แบบนาเสนอรปู แบบการปฏบิ ัตทิ ีเ่ ปน็ เลิศ ( Best Practices ) ระดับปฐมวัย
1. ช่ือผลงาน
การพัฒนาทักษะทางดา้ นภาษาและความคดิ สรา้ งสรรคข์ องเดก็ ปฐมวยั โดยการจดั กจิ กรรม
“ หุ่นนว้ิ มือแสนมหัศจรรย์ ”
2. ชอื่ ผูน้ าเสนอผลงาน
นางสาวกณั ญาภคั จันทโช ตาแหน่งครู วทิ ยฐานะชานาญการ โรงเรยี นบ้านฝาง อาเภอยะหร่ิง
จังหวดั ปัตตานี โทรศัพท์ 089 – 2202768 E-mail : kanya.pak @ hotmail.com
3. หลักการและเหตุผล
การจดั การศึกษาระดับปฐมวยั เป็นการจัดการศกึ ษาใหแ้ กเ่ ด็กแรกเกิด - 5 ปี ในลักษณะของ การ
อบรมเลยี้ งดู และให้การศึกษา เพ่อื สง่ เสริมความพร้อมและพฒั นาในทุกดา้ นอกี ท้ังเปน็ วยั กาลงั เรยี นรู้โลกกวา้ ง
ชอบเร่อื งสนกุ สนาน ชอบกจิ กรรมทล่ี งมือทาดว้ ยตัวเองมคี วามประทับใจต่อหนังสอื และตวั ละครชอบทางาน
ศิลปะ และชอบแสดงออก เด็กวยั นม้ี คี วามพร้อมทางด้านรา่ งกายพอสมควรแลว้ สามารถใชก้ ลา้ มเนอ้ื เลก็ ได้
อยา่ งคล่องแคล่ว พวกเขาชอบการถา่ ยทอดเรื่องราว และความคิดความประทบั ใจ ออกมาใหเ้ ปน็ รูปธรรม
กิจกรรม “หุ่นน้วิ มือแสนมหัศจรรย์” จึงเปน็ กิจกรรมท่สี นุกสาหรบั เด็กปฐมวัย กระตุน้ ให้พวกเขาได้เผย
ความรสู้ ึกประทบั ใจผ่านกจิ กรรมศลิ ปะแบบงา่ ยๆและถูกใจ กิจกรรมน้ีเปดิ โอกาสใหเ้ ด็กๆ ไดใ้ ช้วัสดุและ
อปุ กรณ์หลายชนิด ทั้งกระดาษ สี กาว กรรไกร ด้วยเทคนคิ ตา่ ง ๆ ทง้ั ระบายสี ตดั มว้ น เม่ือเด็กๆ สร้างสรรค์
ตัวละครของตวั เองออกมาแล้ว ควรกระตุ้นใหพ้ วกเขาไดค้ ดิ เร่อื งราว โดยผู้ใหญก่ ระตนุ้ ให้เดก็ ๆ ถา่ ยทอด
เรื่องราว ชวนคุยเพ่ือใหไ้ ด้คิด และให้เด็กๆได้แสดงความสามารถ
จากการจัดการศกึ ษาในขา้ งตน้ นักเรยี นและครจู ึงไดพ้ ดู คุยและซกั ถามเก่ียวกบั เรื่องราวท่นี ักเรียน
สนใจ สิ่งท่ีนกั เรียนชอบและไดท้ ราบวา่ นกั เรียนสนใจ หุ่นน้ิวมือ คุณครแู ละนกั เรียนจงึ ประดษิ ฐ์ห่นุ น้ิวมอื เพอ่ื
มาใช้ประกอบในการทากจิ กรรมท้งั 6 หลัก เพ่อื สง่ เสริมทักษะทางดา้ นภาษา และความคิดสรา้ งสรรค์
4. วตั ถปุ ระสงค์
4.1 เพื่อจดั กิจกรรมส่งเสรมิ ความคิดสร้างสรรค์ใหก้ บั นักเรยี นระดบั ชน้ั อนบุ าลปีท2่ี
4.2 เพื่อปลูกฝังนสิ ยั รักการอา่ นให้กบั นักเรียนระดับชั้นอนบุ าลปที ี่2โดยผ่านงานประดษิ ฐ์
4.3 เพื่อให้นกั เรียนได้รจู้ ักตัวละครและเกดิ ความสนใจในหนงั สือนทิ าน
4.4 เพ่ือให้นกั เรียนไดเ้ กดิ ความภาคภมู ิใจในผลงานของตนเอง
5. แนวคดิ / ทฤษฎที ี่เก่ียวข้อง
การสอนโดยใช้หนุ่ นว้ิ มอื มีทฤษฎีการเรียนรู้และหลกั การเรยี นร้ดู งั ต่อไปนี้
ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ของ Tolman สรุปไดด้ งั น้ี
1.ระหวา่ งส่ิงเรา้ และพฤติกรรมท่ตี อบสนอง สง่ ผลให้ผ้เู รียนมกี ารเลอื กพฤตกิ รรมตอบสนองพรอ้ มท้งั
มตี ัวแปรอน่ื ๆ ได้แก่ ความคิด ความเขา้ ใจ เปน็ ต้น ซึง่ ตวั แปรเหลา่ นชี้ ว่ ยตีตามสงิ่ เรา้ ทาใหผ้ เู้ รียนสามารถ
เลอื กพฤติกรรมที่ตอบสนองได้
2.ผ้เู รยี นรู้ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสิ่งเรา้ กับสิง่ เรา้ เข้าดว้ ยกนั มากกวา่ สิง่ เรา้ กบั การตอบสนอง สิ่งเรา้ มี
ความสาคญั และมีความหมายอยู่ก่อนจึงจะทาใหผ้ ู้เรียนเกิดความรู้เชื่อมโยงระหวา่ งส่งิ เรา้ ได้
ทฤษฎีการเรยี นรู้ของ Hilgard และ Bower สรปุ ได้ดงั น้ี
1. ผูเ้ รียนตอ้ งเปน็ ผู้กระทามากกว่าการเป็นผ้ฟู งั เพราะวา่ ต้องมปี ฏิกิรยิ าตอบสนองต่อส่ิงเรา้ ถือว่า
การเรียนรู้เกิดข้ึนโดยการปฏิบตั ิ
2. ความถขี่ องการกระทาเป็นส่ิงสาคัญของการเรยี นรูท้ างทักษะ เช่น การเรยี นภาษา ดนตรี กฬี า
จะไม่สามารถเรียนได้ผลดถี ้าไม่มกี ารปฏบิ ัติ
3. การเรยี นรู้ในส่ิงทเ่ี หมือนกันและความแตกตา่ งกนั เป็นสิ่งสาคญั ทไี่ ดจ้ ากการฝึกหัดและทาให้เกดิ
การเรยี นรนู้ ัน้ อยู่ได้นาน
4. พฤตกิ รรมใหม่ๆเกิดขึ้นได้จากการเลยี นแบบหรอื การหลอมขน้ึ ใหมจ่ ากการวางเงอ่ื นไข
ทฤษฎกี ารเรียนรขู้ อง Thorndike สรุปไดด้ งั นี้
1. กฎแห่งความพร้อม (Law of readiness) กล่าวถึงความพร้อมของผเู้ รียนทงั้ รา่ งกายและจิตใจ
ทางรา่ งกายหมายถึง ความพร้อมทางวฒุ ิภาวะและอวยั วะของรา่ งกาย เช่น หูและตา ทางจิตใจหมายถงึ
ความพร้อมทเี่ กดิ จากความพงึ พอใจจะนาไปสู่การเรยี นรู้ ถา้ เกดิ ความไมพ่ ึงพอใจจะทาให้การเรียนรหู้ ยุดชะงัก
ไปได้
2. กฎแหง่ การฝกึ หัด (Law of exercise) กลา่ วถงึ ความม่ันคงของการเชือ่ มโยงระหวา่ งสง่ิ เร้ากับ
การตอบสนองที่ถูกต้อง โดยการฝกึ หดั ทาซ้าบ่อยๆย่อมทาใหเ้ กดิ การเรยี นร้ไู ดน้ านและคงทนถาวร
3.กฎแหง่ ผล (Law of effect) กลา่ วถงึ ผลท่ีไดร้ ับเมอื่ แสดงพฤติกรรมการเรียนรู้แลว้ วา่ ถ้าได้รับผลท่ีพอใจ
อินทรยี ก์ ็อยากจะเรยี นรอู้ กี ต่อไป แตถ่ ้าได้รบั ผลท่ีไม่พงึ พอใจอินทรีย์ก็ไม่อยากเรยี นรู้หรือเกิดความเบือ่ หน่าย
ตอ่ การเรียนรู้ได้
6. การดาเนินงาน / กระบวนการ / วิธกี ารปฏิบัติ
กิจกรรมห่นุ นิว้ มือแสนมหัศจรรย์ เปน็ การพฒั นาความคิดสรา้ งสรรค์สาหรับเดก็ ปฐมวัย กระตุ้นให้
พวกเขาได้เผยความรู้สกึ ประทบั ใจผา่ นกจิ กรรมศลิ ปะแบบงา่ ยๆทถ่ี กู ใจและสนกุ ของนักเรยี นระดบั ชั้นอนบุ าล
ปที ่ี 2 โรงเรยี นบา้ นฝาง โดยดาเนนิ กิจกรรมในรปู แบบของ PDCA ดังน้ี
Plan : วางแผน
- ศกึ ษาความสนใจของนกั เรียน
- นกั เรียนและครรู ว่ มกันคดิ กิจกรรม ท่ีพัฒนาความคิดสรา้ งสรรค์ ผ่านกิจกรรมศลิ ปะแบบง่ายๆ
- ให้นักเรยี นเลือกภาพสตั ว์ ผัก ตน้ ไม้ ผลไม้ ตามความสนใจ
Do : ปฏบิ ตั ิ
- นกั เรยี นและครูเตรยี มอปุ กรณใ์ นการทากิจกรรม
- นกั เรยี นและครูร่วมกันทากิจกรรม
Check : ตรวจสอบ
- สงั เกตการเข้ารว่ มกจิ กรรม
- สงั เกตการทากจิ กรรม
Act : ปรบั ปรุงการดาเนินกิจกรรม
- ปรับปรุงโดยการเพิม่ จานวนภาพใหม้ คี วามหลากหลาย
7. แผนการดาเนินงาน / ระยะเวลาในการดาเนินงาน
ระยะเวลาการดาเนินงาน 2 สัปดาห์ และมแี ผนในการดาเนนิ งานดังนี้
ที่ กิจกรรม ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ
น.ส. กัณญาภคั จนั ทโช
1 พูดคุยกจิ กรรมประจาวนั เก่ียวกบั สิง่ ทนี่ ักเรียน 1-3 กรกฎาคม 2556
น.ส. กัณญาภคั จันทโชและ
ชอบและสนใจและนาความคิดมารวบรวมเป็น นกั เรยี นช้ันอนุบาลปีท่ี2
น.ส. กัณญาภัค จันทโชและ
ความคิดรวบยอด นักเรยี นชั้นอนุบาลปีที่2
น.ส. กัณญาภัค จนั ทโช
2 เตรยี มอปุ กรณ์ เช่นภาพต่างๆ สีเทียน กรรไกร 4-5 กรกฎาคม 2556 นางฟาอซี ะห์ สาเหาะ
น.ส. กัณญาภัค จนั ทโช
กาว กระดาษ
3 นกั เรยี นและครดู าเนินกิจกรรม 8-10 กรกฎาคม 2556
4 ตรวจสอบโดยการซกั ถาม 11 กรกฎาคม 2556
5 รายงานผลการดาเนนิ กจิ กรรมให้ผู้บริหารทราบ 12 กรกฎาคม 2556
8. ผลการปฏิบตั งิ าน ส่งผลต่อการพฒั นาความเปลยี่ นแปลงอย่างไร (แนบเอกสารหลักฐานประกอบ)
8.1 กิจกรรมทา หุน่ นวิ้ มือแสนมหัศจรรย์ เปน็ กิจกรรมทีส่ นุกสาหรบั เด็กปฐมวยั กระตุ้นให้นักเรยี นได้
แสดงความรู้สึกประทับใจผ่านกจิ กรรมศลิ ปะแบบงา่ ยๆและถกู ใจ กิจกรรมน้เี ปดิ โอกาสให้นักเรียน ไดใ้ ชว้ ัสดุ
และอปุ กรณ์หลายชนิด ทง้ั กระดาษ สี กาว กรรไกร ดว้ ยเทคนิคตา่ งๆ ทงั้ ระบายสี ตดั ม้วน เมอื่ นักเรยี น
สรา้ งสรรค์ตัวหุ่นของตัวเองออกมาแลว้ ยังกระตนุ้ ให้นักเรียนไดค้ ดิ เร่อื งราว โดยคุณครกู ระตนุ้ ให้นักเรยี น
ถา่ ยทอดเรื่องราว ชวนคยุ เพื่อให้ไดค้ ิด และให้นักเรยี นไดแ้ สดงความสามารถ
8.2 พอ่ แม่ ผู้ปกครองได้ส่งเสริมพัฒนาการความคิดสรา้ งสรรค์ของนักเรยี นโดยการพดู คุย และ
ปลกู ฝังนิสยั รกั การอา่ นให้กับนกั เรยี น
8.3 ปัญหาอปุ สรรคในการทากิจกรรมหนุ่ นิ้วมือแสนมหศั จรรย์ คอื หากใช้กระดาษA4 จะน่ิมไมม่ ี
ความแขง็ แรง หากใช้กระดาษแข็งนกั เรยี นจะมว้ นกรวย หรือทาตัวหุ่นได้ค่อนขา้ งชา้ เพราะกระดาษแข็ง การ
ใชก้ าว กจ็ ะไม่แน่นอยไู่ ดไ้ มน่ านตอ้ งใชก้ าวจานวนมาก
9. ปจั จยั ที่ทาให้วิธีการประสบผลสาเร็จ
9.1 นกั เรียนและคุณครูมีความมุ่งมัน่ ในการจัดกจิ กรรม
9.2 นักเรียนและผ้ปู กครองให้ความร่วมมอื ในการเตรยี มอปุ กรณ์ และมคี วามสขุ สนกุ สนานในการทา
กจิ กรรม
9.3 ผูบ้ ริหารใหค้ าปรึกษา
10. บทเรยี นท่ไี ดร้ ับ
นักเรยี นมคี วามสนใจในหนังสือนิทานที่ใช้เล่ามากข้ึน และมีความสุข สนุกสนานกบั กิจกรรมการ
ประดษิ ฐ์หุ่นนว้ิ มือแสนมหศั จรรย์ มีความคดิ สร้างสรรค์ ถา่ ยทอดจนิ ตนาการได้ และนกั เรียนเกิดความ
ภาคภูมใิ จในผลงานของตนเอง
ขอรับรองว่าข้อความข้างตน้ นี้เปน็ ความจรงิ ทกุ ประการ
ลงช่ือ ผรู้ บั รอง
(นางสาวรัตนาซารี เจะอาแว)
ผู้อานวยการโรงเรียนบา้ นฝาง
เอกสารอ้างองิ
กนกกร บัญยะกนิษฐ์. (2539). หุ่นสาหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร : สถาบนั ราชภฏั สวนดสุ ิต และ
เอกสารประกอบการสอน วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
ภาคผนวก
ภาพประกอบการจัดทากิจกรรม
Plan : วางแผน
1. ศกึ ษาความสนใจของนกั เรียน
2. นกั เรียนและครรู ว่ มกันคดิ กิจกรรม ที่พัฒนาความคดิ สรา้ งสรรค์ ผา่ นกจิ กรรมศลิ ปะแบบง่ายๆ
3. ให้นกั เรยี นเลือกภาพสตั ว์ ผัก ต้นไม้ ผลไม้ ตามความสนใจและระบายสีภาพใหส้ วยงาม
ภาพประกอบการจดั ทากจิ กรรม
Do : ปฏบิ ตั ิ
1. นกั เรยี นและครูเตรยี มอปุ กรณใ์ นการทากิจกรรม
2. นักเรยี นและครูรว่ มกนั ทากิจกรรม
ภาพประกอบการจดั ทากจิ กรรม
Do : ปฏิบตั ิ (ตอ่ )
1. นกั เรยี นและครเู ตรียมอปุ กรณใ์ นการทากิจกรรม
2. นกั เรยี นและครูรว่ มกันทากิจกรรม
ภาพประกอบการจัดทากิจกรรม
Check : ตรวจสอบ
1. สงั เกตการเข้าร่วมกิจกรรม
2. สงั เกตการทากจิ กรรม
ภาพประกอบการจัดทากจิ กรรม
Act : ปรับปรงุ การดาเนนิ กิจกรรม
1. ปรับปรงุ โดยการเพิ่มจานวนภาพใหม้ คี วามหลากหลาย
การนาเสนอ Best Practice
การพฒั นาทกั ษะทางภาษาและความคิดสรา้ งสรรคข์ องเดก็ ปฐมวัย
โดยการจัดกิจกรรม“หนุ่ นว้ิ มือแสนมหศั จรรย์”
นางสาวกัณญาภคั จนั ทโช
ครคู ศ.2 โรงเรียนบ้านฝาง
โรงเรียนบ้านฝาง
ตาบลตาแกะ อาเภอยะหร่งิ จงั หวัดปตั ตานี
สังกดั สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาปัตตานี เขต 1
คานา
การพัฒนาทกั ษะทางภาษาและความคดิ สร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย โดยการจดั กจิ กรรม “หุ่นน้วิ มือ
แสนมหัศจรรย์” ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่2 โรงเรียนบา้ นฝางเปน็ การจัดกิจกรรมที่มุ่งเนน้ ให้นักเรยี นได้
ปฏบิ ัติจรงิ โดยยึดขั้นตอน PDCA ทาให้นกั เรยี นมีทกั ษะทางภาษาและความคดิ สรา้ งสรรค์ คดิ รวบยอดจาก
การทากิจกรรมและสามารถนามาใชป้ ระกอบการจัดกจิ กรรมท้ัง 6 หลักได้
ขอขอบคุณผู้อานวยการโรงเรียนบ้านฝาง นางสาวรตั นาซารี เจะอาแว ท่ไี ด้ใหค้ าปรึกษา คณะครู
นักเรยี นระดับชั้นอนุบาลทใ่ี ห้ความรว่ มมือในการทากจิ กรรมอยา่ งเตม็ ทแี่ ละสนกุ สนาน ทาให้กจิ กรรมประสบ
ความสาเรจ็ ข้าพเจา้ หวังเปน็ อย่างยิ่งวา่ การพฒั นาทักษะทางภาษาและความคดิ สรา้ งสรรค์ของเดก็ ปฐมวยั
โดยการจัดกิจกรรม “ หุน่ นิ้วมือแสนมหัศจรรย์ ” ของนกั เรยี นช้นั อนบุ าลปีท2่ี โรงเรยี นบา้ นฝาง จะมี
ประโยชนแ์ ก่ผู้ท่เี กย่ี วข้อง ดา้ นการจัดการศึกษาแก่ครูผู้สอนปฐมวยั ตอ่ ไป
นางสาวกณั ญาภัค จันทโช
สารบัญ หนา้
เร่อื ง 1
1
1. ชอ่ื ผลงาน 1
2. ชื่อผนู้ าเสนอผลงาน 1
3. หลักการและเหตุผล 2
4. วตั ถุประสงค์ 3
5. แนวคดิ / ทฤษฏีท่เี กยี่ วข้อง 4
6. การดาเนินงาน / กระบวนการ / วธิ กี ารปฏบิ ตั ิ 4
7. แผนการดาเนนิ งาน / ระยะเวลาในการดาเนนิ งาน 5
8. ผลการปฏบิ ตั ิงาน สง่ ผลตอ่ การพฒั นาความเปล่ียนแปลง
9. ปจั จัยทีท่ าใหว้ ธิ ีการประสบผลสาเรจ็ 5
10. บทเรียนท่ไี ด้รบั
11. ภาคผนวก
- ภาพประกอบการจดั ทากิจกรรม