The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cwtk5, 2019-08-21 14:00:32

บทที่ 1 บทนำ_17มิย2562

กิจกรรมแนวทางการพัฒนาผู้ประกอบการอุตสาหกรรมไทยเพื่อไปสู่ Industry 4.0 (Automation for Industry 4.0)
ข้อเสนอด้านเทคนิค


บทที่ 1

บทน า


1. หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลาง

และขนาดย่อมจ าเป็นต้องปรับตัวและพัฒนาจึงจะสามารถแข่งขันกับคู่แข่งรายอื่น ๆ ได้ ซึ่งหลายรายได้หันมาใช้
เทคโนโลยีใหม่ ๆ ในการผลิตมากขึ้น เพื่อยกระดับศักยภาพและประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตให้ทันกับสภาวะ
การแข่งขันที่สูงขึ้น รวมถึงต้องมีการปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง การเสริมสร้าง
ความเข้มแข็งให้กับผู้ประกอบการสามารถปรับตัวและเข้าถึงการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล หุ่นยนต์และระบบ

อัตโนมัติได้อย่างรวดเร็ว ก้าวทันกับสถานการณ์ดิจิทัลของโลก รวมถึงเป็นการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่การ
เป็น SMEs 4.0 (Smart SMEs) จึงเป็นสิ่งส าคัญ ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนประเทศไทยตาม
แนวคิดประเทศไทย 4.0 ซึ่งมุ่งเน้นการขับเคลื่อนภาคอุตสาหกรรมด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม นโยบายของ
กระทรวงอุตสาหกรรมในการพัฒนา 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย ทั้งกลุ่มอุตสาหกรรม First S-curve และกลุ่ม

อุตสาหกรรม New S-Curve และจากกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศไทยและประเทศญี่ปุ่น ในด้านการส่งเสริมและ
ยกระดับการค้าการลงทุนของทั้งสองประเทศ โดยกระทรวงอุตสาหกรรมได้ลงนามความร่วมมือกับกระทรวง
เศรษฐกิจการค้าและอุตสาหกรรมญี่ปุ่น (METI) เพื่อขับเคลื่อนนโยบาย Connected Industries ซึ่งเป็นการเชื่อมโยง
ห่วงโซ่การผลิต และยกระดับการพัฒนาอุตสาหกรรมไทยสู่อุตสาหกรรม 4.0 รวมทั้งครอบคลุมความร่วมมือด้านการ

พัฒนาอุตสาหกรรม S-Curve การพัฒนาบุคลากรทุกระดับ ให้สามารถปรับปรุงกระบวนการผลิตและเปลี่ยนผ่าน
เข้าสู่ห่วงโซ่อุปทานในระดับภูมิภาคและระดับสากลได้
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ในฐานะหน่วยงานส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

และขับเคลื่อนการด าเนินงานกองทุนพัฒนาเอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการสนับสนุน SMEs
ให้พัฒนาไปสู่อุตสาหกรรมที่มีมูลค่าสูงที่สอดคล้องตามนโยบายประเทศไทย 4.0 ได้เล็งเห็นความส าคัญในการ
ขับเคลื่อนนโยบายดังกล่าว จึงด าเนินการส่งเสริมและพัฒนา SMEs จ านวน 500 กิจการทั่วประเทศ แล้วในปี 2561
ด้วยเครื่องมือ 3-Stage Rocket Approach ขับเคลื่อนวิสาหกิจเข้าสู่ขั้นที่ 1 Visualize Machine คือ การรวบรวม
ข้อมูลจากเครื่องจักรให้เป็นดิจิทัลและน ามาใช้วิเคราะห์เพื่อปรับปรุงกระบวนการผลิต ขั้นที่ 2 Visualize Craftsmanship

คือ การเก็บข้อมูลการเคลื่อนไหวของแรงงานด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อวิเคราะห์การท างานให้เหมาะสมและมี
ประสิทธิภาพ
และขั้นที่ 3 Lean Automation for SMEs คือ การพัฒนาโครงการ การผลิตแบบ Lean Automation

ที่ได้ด าเนินงานเพื่อใช้เสริมด้านการเรียนรู้และกระตุ้นความต้องการซื้อ (Demand) และความต้องการขายใน
อุตสาหกรรม (Supply) ใน S-Curve ที่เป็นหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติเพื่อยกระดับให้ SMEs ก้าวเข้าสู่ SMEs 4.0
โดยเร็วด้วยหลักการ “หากไม่จ าเป็น อย่าเอา Robot & Automation ที่มีมูลค่าสูง ไปท างานที่ไม่มีมูลค่า” ท าให้
เครื่องมือนี้เปรียบเสมือน จรวด 3 ขั้นที่ได้ออกแบบให้เหมาะสมกับ SMEs ไทยที่มีเงินทุนไม่มาก แต่ท าให้ SMEs

สามารถพัฒนาองค์ความรู้ ในการประเมินปัญหาของตนเอง หาวิธีการจัดการที่ได้ ประสิทธิภาพสูงสุด และเลือก
ปรับปรุงให้เกิดความคุ้มค่า อย่างชาญฉลาด ร่วมด้วยความสามารถในการเข้าถึงและ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
หุ่นยนต์ และระบบอัตโนมัติ ได้อย่างรวดเร็ว เพื่อยกระดับให้ SMEs พัฒนาศักยภาพเป็น SME 4.0 เต็มรูปแบบ
รวมถึงเป็นแหล่งการเรียนรู้เทคโนโลยีระบบอัตโนมัติต้นแบบแก่ภาคอุตสาหกรรมและภาคการศึกษาไทย

จึงเห็นควรด าเนินกิจกรรมแนวทางการพัฒนาผู้ประกอบการอุตสาหกรรมไทยเพื่อไปสู่ Industry 4.0 (Automation
for Industry 4.0) โดยการเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพด้วยเทคโนโลยีการผลิตแบบออโตเมชั่น (Automation


มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
1-1

กิจกรรมแนวทางการพัฒนาผู้ประกอบการอุตสาหกรรมไทยเพื่อไปสู่ Industry 4.0 (Automation for Industry 4.0)
ข้อเสนอด้านเทคนิค


for SMEs) เพื่อขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่องในปี 2562 ให้เกิดการขยายผลอย่างเป็นรูปธรรม ในการพัฒนากระบวนการ
ผลิตในสถานประกอบการด้วยเทคโนโลยีการผลิตแบบออโตเมชั่น เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ SMEs

และเพื่อเตรียมความพร้อมสถานประกอบการในการต่อยอดพัฒนาการผลิตโดยการใช้เทคโนโลยีและระบบอัตโนมัติ
ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเชื่อมโยงสู่ห่วงโซ่อุปทานระดับสากลและจรวดขั้นที่ 3 หรือ LASI (Lean Automation
System Integrators) ต่อไปอย่างต่อเนื่อ


2. วัตถุประสงค์ของโครงการ
2.1 เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและสร้างความตระหนักถึงความส าคัญของการลดการสูญเสียใน
กระบวนการผลิต
2.2 เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในเทคโนโลยีและนวัตกรรมระบบอัจฉริยะเฝ้าติดตามและตรวจสอบ

ดูแลการท างานของเครื่องจักร (Machine Monitoring System) ระบบตรวจสอบดูแลการปฏิบัติงานของพนักงาน
(Visualize Craftsman Ship) และระบบการผลิตอัตโนมัติ (Automation System)
2.3 เพื่อหาแนวทางที่เหมาะสมและคุ้มทุนส าหรับผู้ประกอบการ SMEs ในการปรับปรุงกระบวนการผลิต
เพื่อลดการสูญเสียตามแนวทางที่เหมาะสม

2.4 เพื่อวิเคราะห์และพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมระบบอัจฉริยะเฝ้าติดตามและตรวจสอบดูแล
การท างานของเครื่องจักร Machine Monitoring System และระบบตรวจสอบดูแลการปฏิบัติงานของ
พนักงาน(Visualize Craftsman Ship) และระบบการผลิตอัตโนมัติ (Automation System)ในสถานประกอบการ

2.5 เพื่อเตรียมความพร้อมสถานประกอบการในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตโดยใช้การด าเนินการ
กิจกรรม 3-Stage Rocket Approach ที่จะท าให้สถานประกอบการนั้นๆ มีผลการด าเนินธุรกิจที่ดีขึ้น และ
สามารถแข่งขันในระดับสากลได้อย่างยั่งยืน

3. กลุ่มเป้าหมาย

วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ที่เป็นนิติบุคคลในภาคการผลิตรวม 50 กิจการ

4. อุตสาหกรรมเป้าหมาย

4.1 วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ที่เป็นนิติบุคคลภาคการผลิตใน 13 อุตสาหกรรม ได้แก่
1) อาหาร 2) ยานยนต์และชิ้นส่วน 3) ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 4) สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม 5) เหล็ก 6) ยา 7)

พลาสติก 8) รองเท้าและเครื่องหนัง 9) เซรามิกส์ 10) เครื่องจักรกล 11) ซอฟต์แวร์ 12) สิ่งพิมพ์ 13) อู่ต่อเรือ
4.2 อุตสาหกรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง


5. พื้นที่ด าเนินงาน
ทั่วประเทศ


6. ระยะเวลาด าเนินโครงการ
ระยะเวลา 150 วัน นับถัดจากวันที่ลงนามในสัญญา






มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
1-2

กิจกรรมแนวทางการพัฒนาผู้ประกอบการอุตสาหกรรมไทยเพื่อไปสู่ Industry 4.0 (Automation for Industry 4.0)
ข้อเสนอด้านเทคนิค


7. ผลผลิต
7.1 วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมได้รับการพัฒนาสู่การเป็นสถานประกอบการวิสาหกิจขนาด

กลางและขนาดย่อมอัจฉริยะ (Smart SMEs) ด้วยการน าเทคโนโลยีการเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพด้วย
เทคโนโลยีการผลิตแบบออโตเมชั่น (Automation for SMEs) ในสถานประกอบการ มาประยุกต์ใช้ จ านวนไม่
น้อยกว่า 50 กิจการ
7.2 วิสาหกิจที่เข้าร่วมกิจกรรมอย่างน้อยร้อยละ 30 ได้พัฒนาและมีแนวทางไปสู่ระบบการผลิต

อัตโนมัติ (Automation System) ตามแนวทางที่เหมาะสมและคุ้มทุนส าหรับผู้ประกอบการ SMEs
7.2 ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อกระบวนการให้บริการไม่น้อยกว่าร้อยละ 85

8. ผลลัพธ์

8.1 วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมได้รับการพัฒนาระบบ โดยสามารถวิเคราะห์การเพิ่ม
ผลิตภาพการผลิตได้ตามเกณฑ์ ได้แก่ (1) ลดต้นทุนแรงงานคนร้อยละ 3 และ/หรือ (2) ลดของเสียร้อยละ 6
และ/หรือ (3) เพิ่มความเร็วในการผลิตร้อยละ 9

8.2 รายงานผลการวิเคราะห์ศักยภาพสถานประกอบการสู่การเป็นสถานประกอบการวิสาหกิจขนาด

กลางและขนาดย่อมอัจฉริยะ (Smart SMEs) ด้วยการน าหลักความรู้ทางดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ 1 รายงานต่อ 1
กิจการ


9. ขอบเขตของงานและวิธีการด าเนินงาน
ที่ปรึกษาจะต้องด าเนินการตามขอบเขต ดังนี้

9.1 ประชาสัมพันธ์เผยแพร่กิจกรรม ประกอบด้วย
- จัดท าเอกสารประชาสัมพันธ์ พร้อมทั้งใบสมัครเพื่อรับสมัครสถานประกอบการเข้าร่วมกิจกรรม
- เผยแพร่ประชาสัมพันธ์อย่างน้อย 2 สื่อ เช่น Website, E-mail เป็นต้น
- ก าหนดเกณฑ์การคัดเลือกสถานประกอบการทั้ง 50 กิจการ โดยค านึงถึงความพร้อมของสถาน
ประกอบการเป็นหลัก

9.2 รับสมัครและคัดเลือกสถานประกอบการ ประกอบด้วย
- รับสมัครสถานประกอบการในพื้นที่และกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย ไม่น้อยกว่า
50 กิจการ

- แต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือกสถานประกอบการ ไม่น้อยกว่า 3 คน โดยมีเจ้าหน้าที่
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ไม่น้อยกว่า 1 คน เข้าร่วมเป็นกรรมการด้วย
- คัดเลือกสถานประกอบการตามเกณฑ์การคัดเลือกสถานประกอบการโดยคณะกรรมการฯ ให้ได้
สถานประกอบการเข้าร่วมกิจกรรม ไม่น้อยกว่า 50 กิจการ พร้อมจัดเก็บข้อมูลเบื้องต้นผู้รับบริการ (แบบฟอร์ม A)

- ให้ที่ปรึกษาหรือผู้รับจ้างประสานและรวบรวมแบบแสดงรายละเอียดโครงการ/กิจกรรมระหว่าง
กสอ. กับผู้ประกอบการ
9.3 วินิจฉัยสถานประกอบการ ประกอบด้วย
- ศึกษา วินิจฉัยสถานประกอบการ และประชุมร่วมกับผู้บริหารของสถานประกอบการ

ที่เข้าร่วมกิจกรรม หรือ First Visit จ านวน 1 Man-day หรือไม่น้อยกว่า 6 Man-hour ต่อกิจการ เพื่อจัดเก็บ






มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
1-3

กิจกรรมแนวทางการพัฒนาผู้ประกอบการอุตสาหกรรมไทยเพื่อไปสู่ Industry 4.0 (Automation for Industry 4.0)
ข้อเสนอด้านเทคนิค


ข้อมูลเกี่ยวกับธุรกิจ วิเคราะห์ความต้องการของสถานประกอบการ เพื่อประเมินศักยภาพและก าหนดวิธีการ
พัฒนาสู่การเป็นสถานประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมอัจฉริยะ

- ชี้แจงรายละเอียดกิจกรรมให้กับสถานประกอบการ
- จัดท าแผนการด าเนินงานการพัฒนารายกิจการ ไม่น้อยกว่า 50 กิจการ กิจการละ
1 แผน
9.4 วิเคราะห์ ประเมินผลและหาแนวทาง

วิเคราะห์ ประเมินผล และหาแนวทางในสถานประกอบการสู่การเป็นสถานประกอบการขนาด
กลางและขนาดย่อมอัตโนมัติ ณ สถานประกอบการตามแผนงานที่เสนอให้ครบถ้วน เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 7
Man-day หรือ 42 Man – hour / กิจการ ดังนี้
- ให้ความรู้ ความเข้าใจ และสร้างความตระหนักถึงความส าคัญของการลดการสูญเสียใน

กระบวนการผลิตและน าหลักความรู้ทางการปรับปรุงกระบวนการผลิตโดยการใช้เทคโนโลยีระบบการผลิต
อัตโนมัติ (Automation System) มาใช้ภายในสถานประกอบการ
- ประเมินศักยภาพและวิเคราะห์วางแผนการท างานในกระบวนการผลิตของสถานประกอบการ
เพื่อให้เกิดการไหลของชิ้นงาน เพื่อหลีกเลี่ยงกระบวนการคอขวด(Bottleneck Process) โดยน าไปสู่การเป็น

สถานประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมอัตโนมัติ
- ประเมินการท างานของเครื่องจักร และผู้ปฏิบัติงานโดยการน าระบบอัจฉริยะเฝ้าติดตามและ
ตรวจสอบดูแลการท างานของเครื่องจักร (Machine Monitoring System) หรือระบบตรวจสอบดูแลการ

ปฏิบัติงานของพนักงาน (Visualize Craftsman Ship) มาติดตั้งภายในสถานประกอบการ
- สร้างมาตรฐานการท างานในกระบวนการผลิตในสถานประกอบการ
- ศึกษาหาแนวทางที่เหมาะสมและคุ้มทุนส าหรับผู้ประกอบการ SMEs ในการปรับปรุง
กระบวนการผลิต สรุปเป็น mini feasibility report โดยใช้เทคโนโลยีระบบการผลิตอัตโนมัติ (Automation
System) เพื่อลดการสูญเสียตามแนวทางที่เหมาะสม การศึกษาแนวทางที่เหมาะสมและคุ้มทุนในแต่ละสถาน

ประกอบการนั้น
9.5 ออกแบบ/พัฒนา/ติดตั้ง/ทดสอบระบบการผลิตอัตโนมัติ
ออกแบบ/พัฒนา/ติดตั้ง/ทดสอบระบบการผลิตอัตโนมัติ (Automation System) ให้สถาน

ประกอบการอย่างน้อย 15 กิจการ จากจ านวนสถานประกอบการซึ่งปรึกษาได้จัดหามาในข้อ 10.3 มา
ออกแบบ/พัฒนา/ติดตั้ง/ทดสอบระบบการผลิตอัตโนมัติ (Automation System) ตามแนวทางที่ก าหนด โดย
ติดตั้งชั่วคราวในระยะเวลาการทดสอบกิจการละ 5 Man-day หรือไม่น้อยกว่า 30 Man-hour เพื่อน าไปสู่การ
เป็นสถานประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมอัตโนมัติ

9.6 จัดกิจกรรมเพื่อน าเสนอผลส าเร็จ (Success case) ของโครงการ ไม่น้อยกว่า 1 ครั้ง พร้อมให้
ค าแนะน าในการเข้าถึงแหล่งเงินทุน ได้แก่ สถาบันการเงิน ทั้งภาครัฐและเอกชน รวมทั้งสินเชื่อแหล่งอื่นๆ
9.7 ให้ที่ปรึกษาหรือผู้รับจ้าง จัดท าตัวอย่างที่แสดงถึงกระบวนการพัฒนาที่ประสบความส าเร็จ
(Success Case) ของผู้ประกอบการที่ได้รับบริการภายใต้โครงการ/ กิจกรรมที่มีลักษณะให้ค าปรึกษาแนะน า

เชิงลึกหรือบ่มเพาะโดยมีตัวอย่างไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของผู้ประกอบการที่ได้รับการพัฒนาหรือตามความ
เหมาะสม เพื่อใช้ในการเผยแพร่ให้ผู้ประกอบการอื่นได้มีโอกาสเรียนรู้และพัฒนาปรับปรุงธุรกิจในโอกาสต่อไป
ได้ (คิดจากกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 กิจการ)
9.8 ที่ปรึกษาจะต้องจัดให้วิสาหกิจที่เข้าร่วมกิจกรรมประเมินความพึงพอใจ (แบบฟอร์ม S)

และประเมินผลลัพธ์ (แบบฟอร์ม O) ของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เมื่อด าเนินกิจกรรมแล้วเสร็จ



มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
1-4

กิจกรรมแนวทางการพัฒนาผู้ประกอบการอุตสาหกรรมไทยเพื่อไปสู่ Industry 4.0 (Automation for Industry 4.0)
ข้อเสนอด้านเทคนิค


9.9 จัดท ารายงานสรุปผลการด าเนินงาน (Final Report) ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดกิจกรรม เมื่อ
ด าเนินงานให้ค าปรึกษาแนะน าแล้วเสร็จ ซึ่งอย่างน้อยควรประกอบด้วยผลลัพธ์การด าเนินงาน

(Output/Outcome) ปัญหาอุปสรรค ผลกระทบที่เกิดขึ้นทันทีทั้งทางตรงและทางอ้อม ทั้งเชิง
ปริมาณ และคุณภาพ พร้อมทั้งเสนอแนะการปรับปรุง/แก้ไข เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานในอนาคต
9.10 ที่ปรึกษาต้องเข้าร่วมกิจกรรม และ/หรือ แจ้งผู้ประกอบการที่เข้าร่วมกิจกรรมฯ ให้เข้าร่วมกิจกรรม
กับผู้ว่าจ้างทุกครั้งที่ผู้ว่าจ้างเชิญเข้าร่วมกิจกรรม (ถ้ามี)

9.11 จัดท ารายงานการปฏิบัติงานประจ าเดือนตามแบบฟอร์มที่ก าหนด และส่งให้กรมส่งเสริม
อุตสาหกรรมภายในวันที่ 3 ของเดือนถัดไป ตลอดระยะเวลาของกิจกรรมฯ
9.12 ในการประชาสัมพันธ์และการด าเนินงานขั้นตอนต่าง ๆ ที่ปรึกษาต้องแสดงให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม
ทราบว่าที่ปรึกษาได้รับงานมาจากกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม


10. การส่งมอบงาน (การแบ่งงวดงาน)
ก าหนดระยะเวลาการรายงานผลการด าเนินงาน และการส่งมอบงาน แบ่งเป็น 3 งวด ดังนี้
10.1 งวดงานที่ 1 จัดส่งรายงานเบื้องต้น (Inception report) ภายใน 45 วัน นับถัดจากวันที่ลง

นามในสัญญา โดยมีเนื้องานประกอบด้วย
- ประชาสัมพันธ์เผยแพร่กิจกรรม ตามขอบเขตของงานข้อ 10.1
- การรับสมัครและคัดเลือกสถานประกอบการ ตามขอบเขตของงานข้อ 10.2

โดยที่ปรึกษาต้องลงข้อมูลรายงานเบื้องต้นในรูปแบบไฟล์อิเล็กทรอนิกส์เข้าไปเก็บในระบบบันทึกฐานข้อมูล
ผลงานผู้รับจ้างของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (http://contractorwork.dip.go.th)
10.2 งวดงานที่ 2 จัดส่งรายงานความคืบหน้า (Progress Report) ภายใน 90 วัน นับถัดจากวันที่
ลงนามในสัญญา โดยมีเนื้องานประกอบด้วย
- การวินิจฉัยสถานประกอบการ ชี้แจงรายละเอียดกิจกรรมให้กับสถานประกอบการ และจัดท า

แผนการด าเนินงานการพัฒนารายกิจการ ตามขอบเขตของงานข้อ 10.3 จ านวน 1 Man-day หรือไม่น้อยกว่า
6 Man-hour ต่อกิจการ
- การวิเคราะห์ ประเมินผลและหาแนวทาง ตามขอบเขตของงานข้อ 10.4 ไม่น้อยกว่า 2 Man-

day หรือไม่น้อยกว่า 12 Man-hour ต่อกิจการ
โดยที่ปรึกษาต้องลงข้อมูลรายงานความคืบหน้าในรูปแบบไฟล์อิเล็กทรอนิกส์เข้าไปเก็บในระบบบันทึก
ฐานข้อมูลผลงานผู้รับจ้างของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (http://contractorwork.dip.go.th)
10.3 งวดงานที่ 3 จัดส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ภายใน 150 วัน นับถัดจากวันที่ลงนาม

ในสัญญา โดยมีเนื้องานประกอบด้วย
- การวิเคราะห์ ประเมินผลและหาแนวทาง ตามขอบเขตของงานข้อ 10.4 ในส่วนที่เหลือไม่น้อยกว่า 5
Man-day หรือไม่น้อยกว่า 30 Man-hour ต่อกิจการ
- การออกแบบ/พัฒนา/ติดตั้ง/ทดสอบระบบการผลิตอัตโนมัติ ตามขอบเขตของงานข้อ 10.5

กิจการละ 5 Man-day หรือไม่น้อยกว่า 30 Man-hour
- จัดกิจกรรมเพื่อน าเสนอผลส าเร็จ (Success case) ของโครงการ ตามขอบเขตของงานข้อ 10.6 ไม่
น้อยกว่า 1 ครั้ง
- จัดท าตัวอย่างที่แสดงถึงกระบวนการพัฒนาที่ประสบความส าเร็จ (Success Case) ของ

ผู้ประกอบการที่ได้รับบริการภายใต้โครงการ/ กิจกรรมที่มีลักษณะให้ค าปรึกษาแนะน าเชิงลึกหรือบ่มเพาะโดยมี



มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
1-5

กิจกรรมแนวทางการพัฒนาผู้ประกอบการอุตสาหกรรมไทยเพื่อไปสู่ Industry 4.0 (Automation for Industry 4.0)
ข้อเสนอด้านเทคนิค


ตัวอย่างไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของผู้ประกอบการที่ได้รับการพัฒนาหรือตามความเหมาะสม เพื่อใช้ในการเผยแพร่
ให้ผู้ประกอบการอื่นได้มีโอกาสเรียนรู้และพัฒนาปรับปรุงธุรกิจในโอกาสต่อไปได้ ตามขอบเขตของงานข้อ 10.7

- จัดให้วิสาหกิจที่เข้าร่วมกิจกรรมประเมินความพึงพอใจ (แบบฟอร์ม S) และประเมินผลลัพธ์
(แบบฟอร์ม O) ของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เมื่อด าเนินกิจกรรมเสร็จสิ้น ตามขอบเขตของงานข้อ 10.8
- จัดท ารายงานสรุปผลการด าเนินงาน (Final Report) ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดกิจกรรม
เมื่อด าเนินงานให้ค าปรึกษาแนะน าแล้วเสร็จ ซึ่งอย่างน้อยควรประกอบด้วยผลลัพธ์การด าเนินงาน

(Output/Outcome) ปัญหา/อุปสรรค ผลกระทบที่เกิดขึ้นทันทีทั้งโดยตรงและโดยอ้อม ทั้งเชิงปริมาณ และคุณภาพ
พร้อมทั้งเสนอแนะการแก้ไขปรับปรุง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานในอนาคต ตามขอบเขตของงานข้อ 10.9
โดยที่ปรึกษาต้องลงข้อมูลรายงานฉบับสมบูรณ์ในรูปแบบไฟล์อิเล็กทรอนิกส์เข้าไปเก็บในระบบบันทึกฐานข้อมูล
ผลงานผู้รับจ้างของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (http://contractorwork.dip.go.th)

หมายเหตุ : การจัดท ารายงานเพื่อส่งงานแต่ละงวดงาน ให้จัดท ารายงานในรูปแบบเอกสารที่เป็นรูปเล่ม

จ านวน 6 ฉบับ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1) จัดส่งรายงานที่จัดท าเป็นเอกสารรูปเล่ม โดยรายงานดังกล่าวให้มีลักษณะอย่างน้อย
ดังต่อไปนี้

• สารบัญ
• ใส่เลขหน้าก ากับทุกหน้า
• รายงานการด าเนินกิจกรรมทุกรายการในงวดงานนั้น (เช่น การประชุม อบรม สัมมนา
ศึกษาดูงาน ให้ค าปรึกษาแนะน า ฯลฯ) โดยสรุปรายละเอียดของกิจกรรมอันประกอบด้วยชื่อกิจกรรม
วัตถุประสงค์ วัน เวลา สถานที่ ชื่อวิทยากร จ านวนและรายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม รูปภาพกิจกรรมตามสมควร

ผลที่ได้รับจากการประเมินผล หรือความพึงพอใจ และข้อเสนอแนะ เป็นต้น
2) ในการจัดส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ให้จัดท ารายงานในรูปแบบเอกสารที่เป็น
รูปเล่มจ านวน 6 ฉบับ และในรูปแบบ CD หรือ DVD จ านวน 6 ชุด โดยไฟล์รายงานอิเล็กทรอนิกส์ต้องมี

เนื้อหาตรงกัน และครบถ้วนเหมือนในรายงานเอกสารที่เป็นรูปเล่ม และบันทึกในรูปแบบ (Format)
ของ Microsoft Office เช่น Word ( . doc), Excel ( . xls), Power point ( . ppt), Portable Document
Format (.pdf) หรือรูปภาพ (.bmp, .jpg, .tiff) รูปแบบใดรูปแบบหนึ่งหรือประกอบกันหลายรูปแบบก็ได้
หากที่ปรึกษาต้องการส่งไฟล์รายงานอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบอื่นนอกเหนือจากที่กล่าวถึง จะต้องได้รับ

ความยินยอมจากหน่วยงานเจ้าของโครงการ/กิจกรรมก่อน
3) บนหน้าซอง/กล่องบรรจุ CD หรือ DVD บันทึกไฟล์รายงานอิเล็กทรอนิกส์ และบนแผ่น CD
หรือ DVD ต้องติดสติกเกอร์ระบุชื่อโครงการ/กิจกรรม และปีงบประมาณที่ด าเนินการ


1.11 การเบิกจ่ายเงิน (ตามงวดงาน)
11.1 การจ่ายค่าจ้างที่ปรึกษา
ผู้ว่าจ้างได้แบ่งเนื้องานออกเป็น 3 งวดงาน และก าหนดจ่ายค่าจ้างที่ปรึกษารวมภาษีมูลค่าเพิ่ม และ
ค่าใช้จ่ายทั้งปวงไว้แล้ว ดังนี้

งวดที่ 1 วงเงินประมาณร้อยละ 30 ของวงเงินสัญญาจ้าง เมื่อที่ปรึกษาได้จัดส่งรายงานเบื้องต้น
(Inception Report) และขอเบิกจ่ายเงินงวดที่ 1 ภายในระยะเวลา 45 วัน นับถัดจากวันที่ลงนาม
ในสัญญา โดยมีเนื้องานในส่วนของแผนการด าเนินงานตามรายละเอียดของกิจกรรมในข้อ 11 การส่งมอบงาน





มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
1-6

กิจกรรมแนวทางการพัฒนาผู้ประกอบการอุตสาหกรรมไทยเพื่อไปสู่ Industry 4.0 (Automation for Industry 4.0)
ข้อเสนอด้านเทคนิค


(การแบ่งงวดงาน) ข้อ 11.1 งวดที่ 1 และผู้ว่าจ้างจะได้จ่ายค่าจ้างให้ผู้รับจ้าง หลังจากคณะกรรมการตรวจรับ
พัสดุในงานจ้างที่ปรึกษา ได้ตรวจรับงานเสร็จสิ้นแล้ว

งวดที่ 2 วงเงินประมาณร้อยละ 50 ของวงเงินสัญญาจ้าง เมื่อที่ปรึกษาได้จัดส่งรายงาน
ความคืบหน้า (Progress Report) และขอเบิกจ่ายเงินงวดที่ 2 ภายใน 90 วัน นับถัดจากวันที่ลงนามในสัญญา
โดยมีเนื้องานในส่วนของแผนการด าเนินงานตามรายละเอียดของกิจกรรมในข้อ 11 การส่งมอบงาน (การแบ่ง
งวดงาน) ข้อ 11.2 งวดที่ 2 และผู้ว่าจ้างจะได้จ่ายค่าจ้างให้ผู้รับจ้าง หลังจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ

ในงานจ้างที่ปรึกษา ได้ตรวจรับงานเสร็จสิ้นแล้ว
งวดที่ 3 วงเงินประมาณร้อยละ 20 ของวงเงินสัญญาจ้าง เมื่อที่ปรึกษาได้จัดส่งรายงานฉบับ
สมบูรณ์ (Final Report) และขอเบิกจ่ายเงินงวดที่ 3 ภายใน 150 วัน นับถัดจากวันที่ลงนามในสัญญา โดยมีเนื้อ
งานในส่วนของแผนการด าเนินงานตามรายละเอียดของกิจกรรมในข้อ 11 การส่งมอบงาน (การแบ่งงวดงาน)

ข้อ 11.3 งวดที่ 3 และผู้ว่าจ้างจะได้จ่ายค่าจ้างให้ผู้รับจ้าง หลังจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้าง
ที่ปรึกษา ได้ตรวจรับงานเสร็จสิ้นแล้ว
11.2 การหักค่าจ้าง
ในกรณีที่ที่ปรึกษาไม่อาจด าเนินการตามขอบเขตงานแก่วิสาหกิจที่เข้าร่วมกิจกรรม

ครบจ านวนกิจการหรือเงื่อนไขกิจกรรมที่ก าหนดไว้ในข้อ 10 ที่ปรึกษายินยอมให้ผู้ว่าจ้างหักค่าจ้างเป็นราย
กิจการ โดยค านวณจากกิจกรรมที่ต้องด าเนินการ หรือกิจกรรมให้ค าปรึกษาแนะน าที่ก าหนดไว้ในข้อเสนอ
ด้านราคาตามที่คณะกรรมการด าเนินงานจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีคัดเลือก ให้ความเห็นชอบแล้ว


12. การก ากับการท างานของที่ปรึกษา
ผู้ว่าจ้างจะก ากับดูแลการด าเนินงาน ดังนี้
12.1 ผู้ว่าจ้างจะด าเนินการจัดจ้างที่ปรึกษาตามระเบียบของทางราชการ
12.2 ผู้ว่าจ้างจะจัดให้มีคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างที่ปรึกษา ท าหน้าที่ก ากับและดูแลการ

ด าเนินงานของผู้รับจ้างให้เป็นไปตามสัญญาจ้าง รวมทั้งประชุมตรวจรับงวดงาน
12.3 ผู้รับจ้างต้องแจ้งแผนการเข้าด าเนินงานให้ผู้ว่าจ้างทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 7 วัน
เพื่อการเข้าร่วมด าเนินงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น (ยกเว้นกรณีเร่งด่วน ไม่น้อยกว่า 3 วัน)

12.4 ผู้รับจ้างต้องรายงานความคืบหน้าการด าเนินงาน โดยต้องส่งรายงานการปฏิบัติงานประจ าเดือน
ให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างที่ปรึกษาทราบ
12.5 ผู้ว่าจ้างจะอ านวยความสะดวกตามสมควรในการด าเนินงานที่ไม่ขัดต่อระเบียบของ
ทางราชการ เช่น การออกหนังสือราชการ และการใช้สถานที่ เป็นต้น

12.6 คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างที่ปรึกษา ประชุมติดตามความก้าวหน้าของงาน
ทุกเดือน
12.7 คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างที่ปรึกษา ประชุมตรวจรับงวดงาน
12.8 ผู้ว่าจ้างอาจจะยึดหน่วงเงินค่าจ้างงวดใดงวดหนึ่งก็ได้ หากผู้รับจ้างด าเนินงาน

ไม่เป็นไปตามที่สัญญาก าหนด และจะจ่ายให้ต่อเมื่อได้ด าเนินการแก้ไขข้อบกพร่องนั้นแล้ว
12.9 ผู้ว่าจ้างจะคืนหนังสือค้ าประกันผลงานให้หลังจากการด าเนินงานและความรับผิดชอบของผู้
รับจ้างเสร็จสมบูรณ์ครบถ้วนแล้วตามสัญญาทุกประการ







มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
1-7


Click to View FlipBook Version