The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฏิบัติงานประจำปีการศึกษา 2563 วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศิลปาชีพบางไทร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kasetbangsai, 2021-02-06 22:39:07

แผนปฏิบัติงานประจำปีการศึกษา 2563 วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศิลปาชีพบางไทร

แผนปฏิบัติงานประจำปีการศึกษา 2563 วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศิลปาชีพบางไทร

12. แหล่งงบประมาณ  เงนิ บารุง อกท.
 งบประมาณของวทิ ยาลยั ฯ
 อ่ืน ๆ (เงินงบประมาณโครงการอาชวี ะตา้ นภัยยาเสพติด)

13. ผลทีค่ าดวา่ จะได้รบั
1. สมาชิกทีเ่ ขา้ รว่ มกิจกรรมได้ตระหนกั เกย่ี วกบั โทษภัยของยาเสพตดิ และรูจ้ กั วิธีการปอู งกนั ใหห้ ่างไกลจาก
ยาเสพติด
2. สมาชกิ มีพฤติกรรมไมเ่ ก่ยี วขอ้ งกับยาเสพติด สามารถปฏิบตั ิตนในแนวทางที่ถกู ต้องเหมาะสม

ตามหลักธรรมแหง่ พทุ ธศาสนา และเป็นแบบอย่างท่ีดแี กผ่ ู้อ่ืนทัง้ ในชุมชนและสังคม
3. สมาชิกรจู้ กั การทางานร่วมกบั ผู้อืน่ ได้อยา่ งมีสขุ
4. สมาชกิ ท่ีเข้ารว่ มกิจกรรมสามารถดาเนนิ ชวี ติ อยู่ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสุขแบบยัง่ ยืน

14. ปัญหาและอุปสรรค
1. ภมู อิ ากาศไมเ่ อื้อตอ่ การปฏิบตั ิกจิ กรรม
2. ชมุ ชน และหนว่ ยงาน ไมพ่ รอ้ มเข้าร่วมกจิ กรรม

15. การตดิ ตามและประเมินผล
1. จานวนครทู ี่เข้ารว่ มกิจกรรม
2. สมาชิกท่ีเขา้ รว่ มกจิ กรรม
3. แบบประเมินผเู้ ข้ารับการอบรมและวิทยากร
4. แบบสงั เกต

260

แบบเสนอโครงการ ประจาปีงบประมาณ 2563
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี ูนย์ศิลปาชพี บางไทร
สถาบันการการอาชีวศึกษาภาคกลาง สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

1. ชือ่ โครงการ ฝึกอบรมและพฒั นาเกษตรกรให้เปน็ Smart Farmer
2. ผู้รบั ผิดชอบโครงการ

2.1. หลัก : ฝาุ ยพัฒนากจิ การนักเรียนนักศึกษา
2.2. รอง : (ชื่อผรู้ ับผดิ ชอบ/แผนกวิชา/งาน) : นางเยาวนิจ ไวทยะวจิ ติ ร และ นางสาวนิตยา ชะนะบุญ
3. ทป่ี รกึ ษาโครงการ : นายรักสี่ เตชะผลประสทิ ธิ์ รองผู้อานวยการฝุายพัฒนากิจการนักเรียน นกั ศกึ ษา

: นางสาวศิรเิ พญ็ คุ้มทุกข์ รองอานวยการฝาุ ยแผนงานและความร่วมมือ
4. ความสอดคลอ้ ง/เชื่อมโยง/ภายใต้ยทุ ธศาสตร์ นโยบายและมาตรการ

 นโยบายชาติ
 นโยบายสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
 นโยบายประกนั คุณภาพภายใน/ภายนอก
 นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ
5. ระยะเวลาดาเนนิ งาน ระหว่างวนั ท่ี 15 สงิ หาคม 2563 ถงึ วนั ท่ี 13 กันยายน 2563
6. สถานที่ดาเนนิ งาน วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยศี ูนยศ์ ลิ ปาชพี บางไทร หน่วยงานอ่ืน ๆ ท่ีเกย่ี วข้อง

และชมุ ชนใกล้เคียง
7. หลักการและเหตุผล

โครงการฝึกอบรมและพัฒนาเกษตรใหเ้ ปน็ Smart Farmer เป็นโครงการทตี่ ้องการใหค้ นไทยที่มีความรู้หรือทา

อาชีพดา้ นเกษตรมีความภาคภูมใิ จในอาชพี ซึ่งเปรียบเสมือนกับอาชีพท่ีเป็นกระดูกสันหลงั ขอคนไทยมาชา้ นาน และเมอ่ื มี

กาลเวลาผนั เปลยี่ นเข้าสยู้ คุ ดิจทิ ัล การทาการเกษตรดูเหมือนเป็นอาชีพทที่ ุกคนมองขา้ ม หรอื ขาดความภูมิใจเพราะดู

โบราณ และเก่าเกนิ ยคุ สมัยใหม่ แตแ่ ทจ้ ริงแล้วเกษตรกรไทยสามารถปรบั เปลีย่ น ใหเ้ ป็นเกษตรกรยุคสมัยใหม่ ทเ่ี พ่ิมความ

ภมู ิใจดว้ ยแนวคดิ ของ Smart Farmer จึงเป็นคานิยามความหมายใหมต่ ่อบุคคล ที่มีความภมู ิใจในเกษตรกร โดยครอบคลุม

ความรู้ในดา้ นเกษตรสามารถบรหิ ารจัดการ การผลิต การแปรรปู การตลาด รวมถึงวิเคราะหเ์ ช่อื มโยงให้คานงึ ถงึ คุณภาพ

และความปลอดภยั ของผบู้ ริโภค สงั คม รวมถงึ สง่ิ แวดลอ้ มโดย Smart Farmer จะมีการนาเทคโนโลยเี ข้าไปผสมผสาน เปน็

อุปกรณ์ด้านวทิ ยาศาสตร์ อินเตอร์เนต็ ซง่ึ ลว้ นแต่เปน็ การนาความร้ดู ้านวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยมี าใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์

น้นั เอง

261

จดุ ประสงค์ 1. เพ่อื การกระตุ้นใหเ้ กษตรกรเกดิ การเรียนรู้และมแี หลง่ เรียนรู้ท่ีเปน็ ต้นแบบ
2. เพ่ือให้เกิดการเช่ือมโยงเครือข่ายระหว่างเกษตรกรและองค์กรของรัฐ
3. เพ่ือเสรมิ สร้างศักยภาพ Smart Farmer ในการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้

8. เปา้ หมาย
เกษตรกรทข่ี ึ้นทะเบยี นเปน็ Smart Farmer กับสานกั งานเกษตรจังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา จานวน 320 คน
เปูาหมายเชิงปรมิ าณ
- เกษตรกรท่ีขนึ้ ทะเบียนเป็น Smart Farmer อาเภอเสนา จานวน 80 คน
- เกษตรกรท่ีขึ้นทะเบยี นเปน็ Smart Farmer อาเภอบางไทร จานวน 80 คน
- เกษตรกรที่ขึน้ ทะเบียนเปน็ Smart Farmer อาเภอวังน้อย จานวน 80 คน
- เกษตรกรท่ีขนึ้ ทะเบียนเป็น Smart Farmer อาเภอลาดบัวขวาง จานวน 80 คน
เปาู หมายเชงิ คณุ ภาพ
1. เกษตรกรท่ีข้ึนทะเบียนที่ผ่านการเรียนรู้ มีความรู้ทักษะความเข้าใจสามารถนาความรู้ไป พัฒนาสร้างงานสร้าง

อาชีพ เพม่ิ ปรมิ าณ ผลผลติ ไดเ้ พิม่ ขน้ึ
2. เกษตรมีเครือข่ายสามารถมีแหล่งเรียนรู้และเชื่อมโยงกลุ่มอาชีพที่คล้ายคลึงกัน รวมกลุ่มกัน เพ่ือประกัน

คุณภาพหรือยกคณุ ภาพมาตรฐานสินค้าเกษตรใหส้ ูงขึ้นได้
4. เกษตรกรมีเวที แลกเปลย่ี นเรียนรู้ในการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิตและการแปรรูปเพ่ือเพ่ิมมูลค่าของสินค้า

เกษตรใหม้ อี ายกุ ารเกบ็ รกั ษาไวไ้ ด้นาน
9. กิจกรรมและขนั้ ตอนดาเนินงาน

แผนการดาเนนิ งานโครงการฝกึ อบรมและพฒั นาเกษตรกรใหเ้ ป็น “Smart Farmer”
1. ประชมุ ช้แี จงรายละเอียดโครงการ
2. แต่งตง้ั ผู้รบั ผดิ ชอบและดาเนนิ การ
3. เสนอโครงการ
4. สารวจเกษตรท่ีขนึ้ เป็น Smart Farmer
5. สารวจความตอ้ งการฝกึ อบรมในสาขาหรืออาชีพที่ต้องการ
6. จัดกลุ่มอบรม/ตามแผนการฝกึ อบรม
7. ติดตามประเมนิ ผล
8. รายงานผลการฝกึ อบรม

262

กจิ กรรม พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2563

ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

1. ประชมุ ชีแ้ จงรายละเอยี ดโครงการ

2. แต่งตัง้ ผรู้ ับผิดชอบและดาเนินการ
3. เสนอโครงการ

4. สารวจเกษตรทขี่ น้ึ เปน็
Smart Farmer

5. สารวจความตอ้ งการฝกึ อบรม
ในสาขาหรอื อาชพี ทต่ี ้องการ

6.จดั กลุม่ อบรม/ตามแผนการ
ฝึกอบรม

7. ตดิ ตามประเมินผล

8. รายงานผลการฝึกอบรม

10. ระยะเวลาการฝกึ อบรม
ตุลาคม 2562 – กันยายน 2563

11. สถานที่ฝกึ อบรม
1.วิสาหกจิ ชมุ ชน กลุม่ ทานาบ้านนาหลวง ต.บา้ นหลวง อ.เสนา จ.พระนครศรีอยธุ ยา
2.วสิ าหกิจชมุ ชนกล่มุ ทานา้ พรกิ แกง ต.วังน้อย อ.วังน้อย จ.พระนครศรอี ยุธยา
3.วิสาหกจิ ชมุ ชนแปรรปู เหด็ ต.ไผพ่ ระ อ.บางไทร จ.พระนครศรอี ยธุ ยา

12. งบประมาณดาเนนิ การโครงการ
- จานวนผู้รบั การอบรม 320 คน X ค่าวสั ดุ 1,200 บาท

 384,000 บาท (สามแสนแปดหม่ืนส่พี ันถว้ น)

13. ผลที่คาดวา่ จะได้รับ
1. เกษตรกรทีเ่ ปน็ Smart Farmer มีทักษะความรู้ความเข้าใจรูแ้ นวทางในการแก้ปญั หา ใหเ้ หมาะสมกับ
ชมุ ชนทอ้ งถ่นิ

263

2. เกษตรกรที่เปน็ Smart Farmer มเี ครอื ข่ายและสามารถรวมกันมีแหล่งเรียนรู้ มแี หล่งข่าวสาร
ดา้ นเทคโนโลยใี หม่ เพิ่มขนึ้

3. เกษตรกรที่เป็น Smart Farmer มเี วทีแลกเปลี่ยนความรนู้ าขอ้ ดี ข้อเสีย และปัญหาต่าง ๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ
มาพดู คุยแลกเปลี่ยนความรู้ ซง่ึ กันและกัน เพื่อหาแนวทางการแกป้ ญั หาเพ่ิมขน้ึ

264

แบบเสนอโครงการ ประจาปีงบประมาณ 2563
วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี ูนยศ์ ิลปาชพี บางไทร
สถาบนั การการอาชวี ศกึ ษาภาคกลาง สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

1. ชอ่ื โครงการ บ่มเพาะผู้ประกอบการใหม่ ปีการศึกษา 2563

2. ผูร้ ับผดิ ชอบโครงการ

2.1. หลัก : ฝุายพัฒนากิจการนักเรียนนกั ศึกษา

2.2. รอง : (ชอื่ ผู้รับผิดชอบ/แผนกวชิ า/งาน) : นางสาวนริ มล พลแพงขวา หัวหน้าศนู ยบ์ ่มเพาะวิสาหกจิ เพอื่ การศกึ ษา

นางชนดั ฎา วงศ์วเิ ชียร

นางสาวชลธิชา สุดสายเนตร

นางสาวศุภลักษณ์ สรรพศรี

3. ทป่ี รกึ ษาโครงการ : นางสาวศริ ิเพญ็ คุ้มทุกข์ รองอานวยการฝาุ ยแผนงานและความรว่ มมือ

4. ความสอดคล้อง/เชื่อมโยง/ภายใตย้ ุทธศาสตร์ นโยบายและมาตรการ

 นโยบายชาติ

 นโยบายสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

 นโยบายประกันคุณภาพภายใน/ภายนอก

 นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ

5. ระยะเวลาดาเนินงาน ระหว่างวันท่ี 1 ตลุ าคม 2562 ถงึ วันที่ 30 กนั ยายน 2563

6. สถานที่ดาเนนิ งาน วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี นู ยศ์ ิลปาชพี บางไทร หน่วยงานอน่ื ๆ ท่ีเก่ยี วข้อง

และชุมชนใกล้เคียง และสถานประกอบการ

7. หลกั การและเหตุผล

จากการที่รัฐบาลมีนโยบายในการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมหรือ SMEs ถือเป็น

ยุทธศาสตร์สาคัญในการฟื้นฟูและพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยในระยะยาวด้ายการสร้างฐานผู้ประกอบการใหม่ให้

เกิดขน้ึ และชว่ ยพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศอนั จะทาให้สดั สว่ นจานวนผู้ประกอบการในประเทศเพิ่มขึ้น พร้อมกระตุ้นภาค

แรงงาน การกระจายรายไดใ้ นประเทศ รวมถึงเพิ่มการใช้วัตถุดิบในประเทศ นโยบายดังกล่าวดังกล่าวได้ส่งผลให้หน่วยงาน

ต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนดาเนินกิจกรรม โครงการ แผนงานอย่างจริงจังและเป็นรูปธรรมเพ่ือขับเคลื่อนเศรษฐกิจ

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาซึ่งมีบทบาทสาคัญในการจัดการเรียนการสอน และส่งเสริมการศึกษาเพื่อพัฒนา

ทรัพยากรมนุษย์ จึงพฒั นาโครงการส่งเสรมิ การประกอบอาชีพอิสระในกลุ่มผู้เรียนอาชีวศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้าง

องค์ความรู้ด้านการประกอบธุรกิจและจิตสานึกในเชิงธุรกิจให้แก่กลุ่มนักเรียนนักศึกษาใ นสังกัดสานักงานคณะกรรมการ

อาชีวศึกษา ให้ได้มีโอกาสเรียนรู้การทาธุรกิจและจิตสานึกในเชิงธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการอย่างเป็นระบบ ท้ังการ

เรียนการสอนภายในสถานศึกษา การศึกษาดูงานเพื่อเข้าใจกลไกการบริหารงานของผู้ประกอบการในท้องถิ่น การเข้าร่วม

265

กิจกรรมการแข่งขันที่เกี่ยวเนื่องการทาธุรกิจ และกิจกรรมส่งเสริมทักษะการประกอบอาชีพอิสระ รวมท้ังยังเป็นการสร้าง
แรงจูงใจให้แกเ่ ยาวชนในระดบั อาชวี ศกึ ษาดาเนินการพัฒนาผลติ ภัณฑ์และบริการเพื่อต่อยอดในเชิงพาณิชย์

การขับเคลื่อนโครงการส่งเสริมการประกอบอาชีพอิสระในกลุ่มผู้เรียนอาชีวศึกษา นักเรียนนักศึกษาในวิทยาลัย
เกษตรและเทคโนโลยศี ูนยศ์ ิลปาชพี บางไทร ถอื เปน็ ฟนั เฟอื งสาคญั ทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ กระบวนการขับเคลอ่ื นภายใต้ศักยภาพในการ
บริหารจัดการศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษาของสถานศึกษา ในการส่งเสริมความรู้และทักษะในการประกอบ
ธุรกจิ ใหแ้ ก่ผเู้ รียนอาชีวศึกษา

เพ่อื เป็นการยกระดับศักยภาพนกั เรียนนกั ศกึ ษาใหเ้ ป็นผู้ประกอบการอาชีวศึกษา จึงจาเป็นต้องพัฒนารูปแบบการ
บรหิ ารจดั การศูนย์บ่มเพาะของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศิลปาชีพบางไทร ให้สามารถผลิตผู้ประกอบการรุ่นใหม่
อย่างมนี ยั ยะ ทัง้ ในเชิงปริมาณและคณุ ภาพ

โดยเหตุผลของการเลือกพัฒนาระบบการบริหารจัดการศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษา ของวิทยาลัย
เกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศิลปาชีพบางไทร เน่ืองจากนักเรียนนักศึกษาเป็นกลุ่มที่มีศักยภาพและสามารถพัฒนาต่อยอด
เป็นผู้ประกบการอาชีวศึกษา ตามรูปแบบการบริหารจัดการศูนย์บ่มเพาะประกอบธุรกิจบริการ ซึ่งสอดคล้องกับนโยบาย
“การเปน็ ครัวโลกของประเทศไทย” ให้มกี ารเติบโตแบบก้าวกระโดด ในการสนบั สนนุ การพัฒนาประเทศ
8. ขอ้ เสนอแนะผลการจัดกิจกรรม/โครงการทผ่ี ่านมา

8.1 สมาชิกไม่สะดวกในการเข้าร่วมกิจกรรมบ่มเพาะผู้ประกอบการ เน่ืองจากสมาชิกบางส่วนเป็นนัก เรียน
นักศึกษาในระบบทวิภาคี ต้องออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพในสถานประกอบการ ทาให้การปฏิบัติงานขาดความต่อเนื่อง
สง่ ผลใหก้ ารบรหิ ารจดั การงานภายในธรุ กิจบ่มเพาะขาดประสทิ ธิภาพในการดาเนินงาน

8.2 ธุรกิจบ่มเพาะรายใหม่ท่ีเข้าร่วมเป็นสมาชิกบ่มเพาะผู้ประกอบการ ไม่สามารถลงทุนในสินทรัพย์ถาวรได้
ครบถว้ นตามความตอ้ งการของธรุ กิจ สาเหตเุ นื่องจากขอ้ จากดั ด้านเงนิ ลงทนุ แรกเร่มิ

8.3 การจัดกจิ กรรมให้ตรงกับเวลาว่างของสมาชกิ บม่ เพาะผปู้ ระกอบการให้มากที่สดุ เพื่อ
ความสะดวกในการเขา้ ร่วมกิจกรรมบ่มเพาะผปู้ ระกอบการ

8.4 การสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในหลักการดาเนินงานของงานบ่มเพาะวิสาหกิจเพ่ือการศึกษาในภาพรวมของ
สถานศึกษา เพอ่ื ให้สมาชิกเขา้ ใจหลักการดาเนินงานโดยรวมของระบบบ่มเพาะผปู้ ระกอบการ ตลอดจนการประเมินติดตาม
ผลการดาเนินงาน

8.5 การตดิ ต่อประสานงานกบั หน่วยงานท่ีเกยี่ วขอ้ ง ให้ดาเนนิ การอยา่ งมรี ะบบ ขั้นตอน และระยะเวลาดาเนินการ
ทเี่ หมาะสม เพือ่ ให้หนว่ ยงานที่เกย่ี วข้องวางแผนใหค้ วามรว่ มมอื กับธรุ กจิ บม่ เพาะผู้ประกอบการเกดิ ประสทิ ธิภาพสงู สดุ
9. วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ

9.1 เพ่อื เสรมิ สร้างความรู้ ประสบการณ์ในการเตรียมความพร้อมสู่การเปน็ ผ้ปู ระกอบการใหม่
9.2 เพอื่ สรา้ งเสรมิ กาลงั กาย กาลังใจ แก้ไขปัญหา อุปสรรค และทัศนคติท่ดี ตี อ่ การประกอบอาชพี
9.3 สง่ เสริมและสนับสนุนผู้ประกอบการอาชวี ศึกษาท่มี ีศักยภาพและพรอ้ มในการเป็นผปู้ ระกอบการให้ได้รบั การ
พัฒนาอยา่ งตอ่ เนื่อง เพือ่ ให้สามารถเป็นผปู้ ระกอบการได้อยา่ งเข้มแขง้ และยง่ั ยืน

266

10. แหล่ง/รายละเอียดงบประมาณที่ดาเนนิ งาน

10.1 งบประมาณ จานวน 100,000 บาท (หน่ึงแสนบาทถ้วน)

10.2 รายละเอยี ดงบประมาณ

10.3 การจดั สรรงบประมาณสาหรบั กจิ กรรมที่ 1 อบรมการเขยี นแผนธุรกิจ

ท่ี รายการ จานวน ราคา/หน่วย จานวนเงนิ

1 ค่าตอบแทนวิทยากร 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท 1 คน 3,600 3,600

ค่าตอบแทนวทิ ยากร 3 ชว่ั โมงๆ ละ 600 บาท 2 คน 1,800 3,600

2 คา่ อาหารกลางวนั ผู้เขา้ รบั การอบรม 68 คน 68 คน 40 2,720

3 คา่ อาหารว่าง 2 ม้ือๆ ละ 25 บาท 68 คน 50 3,400

4 วสั ดุสานกั งานเอกสารประกอบการอบรม 1,380

(หนงึ่ หม่ืนส่ีพันเจด็ ร้อยบาทถ้วน) รวม 14,700

10.4 การจดั สรรงบประมาณสาหรับกิจกรรมที่ 2 อบรมและศึกษาดงู านในสถานประกอบการ

ท่ี รายการ จานวน ราคา/หนว่ ย จานวนเงนิ

1 คา่ จา้ งเหมารถศึกษาดูงาน 1 คัน 15,000 15,000

2 ค่าวัสดุ อุปกรณ์ และ ของที่ระลกึ เขา้ ดงู าน 2 ชุด 600 1,200

3 ค่าอาหารกลางวนั ผเู้ ขา้ รบั การอบรม 56 คน 40 2,240

56 คนๆ ละ 40 บาท

4 คา่ อาหารว่าง 2 มอ้ื ๆ ละ 25 บาท 56 คน 50 2,800

(สองหม่ืนหนึ่งพนั สองรอ้ ยสี่สิบบาทถว้ น) รวม 21,240

10.5 การจัดสรรงบประมาณสาหรบั กิจกรรมท่ี 3 สง่ เสริมบม่ เพาะผปู้ ระกอบการ

ท่ี รายการ จานวน ราคา/หน่วย จานวนเงิน

1 ค่าวัสดุอุปกรณ์ 360

2 ส่งเสรมิ พัฒนาธรุ กิจอน่ื ของสถานศกึ ษา 1 ธรุ กิจ 5,000 5,000

3 คา่ สนับสนนุ การลงทนุ ของสมาชกิ บ่มเพาะ 3 ธุรกิจ 34,060

ผปู้ ระกอบการ สาหรบั จัดทาธุรกจิ

เปูาหมาย 3 ธุรกจิ

(สามหม่ืนเก้าพนั ส่รี ้อยยีส่ บิ บาทถ้วน) รวม 39,420

267

10.6 การจัดสรรงบประมาณสาหรับกิจกรรมท่ี 4 การบริหารจัดการศนู ย์สง่ เสรมิ บ่มเพาะฯ

ที่ รายการ จานวน ราคา/หน่วย จานวนเงนิ

1 ค่าใช้จา่ ยในการเดินทางไปราชการ เพอื่ การพัฒนา 5 ครง้ั 10,000

ศนู ย์ส่งเสรมิ บม่ เพาะผูป้ ระกอบการ

2 การเตรียมรบั การประเมิน 10,000

- ระดับสถานศึกษา

- ระดบั อศจ.

- ระดบั ภาค

- ระดบั ชาติ

3 ค่าวัสดุ/อปุ กรณส์ านกั งาน สาหรบั การบรหิ าร 4,640

ดาเนินการศูนยบ์ ่มเพาะผปู้ ระกอบการ ประจาปี 2563

(สองหม่นื สี่พันหกร้อยสสี่ บิ บาทถว้ น) รวม 24,640

หมายเหตุ ทุกรายการค่าใชจ้ ่ายสามารถถวั เฉล่ียจ่ายได้

11. วธิ ดี าเนินงาน (แสดงผงั หรือข้นั ตอนการดาเนนิ งาน PDCA)

1. ศกึ ษาข้อมลู และขออนุมัติโครงการ

2. ดาเนินการปฏิบัติงาน

3. ติดตามประเมินผล

4. สรุปและรายงานผล

12. เป้าหมายโครงการ

12.1 เชิงปรมิ าณ

12.1.1 สถานศึกษามีศูนยบ์ ม่ เพาะผู้ประกอบการอาชวี ศึกษา ที่มีประสทิ ธภิ าพ

12.1.2 สร้างแกนนานักเรียนนกั ศึกษาในสถานศกึ ษาในการทาโครงการบ่มเพาะ

ผ้ปู ระกอบการใหมอ่ ยา่ งน้อย 15 คน

12.1.3 มสี มาชิกภายนอกสถานศึกษา และผู้สนใจ เขา้ รว่ มกจิ กรรมอย่างน้อย 5 คน

12.1.4 มกี ารนาสิง่ ประดษิ ฐ์ โครงงานวิทยาศาสตร์ โครงการธรุ กิจ โครงงาน และงานวิจยั

มาตอ่ ยอดเชิงพาณชิ ย์

12.2 เชงิ คุณภาพ

12.2.1 สมาชิกท่เี ข้าร่วมกิจกรรมไดร้ ับความรู้ ประสบการณ์ สามารถเขยี นแผนธรุ กิจได้

12.2.2 สมาชิกท่ีเข้าร่วมกิจกรรมสามารถนาความรู้ท่ีได้รับไปใช้ประกอบอาชีพ และดาเนินชีวิตได้

อยา่ งเป็นสขุ และยั่งยืน

12.2.3 สถานศกึ ษา มีศูนยบ์ ม่ เพาะผปู้ ระกอบการอาชีวศกึ ษาท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ

268

12.2.4 สถานศึกษา มีการส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาขีดความสามารถให้ผู้เรียนประกอบธุรกิจ

และพฒั นาตอ่ ยอดธุรกจิ เดิม
13. ระยะเวลา/สถานทดี่ าเนินการ

13.1 ระยะเวลาในการดาเนินการ : 1 สิงหาคม 2562 ถึง วันท่ี 30 กันยายน 2563

13.2 สถานทีด่ าเนินการ : วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยศี นู ยศ์ ิลปาชีพบางไทร

แผนการ/กจิ กรรมดาเนนิ การ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

แผนการดาเนินงานโครงการ “บม่ เพาะผปู้ ระกอบการใหม่” ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

ขัน้ ตอนการดาเนินงาน ต.ค.62- พ.ค ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย.
เม.ย.62

1. จดั ทาโครงการเพื่อเสนอ

พจิ ารณาอนมุ ัติ

2. แต่งต้งั คณะกรรมการ

ดาเนินเงนิ

3. ประชมุ คณะกรรมการ

ดาเนินงาน

4. ประชาสมั พนั ธ์กจิ กรรม

โครงการ

5. จัดเตรยี มสถานที่และวสั ดุ

6. ดาเนินงานตามโครงการ
กิจกรรมที่ 1 อบรมการเขียน
แผนธุรกจิ
7. ดาเนินงานตามโครงการ
กจิ กรรมที่ 2 การศกึ ษาดงู าน
ในสถานประกอบการ
8. ดาเนนิ งานตามโครงการ
กิจกรรมท่ี 3 สง่ เสริมบม่ เพาะ
ผ้ปู ระกอบการ
9. สรุปและประเมินผลการ
ดาเนินการโครงการ
10. รายงานผลการ
ดาเนินการ

269

14. ผลทค่ี าดว่าจะได้รบั
14.1 สมาชกิ มีความรู้ ประสบการณ์ ในการเขียนแผนธรุ กิจไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง และมีประสทิ ธภิ าพ
14.2 สมาชิกมจี ติ สานกึ ทด่ี ีต่อการประกอบอาชพี
14.3 สมาชกิ มสี ามารถนาความรูไ้ ปใชป้ ระกอบอาชีพได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
14.4 สมาชิกมรี ายไดร้ ะหว่างเรยี น
14.5 มีการนาสงิ่ ประดษิ ฐ์ โครงงานวิทยาศาสตร์ โครงการธุรกจิ โครงงาน และงานวจิ ยั มาตอ่ ยอดในเชิงพาณิชย์

15. ผลผลติ (Out put)/ตัวปอ้ น (เทียบอตั ราเปน็ รอ้ ยละ)
15.1 สถานศกึ ษามีศนู ยบ์ ม่ เพาะผ้ปู ระกอบการอาชวี ศึกษา ที่มีประสทิ ธภิ าพ
15.2 สร้างแกนนานกั เรยี นนกั ศกึ ษาในสถานศึกษาในการทาโครงการบม่ เพาะผปู้ ระกอบการใหมอ่ ย่างนอ้ ย 15 คน
15.3 มีสมาชกิ ภายนอกสถานศกึ ษา และผูส้ นใจ เขา้ ร่วมกจิ กรรมอยา่ งนอ้ ย 5 คน
15.4 มกี ารนาส่ิงประดิษฐ์ โครงงานวิทยาศาสตร์ โครงการธรุ กิจ โครงงาน และงานวจิ ัย มาตอ่ ยอดเชงิ พาณชิ ย์

16. ผลลัพธ์ (Out come) (เทยี บอัตราเปน็ ร้อยละ)
16.1 สมาชิกมีความรู้ ประสบการณ์ ในการเขียนแผนธรุ กจิ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง และมีประสิทธภิ าพ
16.2 สมาชิกมจี ิตสานกึ ท่ีดตี ่อการประกอบอาชพี
16.3 สมาชิกมีสามารถนาความรู้ไปใช้ประกอบอาชีพได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
16.4 สมาชิกมรี ายได้ระหวา่ งเรยี น

270

แบบเสนอโครงการ ประจาปงี บประมาณ 2563
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี นู ย์ศลิ ปาชพี บางไทร
สถาบนั การการอาชวี ศกึ ษาภาคกลาง สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

1. ช่ือโครงการ โครงการพฒั นา ระบบการเมินและประกันคุณภาพอาชีวศึกษา

2. ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ

2.1. หลกั : ฝาุ ยแผนงานและความรว่ มมอื

2.2. รอง : (ช่ือผูร้ ับผดิ ชอบ/แผนกวิชา/งาน) : นายปฏิญญา คอนเพง็

นางสาวศุภลกั ษณ์ สรรพศรี

3. ที่ปรกึ ษาโครงการ : นางสาวศริ ิเพญ็ คุ้มทุกข์ รองอานวยการฝาุ ยแผนงานและความรว่ มมือ

4. ความสอดคลอ้ ง/เชื่อมโยง/ภายใตย้ ุทธศาสตร์ นโยบายและมาตรการ

 นโยบายชาติ

 นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ

 นโยบายสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

 นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ

5. ระยะเวลาดาเนินงาน ระหวา่ งวันที่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2563

6. สถานทดี่ าเนนิ งาน วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยศี นู ย์ศิลปาชีพบางไทร หน่วยงานอนื่ ๆ ท่ีเกีย่ วข้อง

และชุมชนใกลเ้ คยี ง และสถานประกอบการ

7. หลักการและเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2557 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่19) พ.ศ. 2545 หมวด 6

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา กาหนดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและ

มาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ซ่ึงประกอบด้วย ระบบการประกันคุณภาพภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก

และในมาตรา 48 กาหนดให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และ

ให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาท่ีต้องดาเนินการอย่างต่อเน่ือง โดย

จะต้องจดั ทารายงานประจาปีเสนอต่อหนว่ ยงานตน้ สงั กัด หน่วยงานท่ีเกย่ี วขอ้ ง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพ่ือนาไปสู่การ

พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษา และเพอื่ รองรบั การประกันคุณภาพภายนอกจากสานักงานรับรองมาตรฐานและ

ประเมินคุณภาพการศึกษา โดยสถานศึกษาทุกแห่งต้องรับการประเมินภายนอกจากสานักงานรับรองมาตรฐานและ

ประเมนิ คุณภาพการศึกษาอยา่ งนอ้ ย 1 คร้ังในทุก ๆ 5 ปี ซ่ึงวิทยาลัยจะเข้ารับการประเมินภายนอกในปี 2559 (ประเมิน

ขอ้ มูลยอ้ นหลงั 3 ปี)

วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี ูนยศ์ ลิ ปาชพี บางไทร เปน็ สถานศึกษาแห่งหน่ึงที่ได้ดาเนินการประกันคุณภาพ

การศึกษาตามมาตรฐานการอาชีวศกึ ษา พ.ศ.2555 อันประกอบด้วย 2 ส่วน คือ สว่ นท่ี 1 การจดั การอาชวี ศึกษา มี

271

จานวน 7 มาตรฐาน 35 ตวั บง่ ชี้ และสว่ นที่ 2 การฝกึ อบรมวชิ าชพี มจี านวน 1 มาตรฐาน 10 ตัวบ่งชี้ มาอยา่ งต่อเนื่องโดย
วิทยาลยั ไดม้ กี ารจัดการเรยี นการสอนที่สอดคล้องและตรงตามมาตรฐาน อันจะนามาซ่ึงการบรหิ ารงาน การจดั การเรยี น
การสอนที่ดสี ู่ผู้เรียน นกั ศึกษา ตลอดจนผเู้ ข้ารบั การอบรมและเพ่ือรอรบั การประเมินภายนอกจากสานักงาน
8. ขอ้ เสนอแนะผลการจัดกิจกรรม/โครงการทผ่ี า่ นมา

-
9. วัตถุประสงคโ์ ครงการ

1. เพ่อื สง่ เสริมและเตรยี มความพร้อมใหแ้ กบ่ ุคลากรในสถานศึกษา ไดม้ คี วามรู้ความเข้าใจในการ
ประเมนิ คุณภาพจากสานกั งานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา

2. เพอื่ ให้การบริหารและจัดการศึกษาภายในวิทยาลยั เป็นไปอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ สอดคลอ้ งกับบริบท
ของชมุ ชนและสังคม

3. เพื่อจัดเก็บรวบรวมข้อมูลและจัดทารายงานประจาปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสงั กดั หน่วยงานทีเ่ ก่ียวข้อง และ
เปดิ เผยต่อสาธารณชน

4. เพ่อื นาขอ้ มูลทไ่ี ด้มาใชใ้ นการพัฒนาการบรหิ ารงาน การจัดการเรียน การสอนใหม้ ีคุณภาพและตรงมาตรฐานของ
ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพ่ือพัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษาทกุ ระดบั

10. แหล่ง/รายละเอยี ดงบประมาณท่ดี าเนนิ งาน
-

11. วธิ ีดาเนินงาน(แสดงผงั หรือขน้ั ตอนการดาเนินงาน(PDCA)
Plan คอื การวางแผนจากวัตถุประสงคแ์ ละเปูาหมายทไ่ี ด้กาหนดขน้ึ เสนอโครงการขออนุมตั ิ
Do คอื การปฏิบตั ิตามขั้นตอนในแผนงานที่ได้เขยี นไว้อย่างเป็นระบบและมคี วามต่อเน่ือง
- ดาเนินการจดั อบรมให้บุคลากร มีความรู้ ความเขา้ ใจระบบการประกนั คุณภาพ

การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดบั ทกุ คน
- แต่งตงั้ คาสัง่ คณะดาเนนิ งานการประเมินคุณภาพสถานศึกษา และคณะกรรมการการประเมิน

คณุ ภาพในแต่ละคณะวิชา
- จัดเก็บรวบรวมข้อมูล วเิ คราะหแ์ ละเขยี นรายงานเพือ่ นาเสนอหน่วยงานต้นสงั กดั หน่วยงานที่

เกีย่ วขอ้ ง และเปดิ เผยต่อสาธารณชน
- จดั เก็บรวบรวมข้อมลู รอรับการประเมินภายนอกจากสานักงานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ

คณุ ภาพการศึกษา ในปีพ.ศ. 2559
Check คือ การตรวจสอบการดาเนนิ งานในแต่ละขั้นตอนของแผนงานวา่ มีปญั หาอะไรเกิดข้ึน

จาเปน็ ตอ้ งเปลี่ยนแปลงแก้ไขแผนกงานใด สง่ รายงานและรอรับการประเมนิ จากคณะกรรมการการประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษา

Action คอื การปรบั ปรงุ แก้ไขส่วนท่ีมปี ญั หาหรือถ้าไม่มปี ัญหาใดๆ กย็ อมรบั แนวทางการปฏบิ ัตติ าม

272

แผนงานท่ไี ด้ผลสาเรจ็ เพื่อนาไปใช้ในการทางานคร้ังต่อไป

12. เปูาหมายโครงการ

1.1. เชิงปริมาณ

- เสริมสร้างใหบ้ คุ ลากรในสถานศกึ ษา มีความรู้ ความเข้าใจในระบบการประกันคณุ ภาพ

การศกึ ษาเพือ่ พฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ทุกคน

- จดั ทารายงานประจาปีเสนอต่อหนว่ ยงานต้นสงั กดั หนว่ ยงานท่ีเก่ยี วข้องและเปิดเผยตอ่

สาธารณชนอยา่ งนอ้ ย 400 แห่ง

1.2. เชงิ คณุ ภาพ

- สถานศึกษาดาเนินการประกันคณุ ภาพการศึกษาตามมาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา พ.ศ.2555 อนั

ประกอบดว้ ย 2 สว่ น คือ ส่วนท่ี 1 การจัดการอาชวี ศึกษา มีจานวน 7 มาตรฐาน 35 ตัวบ่งชแ้ี ละส่วนที่ 2 การฝกึ อบรม

วิชาชพี มีจานวน 1 มาตรฐาน 10 ตวั บ่งช้ี มาอยา่ งต่อเน่ืองและครบถว้ น

13. ระยะเวลา/สถานที่ดาเนินการ

เริ่มตัง้ แต่ 1 ตลุ าคม 2562 - 30 กนั ยายน 2563

แผนงาน/กจิ กรรมดาเนินการ ปีงบประมาณ 2563

กจิ กรรม 2561 2562

ตค. พย. ธค. มค. กพ. มีค. เมย. พค. มยิ . กค. สค. กย.

จดั ทาโครงการเสนออนุมัติ

แตง่ ต้งั คณะกรรมการ

ดาเนนิ งาน

จดั อบรมสรา้ งความรู้ความ

เข้าใจใหแ้ ก่บคุ ลากรใน

สถานศกึ ษา

จดั เตรียมวัสดุ-อปุ กรณ์

เกบ็ รวบรวมข้อมูล

วิเคราะห์ข้อมูลในแต่ละ

มาตรฐาน

จัดทารายงานสง่ ต้นสังกัด

273

14. ผลท่คี าดว่าจะได้รับ
1. สามารถสง่ เสรมิ และเตรยี มความพร้อมใหแ้ กบ่ ุคลากรในสถานศึกษา ได้มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในการ

ประเมนิ คุณภาพจากสานกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
2. ใหก้ ารบริหารและจัดการศึกษาภายในวทิ ยาลัยเป็นไปอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ สอดคล้องกับบรบิ ท

ของชุมชนและสงั คม
3. จัดเก็บรวบรวมขอ้ มูลและจดั ทารายงานประจาปเี สนอต่อหนว่ ยงานตน้ สังกัด หนว่ ยงานทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง

และเปดิ เผยต่อสาธารณชน
4. นาข้อมลู ท่ีได้มาใชใ้ นการพัฒนาการบริหารงาน การจดั การเรียน การสอนใหม้ ีคุณภาพและตรง

มาตรฐานของระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ
5. ผลผลติ (Out put) ตัวปูอน(เทียบเป็นรอ้ ยละ)
ให้บคุ คลากรมีความรู้ ความเขา้ ใจระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพและ

มาตรฐานการศึกษาทกุ ระดับ คดิ เป็นร้อยละไมน่ ้อยกวา่ 85
6. ผลลัพธ์(Out come) (เทียบเป็นร้อยละ)
จดั เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล วเิ คราะห์และเขียนรายงานเพือ่ นาเสนอหนว่ ยงานตน้ สงั กัด หนว่ ยงานที่

เก่ยี วขอ้ ง และเปิดเผยต่อสาธารณชนได้ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 85

274

สอบถามรายละเอยี ดเพิ่มเตมิ ไดท้ ่ี

โทร. 035-704152

ที่อยู่ 59 หมู่ 1 ตาบล โพแตง อาเภอบางไทร
จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา 13290

E-mail : [email protected]
Website : www.kasetbangsai.ac.th

Facebook : ประชาสมั พนั ธ์ วษท.ศูนยศ์ ิลปาชีพบางไทร


Click to View FlipBook Version