รายงานสรุปการดำเนนิ งานและประเมนิ ผลความสำเร็จของโครงการ
การพัฒนาศกั ยภาพครูผ้สู อนแผนกวชิ าสามญั สัมพันธ์ดว้ ยโปรแกรม E-portfolio
นางสาววีรยา ศรียาภยั
รหัสนักศึกษา ๖๑๔๓๐๒๐๓๑
รายงานฉบับนเี้ ปน็ สว่ นหนึง่ ของการเรยี นวิชาการฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ๑๕๕๔๘๐๕
สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ภาคเรยี นท่ี ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔
รายงานสรุปการดำเนนิ งานและประเมนิ ผลความสำเร็จของโครงการ
การพัฒนาศกั ยภาพครูผ้สู อนแผนกวชิ าสามญั สัมพันธ์ดว้ ยโปรแกรม E-portfolio
นางสาววีรยา ศรียาภยั
รหัสนักศึกษา ๖๑๔๓๐๒๐๓๑
รายงานฉบับนเี้ ปน็ สว่ นหนึง่ ของการเรยี นวิชาการฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ๑๕๕๔๘๐๕
สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ภาคเรยี นท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔
ก
คำนำ
เอกสารรายงานผลการดำเนินการโครงการการพัฒนางาน ณ สถานศึกษาขณะฝึกประสบการณ์
วิชาชีพของนักศึกษาหลักสูตรศิลปะศาสตร์บัณฑิต (ศศ.บ.) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ โดยผู้จัดทำจัดดำเนินโครงการการพัฒนา
ศักยภาพครูผู้สอนแผนกวิชาสามัญสัมพันธ์โดยใช้โปรแกรม E-portfolio ให้แก่ คณะครู อาจารย์ผู้สอน
แผนกวิชาสามัญสัมพันธ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาชุมพร จังหวัดชุมพร โดยใช้โปรแกรมเทคโนโลยีดิจิทัล
และสื่อมัลติมีเดีย ๓ โปรแกรม ดังนี้ โปรแกรม Google Site, Canva และโปรแกรม ME QR
เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการจัดทำ E-portfolio โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ครูผู้สอนแผนกวิชาสามัญสัมพันธ์
สามารถเผยแพร่ผลงานทักษะทางวิชาการ, การดำเนินงานหรือกิจกรรม, สื่อการเรียนการสอน
รวมไปถงึ ขอ้ มลู ขา่ วสารต่างๆ ผ่านเว็บไซต์วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาชมุ พรใหเ้ ป็นที่ประจกั ษ์ต่อสาธารณชน
ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าโครงการพัฒนางานที่จัดขึ้นจะส่งผลสูงสุดต่อครูผู้สอนแผนกวิชาสามัญ
สมั พันธ์ และผ้จู ัดทำขอขขอบพระคุณคณะครู อาจารย์ทกุ ท่านท่ใี ห้การสนบั สนุนและให้ความร่วมมืออย่างดียิ่ง
หากมีข้อผดิ พลาดประการใดในการจดั ดำเนนิ การในคร้ังนี้ผูจ้ ัดทำขออภยั มา ณ ท่นี ี้ด้วย
ผ้จู ัดทำ
สารบญั ข
คำนำ หนา้
สารบญั ก
บทท่ี ๑ บทนำ ข
ประวัตคิ วามเปน็ มา ๑
โครงสรา้ งการบรหิ ารงานของสถานศึกษา ๒
บทที่ ๒ การฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี
ขอบเขตหน้าทก่ี ารปฏิบตั งิ านของแผนก ๔
ขอบเขตหน้าที่การปฏิบัติงานในตำแหนง่ หน้าท่ี ๕
ปญั หาท่พี บขณะฝึกประสบการณ์วชิ าชีพ ๕
สรุปประสบการณว์ ชิ าชพี และข้อเสนอแนะ ๖
บทท่ี ๓ แนวทางในการพัฒนางาน
หลกั การและเหตุผล ๗
วตั ถปุ ระสงค์ ๗
ตวั ช้วี ัดความสำเรจ็ ๘
เป้าหมาย ๘
ระยะเวลาการดำเนินโครงการ ๑๑
กลุม่ เปา้ หมาย ๑๑
ระยะเวลาการดำเนนิ โครงการ ๑๑
กำหนดการจดั โครงการ ๑๑
ตารางกำหนดการดำเนินงาน ๑๒
เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการรวบรวมข้อมลู ๑๔
วิธีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ๑๔
เครอ่ื งมือและเกณฑ์ทใ่ี ช้ในการประเมินการบรรลุวตั ถุประสงคข์ องโครงการ ๑๕
การวเิ คราะหข์ อ้ มูล ๑๖
ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ๑๗
สรปุ ผล ๒๑
ภาคผนวก ๒๒
รปู ภาพขณะฝึกประสบการณว์ ิชาชีพ
บนั ทกึ ข้อความการทำโครงการ
เอกสารประกอบการดำเนนิ โครงการฯ (ค่มู อื )
แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ
แบบประเมนิ คณุ ภาพเคร่อื งมือ
แบบประเมินคุณภาพคู่มอื ประกอบการดำเนนิ โครงการฯ
รปู ภาพประกอบการดำเนนิ โครงการฯ
๑
บทที่ ๑
บทนำ
ประวตั คิ วามเป็นมา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาชุมพร ตั้งอยู่เลขที่ ๑๔๖ ถนนพิศิษฐ์พยาบาล ตำบลท่าตะเภา อำเภอเมือง
จังหวัดชุมพร มีเนื้อที่ ๑๓ ไร่ ๒ งาน ๗๓ ตารางวา วิทยาลัยอาชีวศึกษาชุมพรเป็นสถานศึกษา
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการเกิดจากการรวมสถานศึกษาในสังกัด
กรมอาชีวศึกษาเดิมเข้าด้วยกัน คือ โรงเรียนการช่างชุมพรและโรงเรียนอาชีวศึกษาชุมพร และใช้ชื่อใหม่
ว่า “โรงเรียนเทคนิคชุมพร” ต่อมาได้รับการยกฐานะข้ึนเป็นวิทยาลัย เมื่อวันที่ ๑ เมษายน ๒๕๒๓
มชี ่ือใหมว่ า่ “วทิ ยาลัยเทคนิคชมุ พร” มรี ายละเอยี ดความเปน็ มาดงั ต่อไปนี้
โรงเรียนการช่างชุมพร เดิมชื่อ “โรงเรียนประถมช่างไม้ชุมพร” เปิดทำการสอนครั้งแรกเม่ือ
วันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๔๗๗ เปิดทำการเรยี นการสอนสำหรับนักเรียนที่สำเร็จการศึกษาจากประถมศึกษา
ปีที่ ๔ เข้าเรียนหลักสูตร ๒ ต่อมาปี พ.ศ.๒๔๘๔ จัดตั้งเป็นโรงเรียนตัดเย็บเสื้อผ้าชุมพร โดยนายสุจินต์
หริ ญั รตั น์ โดยใชพ้ ้ืนท่ีเดมิ ของโรงเรียนสะอาดเผดิมวทิ ยา (ปัจจุบนั คือ โรงเรยี นอนุบาลชมุ พร)
ปี พ.ศ.๒๔๙๑ เปลี่ยนช่อื เปน็ โรงเรยี นการชา่ งสตรชี ุมพร
ปี พ.ศ.๒๕๑๗ เปลยี่ นเป็นโรงเรียนอาชีวศกึ ษาชมุ พร
ปี พ.ศ.๒๕๑๙ รวมกับโรงเรียนการช่างชุมพร และเปลย่ี นช่ือเปน็ ”โรงเรียนเทคนิคชมุ พร”
ปี พ.ศ.๒๕๒๓ ไดร้ ับการปรบั ปรุงและยกฐานะเป็นวทิ ยาลยั ใชว้ ่า”วิทยาลัยเทคนคิ ชุมพร”
ปี พ.ศ.๒๕๓๗ ไดม้ ีการยา้ ยบางประเภทวชิ า ไปทำการสอนทว่ี ิทยาลยั เทคนคิ ชุมพร
โดยแบ่งวิทยาลัยออกเป็น ๒ วิทยาเขต คือ วิทยาลัยเทคนิคชุมพร เขต ๑ ตั้งอยู่ที่ ๑๔๖
ถนนพิศิษฐ์พยาบาล ตำบลท่าตะเภา อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร และวิทยาลัยเทคนิคชุมพร เขต ๒
ต้ังอยูท่ ี่ ๑๓๘ ถนนอาราม หมู่ที่ ๘ ตำบลนาชะอัง อำเภอเมือง จังหวดั ชุมพร
โครงสรา้ งการบริหารงานของสถานศกึ ษา
นายประทีป
ผู้อำนวยการวทิ ยาล
นายพฒั นกจิ วงค์ลาศ นางจรุ ีวรรณ อรัญพฤกษ์
ผอู้ ำนวยการฝ่ายวชิ าการ รองผ้อู ำนวยการ
ฝ่ายแผนงานและความรว่ มมือ
นางณฐั วรรณ แสงสวี นางสาววรรณเนา ธ
หัวหนา้ แผนกวชิ าสามญั สัมพนั ธ์ หวั หน้าแผนกวิช
(ครูประจำ ๑๗ ทา่ น, ครูอัตราจ้าง ๗ ท่าน)
(ครูประจำ ๑๐ ทา่ น, คร
นางวรรษยา บญุ นรากร นางเสาวลักษ
หวั หน้าแผนกวชิ าการขายการตลาด หวั หน้าแผนกวิชาค
(ครูประจำ ๕ ทา่ น, พนักงานราชการ ๒ ท่าน) (ครูประจำ ๑๐ ท่าน,
นางกองแก้ว ลอวดิ า นางสาวสุภาภร
หวั หน้าแผนกวชิ าคหกรรมศาสตร์ หัวหนา้ แผนกวชิ าผา้ แ
(ครูประจำ ๒ ทา่ น) (ครูประจำ ๑
๒
ป แปน้ แกว้
ลัยอาชวี ศึกษาชมุ พร
นายจิรพงษ์ โลพศิ นางเมธาวดี มณีนลิ รอง
รองผู้อำนวยการ รองผูอ้ ำนวยการ
ฝ่ายบรหิ ารทรพั ยากร ฝา่ ยพัฒนากจิ การนกั เรยี นนักศึกษา
ธนวรรณพงศ์ นางภลิตา กลบั วหิ ค
ชาการบญั ชี หวั หนา้ แผนกวิชาการเลขานุการ
รอู ัตราจา้ ง ๑ ท่าน)
(ครปู ระจำ ๘ ทา่ น)
ษณ์ บุญชนื่ นางเสาวลักษณ์ ฤทธิเกษร
คอมพวิ เตอร์ธุรกจิ หวั หนา้ แผนกวชิ าอาหารฯ
ครูอัตราจา้ ง ๒ ท่าน) (ครูประจำ ๔ ท่าน, ครูอตั ราจา้ ง ๑ ทา่ น)
รณ์ รกั ษาม่ัน นางกชกร ถึงวสิ ัย
และเคร่ืองแต่งกาย หวั หนา้ แผนกวิชาการทอ่ งเท่ยี วและโรงแรม
๑ ท่าน) (ครปู ระจำ ๔ ทา่ น, ครอู ตั ราจา้ ง ๒ ทา่ น)
โครงสร้างการบรหิ ารงานของแผนกวิชาสามัญสัมพันธ์
นางณัฐวรร
หวั หน้าแผนกวิช
นางจุฑาพร ทองรอด ครปู ร
นางอรสา โรยภริ มย์ นางสาวเพญ็ พิชยา อัครธนารักษ์
นางภาวนิ ี พรหมบางญวน
นางสาวมณีรัตน์ สิทธยิ ากร นางสาวสุมฏั ฐา ใจสมคม
นางสาวสธุ ัญญา เพชรมณี
นายอภิชาติ อินทรัตน์
ครอู ตั ร
นางสาวจรี นนั ท์ แก้วชลคราม นายภาคภมู ิ ทวชิ ศรี Mr.Jose
Mr. Pavel Pavich Golovnev
Miss Laarnie Alberto Jose
๓
รณ แสงสวี
ชาสามญั สัมพันธ์
ระจำ นางฤดีวรรณ ธรรมาภิวฒั น์
นางนิลุบล นำ้ เงนิ นายกิจตพิ งศ์ บหู้ ลง
นางปาริสา ทวี
นางสาวเกศินี เสวกวงศ์ นางสาวธัญวรตั ม์ แสงสว่าง
นางศิรริ ัตน์ เสวรันต์
นายธนายุทธ เเสงประดิษ
ราจา้ ง
Cer G. Bundalian Ms. Christine Hermo Villanueva
Mr. Jomar Hofilena Montanez
๔
บทท่ี ๒
การฝึกประสบการณว์ ชิ าชพี
ขอบเขตหน้าท่ีในการปฏิบตั งิ านในแผนกขณะฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
ในโครงการฝึกประสบการณ์วิชาชีพภาษาอังกฤษ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ของนักศึกษา
หลักสูตรศิลปะศาสตร์บัณฑิต (ศศ.บ.) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาชุมพร จังหวัดชุมพร แผนกวิชาสามัญสัมพันธ์ หมวดวิชาภาษาต่างประเทศ
ตำแหน่งนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ และหน้าที่อื่นที่ได้รับมอบหมายเพิ่มเติมในโอกาสต่างๆ
ของหมวดวชิ าภาษาอังกฤษและแผนกวิชาสามัญสัมพันธ์ ดังน้ี
จากการประชุมหมวดวิชาภาษาต่างประเทศหนา้ ท่ีท่ีได้รับมอบหมาย เรอ่ื งการจัดกิจกรรมวนั คริสต์มาส
เนื่ อ งด้ ว ย น โ ย บ า ย ข อ ง ผู้ บ ริ ห า ร ส ถ า น ศึ ก ษ า มี ม ติ ให้ จั ด ก า ร จั ด ก า ร เรี ย น ก า ร ส อ น ใน รู ป แ บ บ อ อ น ไล น์
เพ่ือลดการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรน่า (COVID-๑๙ ) การจัดกิจกรรมจึงมีการกิจกรรมข้ึน
ในรูปแบบออนไลน์ โดยจัดกิจกรรมข้ึน ๓ กิจกรรม คอื การประกวดการ์ดวันคริสต์มาส การประกวดออกแบบ
และสร้างสรรค์ชุดจากวัสดุเหลือใช้ภายใต้หัวข้อวันคริสต์มาส และกิจกรรมประกวดร้องเพลงสากล
ภายใต้หัวข้อคริสต์มาส โดยหน้าท่ีท่ีได้รับมอบหมายหลังส้ินสุดการประชุมคือ กำหนดเกณฑ์การตัดสินผลงาน
ในรูปแบบภาษาไทยและภาษาอังกฤษ รวมถึงของรางวัลที่จะมอบให้กับนักเรียน นักศึกษาท่ีส่งผลงาน
เข้าร่วมกิจกรรม (ร่วมกับครูผู้ดูแลขณะฝึกประสบการณ์วิชาชีพ) และเป็นผู้ออกแบบและผลิตสื่อ
เพ่ือประชาสัมพันธ์กิจกรรมให้กับนักเรียน นักศึกษา และรวบรวมและร่วมจัดทำคลิปอวยพรเน่ืองในโอกาส
วันคริสต์มาสกับครูหมวดวิชาภาษาต่างประเทศ และรองผู้อำนวยการฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ
วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาชุมพร
จากการเข้าร่วมประชุมแผนกวิชาสามัญสัมพันธ์ หน้าท่ีที่ได้รับมอบหมายเร่ืองการเป็นวิทยาลัยเจ้าภาพ
ในการจัดการแข่งขันทักษะวิชาชีพระดับจังหวัดคือ คณะกรรมการดำเนินงานแข่ง ทักษะวิชาชีพ
ฝ่ายการจัดการแข่งขันภาษาอังกฤษ จำนวน ๒ รายการได้แก่ การแข่งขันพูดภาษาอังกฤษในท่ีสาธารณะ
และการพูดสาธติ ภาษาอังกฤษ การปฏิบตั งิ านเพื่อเตรยี มความพร้อมกอ่ นการจัดการแข่งขันของคณะกรรมการ
การดำเนินการจัดการแข่งขันคือ จัดสถานที่ที่ใช้ในการจัดการแข่งขัน จัดทำเอกสารเสนอโครงการและเกณฑ์
การตัดสินของการแข่งขันทั้ง ๒ รายการให้กับผู้อำนวยการลงนามทราบและอนุมัติ และจัดทำฉากพื้นหลัง
ประกอบการดำเนินการจัดการแข่งขัน และ ณ วันจัดการแข่งขันได้ปฏิบัติหน้าท่ีเจ้าหน้าที่รับลงทะเบียน
ครแู ละนักเรียนผเู้ ขา้ ร่วมการแข่งขัน และลงทะเบียนคณะกรรมการดำเนินงานการจัดการแข่งขัน สรปุ รวบรวม
และรายงานผลการแขง่ ขัน และเป็นผชู้ ่วยฝ่ายจดั ทำเกียรติบัตรของแผนกวิชาสามัญสมั พันธ์
๕
จากการเข้าร่วมประชุมแผนกวิชาสามัญสัมพันธ์ เรื่องการประเมินผลการปฏิบัติงานโดยการทำข้อตกลง
การปฏิบัติงาน (PA: Performance Agreement) ของข้าราชการครู ครูอัตราจ้างและพนักงานราชการด้าน
การศึกษา เน่ืองด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID-๑๙) การประเมินผล
การปฏิบัติงานและการนิเทศการสอนของครูทุกท่านอยู่ในรูปแบบออนไลน์ วิธีการวัดและประเมินผล
จึงดำเนินไปอย่างยากลำบากหากต้องมีการดำเนินการ ณ สถานศึกษา เน่ืองด้วยมาตรการป้องกัน
และลดการแพร่ระบาดของโรคโควิด ๑๙ สถานศึกษาจึงมีนโยบายการวัดและประเมินบุคลากรทางการศึกษา
ให้อยู่ในรูปแบบออนไลน์ สืบเน่ืองด้วยเหตุดังกล่าวหัวหน้าแผนกวิชาสามัญจึงมีการปรึกษาหารือ
เพ่ือหาแนวทางแก้ไขร่วมกันกับครูและอาจารย์ภายในแผนกวิชา ด้วยนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
มีความรู้ความสามารถด้านการใช้งานโปรแกรม Google Site และ โปรแกรม Canva จึงเสนอการจัด
การอบรมเพื่อสร้างแฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้ครู อาจารย์สามารถจัดเก็บและเผยแพร่ผลงาน
ของตนเองประกอบการวัดประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงานรวมถึงสื่อการเรียนการสอนต่อสาธารณชน
หน้าที่ทีไ่ ด้รับมอบหมายในการปฏบิ ัติงานในตำแหน่งนักศกึ ษาฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพ
ได้รับมอบหมายให้สอนจำนวนทั้งหมด ๓ รายวิชา คือ รายวิชาภาษาอังกฤษ ฟัง-พดู การอ่านส่ือสิ่งพิมพ์
ภาษาอังกฤษ และวิชาการเขียนภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ๑๒ ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และในสัปดาห์ที่ ๑๕
ของการจัดการเรียนการสอนได้รับมอบหมายเข้าดำเนินการจัดการเรียนการสอนและวัดประเมินผลสัมฤทธิ์
การศึกษาแทนครูชาวต่างชาติโดยผ่านมติความเห็นชอบจากหัวหน้าแผนกวิชาสามัญสัมพันธ์ หัวหน้าแผนก
วิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล ผู้บริหารฝ่ายวิชาการและผู้อำนวยการสถานศึกษา จำนวน ๓ รายวิชา
คือวิชาโปรแกรมมัลติมีเดีย วิชาภาษาอังกฤษเพื่อการนำเสนอ และวิชาภาษาอังกฤษอินเทอร์เน็ต
จำนวน ๑๔ ช่วั โมงต่อสัปดาห์ รวมจำนวนปฏบิ ัติงาน ๒๖ ชว่ั โมงต่อสัปดาห์
ปัญหาที่พบ
จากการปฏิบัติหน้าที่ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพพบว่าครู อาจารย์ แผนกวิชาสามัญสัมพันธ์
มีความต้องการพัฒ นาการใช้เทคโนโลยีสารส นเทศ การสร้างสื่อมัลติมีเดียป ระเภทออนไลน์
ในการดำเนินการจัดกิจกรรมของแผนกวิชาสามัญสัมพันธ์ และกิจกรรมต่างๆ ของสถานศึกษาในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่า COVID-๑๙ และการพัฒ นาตนเองด้านเทคโนโลยี
เพอ่ื ให้มีความสอดคลอ้ งกบั นโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการเรื่องการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
๖
สรุป
จากการสังเกตการณ์ขณะฝึกประสบการณ์ ณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาชุมพร แผนกวิชาสามัญสัมพันธ์
พบว่าครู อาจารย์ มีความต้องการการพัฒนาตนเองด้านการใช้งานเทคโนโลยีส่ือมัลติมีเดียออนไลน์
เพื่อให้มีความสอดคล้องและขานรับต่อนโยบายการศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑ ของกระทรวงศึกษาธิการ
และการอำนวยความสะดวกต่อการจัดการเรียนการสอนและการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ในรูปแบบออนไลน์
ต่อครูผู้สอนและผู้เรยี นในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือโคโรน่าไวรัส COVID-๑๙
ขอ้ เสนอแนะ
การจัดดำเนินการควรจัด ณ ห้องเรียนหรือสถานท่ีท่ีไม่กว้างจนเกินไป การเฉล่ียจำนวนวิทยากร
ต่อจำนวนของผู้เข้าร่วมโครงการเพ่ือดูแลและช่วยเหลือขณะมีการสาธิตและสอนการใช้งานโปรแกรมที่ใช้
ในการสร้างแฟม้ สะสมผลงานอิเลก็ ทรอนกิ ส์ควรจดั เตรียมอย่างเหมาะสม
๗
บทท่ี ๓
แนวทางในการพฒั นางาน
โครงการพฒั นาศกั ยภาพครผู สู้ อนแผนกวิชาสามัญสัมพนั ธ์โดยใช้โปรแกรม E-portfolio
หลักการและเหตผุ ล
ด้วยสังคมโลกในศตวรรษที่ ๒๑ ประชาคมโลกตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญของการนำสื่อ
เทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน และสังคมไทยตระหนักดีว่าการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
เป็นการพัฒนาอย่างย่ังยืน ทรัพยากรมนุษย์จึงต้องมีการพัฒนาทักษะด้านต่างๆ อย่างต่อเน่ืองเช่นกัน
โดยเฉพาะอย่างย่ิงทักษะการใช้ส่ือเทคโนโลยีดิจิทัล อันจะนำพาสังคมไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน ม่ันคง
และมีศักยภาพ และด้วยกระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายส่งเสริมและสนับสนุนการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้
ในหน่วยงานภาครัฐตามนโยบายการบริหารงานราชการของรัฐบาลและปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลให้กระทรวงศึกษาธิการมีการปรับนโยบายการศึกษา
ให้สถานศกึ ษาจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ เพ่ือลดการแพร่ ระบาดของเช้ือไวรัส จงึ มีความจำเป็น
ที่จะต้องมีการพัฒนาคณะครู อาจารย์และบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถในการใช้ส่ือเทคโนโลยี
ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ และก้าวทนั ต่อยุคแห่งเทคโนโลยี
ด้วยสื่อเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามามีบทบาทสำคัญอย่างมากในการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑
และการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบออนไลน์ของปัจจุบัน การพัฒนาศักยภาพของครูผู้สอนจึงมีความสำคัญยิ่ง
เพื่อเพ่ิมสมรรถนะและศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน ผู้เสนอโครงการได้เล็งเห็นถึงปัญหา
ในการรวบรวมและการเผยแพรส่ ื่อประกอบการเรียนการสอนและผลงานด้านตา่ งๆ ของครผู ้สู อนในรูปแบบสื่อ
เทคโนโลยีดิจิทัลให้เป็นที่ประจักษ์ผ่านเว็บไซต์ของสถานศึกษา จึงขออนุญาตจัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพ
ครูผู้สอนแผนกวิชาสามัญสัมพันธ์เพื่อจัดทำ e-portfolio สำหรับเตรียมความพร้อมให้กับคณะครู อาจารย์
แผนกวิชาสามัญสัมพันธ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาชุมพร เพอื่ พัฒนาทักษะศกั ยภาพดา้ นการใช้สื่อเทคโนโลยดี ิจิทัล
และสนองต่อนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการ
วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ
๑. เพื่ออบรมเชิงปฏิบัติการผลิตสื่อการเรียนการสอน ประเภทส่ือออนไลน์ แฟ้มสะสมผลงาน
อิเล็กทรอนกิ ส์
๘
๒. เพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ และแฟ้มสะสมผลงาน
อิเลก็ ทรอนิกส์
๓. เพื่อเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ผลงาน ส่ือนวัตกรรมของครูผู้สอนประจำแผนกวิชาสามัญสัมพันธ์
ผา่ นเว็บไซตข์ องสถานศกึ ษา
ตัวช้วี ดั
ตวั ชว้ี ัดเชงิ ปรมิ าณ
๑. จำนวนครูผสู้ อนแผนกวิชาสามญั สมั พันธ์จำนวนไม่น้อยกว่า ๑๐ ทา่ น
๒. ครูผู้สอนผู้เข้าร่วมโครงการสามารถผลิตส่ือการเรียนการสอนประเภทสื่อออนไลน์และแฟ้ม
สะสมผลงานอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ไดไ้ ม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๘๐
๓. ครูผู้สอนสามารถเผยแพร่ผลงานท่ีผลิตข้ึนโดยใช้โปรแกรมที่ใช้ประกอบการอบรมผ่านเว็บไซต์
ของสถานศกึ ษาไดไ้ ม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๘๐
ตวั ชว้ี ดั เชงิ คุณภาพ
๑. ร้อยละของครูผู้สอนผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความสามารถในการผลิตส่ือการเรียนการสอน
ประเภทส่ือออนไลน์และแฟม้ สะสมผลงานอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์เพิ่มข้ึน ร้อยละ ๘๐
๒. ร้อยละของครูผู้สอนผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเผยแพร่ผลงานท่ีผลิตข้ึนโดยใช้โปรแกรม
ทใี่ ช้ประกอบการอบรมผา่ นเวบ็ ไซตข์ องสถานศกึ ษาได้ร้อยละ ๘๐
ตัวช้วี ดั เชิงเวลา
ครูผู้สอนแผนกวิชาสามัญสัมพันธ์สามารถผลิตสื่อการเรียนการสอนประเภทส่ือออนไลน์และแฟ้ม
สะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์และเผยแพร่ผลงานผ่านเว็บไซต์ของสถานศึกษาได้ภายในเวลา ๒ สัปดาห์
หลังสิน้ สดุ โครงการอบรมร้อยละ ๘๐
เป้าหมาย
เปา้ หมายเชงิ ปรมิ าณ
๑. ครูผู้สอนแผนกวิชาสามัญสัมพันธ์เข้าร่วมโครงการเชิงปฏิบัติการผลิตสื่อการเรียนการสอนประเภท
สื่อออนไลน์และแฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของจำนวนครูแผนกวิชาสามัญ
สมั พนั ธ์ทง้ั หมด
๙
๒. ครูผู้สอนแผนกสามัญสัมพันธ์มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะความสามารถในการผลิตส่ือ
การเรียนการสอนประเภทสื่อออนไลน์และแฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
ของครูผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ
๓. ครูผู้สอนแผนกวิชาสามัญ สัมพันธ์สามารถเผยแพร่ผลงานท่ีผลิตขึ้นโดยใช้โปรแกรม
ท่ใี ช้ประกอบโครงการผา่ นเว็บไซต์ของสถานศึกษาได้ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๘๐ ของครูผู้เขา้ ร่วมโครงการ
เป้าหมายเชิงคุณภาพ
๑. ครูผู้สอนแผนกวิชาสามัยสัมพันธ์เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการผลิตส่ือการเรียนการสอนประเภท
สอ่ื ออนไลน์และแฟม้ สะสมผลงานอเิ ล็กทรอนิกส์
๒. ครูผู้สอนแผนกวิชาสามัญสัมพันธ์มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะความสามารถในการผลิตส่ือ
การเรียนการสอนประเภทสอื่ ออนไลนแ์ ละแฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์
๓. ครูผู้สอนแผนกวิชาสามัญ สัมพันธ์สามารถเผยแพร่ผลงานที่ผลิตขึ้นโดยใช้โปรแกรม
ทใ่ี ช้ประกอบการอบรมผา่ นเวบ็ ไซต์ของสถานศึกษาได้
เปา้ หมายเชิงเวลา
ครูผู้สอนแผนกวิชาสามัญสัมพันธ์สามารถผลิตและเผยแพร่สื่อการเรียนการสอนประเภทสื่อออนไลน์
และแฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเว็บไซต์ของสถานศึกษาได้ภายหลังสิ้นสุดการดำเนินโครงการ
ระยะเวลา ๒ สปั ดาห์
ข้นั ตอนการดำเนินการ
ขนั้ เสนอโครงการ
๑. สำรวจความต้องการของโครงการท่ีมีความประสงค์จะส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพให้ครูผู้สอน
แผนกวิชาสามัญสัมพันธ์โดยใชว้ ิธีการสังเกตการณ์ขณะมีการจดั กิจกรรมต่างๆ ของแผนกวชิ าและสถานศึกษา
๒. เม่ือเล็งเห็นถึงส่ิงที่มีความประสงค์ท่ีจะส่งเสริมให้กับแผนกวิชาแล้วจึงศึกษาแนวทาง
และวางแผนการดำเนินโครงการเพอ่ื นำไปปรกึ ษากบั ครูผู้ดูแลขณะฝึกประสบการณ์วิชาชพี
๓. เมอื่ ครูผู้ดูแลเหน็ ชอบแลว้ จงึ นำโครงการไปเสนอและปรกึ ษากบั ครหู ัวหนา้ แผนกวชิ าสามญั สัมพันธ์
๔. เมื่อครูหัวหน้าแผนกวิชาสามัญสัมพันธ์เห็นชอบจึงจัดทำเอกสารบันทึกข้อความและรายละเอียด
โครงการยืน่ เสนอโครงการใหห้ วั หน้าแผนกวิชาและคณะผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาอนุญาตจัดดำเนนิ โครงการ
๑๐
ขน้ั ขออนุญาตการจดั ดำเนินโครงการ
จัดทำบันทึกข้อความขออนุญาตเสนอโครงการการพัฒนาศักยภาพครูผู้สอนแผนกวิชาสามัญสัมพันธ์
ด้วยโปรแกรม E-portfolio และรายละเอียดการจัดโครงการเพ่ือยื่นเสนอขอการอนุมัติโดยผ่าน
ครหู ัวหน้าแผนกวิชาสามญั สมั พนั ธ์, รองผอู้ ำนวยการฝ่ายบริหารงานวชิ าการและผอู้ ำนวยการสถานศึกษา
ขนั้ ประสานงาน
จั ด ท ำห นั งสื อ ข อ ค ว าม อ นุ เค ร าะ ห์ วิ ท ย าก ร จ าก แ ผ น ก วิ ช าเท ค โน โล ยี ธุ รกิ จ ดิ จิ ทั ล
วิทยาลัยอาชีวศึกษาชุมพร เสนอต่อผู้บริหารฝ่ายวิชาการและผู้อำนวยนวยการลงนามอนุมัติ
เพ่ือให้ความรู้และถ่ายทอดทักษะกระบวนการข้ันตอนการใช้งานโปรแกรม Google Site, Canva
และ ME QR เพ่ือใช้ในการจัดทำ E-portfolio ไปใช้ในการเผยแพร่ผลงานผ่านเว็บไซต์ของสถานศึกษา
จำนวน ๓ ท่าน ดังนี้
๑. นางเสาวลักษณ์ บุญชื่น ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพเิ ศษ
๒. นายพงษย์ ุทธ อดุ มศักดิ์ ตำแหน่งครูผชู้ ่วย
๓. นายอรรถนนั ท์ บวั จนี ตำแหน่งครูผูช้ ว่ ย
ขน้ั ดำเนินงานตามแผนการดำเนนิ โครงการ
๑. ศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูล ความหมาย ประโยชน์ ข้อดี ข้อจำกัด ขั้นตอนการใช้งานโปรแกรม
Google Site, Canva, ME QR และแบบฟอรม์ รปู แบบของแฟม้ สะสมผลงานอิเลก็ ทรอนิกส์ E-portfolio
๒. จัดทำคู่มือการใชง้ านโปรแกรมทัง้ ๓ โปรแกรมเพอ่ื ใช้ประกอบโครงการอบรม
๓. จัดทำตารางกำหนดการดำเนินโครงการและดำเนนิ งานตามแผนกำหนดการ
๔. ให้ครแู ผนกวิชาสามัญสัมพันธผ์ ูเ้ ข้ารว่ มโครงการอบรมลงทะเบยี นเข้าร่วมโครงการ
๕. ให้ครูแผนกวิชาสามัญสัมพันธ์ผู้เข้าร่วมโครงการอบรมทำแบบประเมินความพึงพอใจการเข้าร่วม
โครงการ
๖. ให้ครูแผนกวิชาสามัญสัมพันธ์ผู้เข้าร่วมโครงการอบรมดำเนินการผลิตสื่อการเรียนการสอน
ประเภทออนไลน์และแฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรินิกส์ เป็นระยะเวลารวม ๒ สัปดาห์ภายหลังส้ินสุดการอบรม
นบั ต้ังแต่วันจันทร์ท่ี ๓๑ มกราคม ๒๕๖๕ ถึง วนั จนั ทรท์ ี่ ๑๔ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๕
๗. จัดเก็บรวบบรวมข้อมูลประเมินผล ผลงานของครูผู้แผนกวิชาสามัญสัมพันธ์ผู้เข้าร่วมโครงการ
อบรมผา่ นเวบ็ ไซต์สถานศึกษา
๘. วิเคราะห์ข้อมูลที่จัดเก็บรวบรวมไว้โดยใช้วิธีการหาค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ค่าเฉล่ีย
และคา่ ร้อยละ
๑๑
ขั้นสรุปและรายงานผลการดำเนินโครงการ
รวบรวมผลการวิเคราะห์ข้อมูลและจัดทำเล่มรายงานเพื่อรายงานการจัดดำเนินงานโครงการ
การพัฒนาศักยภาพครูผสู้ อนแผนกวชิ าสามญั สมั พนั ธโ์ ดยใช้โปรแกรม E-portfolio วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาชุมพร
ส่งหวั หน้าแผนกวิชาทส่ี ังกดั และรายงานใหก้ บั ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา
กลมุ่ เปา้ หมาย
ครผู ู้สอนแผนกวิชาสามัญสมั พันธ์ วิทยาลยั อาชีวศึกษาชมุ พร จำนวน ๑๙ ทา่ น
ระยะเวลาการดำเนินโครงการ
วันจันทรท์ ่ี ๒๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๕ และวนั จันทรท์ ี่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๕ (การอบรม)
วันจันทร์ที่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๕ ถึงวันจันทร์ที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๕ (การผลิตส่ือ
และการเผยแพรผ่ ลลงาน)
กำหนดการจดั โครงการ
ตารางกำหนดการจดั การดำเนินการ
โครงการพัฒนาศักยภาพครผู ู้สอนแผนกวชิ าสามญั สัมพันธด์ ว้ ยโปรแกรม E-portfolio
วงจรคุณภาพ ขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน วัน/เดือน/ปี ระยะเวลา
การวางแผน ๑. วางแผนการดำเนนิ งาน วันศุกร์ท่ี ๗ มกราคม ๒๕๖๕ ๑๓.๐๐–๑๔.๐๐ น.
๒. เสนอโครงการ วนั จันทรท์ ี่ ๑๐ มกราคม ๒๕๖๕ ๑๔.๓๐–๑๕.๓๐ น.
การดำเนนิ งาน ๑. เขยี นโครงการ วันจนั ทรท์ ี่ ๑๐ มกราคม ๒๕๖๕ ๑๓.๐๐–๑๖.๐๐ น.
๒. ขออนุมัตโิ ครงการ
๓. ขอความอนเุ คราะห์วทิ ยากร วนั พุธที่ ๑๙ มกราคม ๒๕๖๕ ๑๓.๐๐–๑๔.๐๐ น.
๔. ประชาสมั พนั ธ์โครงการ
๕. ดำเนินโครงการ วันพฤหสั บดีท่ี ๒๐ มกราคม ๒๕๖๕ ๑๔.๐๐ น.
วันจันทร์ท่ี ๒๔ มกราคม ๒๕๖๕ ๑๓.๐๐–๑๖.๓๐ น.
วนั จนั ทร์ที่ ๒๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๕ ๑๓.๐๐–๑๗.๓๐ น.
ประเมนิ ผล ๑. รวบรวมและ วิเคราะห์ วันองั คารที่ ๑๕ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๕ ๐๘.๐๐–๑๘.๓๐ น.
การดำเนนิ งาน ข้อมูล
๒. ประเมินผลโครงการ
สรปุ และรายงานผล รว บ รว ม ผ ล แ ล ะจัด ท ำเล่ ม วันพุธท่ี ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕ ถึง รวม ๕ วัน
รายงาน วันจันทรท์ ี่ ๒๑ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๕
๑๒
ตารางกำหนดการจัดการอบรมเชิงปฏิบัตกิ าร
โครงการพัฒนาศักยภาพครผู ู้สอนแผนกวิชาสามญั สัมพันธด์ ้วยโปรแกรม E-portfolio
วนั จนั ทรท์ ี่ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๕ ณ หอ้ ง ๑๐๒๔ วิทยาลัยอาชีวศึกษาชุมพร
วนั /เดอื น/ปี ระยะเวลา รายการดำเนินโครงการ ผ้ดู ำเนินการ
การดำเนินการ
วันจันทร์ท่ี ๒๔ มกราคม ๒๕๖๕ ๑๓.๐๐ น.-๑๓.๑๐ น. - ประธานโครงการกล่าวเปิดการจัด - ผู้ รับ ผิ ด ช อ บ โค รงก าร
ดำเนิน โครงการโดยหัวหน้าแผน ก (นักศึกษาฝึกประสบการณ์
วิชาสามัญสัมพันธ์และกล่าวต้อนรับ วชิ าชีพ)
พร้อมด้วยแนะนำวิทยากรผู้ควบคุมดูแล - หัวหน้าแผนกวิชาสามัญ
การอบรม สมั พนั ธ์
๑๓.๑๐ น.-๑๓.๒๐ น. - อาจารย์หวั หน้าแผนกวชิ าเทคโนโลยี - อาจารย์หั วหน้ าแผน ก
ธุ ร กิ จ ดิ จิ ทั ล (ป ร ะ ธ า น วิ ท ย า ก ร ) วิชาเทคโนโลยธี รุ กจิ ดิจทิ ลั
กล่าวเปิดการอบรม
๑๓.๒๐ น.-๑๓.๔๐ น. - อธิบ ายขอบ เขต วัตถุป ระสงค์ - วทิ ยากร ๔ ท่าน
เป้าหมาย ลำดับข้ันตอนและระยะเวลา - ผรู้ ับผิดชอบโครงการ
ของการอบรม
๑๓.๔๐ น.-๑๔.๐๐ น. - แนะนำคู่มือประกอบการดำเนิ น - นายพงษ์ยุทธ อุดมศักด์ิ
โครงการ (อ า จ า ร ย์ แ ผ น ก วิ ช า
๑๔.๐๐ น.-๑๔.๓๐ น. - แสดงตัวอย่างแฟ้มสะสมผลงาน เทคโนโลยีธรุ กิจดจิ ทิ ลั )
อิเล็กทรอนิกส์จากเว็บไซต์สำนักงาน
คณะกรรมการวิทยาลัยการอาชีวศึกษา - ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ
หนว่ ยศึกษานเิ ทศก์ - นายพงษย์ ทุ ธ อดุ มศักดิ์
๑๔.๓๐ น.-๑๔.๔๕ น. - พั ก รั บ ป ร ะ ท า น อ า ห า ร ว่ า ง
๑๔.๔๕ น.-๑๖.๑๕ น. และลงทะเบียนผ้เู ข้าร่วมโครงการ
- วิทยากรบรรยายและสาธิตการใช้ - นายพงษ์ยุทธ อุดมศักดิ์
งานโปรแกรม Google Site สร้างแฟ้ม
๑๖.๑๕ น.-๑๖.๓๐ น. สะสมผลงานอิเล็กทรอนกิ ส์
- ให้ผู้เขา้ รว่ มสอบถามขอ้ สงสยั
๑๓
ตารางกำหนดการจดั การอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร
โครงการพฒั นาศักยภาพครผู ู้สอนแผนกวชิ าสามญั สัมพันธ์ด้วยโปรแกรม E-portfolio
วนั จันทร์ท่ี ๓๑ มกราคม ๒๕๖๕ ณ หอ้ ง ๑๐๒๔ วิทยาลัยอาชีวศึกษาชุมพร
วนั /เดือน/ปี ระยะเวลา รายการดำเนินโครงการ ผ้ดู ำเนินการ
การดำเนินการ
วนั จันทรท์ ี่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๕ ๑๓.๐๐ น.-๑๓.๓๐ น. - ทบทวนข้ันตอนการใช้งานโปรแกรม - นายพงษย์ ุทธ อดุ มศกั ดิ์
Google Site จากการอบรมครงั้ ที่ ๑
๑๓.๓๐ น.-๑๔.๐๐ น. - วิทยากรแนะนำโปรแกรม Canva - นายอรรถนันท์ บัวจนี
และเครื่องมือ รวมขั้นตอนการใช้งาน และผู้รบั ผิดชอบโครงการ
โปรแกรม (ใช้คู่มือประกอบการดำเนิน
โครงการคกู่ บั หนา้ ต่างโปรแกรม)
๑๔.๐๐ น.-๑๔.๑๕ น. - พั ก รั บ ป ร ะ ท า น อ า ห า ร ว่ า ง
และลงทะเบยี นผู้เข้าร่วมโครงการ
๑๔.๑๕ น.-๑๖.๓๐ น. - สาธิตข้ันตอนการใช้งานโปรแกรม - ผรู้ ับผิดชอบโครงการ
Canva เพื่อสร้าง Banner Web Page
แฟม้ สะสมผลงานอิเลก็ ทรอนิกส์
๑๖.๓๐ น.-๑๖.๔๐ น. - ให้ผู้เขา้ รว่ มสอบถามขอ้ สงสยั
๑๖.๔๐ น.-๑๖.๕๐ น. - ป ร ะ ธ า น วิ ท ย า ก ร ก ล่ า ว ส รุ ป - อาจารย์หัวหน้าแผนก
การอบรมเชิงปฏิบัติการ วิชาเทคโนโลยธี รุ กจิ ดจิ ิทลั
๑๖.๕๐ น.-๑๗.๐๐ น. - ประธานโครงการกล่าวขอบคุณ - อาจารย์หัวหน้าแผนก
วทิ ยากร วชิ าสามัญสมั พันธ์
๑๗.๐๐ น.-๑๗.๓๐ น. - รองผู้บริหารฝ่ายวิชาการวิทยาลัย - หัวหน้าแผนกวิชาสามัญ
อาชีวศึกษาชุมพรให้เกียรติบัตรและ สัมพันธ์และผู้รับผิดชอบ
ของที่ระลึกแด่ววิทยยากรและกล่าวปิด โครงการ
การดำเนนิ การจัดโครงการ
๑๔
เครือ่ งมอื ทใ่ี ช้ในการเกบ็ ข้อมลู
การสรุปผลการดำเนินการจัดโครงการนี้เป็นการสรุปผลความสำเร็จของโครงการเชิงปฏิบัติการ
ในลักษณะการประเมินคู่มือประกอบการดำเนินโครงการ การประเมินความสามารถในการผลิตส่ือมัลติมีเดีย
ประเภทส่ือออนไลน์ของครูแผนกวิชาสามัญสัมพันธ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาชุมพร และการทำแบบประเมิน
ความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ โดยครูผู้เข้าร่วมโครงการการพัฒนาศักยภาพครูผู้สอนแผนกวิชาสามัญ
สัมพันธ์ด้วยโปรแกรม Google Site, Canva และ ME QR เพื่อสร้างแฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์
และมีการเผยแพร่ผลงานผ่านเว็บไซต์สถานศึกษาเพียงครั้งเดียวภายหลังสิ้นสุดการอบรมเชิงปฏิบัติการ
และนำขอ้ มลู มาวิเคราะห์เพอื่ หาผลสรุปและรายงานผลการดำเนินการ
วิธกี ารเกบ็ รวบรวมข้อมลู
๑. ศึกษาข้อมูล จำนวนครูผู้สอนแผนกวิชาสามัญสัมพันธ์ ข้อมูลเบื้องต้น ขั้นตอนการใช้งาน
และรูปแบบของโปรแกรมท่ีใช้ในการดำเนินโครงการ (Google Site, Canva, ME QR และ E-portfolio)
เพ่ือกำหนดเกณฑก์ ารประเมนิ ความสำเร็จของโครงการ
๒. สร้างแบบประเมินให้มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการจัดดำเนินโครงการ
จำนวน ๓ แบบประเมิน
๒.๑ แบบประเมนิ คู่มอื ประกอบการดำเนินโครงการ
๒.๒ แบบประเมินความสามารถในการสร้างเว็บไซต์เพื่อจัดทำแฟ้มสะสมผลงาน
อิเลก็ ทรอนกิ ส์ของครู อาจารย์ผู้เข้ารว่ มโครงการ
๒.๓ แบบสอบถามประเมนิ ความพึงพอใจและข้อเสนอแนะ
๓. สร้างประเมินตรวจสอบคุณภาพ (IOC) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลให้ผู้เชี่ยวชาญ
ตรวจสอบ
๓.๑ แบบประเมินตรวจสอบคณุ ภาพคู่มือประกอบการดำเนินโครงการ
๓.๒ แบบประเมินตรวจสอบคุณภาพ แบบประเมินความสามารถในการสร้างเว็บไซต์
เพ่อื จดั ทำแฟม้ สะสมผลงานอเิ ล็กทรอนิกส์ของครู อาจารย์ผูเ้ ข้าร่วมโครงการ
๓.๓ แบบประเมนิ ตรวจสอบคุณภาพ แบบสอบถามประเมนิ ความพงึ พอใจและข้อเสนอแนะ
๔. จัดทำบันทึกข้อความขอความอนุเคราะห์ครูผู้ทรงคุณวุฒิจากแผนกวิชาสามัญสัมพันธ์
วิทยาลัยอาชีวศึกษาชุมพร ดำเนินการตรวจสอบเคร่ืองมือที่ใช้ในการเก็บรวมรวมข้อมูลในการจัดดำเนิน
โครงการจำนวน ๓ ท่านและผู้ทรงคุณวุฒิจากแผนกวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัลจำนวน ๓ ท่านในการประเมิน
๑๕
คุ ณ ภ า พ ข อ ง คู่ มื อ ท่ี ใช้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ด ำ เนิ น โค ร ง ก า ร แ ล ะ ป ร ะ เมิ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใน ก า ร ส ร้ า ง เว็ บ ไซ ต์
เพือ่ จัดทำแฟ้มสะสมผลงานอิเลก็ ทรอนิกสข์ องครู อาจารย์ผูเ้ ข้ารว่ มโครงการ
๔. การเก็บรวบรวมข้อมูลพิจารณาจากปัจจัย ดังนี้ จำนวนครูผู้เข้าร่วมโครงการ ความรู้
ความสามารถในการผลิตและพัฒนาส่ือการเรียนการสอนออนไลน์และแฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์
รวมถึงผลลสัมฤทธ์ิในการเผยแพร่ส่ือนวัตกรรมของครูผู้เข้าร่วมโครงการและการใช้คู่มือการใช้งาน
โปรแกรมต่างๆ ทใ่ี ช้ในการสร้างแฟม้ สะสมผลงานอเิ ล็กทรอนกิ ส์
๕. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลของครูผู้เข้าร่วมโครงการ โดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจ
ในการเข้าร่วมโครงการ แบบประเมินคุณภาพคู่มือการใช้งานโปรแกรมที่ใช้ในการสร้างแฟ้มสะสมผลงาน
อิเล็กทรอนิกส์และแบบประเมินความสามารถในการสร้างเว็บไซต์เพื่อจัดทำแฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์
ของครู อาจารยผ์ ู้เขา้ ร่วมโครงการ โดยใช้โปรแกรม Google form เปน็ เครือ่ งมือในการเก็บรวบรวมข้อมลู และ
การประเมนิ ผลสัมฤทธิ์ของการจดั โครงการพฒั นางาน
๖. การวิเคราะห์ข้อมูลและการแปลผลข้อมูลและตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโดยใช้โปรแกรม
Microsoft Excel
๗. การสรุปผลและงานผลการดำเนนิ โครงการ
เครอื่ งมอื ทใ่ี ช้ในการประเมินการบรรลวุ ตั ถุประสงค์ของโครงการ
๑. แบบประเมินคุณภาพคู่มือการใช้งานโปรแกรม Google Site, Canva, และ ME QR ในการสร้าง
แฟ้มสะสมผลงานอเิ ล็กทรอนกิ ส์
๒. แบบประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพครูผู้สอนแผนกวิชาสามัญ
สัมพนั ธ์ด้วยโปรแกรม E-portfolio
๓. แบบประเมินความสามารถในการสร้างเว็บไซต์เพ่ือจัดทำแฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์ของครู
อาจารย์ผู้เข้าร่วมโครงการ
๑๖
การวิเคราะหผ์ ลข้อมลู
การวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามโดยใช้โปรแกรม Excel เพื่อหาค่าคะแนนรวมหรือ
การหาคา่ เฉลีย่ ความพึงพอใจของผู้เข้ารว่ มโครงการ
๑. นำแบบสอบถามทลี่ งรหัสแลว้ ให้คะแนนแต่ละขอ้ จำแนกรายขอ้ ในแบบสอบถามระดบั ดังนี้
ระดบั มากทสี่ ุด ใหม้ ีคา่ คะแนนเปน็ ๕
ระดับมาก ใหม้ ีค่าคะแนนเปน็ ๔
ระดบั ปานกลาง ใหม้ คี า่ คะแนนเปน็ ๓
ระดับน้อย ใหม้ ีค่าคะแนนเปน็ ๒
ระดับนอ้ ยทีส่ ดุ ใหม้ ีค่าคะแนนเปน็ ๑
นำแบบสอบถามที่ลงคะแนนเรียบร้อยแล้วไปประมวลข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป
พร้อมกำหนดเกณฑ์การให้ค่าเฉลี่ย ดังนี้ คะแนนเฉลี่ย ๔.๕๑ – ๕.๐๐ หมายถึง ระดับความพึงพอใจในระดับ
ม า ก ที่ สุ ด ค ะ แ น น เฉ ล่ี ย ๓ .๕ ๑ – ๔ .๕ ๐ ห ม า ย ถึ ง ร ะ ดั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใจ ใน ร ะ ดั บ ม า ก
คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉล่ีย ๒.๕๑ – ๓.๕๐ หมายถึง ระดับความพึงพอใจในระดับปานกลาง
๑.๕๑ – ๒.๕๐ หมายถึง ระดับความพึงพอใจในระดับน้อย ๑.๐๐ – ๑.๕๐ หมายถึง ระดับความพึงพอใจ
ในระดบั น้อยทส่ี ุด
๒.ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถามเป็นแบบสำรวจรายการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ
(Percentage)
๓.แบบสอบถามเก่ียวกบั ระดบั ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการโดยการ หาคา่ ค่าเฉลยี่ (average)
และสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
๑๗
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลของโครงการฯ ในครั้งนี้แบ่งออกเป็น ๓ ส่วนตามเคร่ืองมือที่ใช้ในการประเมิน
ความสำเร็จของโครงการ คือ แบบประเมินความพึงพอใจของครูประจำแผนกวิชาสามัญสัมพันธ์ผู้เข้าร่วมการ
อบรมเชิงปฏิบัติการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึงระดับความพึงพอใจ ความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมโครงการ
ภายหลังการจัดการอบรม
ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูลโดยใช้แบบประเมนิ ความพงึ พอใจดงั น้ี
ตอนท่ี ๑ ข้อมลู ท่ัวไปของผตู้ อบแบบสอบถามการประเมินความพึงพอใจ
ตอนที่ ๒ แบบประเมินความพึงพอใจของครูที่มตี ่อการเขา้ รว่ มโครงการฯ
ตอนท่ี ๓ ขอ้ เสนอแนะเพิม่ เตมิ
ตอนที่ ๑ ข้อมลู ท่ัวไปของผตู้ อบแบบสอบถามการประเมินความพึงพอใจ
๑. เพศ
เพศ จำนวน ร้อยละ
หญงิ ๑๑ ๗๘.๖
ชาย ๓ ๒๑.๔
รวม ๑๔ ๑๐๐
ตารางท่ี ๑ จำนวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ
จากตารางท่ี ๑ พบว่า จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีจำนวนทั้งหมด ๑๔ ท่าน แบ่งออกเป็นผู้หญิง
จำนวน ๑๑ ท่าน และผู้ชายจำนวน ๓ ท่าน โดยจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการแบ่งตามเพศมีเพศหญิง
เข้าร่วมมากกว่าเพศชาย
๒. อายุ จำนวน รอ้ ยละ
ชว่ งอายุ (ปี) ๒ ๑๔.๓
๔ ๒๘.๖
๒๐-๓๐ ๓ ๒๑.๔
๓๐- ๔๐ ๕ ๓๕.๗
๔๐- ๕๐ ๑๔ ๑๐๐
๕๐- ๖๐
รวม
๑๘
ตารางท่ี ๒ จำนวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามช่วงอายุ
จากตารางท่ี ๒ พบว่า จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการฯ โดยการจำแนกตามอายุ ช่วงอายุของผู้เข้าร่วม
โครงการที่มีจำนวนมากท่ีสุดคือ อายุ ๕๐- ๖๐ ปี จำนวน ๕ ท่าน อายุ ๓๐-๔๐ ปี จำนวน ๔ ท่าน
อายุ ๔๐-๕๐ ปี จำนวน ๓ ทา่ น และอายุ ๒๐-๓๐ ปี จำนวน ๒ ท่าน ตามลำดบั
ตอนท่ี ๒ แบบประเมนิ ความพงึ พอใจของครูท่มี ตี ่อการเข้าร่วมโครงการฯ
รายการประเมิน S.D. แปลความ
ตอนท่ี ๑ คมู่ ือประกอบการดำเนนิ โครงการฯ
๑.ค่มู อื ประกอบการจดั การดำเนนิ โครงการฯ มีองคป์ ระกอบครบถ้วน ๕ ๐ มากท่สี ดุ
๒.การออกแบบค่มู ือมคี วามคดิ สร้างสรรค์ มคี วามนา่ สนใจ ๕ ๐ มากที่สดุ
๓.การให้ข้อมูลเบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั โปรแกรมทใ่ี ชใ้ นการดำเนนิ การ ๕ ๐ มากทส่ี ุด
๔.การเรียบเรียงลำดับข้ันตอนการใช้งานโปรแกรมมีความถูกต้อง ๕ ๐ มากทส่ี ดุ
สามารถปฏบิ ตั ิงานตามข้ันตอนได้จรงิ
๕.การใช้ภาษามีความชัดเจน กระชับ อ่านเข้าใจง่ายและถูกต้อง ๕ ๐ มากทส่ี ุด
ตามหลกั วิชาการ
รวม ๕ ๐ มากท่สี ุด
ตารางท่ี ๓ แบบประเมนิ ความพงึ พอใจของครูที่มตี ่อการเข้าร่วมโครงการฯ
ดา้ นค่มู ือประกอบการดำเนินโครงการฯ
๑๙
จากตารางที่ ๓ พบว่า การประเมินความพึงพอใจของผู้เข้ารว่ มโครงการด้านคู่มือประกอบการดำเนิน
โครงการอยใู่ นเกณฑพ์ ึงพอใจมากท่ีสดุ
รายการประเมิน S.D. แปลความ
ตอนที่ ๒ วิทยากร
๑.มคี ุณวฒุ ิหรือประสบการณ์ในเร่ืองทท่ี ำการอบรม ๔.๗๘ ๐.๔๒ มากทส่ี ดุ
๒.มีทกั ษะความสามารถดา้ นการถ่ายทอดการใชง้ านโปรแกรมตา่ ง ๆ ๕ ๐ มากที่สุด
๓.อธบิ ายข้ันตอนในการปฏบิ ัตงิ านได้อยา่ งชัดเจน เขา้ ใจง่าย ๕ ๐ มากที่สุด
๔.จดั บรรยากาศในการอบรมที่สง่ เสริมการเรยี นรขู้ องผเู้ ข้าร่วม ๕ ๐ มากที่สุด
๕.เปิดโอกาสให้ผูเ้ ข้ารว่ มอบรมมสี ่วนรวมในการอบรม ๕ ๐ มากทส่ี ุด
๖.มปี ฏิสมั พนั ธ์ที่ดีตอ่ ผ้เู ข้ารว่ มโครงการฯ ๔.๙๒ ๐.๒๖ มากที่สดุ
รวม ๔.๙๕ ๐.๑๑ มากทส่ี ดุ
ตารางที่ ๔ แบบประเมินความพึงพอใจของครูท่ีมีต่อการเข้ารว่ มโครงการฯ
ดา้ นวิทยากรผู้ดำเนินโครงการฯ
จากตารางท่ี ๔ พบว่า การประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการด้านวิทยากรผู้ดำเนิน
โครงการฯอยู่ในเกณฑ์พึงพอใจมากท่ีสุด โดยด้านทักษะความสามารถด้านการถ่ายทอดการใช้งานโปรแกรม
ตา่ ง ๆ การอธิบายข้นั ตอนในการปฏบิ ัตงิ านได้อยา่ งชัดเจน เข้าใจง่าย การจัดบรรยากาศในการอบรมท่สี ่งเสริม
การเรียนรู้ของผู้เข้าร่วมโครงการ มีระดับความพึงพอใจสูงสุด ค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๕ ตามด้วย การมีปฏิสัมพันธ์ท่ี
ดีต่อผู้เข้าร่วมโครงการฯ ค่าเฉล่ียเท่ากับ ๔.๙๒ และการมีมีคุณวุฒิหรือประสบการณ์ในเรื่องที่ทำการอบรม
คา่ เฉลย่ี เท่ากับ ๔.๗๘ ตามลำดบั
๒๐
รายการประเมนิ S.D. แปลความ
ตอนท่ี ๓ การนำความรู้ ทักษะที่วทิ ยากรถ่ายทอดไปประยุกตใ์ ช้หรอื พัฒนาในอนาคต
๑.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำทักษะกระบวนการข้ันตอนการใช้
งานโปรแกรม Google Site, Canva, และ ME QR ไปประยุกต์ใช้ ๔.๕ ๐.๖๕ มากทส่ี ดุ
ประกอบการสรา้ งแฟม้ สะสมผลงานอิเล็กทรอนกิ ส์ได้
๒.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำทักษะกระบวนการข้ันตอนการใช้
งานโปรแกรม Canva ไปประยุกต์ใช้ในการผลิตสื่อมัลติมีเดีย ๔.๖๔ ๐.๖๓ มากท่ีสดุ
ประกอบการเรียนการสอนประเภทส่ือออนไลน์ได้
๓ .ผู้ เข้ า ร่ ว ม โ ค ร ง ก า ร ส า ม า ร ถ ส ร้ า ง ส่ื อ มั ล ติ มี เดี ย ป ร ะ ก อ บ ๔.๕๗ ๐.๖๔ มากทส่ี ุด
การจดั ดำเนนิ งานหรอื กิจกรรมตา่ งๆ ของสถานศึกษาได้
๔.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถผลิตและเผยแพร่ผลงานท่ีสร้างข้ึน
โดยใช้โปรแกรม Google Site, Canva, และ ME QR ผ่านเวบ็ ไซต์ ๔.๙๒ ๐.๒๖ มากทส่ี ุด
วิทยาลัยอาชวี ศึกษาชมุ พรได้
รวม ๔.๖๕ ๐.๔๗ มากท่ีสดุ
ตารางที่ ๕ การแสดงความคิดเหน็ ดา้ นความพึงพอใจต่อการเขา้ ร่วมโครงการ
“การพฒั นาศักยภาพครผู สู้ อนแผนกวิชาสามญั สมั พันธ์ด้วยโปรแกรม E-portfolio”
จากตารางท่ี ๕ พบว่า การนำความรู้ ทักษะท่ีวิทยากรถ่ายทอดไปประยุกต์ใช้หรือพัฒนาในอนาคต
ของผู้เข้าร่วมโครงการ ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถผลิตและเผยแพร่ผลงานที่สร้างข้ึนโดยใช้โปรแกรม Google
Site, Canva, และ ME QR ผ่านเว็บไซต์วิทยาลัยอาชีวศึกษาชุมพร มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ตามด้วยความสามารถ
ในการนำทักษะกระบวนการขั้นตอนการใช้งานโปรแกรม Canva ไปประยุกต์ใช้ในการผลิตสื่อมัลติมีเดีย
ป ระ ก อ บ ก ารเรีย น ก ารส อ น ป ระเภ ท ส่ื อ อ อ น ไล น์ ค วาม ส าม ารถ ใน ก าร ส ร้างสื่ อ มั ล ติ มี เดี ย
ประกอบการจัดดำเนินงานหรือกิจกรรมต่างๆ ของสถานศึกษาได้ ความสามารถในการนำทักษะกระบวนการ
ขั้นตอนการใช้งานโปรแกรม Google Site, Canva, และ ME QR ไปประยุกต์ใช้ประกอบการสร้างแฟ้ม
สะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์ ตามลำดบั
๒๑
สรุปผล
ผลการดำเนินการโครงการพั ฒ นาศักยภ าพ ครูผู้สอนประจำแผนกวิชาสามัญ สัมพั นธ์
โดยใช้โปรแกรม E-portfolio วิทยาลัยอาชีวศึกษาชุมพร โดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจให้ผู้เข้าร่วม
โครงการเป็นผู้ประเมินภายหลังเข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการวันจันทร์ที่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๕
ภาพรวมการประเมนิ ความพึงพอใจการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารอยใู่ นเกณฑ์ระดบั มากที่สุด
สามารถแบ่งระดับการประเมินความพึงพอใจได้ดังนี้ ตอนท่ี ๑ ด้านคู่มือประกอบการอบรม
เชงิ ปฏิบัติการโครงการฯ คา่ เฉลี่ยรวมเทา่ กับ ๕ และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ๐ ซึ่งมีค่ามากท่สี ุด ตามด้วยตอน
ท่ี ๒ ด้านวิทยากร ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ ๔.๙๕ และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ๐.๑๑ และตอนที่ ๓
ด้านการนำความรู้ ทักษะที่วิทยากรถ่ายทอดไปประยุกต์ใช้หรือพัฒนาในอนาคตค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ ๔.๖๕
และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ๐.๔๗ ตามลำดับ
ภาคผนวก
ภาคผนวก (ก)
รปู ภาพขณะฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี
กิจกรรมวันครปู ระจำปีการศึกษาที่ ๒/๒๕๖๔
มอบของทร่ี ะลึกใหก้ บั นักเรยี นนักศกึ ษาผู้ส่งลงานเขา้ รว่ มกิจกรรมคริสตม์ าส
ปฏบิ ัตหิ น้าที่คณะกรรมการดำเนินการจดั งานประชมุ วิชาการองค์การวชิ าชพี ในอนาคตแห่งประเทศไทย
ภาคผนวก (ข)
บนั ทึกขอ้ ความประกอบการจัดดำเนนิ โครงการ
แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ
โครงการพัฒนาศักยภาพครผู ้สู อนแผนกวิชาสามัญสัมพันธ์ดว้ ยโปรแกรม E-portfolio
แผนกวชิ าสามญั สัมพนั ธ์ วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาชุมพร จงั หวดั ชุมพร
วันจนั ทรท์ ่ี ๒๔ มกราคม ๒๕๖๕ และ วันจันทรท์ ี่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๕ ณ หอ้ ง ๑๐๒๔
**********************************************************
คำชีแ้ จง: ๑. แบบประเมนิ นีม้ วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พ่อื ประเมินความพึงพอใจของครู อาจารยท์ ่เี ขา้ ร่วมโครงการฯ
๒. แบบประเมนิ นี้ประกอบไปดว้ ย ๓ ตอน
๒.๑. ข้อมลู ทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถามการประเมนิ ความพึงพอใจ
๒.๒. แบบประเมินความพึงพอใจของผตู้ อบแบบประเมนิ ที่มตี ่อการเข้าร่วมโครงการฯ
๒.๒.๑. คมู่ ือประกอบการดำเนนิ โครงการ
๒.๒.๒. วทิ ยากรผู้ดำเนนิ โครงการ
๒.๒.๓. การนำความรู้ ทักษะการใชง้ านโปรแกรมท่ีไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นอนาคต
๒.๓. ข้อเสนอแนะเพมิ่ เตมิ
ตอนท่ี ๑ ข้อมลู ทัว่ ไปของผ้ตู อบแบบสอบถามการประเมนิ ความพึงพอใจ
คำชี้แจง: โปรดทำเครื่องหมาย ลงในช่องว่างให้ตรงกบั ขอ้ มลู ของทา่ น
๑.เพศ
ชาย หญิง
๒.อายุ
๒๐-๓๐ ๓๐- ๔๐ ๔๐- ๕๐ ๕๐- ๖๐
ตอนท่ี ๒ แบบประเมนิ ความพึงพอใจของครูทมี่ ตี อ่ การเขา้ รว่ มโครงการฯ
คำชี้แจง: โปรดทำเครื่องหมาย ลงในช่องว่างให้ตรงกับระดับความพึงพอใจที่ท่านมีต่อโครงการฯ
ตามระดบั ความพงึ พอใจ ดงั ตอ่ ไปน้ี
เกณฑ์การประเมิน ระดับ ๕ หมายถงึ มากที่สุด ระดับ ๔ หมายถงึ มาก
ระดับ ๓ หมายถงึ ปานกลาง ระดับ ๒ หมายถงึ น้อย
ระดบั ๑ หมายถงึ น้อยทส่ี ุด
ที่ รายการประเมนิ ระดบั ความพึงพอใจ
๕๔ ๓๒๑
ตอนที่ ๑ คู่มือประกอบการดำเนินโครงการฯ
๑. คมู่ ือประกอบการจดั การดำเนินโครงการฯ มีองค์ประกอบครบถ้วน
๒. การออกแบบคู่มือมีความคิดสร้างสรรค์ มคี วามน่าสนใจ
๓ การใหข้ ้อมูลเบื้องต้นเกย่ี วกับโปรแกรมทีใ่ ช้ในการดำเนนิ การ
๔. การเรียบเรยี งลำดบั ขั้นตอนการใช้งานโปรแกรมมีความถูกตอ้ ง สามารถปฏิบัติงานตาม
ข้ันตอนได้จรงิ
๕. การใช้ภาษามีความชัดเจน กระชับ อา่ นเข้าใจง่ายและถูกต้องตามหลักวิชาการ
ตอนที่ ๒ วิทยากร
๑. มีคุณวฒุ แิ ละหรือประสบการณใ์ นเรื่องท่ที ำการอบรม
๒. มที ักษะความสามารถดา้ นการถา่ ยทอดการใชง้ านโปรแกรมตา่ ง ๆ
๓. อธิบายขั้นตอนในการปฏบิ ัตงิ านไดอ้ ย่างชดั เจน เข้าใจง่าย
๔. จัดบรรยากาศในการอบรมท่ีส่งเสริมการเรียนรู้ของผเู้ ขา้ รว่ มอบรม
๕. เปดิ โอกาสให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีส่วนรวมในการอบรม
๖. มีปฏิสัมพนั ธ์ท่ดี ตี ่อผเู้ ขา้ รว่ มโครงการฯ
ตอนที่ ๓ การนำความรู้ ทกั ษะท่ีวิทยากรถา่ ยทอดไปประยุกต์ใชห้ รือพฒั นาในอนาคต
๑. ผู้เข้ารว่ มโครงการสามารถนำทกั ษะกระบวนการข้ันตอนการใชง้ านโปรแกรม Google Site,
Canva, และ ME QR ไปประยุกต์ใชป้ ระกอบการสรา้ งแฟม้ สะสมผลงานอเิ ล็กทรอนิกสไ์ ด้
๒. ผู้เขา้ รว่ มโครงการสามารถนำทักษะกระบวนการข้ันตอนการใชง้ านโปรแกรม Canva
ไปประยุกต์ใช้ในการผลิตสอื่ มัลตมิ ิเดียประกอบการเรยี นการสอนประเภทส่ือออนไลน์ได้
๓. ผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการสามารถสร้างสอื่ มัลติมีเดยี ประกอบการจัดดำเนินงานหรอื กจิ กรรมต่างๆ
ของสถานศึกษาได้
๔. ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถผลิตและเผยแพร่ผลงานทสี่ ร้างขึ้นโดยใช้โปรแกรม Google Site,
Canva, และ ME QR ผา่ นเวบ็ ไซตว์ ิทยาลยั อาชวี ศึกษาชมุ พรได้
ตอนที่ ๓ ข้อเสนอแนะเพมิ่ เติม
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................