกป้ ัญหา
การส่อื สารในดา้ นใด
ก. ผสู้ ง่ สาร
ข. จดุ หมายปลายทางในการส่อื สาร
ค. ชอ่ งทางหรอื สญั ญาณในการส่อื สาร
ง. การใสร่ หสั และถอดรหสั ขอ้ มลู ข่าวสาร
๑๕. ขอ้ ใดไมใ่ ชล่ กั ษณะของภาษาธุรกิจ
ก. ใชค้ าง่ายและชดั เจน
ข. กลา่ วตรงประเดน็
ค. ใชภ้ าษาไพเราะเหมือนบทกวี
ง. เขียนสะกดและเวน้ วรรคตอนถกู ตอ้ ง
๑๖. ขอ้ ใดคอื คณุ ลกั ษณะของพนกั งานท่บี รษิ ัทตอ้ งการมากท่สี ดุ
ก. มคี วามรูท้ างดา้ นบรหิ ารธรุ กิจ
ข. มีความชานาญดา้ นคอมพิวเตอร์
ค. มีความประณีตในการเลอื กใชถ้ อ้ ยคา
ง. มคี วามสามารถดา้ นภาษาตา่ งประเทศ
๑๗. ขอ้ ใดเก่ียวขอ้ งกบั การใชภ้ าษาในงานธุรกิจมากท่สี ดุ
ก. ผบู้ รโิ ภคพอใจใชส้ นิ คา้ และบรกิ าร
ข. เกิดผลสาเรจ็ ในการเจรจาทางการคา้
ค. ผบู้ รโิ ภคเปล่ยี นใจมาใชผ้ ลิตภณั ฑช์ นิดใหม่
ง. ผบู้ รโิ ภคสามารถจาคาโฆษณาได้
๑๘. ขอ้ ใดเป็นภาษาแบบแผน
ก. ขา้ พระพทุ ธเจา้ รูส้ กึ สานกึ ในพระมหากรุณาธิคณุ เป็นลน้ พน้ พระพทุ ธเจา้ ขา้
ข. เจรญิ พรทา่ นผอู้ านวยการ อาตมาภาพใครข่ อความอนเุ คราะหเ์ คร่อื งฉายขา้ มศรี ษะ ๑ เครอ่ื ง เพ่ือนาไปใชใ้ นการ
บรรยายธรรมะในวนั วิสาขบชู า เวลา ๑๓.๐๐ น.
ค. ไอน้ ะเป็นดาวซลั โวท่ยี ิงใหท้ มี ชาตไิ ทยนดั เดียวสองประตู เจ๊ากนั ไปกบั เกาหลใี ต้
ง. เหน็ ไดช้ ดั ถงึ ความน่ิงของนกั เตะเมืองกาแฟ ไมร่ อ้ นรนเลยแมแ้ ตน่ อ้ ยเหมอื นจะรูว้ ่าเด่ยี วกท็ าประตไู ด้ ซง่ึ ก็ทาไดจ้ รงิ
ๆ ในหว้ งทดเวลาครง่ึ แรก
๑๙. ขอ้ ใดเป็นภาษากง่ึ แบบแผน
ก. ถงึ แกก่ รรม ล่นั กญุ แจ เรอื นจา กราบเรยี น
ข. รกั คดุ เมอื งโคราช สาดโคลน ไมเ่ อาไหน
ค. ด่มื เหลา้ ตะราง ใสก่ ญุ แจ คณุ ชายถนดั ศรี
ง. ทนั ตแพทย์ โรงภาพยนตร์ สถานีตารวจ
๒๐. ขอ้ ใดเป็นภาษาปาก
ก. ในทางพทุ ธศาสนาไดก้ ลา่ วถงึ คณุ ธรรมของบณั ฑิตไว้ ๕ ประการ ไดแ้ ก่ สจั จะ ธรรมะ อหิงสา สญั ญมะ ทมะ
ข. หยดุ โลกสมฉายาฟตุ บอลโลก ทีมบราซิลโชวฟ์ อรม์ ราคาเตง็ หนง่ึ พลกิ มาเอาชยั ชนะไดอ้ ยา่ งสวยงาม ทงั้ ๆท่ถี กู โซย้ ไป
กอ่ น ๑-๐
ค. ในศภุ วาระอนั เป็นม่งิ มหามงคลนี้ ขา้ พระพทุ ธเจา้ ขออนั เชิญคณุ พระศรรี ตั นตรยั และส่งิ ศกั ดสิ์ ิทธิ์ท่วั สากลพิภพ จงดล
บนั ดาลใหพ้ ระองคท์ รงพระเจรญิ ย่ิงยืนนาน
ง. ภาษาเปรยี บเสมอื นเสอื้ ผา้ ตอ้ งสวมใสใ่ หเ้ หมาะสมกบั เวลาและโอกาส เช่น ไปงานพิธีรตี องตอ้ งสวมชดุ ราตรหี รอื ชดุ
สากลนิยม ถา้ ไปงานเลยี้ งระหวา่ งญาติมิตรควรสวมชดุ กลางวนั แบบสภุ าพ แตห่ ากรบั ประทานอาหารท่บี า้ นจะสวมชดุ
แบบลาลองก็ไมม่ ใี ครจะวา่ ได้
ตอนท่ี ๒ อธบิ ายหรอื สรุปสาระสาคัญจากเร่ืองทอี่ ่านตอ่ ไปนี้
๑. จุดมุง่ หมายของการฟัง หมายถงึ ?
๒. หลักสาคัญของการสอ่ื สารและรับสาร ประกอบด้วย
๓. ใหอ้ ่านบทกลอนขา้ งล่างนีแ้ ล้ว บอกถงึ สาระสาคัญทผ่ี ู้เขยี นต้องการส่ือสารคอื เรอ่ื งอะไร
“พรุ่งนีแ้ ม่นา้ เจ้าพระยาตระหง่านอยบู่ นกระดาษ เป็ นภาพวาดสะทอ้ งเพยี งผิวนา้ ใส แทนภาพจริงชวี ติ จริงทสี่ ูญ
ไป บรรจงวาดเก็บไวใ้ หล้ ูกหลานดู”
๔. “แทจ้ ริงการพฒั นาเศรษฐกิจ คอื การเพม่ิ ขดี ความสามารถของประเทศในทุกๆด้านไม่ว่าจะเป็ นการค้าขาย
เสถยี รภาพของการเงนิ และการธนาคาร มาตรฐานการครองชพี ของประชาชน สภาพแวดล้อมในสังคม และท่ี
จะลมื เสยี ไมไ่ ดค้ อื การมที รัพยากรมนุษยท์ ม่ี คี ุณภาพ”
ขอ้ ความขา้ งต้นนีเ้ ป็ นสอ่ื สารถงึ เรือ่ งอะไรและผู้ส่งสารตอ้ งการบอกส่ิงใดใหผ้ ู้รับสารทราบ
“ถ้าทาด้วยความระมัดระวัง ความบกพร่องแมม้ ีกไ็ มม่ าก ฉะนั้นสติ
จงึ สาคัญ และมาเป็ นอันดบั หนึ่ง ปัญญามาเป็ นอนั ดบั ทส่ี อง การ
ระวังตนเองนั้นถูกตอ้ งแล้ว ส่วนมากระวังแตผ่ ู้อน่ื ไม่ยอ้ นมาระวงั
ตวั เอง ซงึ่ เป็ นตวั การสาคญั จงึ มักผดิ พลาดอยู่บอ่ ยๆ ธรรมะทา่ น
สอนใหด้ ตู นเอง ระวังตนเอง จะไดเ้ หน็ ความ”
๕. ข้อความข้างตน้ นีเ้ ป็ นการสือ่ สารถงึ เร่ืองอะไรและผู้ส่งสาร
ตอ้ งการบอกสงิ่ ใดใหผ้ ู้รับสารทราบ
“บางสิง่ มคี ่าโดยไมม่ รี าคา และบางสงิ่ มรี าคาโดยไมม่ คี ่า แตท่ งั้ ค่า และ ราคา ล้วนแต่เป็ นคาทโ่ี ลกสมมตขิ นึ้ จะ
ตา่ งกันก็ตรงทว่ี ่าเมอ่ื พูดถงึ ราคา เราสัมผัสหรือวดั ดว้ ยเงนิ แตเ่ มอื่ พดู ถงึ ค่า เราวดั และสัมผัสมันดว้ ยใจ ก็เป็ น
สิ่งทมี่ คี ่าตอ่ ผู้รับอยา่ งประมาณมไิ ด้ แมม้ นั จะไมม่ รี าคาค่างวด ตรงกันขา้ มสุรานอกจบิ ละสองหม่นื ขวดละสอง
แสนอย่างทเี่ คยเป็ นข่าว แม้จะมรี าคาทสี่ ูงยง่ิ แต่กไ็ มแ่ น่ใจวา่ มันเปี่ ยมด้วย ค่า ทส่ี ัมผัสไดส้ ักเสีย้ วหน่ึงของนา้
เยน็ ในสังคมวดั ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งมนุษยด์ ว้ ย ราคา เราจะพบว่าบุคคลทม่ี รี าคาโดยไม่มคี ่าและบุคคลทมี่ คี ่า
โดยไมม่ รี าคานั้น มใี หเ้ หน็ กลาดเกล่ือน จะเจบ็ ปวดอย่บู า้ งกต็ รงทคี่ นทมี่ รี าคานั้นเป็ นทย่ี อมรับมากกว่าคนทม่ี ี
ค่า คนทมี่ คี วามรู้สูงๆ ชนิดทสี่ ามารถขยายความรู้ความชานาญไดใ้ นราคาดเี ป็ นเงนิ เดอื นเรือนหม่นื เรือนแสน
เป็ นทช่ี นื่ ชอบ อยากจะเอาอย่างกัน โดยมคี าถามวา่ ความรู้ราคาแพงหรือผลงานราคาแพงเหล่านั้นทาใหค้ นผู้
นั้นมคี ่าไดห้ รอื ไม่ ในขณะเดยี วกันบุคคลทมี่ คี ่าแตไ่ ม่มรี าคาเพราะไมเ่ คยขายความคดิ หรือหลักการ แม้จะมผี ู้
พยายามซอื้ อย่ตู ลอดเวลากต็ ามนั้นเป็ นบุคคลทส่ี ังคมเราตระหนักถงึ มากน้อยแค่ไหน ในเมอ่ื ในยุคสมยั นีว้ ัด
ค่ากันด้วยราคาของเงนิ กันทัง้ นั้น”
๖. หลักเกณฑก์ ารวัดค่าของคนของผู้เขยี นคอื สง่ิ ใด?
๗. ข้อคดิ เรอ่ื งนีอ้ ย่ทู ?่ี
“ขอใหน้ ักเรียนเพยี รพยายามศึกษาเล่าเรียนใหเ้ ตม็ ที่ ตามทไี่ ดป้ ฏญิ าณไว้ แม้จะมไิ ด้เป็ นผู้ได้รับรางวัลในวันนี้
กต็ อ้ งมคี วามพยายาม เพราะว่าวันหน่ึงข้างหน้าก็จะไดร้ างวลั นั้นไมใ่ ช่รางวัลทไ่ี ด้แจกใหท้ น่ี ่ี แต่จะเป็ นรางวัล
อกี อยา่ งหนึ่งทที่ ุกคนจะไดร้ ับอย่างแน่นอน คือความสาเรจ็ ในชวี ติ ”
๘. ขอ้ ความข้างต้นนีเ้ ป็ นขอ้ ความทก่ี ล่าวขนึ้ โดยมวี ตั ถุประสงคเ์ พอ่ื อะไร?
“เงาพระปรางคว์ ดั อรุณอรุณส่อง ยอ่ มผุดผ่องกวา่ เงาแหง่ เตาอฐิ
และคาพดู นั้นเล่าเอาความคดิ เสมอื นพศิ พกั ตรช์ ะโงกกะโหลกทบึ ”
๙. ขอ้ ความขา้ งต้นมุง่ เสนอประเดน็ ใดเป็ นสาคัญ
๑๐. “อุรารานร้าวแยก ยลสยบ
เอนพระองคล์ งทบ ทา่ วดนิ้
เหนือคอคชซอนซบ สังเวช
วายชวี าตมส์ ุดสิน้ สู่ฟ้าเสวยสวรรค”์
ข้อความนีย้ กมาจากเรื่องลลิ ิตตะเลงพ่าย บทพระนิพนธข์ อง สมเดจ็ พระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชติ
ชโิ นรส ทท่ี รงพรรณนาถงึ การทายุทธหตั ถแี ล้วพระมหาอุปราชถกู สมเดจ็ พระนเรศวรฟันด้วยพระแสงของา้ วจน
พระอุระแยกออกจากกันเอนพระวรกายซบลงกับคอชา้ ง
ข้อความนีผ้ ู้แตง่ ตอ้ งการส่ือถงึ อะไรเป็ นประเด็นหลักและเรอ่ื งอะไรเป็ นประเดน็ รอง?