The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฏิบัติงานประจำปีการศึกษา 2563 วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศิลปาชีพบางไทร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kasetbangsai, 2021-02-06 22:39:07

แผนปฏิบัติงานประจำปีการศึกษา 2563 วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศิลปาชีพบางไทร

แผนปฏิบัติงานประจำปีการศึกษา 2563 วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศิลปาชีพบางไทร

แบบเสนอโครงการ งบประมาณ 2563
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี ูนยศ์ ลิ ปาชพี บางไทร
สถาบันอาชวี ศกึ ษาเกษตรภาคกลาง สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา

1. ช่อื โครงการ โครงการยกระดับการจดั การอาชีวศกึ ษาเพื่อเป็นศนู ยก์ ลาง

ดา้ นอาชวี ศึกษาของภูมิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้

2. ผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการ 1. นางพนิดา แจง้ สว่าง ครูผชู้ ่วย

3. ที่ปรกึ ษาโครงการ 1. นางสาวศริ เิ พ็ญ ค้มุ ทุกข์ รองผอู้ านวยการฝุายงานและความร่วมมอื

2. นายปิยะพชั ร์ สถติ ปรชี าโรจน์ รองผูอ้ านวยการฝาุ ยวิชาการ

4. สถานทดี่ าเนนิ งาน วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนยศ์ ิลปาชีพบางไทร

5. วนั ทด่ี าเนนิ งานการ ปีงบประมาณ 2563

6. ภาษาท่ใี ชใ้ นการทางานและการอบรม ภาษาองั กฤษและภาษาไทย

7. ความสอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตร์และเป้าประสงคข์ องสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา

7.1 ยทุ ธศาสตรช์ าติ

ดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน

7.2 ยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงศกึ ษาธกิ าร ขอ้ ที่ 2

การผลิตและพัฒนากาลังคนรวมท้งั งานวิจยั และนวตั กรรม

7.3 ยทุ ธศาสตร์ สอศ. ขอ้ ที่ 2

การผลิตและพฒั นากาลังคนดา้ นการอาชีวศกึ ษาเพ่ือสร้างขดี ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

8. หลกั การและเหตผุ ล

ตามนโยบายของรัฐบาลด้านการจัดการศึกษา และสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ท่ีมุ่งเน้นในเรื่องการ

ยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ทักษะด้านภาษาอังกฤษ ในการเตรียมผู้เรียนสู่การเป็นประชาคม ASEAN การจัดกิจกรรม

การเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการส่ือสารภาษาอังกฤษ ซ่ึงเป็นภาษาสากลใช้เป็นส่ือกลางในการส่ือสารจึงต้องจัดให้ผู้เรียนได้ฝึก

ทักษะการใช้ภาษาให้มากที่สุด เพ่ือให้สาเร็จการศึกษาออกไปเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพตรงตามความต้องการ

ของตลาดแรงงานท่ีเปิดกว้างมากข้ึนสามารถใช้ภาษาเป็นเคร่ืองมือในการติดต่อส่ือสารกับผู้อ่ื นได้ตามความต้องการใน

สถานการณต์ ่างๆ ทง้ั ในการดาเนินชีวิตประจาวนั และการประกอบอาชพี ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ

โดยเฉพาะอย่างย่ิง ในช่วงเวลาที่ประเทศไทยและกลุ่มอาเซียนได้ผนึกกาลังในการพัฒนาภาษาอังกฤษให้กับนักเรียน

นักศึกษาอาชวี ะร่วมกัน จึงได้จดั ทาโครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการค่ายพฒั นาทกั ษะทางดา้ นภาษาองั กฤษ ให้ได้ตามมาตรฐาน

210

9. วัตถปุ ระสงค์
9.1 เพ่อื พฒั นาทักษะภาษาอังกฤษในการส่อื สารภาษาอังกฤษใหก้ บั นกั เรยี น
9.2 เพือ่ พัฒนาความรู้ความเขา้ ใจทักษะการใช้ภาษาองั กฤษ
9.3 เพอ่ื เตรียมความพรอ้ มนกั เรียนเข้าสู่ประชาคม ASEAN

10. เปา้ หมาย
ดา้ นปรมิ าณ
นกั เรียนจานวน 130 คน เขา้ ร่วมโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารคา่ ยพฒั นาทักษะทางด้านภาษาอังกฤษ
ด้านคณุ ภาพ
1. นกั เรยี นได้พฒั นาทักษะภาษาอังกฤษในการส่ือสารได้ดีข้ึน
2. นักเรยี นได้เตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคม ASEAN
3. นกั เรียนมีความรูค้ วามเขา้ ใจและมที ักษะในการใช้ภาษาอังกฤษเพอื่ การสื่อสารได้

11. ตัวชี้วดั ความสาเร็จ
ด้านปรมิ าณ
จานวนผู้เขา้ รับการอบรมไม่ต่ากว่ารอ้ ยละ 80 ไดร้ บั การพัฒนาทกั ษะทางด้านภาษาอังกฤษ
เชิงคณุ ภาพ
นักศึกษามีความรู้ความเขา้ ใจและมที ักษะสามารถใช้ภาษาองั กฤษเพื่อการสอ่ื สารได้

12. ผลที่คาดว่าจะไดร้ ับ
1. นกั เรยี นไดร้ ับการพฒั นาทักษะภาษาอังกฤษในการสอ่ื สารภาษาองั กฤษให้กับนักศึกษา
2. นกั เรยี นไดร้ บั ความรู้เข้าสูป่ ระชาคม ASEAN
3. สรา้ งทศั นคติทด่ี ีในการในการส่อื สารภาษาอังกฤษ

13. การประเมินผลโครงการ
1. ประเมนิ ความรู้ ความเขา้ ใจ ก่อน-หลัง การอบรม
2. ประเมนิ ความพึงพอใจหลังการอบรม

211

แบบเสนอโครงการ งบประมาณ 2563
วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี นู ย์ศิลปาชพี บางไทร
สถาบนั อาชวี ศกึ ษาเกษตรภาคกลาง สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา

1. ช่ือโครงการ โครงการการพัฒนาทกั ษะอาชีพแบบบรู ณาการเพือ่ สรา้ งโอกาส สรา้ งอาชีพ สรา้ งรายได้ประชาชน

2. ผู้รับผดิ ชอบโครงการ นางเยาวนิจ ไวทยะวิจติ ร นางสาวนติ ยา ชะนะบุญ

3. สถานทด่ี าเนินงาน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศนู ยศ์ ลิ ปาชีพบางไทร

4. วันที่ดาเนนิ งานการ ปงี บประมาณ 2563

5. ความสอดคล้องกบั ยุทธศาสตร์และเปา้ ประสงค์ของสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา

 นโยบายชาติ

 นโยบายสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

 นโยบายประกันคุณภาพภายใน

 นโยบายประกนั คุณภาพภายนอก

 นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ

6. หลักการและเหตุผล

ด้วยสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้อนุมัติโครงการพัฒนาทักษะอาชีพแบบบูรณาการสร้าง

โอกาส สรา้ งงาน สร้างอาชีพ สรา้ งรายได้ประชาชนเพื่อขบั เคลื่อนการพฒั นาทักษะอาชพี สง่ เสริมการมงี านทา สร้างการรับรู้

และสร้าง และสรา้ งโอกาสในการเขา้ ถงึ การพฒั นาทกั ษะอาชีพให้กับนักเรียน นักศึกษาและประชาชนผู้สนใจทุกช่วงวัยตาม

หน่วยงานตา่ งๆเสนอขอรับ การสนบั สนนุ งบประมาณไปดาเนินการ

วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี นู ย์ศิลปาชีพบางไทรเป็นสถานศึกษาในสังกัดสานักงานการอาชีวศึกษาได้

เล็งเห็นประโยชน์ คุณค่า ของการพัฒนาอาชีพประมาณและสนับสนุนการสร้างศักยภาพความพร้อมให้กับประชาชนของ

ประเทศในการส่งเสริมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อผลิตและพัฒนากาลังคนให้การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี มีความ

ตระหนกั ในอาชพี เล้ยี งตนเองและครอบครัวได้สามารถสร้างจิตสานึกความรักชาติ ภูมิปัญญาไทย และภูมิปัญญาในท้องถ่ิน

ให้คงอยใู่ นสังคมอยา่ งยั่งยนื และม่ันคงตลอดไป

7. วตั ถุประสงค์

1. เพื่อการสง่ เสรมิ พฒั นาทกั ษะอาชีพให้กบั ประชาชนทุกชว่ งวยั

2. เพอื่ สร้างโอกาส สรา้ งงาน สรา้ งอาชพี สร้างรายได้ใหก้ ับประชาชนทกุ ชว่ งวัย

3. เพ่ือพัฒนาสง่ เสริมชอ่ งการจัดจาหน่ายผลิตใหก้ ับประชาชนทกุ ช่วงวัย

212

8. เป้าหมาย
1. ประชาชนทว่ั ไปผู้สนใจทกุ ช่วงวยั 300 คน
2. นกั เรยี น นกั ศกึ ษาวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยศี นู ย์ศลิ ปาชพี บางไทรจานวน 100 คน
3. ประชาชนผู้ด้วยโอกาส ในเรอื นจานวน 100 คน

9. วิธีดาเนนิ การ
1. ศกึ ษารายละเอยี ดโครงงานพัฒนาอาชีพแบบบรู ณการเพ่ือสรา้ งโอกาส สร้างอาชีพ สรา้ งรายไดใ้ ห้ประชาชน
2. ขออนุมัตโิ ครงการ
3. จดั ทาหลักสตู รการฝึกอบรม
4. ประชาสัมพันธโ์ ครงการฝกึ อมรม
5. จดั เตรยี มวสั ดุ อุปกรณ์การโครงการฝกึ อมรม
6. ดาเนินการอบรม
7. ประเมินผลการดาเนนิ โครงการฝึกอบรม
8. สรุปและรายงานการดาเนินโครงการ

10. ระยะเวลาในการดาเนินโครงการ
ตุลาคม 2562-30 กนั ยายน 2563

11. สถานที่ดาเนินโครงการ
1. วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยศี ูนย์ศิลปาชพี บางไทร
2. วิสาหกิจชุมชน บ้านหลวง ตาบลบ้านหลวง อาเภอเสนา จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา
3. เรอื นจาจงั หวดั ปทุมธานี อ.เมอื ง จ.ปทมุ ธานี
4. องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลโพแตง ตาบลโพแตง อาเภอบางไทร จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา
5. วิสาหกิจชมุ ชนแปรรปู กิจชมุ ชน การแปรรปู สินคา้ เกษตร บา้ นหนองสองห้อง
หมู่ 7 ต.พระยาบันลือ อ.ลาดบัวหลวง จ.พระนครศรีอยุธยา
6. อาคารเอนกประสงค์ หมู่ 3 ต.ไผพ่ ระ อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยธุ ยา

12. งบประมาณทีไ่ ดร้ ับ
งบประมาณท่ีได้รับจดั สรรโครงการ พฒั นาทักษะอาชพี และบรู ณาการเพื่อสรา้ งโอกาส สร้างโอกาส สรา้ งงาน สรา้ ง

อาชพี สร้างรายไดป้ ระชาชน จานวน 90,000 บาท (เกา้ หมื่นบาทถ้วน)
13. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

นักเรียน นักศึกษา ประชาชนทุกช่วงวัย ผู้ด้อยโอกาสกับโอกาสทางการศึกษารวมถึงประชาชนทั่วไปในชุมชน
ท้องถิ่น มีทักษะความรู้ สามารถบูรณาการ ความรู้เก่ียวกับอาชีพให้ทันต่อความต้องการของสังคมท่ีเปลี่ยนไป เรียนรู้และ
เขา้ ใจ หลักองคค์ วามรู้ในอาชีพตา่ งๆได้อย่างถูกต้องตามความชดั เจนและกระบวนการ

213

14. ผลท่คี าดว่าจะไดร้ ับ พร้อมตัวชวี้ ัด

ตวั ช้วี ดั เชงิ ปริมาณ เชิงคุณภาพ
ประชาชนทส่ี นใจทุกชว่ งวัย
ประชาชนนกั เรยี นนกั ศึกษา ประชาชนที่สนใจทุกชว่ งวัย นักเรียน นักศึกษา ผดู้ ้อยโอกาส
ทางการศึกษาได้มที กั ษะความรู้
ผู้ด้อยโอกาสที่เขา้ รว่ มโครงการ นกั เรยี น นกั ศึกษา ผดู้ ้อยโอกาส ความเขา้ ใจ ข้นั ตอน กระบวนการ
ท่ีถูกต้องในการประกอบอาชีพที่
พฒั นาอาชีพแบบบรู ณาการเพ่อื ทางการศึกษาจานวน 500 คน ตนเองชอบสามารถบูรณาเข้ากับ
ยคุ สมัยและสังคมทเี่ ปลย่ี นไปได้
สรา้ งโอกาสสรา้ งงาน สรา้ งอาชีพ

สรา้ งรายไดป้ ระชาชน

214

แบบเสนอโครงการ งบประมาณ 2563
วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนยศ์ ิลปาชีพบางไทร
สถาบนั อาชวี ศกึ ษาเกษตรภาคกลาง สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

1. ชื่อโครงการ โครงการขยายและยกระดบั อาชวี ศึกษาทวภิ าคี

2. ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ นางพนดิ า แจง้ สวา่ ง

3. สถานที่ดาเนินงาน วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศนู ยศ์ ลิ ปาชีพบางไทร

4. วนั ทด่ี าเนนิ งานการ ปงี บประมาณ 2563

5. ความสอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตรแ์ ละเปา้ ประสงค์ของสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา

 นโยบายชาติ

 นโยบายประกนั คุณภาพภายใน/ภายนอก

 ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 การพัฒนาศกั ยภาพการจัดการของสถานศึกษา

กลยทุ ธท์ ่ี 1.3 การพัฒนาระบบบริหารการจัดการอาชวี ศกึษาระบทวภิ าคี

กลยทุ ธท์ ่ี 1.4 การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนระบบทวิภาคีใหม้ ีประสิทธิภาพ

 ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 การสร้างความรคู้ วามเข้าใจ และความเชอื่ มนั่ ของผู้เรยี นและผปู้ กครองใน

การจดั การศกึ ษาระบบทวิภาคี

กลยุทธท์ ี่ 3.1 การเสริมสร้างภาพลักษณ์การจัดการอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี

 นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง สรา้ งความเปน็ เลิศทางด้านวิชาการและวิชาชีพ

 มาตรฐานท่ี 1 สง่ เสริมและสนบั สนุนนกั เรียน นกั ศึกษา ใหม้ คี วามเปน็ เลศิ ทางด้านวิชากร

และวิชาชพี

 นโยบายสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาท เรื่อง มาตรฐานการอาชีวศึกษา

มาตรฐานที่ 2 ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนรการสอนอาชวี ศึกษา

6. หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันสานักงานคระกรรมการการอาชีวศึกษาได้ เน้นการจัดการเรียนระบบทวิภาคี เพื่อเป็นการสร้างกาลังคน

เข้าสตู่ ลาดแรงงานให้ตรงกับความต้องการของสถานประกอบการโดยให้สถานศึกษาเพิ่มปริมาณ สาขาวิชาผู้เรียนระบบทวิ

ภาคแี ละไดม้ กี ารติดตามประเมนิ ผยา่ งต่อเนื่อง เพือ่ ใหเ้ กดิ การพฒั นา

สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึษา ได้มีนโยบายให้สถานศึกษาในสังกัดร่วมจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา

ระบบทวิภาคี โดยให้จัดการเรียนการสอนร่วมกับสถานประกอบการ ให้ผู้เรียนในสถานศึกษาได้เรียนรู้การปฏิบัติจริงใน

215

สถานประกอบการ ซ่ึงวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศิลปาชีพบางไทร ได้ดาเนินการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา
ทวิภาคโี ดย เปิดสอนในระดับประกาศนบี ตั รวชิ าชีพ (ปวช.) และระดับประกาศนบี ัตรวชิ าชีพชั้นสูง (ปวส.)

ท้ังนี้ วิทยาลัยฯ ได้มีการขับเคล่ือนการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาทวิภาคี ให้ได้มาตรฐานและมีคุณภาพเกิด
ประโยชนต์ อ่ ผู้เรยี น และวิทยาลัยฯ ในทุกๆ ด้าน เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน วิทยาลัยฯ ได้จัดทาโครงการยกระดับคุณภาพ
การจัดการอาชีวศึกษา ระดับทวิภาคี เพื่อให้บรรลุผลตามเปูาหมายของโครงการและเป็นการเพ่ิมปริมาณผู้เรียนและเพิ่ม
ความรว่ มมอื กบั สถานประกอบการ
7. วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ

1. เพื่อเปน็ การพัฒนาการจดั การเรียนการสอนอาชีวศกึ ษาทวิภาคใี หบ้ รรลุเปาู หมาย
2. เพอื่ ยกระดับคุณภาพการเรียนการสอนอาชวี ศกึ ษาทวภิ าคใี ห้มีมาตรฐาน
3. เพ่อื พัฒนาคณุ ภาพชีวติ ของนกั เรยี น นกั ศึกษา อาชีวศกึ ษาทวิภาคีให้ดีข้ึน
4. เพื่อจัดทาหลักสตู รอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ท้ังในระดับ ปวช. และระดับ ปวส. ทคี่ รอบคลุมมาตรฐานอาชพี
สมรรถนะรายวิชาและความต้องการของสถานประกอบการ หนว่ ยงานภาครัฐและเอกชน
5. เพ่อื สร้างเครือข่ายการดาเนินงานการจัดการเรียนการสอนในสถานประกอบการ
6. เพอ่ื ให้ครูนเิ ทศได้ติตามและประสานงาน กบั นักเรยี น นักศึกษา และสถานประกอบการ
7. เพื่อประชาสมั พันธส์ ถานศึกษาแนะแนวการศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาทวภิ าคี
8. เพอ่ื เสริมสร้างคณุ ภาพสถานศึกษาโดยการเสรมิ สรา้ งและพัฒนาผู้เรียน
9. เพื่อให้วิทยาลัยฯ และสถานประกอบการสามารถจดั การเรยี นการสอน ได้อยา่ งมคี ุณภาพ
10. เพอื่ เพิ่มปริมาณผูเ้ รียน ในระบบทวิภาคี
11. เพอ่ื เตรียมความพร้อมในการประเมินการจัดการอาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคสี ู่ความเป็นเลิศ
8. เปาู หมาย
8.1 เชงิ ปริมาณ

- นกั เรยี น นกั ศกึ ษาในระบบทวิภาคี จานวน 250 คน
- ผู้บรหิ าร ครู วิทยากร บุคลากรทางการศกึ ษา และตัวแทนสถานประกอบการ จานวน 100 คน
8.2 เชิงคุณภาพ
- วทิ ยาลัยฯ มีการจัดการอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคีอย่างมรี ะบบและมีคุณภาพ
- การจัดการเรียนการสอนอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี มีคุณภาพและมาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษาและ
ผู้สาเร็จการศกึ ษามีสมรรถนะตรงกบั ความต้องการของสถานประกอบการ
- สถานประกอบการทท่ี าความร่วมือกบั วทิ ยาลัยฯ มคี วามพึงพอใจต่อนักเรยี น นักศึกษาระบบทวภิ าคี อยู่
ในระดับดมี าก
- สถานศกึ ษาเกิดแนวคิดและแนวทางการบรหิ ารงานในการพัฒนาสถานศึกษาใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพยง่ิ ข้นึ
9. ตัวช้วี ัดความสาเรจ็ ของโครงการ

216

9.1 ตวั ช้วี ดั ดา้ นปริมาณ
- นกั เรยี น นกั ศึกษา ระบบทวภิ าคี จานวน 250 คน
- ผ้บู รหิ าร ครู วิทยาลยั บคุ ลากรทางการศึกษา และตัวแทนสถานประกอบการจานวน 100 คน

9.2 ตัวชีว้ ัดด้านคุณภาพ
- วิทยาลยั ฯ มีการจดั การอาชวี ศึกษระบบทวิภาคีอย่างมีระบบและมีคุณภาพมากขึ้น
- วิทยาลยั ฯ การจัดการเรียนการสอนอาชีวศกษึ า ระบบทวิภาคี มีคุณภาพและมาตรฐานการจดั การ

อาชวี ศกึ ษา และผสู้ าเร็จการศึกษามีสมรรถนะตรงกบั ความตอ้ งการของสถานประกอบการ รอ้ ยละ 80
10. สถานท่ดี าเนินการ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี ูนยศ์ ิลปาชีพบางไทร และสถานประกอบการ
11. ระยะเวลาดาเนนิ งาน

ตง้ั แตว่ ันที่ 1 ตลุ าคม 2562 ถึงวนั ท่ี 30 กันยายน 2563

ลาดับที่ กจิ กรรม ปงี บประมาณ 2563
1.Plan (P) ต.ค. พ.ย. ธ.ค ม.ค ก.พ มี.ค เม.ย พ.ค ม.ิ ย ก.ค ส.ค ก.ย
2.DO (D)
วางแผนโครงการ
3.Check(C)
4.Action (A) เขียนโครงการ

เสนอโครงการ/อนุมตั ิ

ดาเนินการ

- ประชุมวางแผน

- เตรยี มอกสารและวสั ดุ

- ดาเนนิ กจิ กรรม

- ประเมินโครงการ

หลงั ดาเนินการ

สรุปผลและประเมนิ ผลการ

ดาเนินโครงการ

เสนอรายงานสรปุ ผลการ

ดาเนินการและการพฒั นา

ปรบั ปรงุ การดาเนนิ การคร้งั

ตอ่ ไป

217

12. งบประมาณคา่ ใช้จา่ ย

งบประมาณคา่ ใช้จา่ ยรวมทงั้ สิ้น จานวน 60,000 บาท (หา้ หมน่ื บาทถว้ น) แยกเป็น

1. การเตรียมความพร้อมนักรเน นหัศึกษาระดบั ทวภิ าคี 10,000 บาท

2. การนเิ ทศและติดตามประเมนิ ผลนักเรยี นนักศึกษาระบบทวภิ าคี 20,000 บาท

3. การอบรมครฝู กึ จัดทาแผนกการฝกึ ร่วมกับสถานประกอบการ 10,000 บาท

4. การประเมนิ การจัดการอาชวี ศึกษาสคู่ วามเปน็ เลิศ 10,000 บาท

5. การลงนามความร่วมมือกับสถานประกอบการ 10,000 บาท

13. การตดิ ตามและประเมนิ ผล

1. รูปเล่มโครงการผลการดาเนนิ งานโครงการ

2. ประเมินจากแบบสอบถามผู้เขา้ รว่ มโครงการ

14. ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั

1. มีจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาทวภิ าคีทม่ี ีคุณภาพ

2. พฒั นาและการยกระดับคุณภาพการเรียนการสอนอาชีวศึกษาทวภิ าคีให้มมี าตรฐาน

3. นกั เรยี น นักศึกษา มคี ุณภาพชวี ิตทีด่ ีข้นึ สามารถดูแลครอบครัวได้

4. มหี ลกั สตู ร มารรถนะรายวิชา ตรงตามความต้องการของสถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน

5. สถานศกึ ษาไดเ้ ครือขา่ ยการดาเนินงานการจัดการเรยี นการสอนในสถานประกอบการ

6. ครูนิเทศไดห้ ตดิ ตามและประสานงานกบั นักเรียน นักศกึ ษา และสถานประกอบการ และสามารถแก้ไขปญั หา

ทเี่ กดิ ข้นึ ระหวา่ งฝึกงาน

7. วิทยาลยั ฯ ไดป้ ระชาสัมพันธ์สถานศึกษาแนะแนวการศึกษาอาชีวศกึ ษาทวิภาคี

8. เสริมสรา้ งคณุ ภาพสถานศึกษาโดยการเสริมสร้างและพัฒนาผเู้ รียน

9. วทิ ยาลยั ฯ และสถานประกอบการสามารถจัดการเรยี นการสอนได้อยา่ งมีคุณภาพ

10. เพม่ิ ปรมิ าณผู้เรียน ในระบบทวิภาคี

11. มีความพร้อมในการประเมนิ การจดั การอาชวี ศกึ ษา ระบบทวิภาคสี ู่ความเปน็ เลิศ

218

แบบเสนอโครงการ งบประมาณ 2563
วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี ูนย์ศลิ ปาชพี บางไทร
สถาบนั อาชวี ศึกษาเกษตรภาคกลาง สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

1. ชอื่ โครงการ: โครงการขยายโอกาสการศึกษาวชิ าชพี และพัฒนาทกั ษะวชิ าชพี เพื่อเตรยี มความพร้อมเข้าสตู่ ลาดแรงงาน
กจิ กรรมพัฒนารปู แบบและยกระดับศนู ย์ซ่อมสรา้ งเพอ่ื ชุมชน (Fix it Center)
1.1 ผ้รู บั ผิดชอบโครงการ
1. นางเยาวนจิ ไวทยะวิจิตร
2. นายเสกสรรค์ จันทร

2. สอดรบั นโยบาย
นโยบายชาติ..ยทุ ธศาสตร์ชาติดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์................
นโยบายกระทรวงศึกษาธกิ าร.........................................................................................................
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา..........................................................................
นโยบายจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา.................................................................................................
ประกันคุณภาพภายใน ตวั บ่งชีท้ ี่......3.4.....ระดับคณุ ภาพในการจัดกิจกรรมเสริมหลักสตู ร..........
ประกนั คุณภาพภายนอก ตัวบ่งชที้ ี.่ ...............................................................................................

3. ระยะเวลาดาเนินการ ปงี บประมาณ 2563
4. งบประมาณ 500,000 บาท
5. หลักการและเหตุผล

ตามนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาลในการขยายบทบาทศูนย์ซ่อมสร้างเพ่ือชุมชน (Fix it Center)
และสถานศึกษาในสงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา เพื่อใหค้ าแนะนา ถ่ายทอดความร้ปู ระชาชนให้รู้ วิธีการใช้
การดูแลรักษาและพัฒนาทักษะช่างชุมชน ให้สามารถซ่อมบารุงเครื่องมือ อุปกรณ์การประกอบอาชีพและเครื่องใช้ใน
ครัวเรือน ตลอดจนสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสถานศึกษากับชุมชนในการถ่ายทอดความรู้และพัฒนาผลิตภัณฑ์
ชุมชน สร้างมูลค่าและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน ดังน้ันสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาในฐานะหน่วยงานหลักที่
ประสบความสาเร็จในการดาเนินงานโครงการศูนย์ซ่อมสร้างเพ่ือชุมชน จึงดาเนินการปรับรูปแบบการดาเนินงานและ
บทบาทของศูนยซ์ อ่ มสรา้ งเพอื่ ชุมชน (Fix it Center) ในปตี ่อมาให้กว้างขวางครอบคลุมและให้ความสาคัญในการยกระดับ
ฝีมือช่างชุมชน รวมทั้งการเสริมสร้างการรวมกลุ่มของช่างชุมชนสร้างความเข้มแข็งในการประกอบอาชีพ และสร้าง
เครอื ขา่ ยชา่ งชุมชน ร่วมกบั สถานศึกษาให้เกดิ การเรียนรู้และการพฒั นาอาชีพท่ยี ่งั ยนื และตอ่ เน่ือง

219

นอกจากนี้ยังทาให้เกิดความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาและชุมชนในการสร้างเครือข่าย ถ่ายทอดความรู้ พัฒนา
อาชีพพื้นฐานและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน เพื่อสร้างนวัตกรรมเพื่อเพิ่มมูลค่า และเสริมสร้างมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน
รวมท้ังการส่งเสริมการพัฒนาระบบรับรองและตรวจสอบคุณภาพในข้ันต้นของสินค้าชุมชนอันจะเป็นการยกระดับพัฒนา
คุณภาพชวี ิตประชาชนในชุมชน โดยวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศลิ ปาชีพบางไทรเปน็ หนว่ ยงานหลกั รบั ผิดชอบ
6. วตั ถปุ ระสงค์

6.1 ผลตอ่ ประชาชน
6.1.1 ให้คาแนะนา ถ่ายทอดความรู้ ประชาชนให้รู้วิธีการใช้ การดูแล รักษาและพัฒนาทักษะช่างชุมชน ให้

สามารถซอ่ มบารงุ เครือ่ งมือ อปุ กรณก์ ารประกอบอาชพี และเคร่ืองใชใ้ นครัวเรือน เพอ่ื ลดรายจ่ายโดยการยืดอายุการใช้งาน
ของเครอื่ งมอื อุปกรณก์ ารประกอบอาชพี และเคร่อื งใชใ้ นครัวเรือน

6.1.2 ยกระดับฝีมือช่างชุมชนและพัฒนาทักษะอาชีพการซ่อมบารุงเสริมสร้างประสบการณ์ด้านการบริหาร
จดั การแก่ชา่ งชุมชน ส่งเสรมิ การรวมกล่มุ ช่างชุมชน ในการแลกเปล่ียนเรียนรู้ผ่านเครือข่ายความร่วมมือกับองค์การบริหาร
สว่ นตาบล อบต./เทศบาล และพัฒนาศนู ย์ซ่อมสรา้ งเพอ่ื ชุมชนใหเ้ กิดความย่งั ยืน

6.1.3 สรา้ งเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสถานศึกษากับชุมชนในการถ่ายทอดความรู้ พัฒนาสุขอนามัยพื้นฐาน
พัฒนานวัตกรรมต่อยอดเทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ชุมชน เพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิตของผลิตภัณฑ์ชุมชน พัฒนา
ผลิตภัณฑช์ ุมชน สรา้ งมูลคา่ เพม่ิ เสรมิ สรา้ งมาตรฐานผลติ ภัณฑ์ชุมชน และสนับสนุนการตรวจสอบคุณภาพและการรับรอง
คณุ ภาพและการรบั รองคณุ ภาพสินคา้ เบ้อื งต้น

6.1.4 ลดรายจ่ายของประชาชนโดยการยืดอายุการใช้งานเครื่องมือเครื่องจักรท่ีใช้ในการประกอบอาชีพ และ
เครื่องมอื อปุ กรณ์ดารงชีวิตประจาวันของครวั เรือน

6.1.5 ลดการกู้ยืมเงินนอกระบบของครัวเรือนที่นามาใช้ในการดูแลรักษาและซ่อมแซมเครื่องมืออุปกรณ์ในการ
ประกอบอาชพี

6.2 ผลต่อนกั เรียนนักศึกษา
6.2.1 เพิ่มประสบการณ์และความเช่ือมั่นให้กับนักเรียนนักศึกษาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี

ศนู ยศ์ ลิ ปาชพี บางไทรในการออกไปปฏบิ ัติงานในชมุ ชน
6.2.2 สร้างแหล่งปฏิบัติงานจริงรวมทั้งการพัฒนาทักษะแก่นักเรียน และนักศึกษาให้มีความสามารถมี

ประสบการณ์ มสี มรรถนะและความพรอ้ มสรา้ งชอ่ งทางในการประกอบอาชีพอิสระและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
ของประเทศ

6.3 ผลต่อเศรษฐกจิ ในภาพรวม
6.3.1 ประชาชนไดร้ ับความรเู้ รื่องการบารุงรักษา การซ่อมบารงุ เบ้อื งต้น และการยดื อายุการใชง้ านเคร่ืองมือ

เครื่องจักร ในการประกอบอาชพี และอุปกรณ์การดารงชวี ติ ประจาวัน
6.3.2 ชมุ ชนได้รับการสนับสนนุ ด้านการพัฒนากระบวนการผลติ พัฒนาผลติ ภัณฑ์ชมุ ชน สรา้ งนวัตกรรมการผลิต

เพ่อื เพ่มิ มูลค่าผลิตภณั ฑ์ และมาตรฐานคุณภาพสินคา้

220

6.3.3 ชา่ งชมุ ชนไดร้ ับการพฒั นาและยกระดับโดยการเพม่ิ ทักษะจากการฝึกปฏบิ ัติจริงกับทีมช่างซ่อมประจาศูนย์
ซ่อมสร้างเพ่ือชุมชน ในการให้บริการซ่อมแซม บารุงรักษา เครื่องมือเคร่ืองจักรที่ใช้ในการประกอบอาชีพและเคร่ืองใช้ใ น
ครัวเรือนของชมุ ชนอย่างยัง่ ยนื

7. เป้าหมาย หนว่ ย รวม
7.1 เชิงปรมิ าณ ศนู ย์ 2
เปา้ หมาย
หมบู่ ้าน 8
1.6.1.1 ศนู ยซ์ อ่ มสร้างเพ่ือชมุ ชนถาวรประจา อบต./เทศบาล / สขุ อนามยั พ้ืนฐาน/ รายการ 600
สรา้ งมูลค่าเพ่ิมและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชมุ ชน
1.6.1.2 หมบู่ ้านที่ออกใหบ้ ริการซ่อมสรา้ ง รายการ 4
1.6.1.3 เคร่อื งมือเครื่องจกั รท่ีใช้ในการประกอบอาชีพและเครอื่ งมืออุปกรณ์ดารงชวี ิต
ประจาวนั ของครวั เรือน คน 60
1.6.1.4 พฒั นานวตั กรรม ตอ่ ยอดเทคโนโลยเี พ่ือเพม่ิ ประสิทธิภาพกระบวนการผลิต คน 10
ของผลิตภณั ฑ์ชุมชน พัฒนาผลิตภณั ฑช์ ุมชนฯ คน 400
1.6.1.5 นักเรยี น นกั ศึกษา คน 200
1.6.1.6 ช่างชุมชน
1.6.1.7 ประชาชนผ้รู ับบรกิ าร
1.6.1.8 ประชาชนฝกึ อบรมวิชาชีพ

หมายเหตุ - เปูาหมายโครงการอาจมกี ารเปล่ียนแปลงตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับงบประมาณที่
ไดร้ ับในแตล่ ะปี
- ชา่ งชุมชน หมายถึง บุคคลผูม้ ีความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ ในการให้บริการแนะนา ซ่อม
บารงุ รักษา เคร่อื งมือ อปุ กรณ์ การประกอบอาชีพ และเคร่อื งใช้ในครัวเรือน อาทิ ช่างไฟฟาู
ชา่ งประปา ช่างเช่ือม ชา่ งยนต์ ช่างกอ่ สร้าง ชา่ งทาสี และอ่นื ๆ
คุณสมบตั ิช่างชมุ ชน : บคุ คลทอ่ี ยู่ในพ้นื ท่ี สมัครเขา้ ร่วมโครงการและผา่ นการพัฒนาจากศนู ย์
ซ่อมสรา้ งเพอื่ ชุมชนนน้ั ๆ และมคี วามพร้อมในการบริการด้วยความเสยี สละ

7.2 เชงิ คณุ ภาพ
7.2.1 ประสิทธิภาพของเคร่ืองมือเคร่อื งจกั รทใี่ ชใ้ นการประกอบอาชพี เครอ่ื งมืออุปกรณ์ดารงชีวิตประจาวันของ

ครัวเรือน ซึ่งจะสนับสนุนและอานวยความสะดวกในการประกอบอาชีพและการดารงชีวิต ของประชาชนคนยากจน
บรรเทาปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนจากการลดรายจ่าย

221

7.2.2 ประชาชนมีความรู้ในการใช้ การดูแล รักษาเคร่ืองมือเครื่องจักรที่ใช้ในการประกอบอาชีพ เครื่องมือ
อปุ กรณด์ ารงชวี ติ ประจาวันของครัวเรือน

7.2.3 ช่างชุมชนท่ีได้รับการยกระดับมีทักษะในการประกอบอาชีพและขีดความสามารถในการบริการจัดการ
สามารถประกอบอาชีพอสิ ระสามารถสรา้ งงาน สรา้ งรายได้

7.2.4 การรวมกลุ่มช่างชุมชน ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยกลไกขององค์การบริหารส่วนตาบล (อบต.) พัฒนา
ศนู ยซ์ ่อมสรา้ งเพ่ือชุมชนอย่างย่ังยนื

7.2.5 ประสิทธิภาพกระบวนการผลิตของผลติ ภัณฑ์ชมุ ชน พฒั นาผลิตภัณฑช์ ุมชน สรา้ งมลู ค่าเพิม่
เสริมสร้างมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์ชุมชน และสนบั สนนุ การตรวจสอบคุณภาพและการรบั รองคุณภาพสนิ ค้าเบ้ืองต้น

7.2.6 นกั ศึกษาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศิลปาชีพบางไทรมี ทกั ษะ ประสบการณ์ และความเชื่อมั่นใน
การออกไปประกอบอาชีพและปฏบิ ตั งิ านในชมุ ชน

7.2.7 วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศิลปาชีพบางไทรมีแหล่งฝึกปฏิบัติงานจริงในการพัฒนาทักษะแก่
นักศึกษาให้มีความสามารถ มีประสบการณ์ มีสมรรถนะ ความพร้อม และมีช่องทางในการประกอบอิสระ และเพิ่มขีด
ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ
8. ผลท่ีคาดวา่ จะได้รับ

8.1 ผลผลติ
8.1.1 ช่างชุมชน 10 คน ประชาชนผู้รับบริการ 200 คนใน 2 อบต. ได้รับความรู้ พัฒนาทักษะในการใช้ การ

ดูแลรักษาและซ่อมบารุงเคร่ืองมือ อุปกรณ์การประกอบอาชีพและเครื่องใช้ในครัวเรือนไม่ต่ากว่า 600 รายการ และสร้าง
มูลคา่ เพ่ิม พัฒนานวตั กรรมตอ่ ยอดโดยใช้เทคโนโลยีและเสรมิ สรา้ งมาตรฐานผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน ไมน่ อ้ ยกวา่ 4 รายการ

8.1.2 มีศูนย์ซ่อมสร้างเพ่ือชมุ ชนท่ียงั่ ยนื 2 ศูนย์
8.1.3 นกั ศกึ ษา จานวนไมน่ อ้ ยกว่า 80 คน มีความรทู้ ักษะ ประสบการณแ์ ละความเชอื่ ม่นั ในการประกอบ
อาชพี
8.2 ผลลัพธ์
พัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในครัวเรือนใน 2 อบต./เทศบาล จานวนประชาชนผู้รับบริการไม่ต่ากว่า 200 คน
และระดับฝีมือช่างชุมชนไม่ต่ากว่า 10 คน รวมท้ังเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสถานศึกษา ชุมชนและหน่วยงานท่ี
เก่ียวข้อง ให้มีความรู้และทักษะในการดูแลรักษาและซ่อมบารุงเครื่องมือ อุปกรณ์การประกอบอาชีพ เครื่องมือใช้ใน
ครัวเรือนและสุขอนามัยพื้นฐาน ส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน เพ่ือสร้างมูลค่าเพ่ิม และมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน
อยา่ งยั่งยืน
9. ดชั นีช้ีวดั ความสาเรจ็
9.1 จดั ตั้งศนู ยซ์ อ่ มสรา้ งเพอื่ ชุมชนใน 2 อบต./เทศบาล ประชาชนผ้รู ับบริการไม่ต่ากว่า 200 คน ได้รับความรู้และ
ทกั ษะในการการดูแลรักษาและซ่อมบารงุ เครอื่ งมอื อปุ กรณ์การประกอบอาชีพ และเครอื่ งมือในครวั เรือน

222

9.2 ช่างชุมชนไม่ต่ากว่า 10 คน ได้รับการยกระดับฝีมือช่างชุมชนและพัฒนาทักษะอาชีพการซ่อมบารุงและ
เสริมสร้างประสบการณ์ด้านการบรหิ ารจดั การ

9.3 มกี ารพฒั นาอาชีพพื้นฐานและสร้างมูลคา่ เพ่ิมผลิตภณั ฑ์ชมุ ชน อย่างน้อย อบต./เทศบาลละ 2 รายการ
10. วธิ กี ารและขั้นตอนการดาเนนิ งาน

10.1 ข้นั เตรยี มการ
10.1.1 แตง่ ตั้งคณะกรรมการระดับนโยบาย ระดบั สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษาและระดบั จังหวัด
10.1.2 จัดทาคู่มอื การปฏบิ ตั งิ านสาหรับผู้ปฏิบตั งิ านทุกระดับ จดั ทากรอบโครงสรา้ งหลกั สูตรและ

Training Package
10.1.3 สร้างความเขา้ ใจแกผ่ ้ปู ฏบิ ัตงิ านทุกระดบั
10.1.4 สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับชุมชน และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ประชุมเชิงปฏิบัติการ วางแผนและ

กาหนดแนวทางการบริหารจัดการโครงการในพื้นท่ีปฏิบัติการ่วมกับหน่วยงานเครือข่ายทุกหน่วยงาน คัดเลือกพ้ืนท่ี
เปูาหมายปฏิบตั ิการ และจัดหาสถานท่ีตง้ั ถาวรประจา อบต./เทศบาล

10.1.5 ประชาสมั พันธ์กิจกรรมแก่กลุ่มเปาู หมาย
10.1.6 เตรยี มความพรอ้ มเพื่อเขา้ ปฏบิ ตั ิการในพ้นื ที่
10.2 ปฏิบตั ิการซอ่ มสร้างเพือ่ ชุมชนใน 3 หลัก ดังนี้
10.2.1 ด้านการซ่อมเครื่องมือเครื่องจักรท่ีใช้ในการประกอบอาชีพ เครื่องมืออุปกรณ์ดารงชีวิตประจาวันของ
ครวั เรือน ใหค้ าแนะนา ถ่ายทอดความรู้ การซ่อมบารุงแก่ประชาชน รวมทัง้ การยกระดับช่างชมุ ชน
10.2.2 สร้างอาชีพใหม่หรือต่อยอดอาชีพใหก้ บั ประชาชน
10.2.3 พัฒนานวัตกรรมต่อยอดเทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ชุมชน สร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์ชุมชน ส่งเสริมมาตรฐาน
และการับรองคุณภาพ ในลกั ษณะเครอื ขา่ ยระหว่างสถานศึกษากับชมุ ชนและวสิ าหกจิ ชมุ ชน
10.3 นเิ ทศ และติดตามผลการปฏิบัตงิ าน
10.3.1 ระหว่างปฏบิ ตั ิงาน
10.3.2 สิน้ สุดการปฏิบัตงิ าน
11. ขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน
11.1 แต่งต้ังคณะกรรมการระดับนโยบาย ระดับสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาและระดับจังหวัด ระดับ
อาเภอ และระดบั ปฏิบัติ
11.2 จัดทาคมู่ อื การปฏิบตั ิงานสาหรับผปู้ ฏิบัติงานทกุ ระดบั และชุดฝึกอบรม (Training Package)
11.3 สร้างความเขา้ ใจแก่ผูป้ ฏิบตั ิงานทุกระดบั
11.4 สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับชุมชนและหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ประชุมเชิงปฏิบัติการ วางแผนและกาหนดแนว
ทางการบริหารจัดการโครงการในพ้ืนที่ปฏิบัติการร่วมกับหน่วยงานเครือข่ายทุกหน่วยงาน คัดเลือกพื้นที่เปูาหมาย
ปฏิบัติการ และจัดหาสถานทีต่ ั้งถาวรประจา อบต./เทศบาล

223

11.5 ประชาสัมพนั ธก์ จิ กรรมแกก่ ลุ่มเปูาหมาย
11.6 เตรยี มความพรอ้ มเพอ่ื เข้าปฏิบัติการในพ้ืนที่
11.7 ปฏบิ ัตกิ ารซอ่ มสรา้ งเพือ่ ชุมชนใน 3 ภารกิจหลัก ดังน้ี

11.7.1 ด้านการซอ่ ม เคร่อื งมือ เคร่ืองจักรที่ใชใ้ นการประกอบอาชพี เคร่อื งมืออุปกรณ์ดารงชีวติ ประจาวนั ของ
ครวั เรือน ให้คาแนะนาถา่ ยทอดความรู้ การซ่อมบารงุ แกป่ ระชาชนและชมุ ชน รวมทัง้ การยกระดับชา่ งชมุ ชน

11.7.2 สร้างอาชพี ใหมห่ รือตอ่ ยอดอาชพี ใหก้ บั ประชาชน
11.7.3 พัฒนานวตั กรรมต่อยอดเทคโนโลยีผลติ ภัณฑช์ มุ ชนสรา้ งมลู คา่ เพ่ิมผลิตภัณฑ์ชุมชน ส่งเสรมิ มาตรฐาน
และการรบั รองคุณภาพในลักษณะเครอื ข่ายระหวา่ งสถานศึกษากับชุมชนและวิสาหกิจชุมชน
11.8 นเิ ทศ และตดิ ตามผลการปฏบิ ัตงิ าน
11.8.1 ระหว่างการปฏิบัติงาน
11.8.2 สิ้นสุดการปฏบิ ัติงาน
12. การตดิ ตามประเมนิ ผล
12.1 ประเมินผลภายในของศูนยซ์ ่อมสร้างเพื่อชมุ ชนโดยคณะกรรมการบริหารโครงการในระดับจงั หวัด ร่วมกบั
หน่วยงานท่ีเกย่ี วข้องในระดับพน้ื ท่ี
12.2 ประเมินผลสมั ฤทธใ์ิ นภาพรวมโครงการระดับชาติโดยสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาร่วมกบั หน่วยงาน
พันธมติ รท่มี สี ่วนเก่ียวข้องโครงการ

224

แบบเสนอโครงการ งบประมาณ 2563
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศนู ย์ศิลปาชพี บางไทร
สถาบันอาชีวศึกษาเกษตรภาคกลาง สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา

1. ชือ่ โครงการ ลดปัญหาการออกกลางคันของผูเ้ รียนอาชีวศึกษา
2. ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ

2.1 หลัก : ฝุายพัฒนากจิ การนกั เรียนนักศึกษา
2.2 รอง : นายจักรวาล มีสมจิตร์ หวั หนา้ งานครูทป่ี รกึ ษา
3. ความสอดคล้อง/เช่อื มโยง/ภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ นโยบาย และมาตรการ
 นโยบายสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง การลดปัญหาการออกกลางคันของผู้เรียนอาชวี ศึกษา
 มาตรฐานการอาชีวศึกษา/ประกนั คุณภาพภายใน

- มาตรฐานที่ 2 ด้านบริหารจัดการศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 ระดับคุณภาพในการดาเนินการตามนโยบาย
สาคัญของหน่วยงานตน้ สังกดั
 หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
- ด้านท่ี 3 ดา้ นการจดั กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น องค์ประกอบท่ี 1 การแนะแนวและระบบดูแลชว่ ยเหลือ

ผูเ้ รียน
ตัวบ่งชีท้ ่ี 1.3 มรี ะบบดูแลช่วยเหลือผเู้ รยี นให้สามารถ แก้ปัญหาและพัฒนาตนเอง ได้อย่าง

สอดคล้องกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ตัวบง่ ชี้ที่ 1.4 ตดิ ตามผล การจัดกิจกรรมแนะแนว และระบบดแู ลช่วยเหลือผู้เรยี น

ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 นาผลการตดิ ตามมาใช้พัฒนาการจดั กิจกรรมแนะแนว และระบบดูแลช่วยเหลอื

ผู้เรียน ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
 สถานศกึ ษาคุณธรรม

- ด้านที่ 2 ผลลพั ธ์
ตวั บ่งชี้ที่ 2.3 ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการพัฒนาสถานศึกษาคุณธรรมอาชวี ศกึ ษา
(ผ้บู ริหาร ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา ผูเ้ รยี น ผูป้ กครอง และชุมชน)

4. หลกั การและเหตุผล
การจัดการศึกษาในยุคปฏิรูปการอาชีวศึกษาและการจัดงบประมาณรายจ่ายตามผลลัพธ์และผลผลิตของ

สถานศึกษาตลอดจนการม่งุ เน้นความสามารถในการแข่งขันของประเทศ จึงมุ่งให้ความสาคัญของคุณภาพท่ีเป็นผลผลิตของ

225

สถานศึกษา ซ่ึงก็คือผเู้ รยี นท่ีสาเรจ็ การศกึ ษาในแต่ละระดบั ชน้ั ทงั้ นี้ ในระบบของการจัดการอาชีวศึกษาตั้งแต่เริ่มรับผู้เรียน
เข้าสู่ระบบการจัดการเรียนการสอนและการสาเร็จการศึกษา ควรให้ผู้เรียนสาเร็จการศึกษาอย่างมีคุณภาพ แต่ยังมีผู้เรียน
จานวนหน่ึงที่ไม่สามารถอยู่ในระบบของการจัดการเรียนการสอนหรือการออกกลางคัน จึงส่งผลต่อความสูญเปล่าทาง
การศึกษา และกระทบต่อการผลิตกาลังคนเข้าสู่ตลาดแรงงานอันเป็นภารกิจสาคัญของสานักงานคณะกรรมการการ
อาชีวศึกษา ด้วยเหตุนี้การออกกลางคันของผู้เรียนจึงเป็นปัญหาสาคัญต่อการจัดการศึกษาของประเทศที่ต้องดาเนินการ
แกไ้ ขปญั หาอย่างจริงจัง

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ตระหนักถึงความสาคัญชองปัญหาการออกกลางคันของผู้เรียน
อาชีวศึกษาอีกท้ังมีนโยบายท่ีจะเพิ่มปริมาณผู้เรียนอาชีวศึกษาเพื่อสนับสนุนการเพิ่มกาลังคนสู่สถานป ระกอบการ
ภาคอุตสาหกรรม เกษตร และการบริการเพื่อรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจ และลดความสูญเปล่าของงบประมาณด้าน
การศึกษา จึงกาหนดนโยบายลดปัญหาการออกกลางคันของผู้เรียนอาชีวศึกษา เพื่อให้อัตราการออกกลางคันของผู้เรียน
อาชีวศึกษาเปน็ ศูนย์ โดยไดเ้ ร่มิ ขบั เคลื่อนนโยบายดังกล่าวขึ้นในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 โดยสถานศึกษาสังกัดสานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษาทุกแห่งได้ปฏิบัติงานอย่างเข้มแข็งภายใต้การสนับสนุนงบประมาณและการติดตามผลการ
ดาเนินงานของสานักตดิ ตามและประเมินผลการอาชีวศกึ ษาโดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี
ศนู ยศ์ ลิ ปาชีพบางไทรไดร้ ับการจดั สรรงบประมาณ จานวน 21,000 บาท (สองหมื่นหน่ึงพันบาทถ้วน) โดยวิทยาลัยฯเป็น
หน่วยงานหนึ่งท่ีได้รับมอบหมายให้ดาเนินโครงการให้ประสบความสาเร็จตามตัวช้ีวัดของโครงการ และบรรลุตาม
วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการตอ่ ไป
5. วัตถุประสงค์โครงการ

5.1 เพื่อเพิ่มปริมาณผู้เรียนอาชีวศึกษาตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษาโดยการลดปัญหาการออกกลางคันของ
ผู้เรยี นอาชีวศึกษา

5.2 เพือ่ สนับสนนุ การเพิม่ กาลังคนในระดับกลางเข้าสู่สถานประกอบการภาคอุตสาหกรรมเกษตร และการบริการ
รองรบั การพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

5.3 เพอ่ื สนบั สนนุ ใหน้ ักเรยี น นกั ศกึ ษามีวิชาชพี เพ่ือนาไปสู่การประกอบอาชพี ได้
6. เปา้ หมายโครงการ

เชิงปรมิ าณ
1. ผเู้ รียนกลุม่ ปัญหา และกลุม่ เส่ียงของวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศนู ย์ศิลปาชพี บางไทรเข้าร่วมโครงการ

จานวน รอ้ ยละ 90
2. ลดอัตราการออกกลางคันของนักเรยี น นักศึกษา ในปีงบประมาณ 2563 รอ้ ยละ 90
เชงิ คณุ ภาพ
วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศลิ ปาชีพบางไทรมกี ระบวนการแกป้ ญั หาการออกกลางคนั ของผูเ้ รยี นอย่างมี
สว่ นรว่ มกบั ผูป้ กครอง ชุมชน ท้องถิ่น และสถานประกอบการอยา่ งเป็นระบบ

226

7. วธิ ดี าเนินงาน

7.1 วางแผนการดาเนินงาน

7.2 จัดทาโครงการเสนอเพ่ือของบประมาณสนบั สนุน

7.3 แตง่ ตั้งคณะกรรมการรับผดิ ชอบและประสานงาน

7.4 ประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษา คณะครู เพอ่ื รับทราบและให้ความเห็นชอบ

7.5 ดาเนนิ งานตามแผนงาน

7.6 ประเมนิ ผลงานโครงการ

8. ระยะเวลา/สถานที่ดาเนนิ การ

ดาเนนิ การจัดทาโครงการ ต้ังแตว่ นั ท่ี 1 ตุลาคม 2562 ถงึ วันที่ 30 กนั ยายน 2563

ณ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี ูนย์ศลิ ปาชพี บางไทร จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา

กิจกรรม ปงี บประมาณ 2563 หมาย

ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค ก.ย. เหตุ

1.วางแผนการดาเนนิ งาน

2.จดั ทาโครงการเสนอ

เพอื่ ของบประมาณสนบั สนุน

3.แตง่ ตงั้ คณะกรรมการ

รบั ผดิ ชอบและประสานงาน

4.ประชุมคณะกรรมการ

สถานศกึ ษา คณะครู เพอื่

รับทราบและให้ความเห็นชอบ

5.ดาเนนิ งานตามแผนงาน

6.ประเมนิ ผลงานโครงการ

9. แหลง่ /รายละเอยี ดงบประมาณที่ดาเนนิ งาน
งบประมาณโครงการ จานวน 21,000 บาท (สองหม่นื หน่งึ พันบาทถว้ น)
9.1 การเยยี่ มบา้ น หอพกั บา้ นเชา่ ท่ีอยอู่ าศัยของผู้เรยี น การดแู ลผ้เู รียน โดยครูพี่เลยี้ ง และการแนะแนะการศกึ ษาตอ่

เพือ่ เพม่ิ ปรมิ าณผเู้ รียนอาชวี ศกึ ษา จานวน 10,000 บาท
9.2 การตดิ ตามผเู้ รยี นอาชวี ศึกษาที่ออกกลางคนั กลบั เขา้ สู่ระบบการศกึ ษา และการประชมุ พบปะผปู้ กครอง เพ่ือ

ปอู งกนั และแก้ไขพฤติกรรมนักเรียน นกั ศึกษากลมุ่ เสีย่ ง จานวน 5,000 บาท

227

9.3 การกลับเข้าสู่ชั้นเรียนปกติ และกลับเข้าสู่ชั้นเรียนในรูปแบบอ่ืน เช่น อาชีวศึกษาระบบทวิภาคีสะสมหน่วย
การเรียน จานวน 2,000 บาท

9.4 การฝกึ อบรมวชิ าชพี เพือ่ นาไปส่กู ารประกอบอาชพี จานวน 4,000 บาท
10. การติดตามและประเมนิ ผล

10.1 การบนั ทึกผลการเยย่ี มบา้ นนกั เรยี น นกั ศึกษา
10.2 การเขา้ รว่ มการฝกึ อบรมอาชีพ
10.3 การบนั ทึกการเขร่ ่วมกจิ กรรมตา่ งๆ
11. ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั
11.1 สามารถเพ่ิมปริมาณผู้เรียนอาชีวศึกษาสอดคล้องตามแนวทางปฏิรูปการศึกษาโดยการลดจานวนการออก
กลางคนั ของผเู้ รยี น
11.2 ผู้เรียนอาชีวศึกษาท่ีออกกลางคันกลับเข้าสู่ระบบการศึกษาทั้งช้ันเรียนปกติ และช้ันเรียนในรูปแบบอื่น เช่น
อาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี
11.3 ผ้เู รยี นได้ฝกึ อบรมอาชพี เพอ่ื นาไปสู่การประกอบอาชพี

228

แบบเสนอโครงการ งบประมาณ 2563
วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี นู ยศ์ ิลปาชีพบางไทร
สถาบันอาชวี ศึกษาเกษตรภาคกลาง สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
1. ชอ่ื โครงการ โครงการสถานศกึ ษาตามรอยพระยคุ บาท
2. ผูร้ ับผิดชอบ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศนู ยศ์ ิลปาชีพบางไทร
3. หัวหน้าโครงการ ช่ือ-สกุล นายปยิ ะพัชร์ สถติ ปรีชโรจน์
เบอรม์ ือถือ 087 9999210
E-mail [email protected]
4. ความสอดคลอ้ งกบั นโยบาย ยทุ ธศาสตร์
4.1 ความสอดคล้องกบั ยุทธศาสตช์ าติ
4.1.1 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การพฒั นาการเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์
4.1.2 แนวทางการพฒั นาของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ วางรากฐานการพัฒนาทรัยากรมนุษย์เป็นปัจจัย
สาคัญในการพาประเทศไปสู่การเป็นประเทศ พัฒนาแล้วโดยคนไทยอนาคตต้องเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์มีความพร้อมท้ังกาย
ใจ สติปัญญา สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิตมีทักษะในศตวรรษที่ 21 บนฐานของการรู้คุณค่า ความเป็นไทย มีคุณธรรม
จรยิ ธรรมมวี ินัย ความรับผิดชอบตอ่ สงั คม และมสี สุขภาวะท่ีดี
4.2 ความสอดคล้องกับนโยบาย/ยุทธศาสตร์ สอศ. ยกระดับมาตรฐานสถานศึกษาของอาชีวศึกษาในด้านการจัดการ
เรียนการสอนในระดบั ปวช. ปวส. และปรญิ ญาตรี สายเทคโนโลยหี รือสายปฏิบตั ิการและเพิ่มศักยภาพให้เป็นแหล่งเรียนรู้
วิชาชีพและฝกึ อบรมวชิ าชพี ของชมุ ชน
กลยทุ ธ์ ท่ี 1 พัฒนาโครงสร้างและเครอื ข่ายการเรยี นรู้
- ส่งเสริมความรว่ มมอื การจัดการเรียนการสอนร่วมกบั สถานประกอบการหนว่ ยงานภาครฐั และเอกชน
- การส่งเสริมความร่วมมือและพัฒนาเครือข่ายภายใต้ ข้อมูลและระบบเทคโนโลยี สารสนเทศการสร้าง
สภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มุ่งเน้นการสร้างความอยู่ดีมีสุขของครอบครัว
ไทย การสง่ เสรมิ บทบาทในการมีสว่ นรว่ มของภาครัฐ ภาคเอกชน ครอบครัว และชุมชนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การ
ปลูกฝังและพัฒนาทกั ษะนอกหอ้ งเรยี น และการพัฒนาระบบฐานขอ้ มลู เพอื่ การพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์
5. หลักการและเหตุผล
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษามีนโยบายขับเคลื่อนการจัดการศึกษาตามรอยพระยุคลบาท โดยกาหนด
แนวทางให้พัฒนาเป็น “ศูนย์ความชานาญเฉพาะทาง” เพ่ือเช่ือมโยงความรู้จากโครงการ อันเนื่องจากพระราชดาริของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระบรมวงศานุวงศ์ ศูนย์ศิลปาชีพบางไ ทร ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ
พระบรมราชนิ ีนาถ สรา้ งขึน้ ตามพระราชดารขิ องพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุยเดชมหาราช และสมเด็จพระนาง

229

เจ้าสิริกิต์ิพระบรมราชนินีนาถด้วยพระองค์ทรงมีพระราชประสงค์ เพ่ือช่วยเหลือเกษตรกร ผู้ยากไร้ ให้มีรายได้เพิ่มข้ึน
นอกเหนอื จากรายได้ทางการเกษตรและศูนย์รวมศิลปหัตถกรรมจากทุกภูมิภาคภาคไว้เป็นมรดกสืบไป ตั้งแต่ปีพุทธศักราช
2523

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศิลปาชีพบางไทรดาเนินกิจกรรมภายใต้องค์การเกษตรกรในอนาคตแห่ง
ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี สร้างความ ปิติยินดีอย่างหาที่สุดมิได้
แก่เยาวชนอาชีวะเกษตร ด้วยพระบารมีของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ได้ทรงเจริญรอยตาม
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ วิทยาลัยฯ จึงได้สืบสาน
พระปณิธานโดยดาเนินโครงการหลักสูตรระยะสั้นตารอยพระยุคลบาท ทั้งนี้ ได้มีพระกระแสรับสั่งของสมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ใหจัดตั้งศูนย์ฝึกอบรมแผนกโภชนาการ ศูนย์ศิลปาชีพบางไร โดยกรมอาชีวศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ ดาเนินการจัดฝึกอบรม่ด้านอาหารและโภชนาการให้แก่เยาวชนบุตรหลานเกษตรกรผู้ยากไร้ท่ัวทุก
ภาคของประเทศ พรอ้ มทั้งรับจดั เล้ียงในศนู ยศ์ ิลปาชพี บางไทร โดยเปน็ ศนู ย์ฝึกอบรมท้ังเชงิ วิชาการและการปฏิบัติการอย่าง
ดีเยี่ยม ดังนั้น กรมอาชีวศึกษา จึงเห็นสมควรเปิดการฝึกอบรมด้านอาหารเป็นศูนย์กลางฝึกอบรมด้านอาหารโภชนาการ
พรอ้ มทง้ั สามารถจดั เล้ียงในระดับสากลและระดับนานาชาติได้ ท้ังน้ี กระแสรับสั่งโดยมีพระประสงค์เพื่อ 1) เป็นศูนย์กลาง
การฝึกอบรมวิชาชีพด้านอาหารและโภชนาการ และเป็นอาชีพเสริมแก่เกษตรกรในเขตภูมิภาคต่างๆ 2) ให้มีการอบรมใน
การใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ ที่สามารถนาไปพัฒนาอาชีพเสริมให้ดียิ่งขึ้น เพิ่มพูนรายได้แก่ครอบครัว 3) ให้เป็นสถานที่จัด
จาหน่ายผลผลิตจากอาชีพคหกรรม และการบริการจัดเล้ียงในระดับสากล และนานาชาติได้ และ 4) เน้นศูนย์กลางทาง
วิชาการและการพัฒนาวิชาชีพด้านคหกรรมให้เหมาะสมกับสังคมยุคใหม่ 6 รายวิชาหลัก ได้แก่ อาหารไทย ขนมไทย
อาหารว่างไทย การจัดโต๊ะและบริการ งานใบตองและงานแกะสลักและการจัด ดอกไม้ การพัฒนางานก่อนเกิดผลงานเชิง
สร้างสรรค์มากมาย นาไปสู่ช่ือเสียงเกียรติยศ ก่อเกิดงานศิลป์ที่เรียกว่า “นวัตศิลป์” ซ่ึง หมายถึง วัฒนธรรม วิถีชีวิต
ความคิดสร้างสรร์ นวัตกรรม และการออกแบบ ท่ีหลอมรวมกันจนเกิดเป็นมูลค่า และคุณค่าใหม่ โดยนาแนวทางการ
ดาเนนิ งานภายใต้หลักการของการผลติ กาลังคนทเ่ี ปน็ “คนดี รจู้ ริง ทาเป็น” มีความเป็น “จิตอาสา” และ “จิตสาธารณะ”
โดยสร้างกิจกรรมท่ีนามราประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน ในสถานศึกษา และมีการดาเนินกิจกรรมที่เกี่ยวกับการ
พฒั นาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และการเสริมสร้างอุดมการณ์ความรักชาติ และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ให้เกิดแก่ผู้เรียน
ของสถานศึกษา เพอ่ื เปน็ การสรา้ งภูมคิ ุม้ กนั แก่ ผู้บริหาร ครู บุคลากรและนักเรียน นักศึกษา อาชีวศึกษาให้มีความเข้าใจที่
ถกู ต้อง ไมห่ ลงเชื่อหรืตกเป็นเคร่ืองมือ ของผู้ไม่ปราถนาดี สามารถนาข่าวสารท่ีถูกต้องไปบอกต่อ และเผยแพร่ให้แก่คนใน
ครอบครัว บุคคล ทั่วไปรวมทั้งเสริมสร้างจิตสานึกความรักชาติ และสถาบันฯ ให้คงอยู่ในสังคมอย่างมั่นคงและยั่งยืน
ตลอดไป

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศิลปาชีพบางไทร สานึกในพระมหากรุณาธิคุรของพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชนินาถ และพระบรมวงศานุวงศ์ ที่ทรงทุ่มเทพระวรกาย
ตรากตรา และมุ่งเน้นเพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนให้แก่พสกนิกรทุกหมู่เหล่า วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศิลปา
ชีพบางไทร สานึกในพระมหากรุณาธิคุณ ที่ทรงทุ่มเทเพ่ือมุ่งประโยชน์สูงสุด ต่อปวงชนชาวไทย ดดยมีพระราชดาริใน

230

โครงการตา่ งๆ มากมาย วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศลิ ปาชีพบางไทร ขอสืบสานพระปณิธานเจริญรอยตามโดยการ
สบื สาร รักษาและต่อยอด แนวพระราชดาริ พระราชดารัส เพื่อพัฒนานักเรียนนักศึกษาชาจิขอบตามโครงการพระราชดาริ
สืบไป
6. วัตถุประสงค์

6.1 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาองค์ความรู้สืบสาน ต่อยอดพระปณิธานด้านเกษตร อาหารและโภชนาการแก่
สถานศึกษา นักเรียน นักศึกษา บนพื้นที่ราบสูง (นักเรียนชายขอบ) ให้มีความรู้ความสามารถเลี้ยงตนเองได้ตามแนวทาง
ของโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ

6.2 เพื่อพัฒนาด้านการจัดการเรียนร.สู่ความเป็น “ศูนย์ความชานาญเฉพาะทาง” ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่
นกั เรยี น นักศึกษา ชุมชน และประชาชนทวั่ ไปในโครงการของศนู ย์ศิลปาชีพบางไทร

6.3 เพ่ือจัดเป็นแหล่งฝึกอบรมอาชีพ และศูนย์กลางถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านเกษตร อาหารและโภชนาการของ
โครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ
7. เปาู หมาย

7.1 เปูาหมายเชิงผลผลิต (Output) ผูบ้ รหิ าร ครู บุคลากร นักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนย์
ศิลปาชพี บางไทร จานวน 200 คน

7.2 เปูาหมายเชิงผลลพั ธ์ (Outcome) ชุมชน ประชาชนท่วั ไปเข้ามาศกึ ษาเรียนรู้จากศูนย์ความชานาญเฉพาะทาง
อาหารและโภชนาการ จานวน 400 คน
8. ตวั ชว้ี ัดความสาเร็จของโครงการ

8.1 ผู้บริหาร ครู บุคลากร นักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศิลปาชีพบางไทร จานวน 200
คน ได้รบั องค์ความรูจ้ ากการดาเนินโครงการ ร้อยละ 100

8.2 ชุมชน ประชาชนท่ัวไป จานวน 400 คน ได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้จากการดาเนินศูนย์ความชานาญ
เฉพาะทางอาหารและโภชนาการ ร้อยละ 80
9. ผลทค่ี าดว่าจะเกดิ ของโครงการ

ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน นักศึกษา ในสถานศึกษาตามรอยพระยุคลบาท พัฒนาตนเอง
โดยใช้กิจกรรมตามโครงการพัฒนาสถานศกึษา ชุมชนและตนเองโดยยึดหลักการ เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนาให้เกิดประสิทธิ
ผงทย่ี ่งั ยนื
10. กลุม่ เปูาหมาย / ผู้ที่ไดร้ บั ประโยชน์

นักเรียน นักศึกษา ในสถานศึกษาตามรอยพระยุคลบาทพัฒนาตนเองโดยใช้กิจกรรมของโครงการ และชุมชน
สามารถสรา้ งความเขม้ แข็ง มอี งค์ความรู้พฒั นาตอ่ ยอดธรุ กจิ อยา่ งยั่งยนื ต่อไป

231

11. กจิ กรรมภายใตโ้ ครงการ/ขนั้ อน วิธีการดาเนนิ งาน

ท่ี กจิ กรรม รายละเอยี ด สอดคลอ้ งกับ เหตผุ ลความ ตวั ชีว้ ดั ผลทีค่ าดวา่ จะ
มาตรฐานดา้ น จาเป็น ความสาเร็จ ไดร้ ับจากการ
1 โครงการพฒั นาศูนยค์ วาม พัฒนา ปรับปรงุ ศกั ยภาพความพรอ้ มของการการ
ใด พัฒนา ของ ดาเนนิ
ชานาญเฉพาะทาง พฒั นาความเป็นศูนยฝ์ กึ ปฏบิ ัตกิ ารเฉพาะทางอาหารและ มาตรฐานดา้ น ศกั ยภาพของ กิจกรรม กิจกรรม
ผเู้ รียน นักเรียน ผลการเรยี น อาชพี และ
(อาหารและโภชนาการ) โภชนาการของสถานศึกษา เพอ่ื เพม่ิ ศกั ยภาพของผ้เู รยี นให้ นกั ศกึ ษา ทกั ษะความ รายไดข้ อง
ดา้ นผู้เรยี น ชานาญของ ผเู้ รยี น
ตรงกบั ความต้องการของตลาดแรงงาน และความพร้อม พัฒนาผูเ้ รยี น ผู้เรียน
มาตรฐาน ใหพ้ รอ้ มใน ผลการเรยี น
ของครูผสู้ อนตอ้ งตระหนักรู้ เข้าใจเข้าถงึ พัฒนากอ่ นเข้าสู่ ดา้ นผเู้ รยี น ศตวรรษท่ี คุณภาพ การพมั นา
21 (ทักษะ ของผู้เรียน กิจกรรมตาม
สถานประกอบการของนักเรียน นกั ศึกษาตามรอบพระ ดา้ นผเู้ รียน การคิด พื้นฐานของ
วิเคราะหแ์ ละ ผลการ ผู้เรยี นทุกช่วง
ยคุ ลบาทแสดงถึงสักยภาพความพรอ้ มในการปฏิบัติงาน ทกั ษะทาง เรยี นทกั ษะ วัยอย่างมี
ภาษา) ความ คุณภาพ
2 โครงการพฒั นาทกั ษะ เตรยี มความพร้อมผูเ้ รยี นเพ่อื ก้าวทนั ตอ่ พัฒนา ชานาญ
ศกั ยภาพของ ของผู้เรียน อาชีพ และ
การเรยี นรู้และ สถานการณโ์ ลก มภี ูมิคุ้มกนั ในตนเอง พัมนาความรู้ นักเรยี น รายได้ของ
นกั ศกึ ษา ใน ผ้ผู า่ นการ ผู้เรยี น
นวัตกรรมส่งเสริมการ ความสามารถทางภาษาโดยประยุกต์ใชอ้ งค์ความรู้ สาขาท่ีมี ทดสอบ
ความชานาญ คุณภาพของ
เรียนรู้การสอื่ สารใน เฉพาะทาง ความสามารถทางภาษาในการ เฉพาะทาง ผู้เรียนความ
ชานาญเฉพาะ
ศตวรรษที่ 21 (ทักษะ ตดิ ตอ่ สอื่ สารไดอ้ ย่างสมภาคภมู ิ ทดสอบฝีมอื ทาง
ความชานาญ
การคิดวเิ คราะหแ์ ละ เฉพาะทาง
อาหารและ
ทักษะทางภาษา) โภชนาการ
แสดงถงึ
3 โครงการส่งเสริมและ เรียนรกู้ ารประกอบอาชีพเพือ่ สร้างกระบวนการ ศักยภาพของ
ผู้เรยี น
พฒั นาทกั ษะทาง พึง่ พาตนเอง เพิ่มรายได้ ลดรายจ่ายทางการศกึ าโดย

อาหารนวัตศิลป์ร่วมกับ การน้อมนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและ

ชมุ ชนศลิ ปาชีพบางไทร พัฒนาการเรียนร้ตู ามวถิ ีพอเพยี งท่ีได้มาตรฐาน

(เทศกาลอาหาร เออื้ อานวยตอ่ การจัดการเรียนการสอนอย่างมีคณุ ภาพ

นวตั ศลิ ปาชีพบางไทร) ส่งผลต่อคุณภาพของผูเ้ รยี น จานวน 3 แหง่

1. เทศกาลของขวญั

2. เทศกาลงานฝูายทอใจ

3. เทศกาลเรียนรู้ต่อย่อมสู่โลกอาชีพ

(ศูนยจ์ าหนา่ ยอาหารของ สอศ.)

ผ้เู รียนจะไดแ้ สดงศกั ยภาพทางความรตู้ อ่ ไป

4 โครงการทดสอบฝมี ือ นกั เรยี นนักศึกษวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี นู ย์

ความชานาญเฉพาะทาง ศลิ ปาชพบางไทร ผ่านการทดสอบฝีมือ ความชานาญ

อาหารและโภชนาการ เฉพาะทางอาหารและโภชนาการ

232

ที่ กจิ กรรม รายละเอียด สอดคล้องกับ เหตุผลความ ตัวช้วี ัด ผลทค่ี าดว่าจะ
มาตรฐานด้าน จาเปน็ ความสาเร็จ ได้รบั จากการ

ใด ของ ดาเนนิ
กิจกรรม กจิ กรรม

5 โครงการศึกษาดูงานตาม ครู นกั เรียน นกั ศกึ ษา ระดับ ชั้น ปวชง 1 และ ปวส.1 ด้านผู้เรยี น ผูเ้ รียนเกดิ การ ปรมิ าณ แบบอยา่ งทีด่ ี

รอยพระยุคลบาทประจาปี เขา้ ศกึ ษาดงู านอนั เน่อื งมาจากพระราชดาริเพ่ือให้ผเู้ รียน ครู ผู้บริหาร เรียนรแู้ ละ ผู้เรยี น แสดงถงึ

การศึกษา 2563 เกดิ การเรยี นรแู้ ละสามารถประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจาวัน สามารถ คณุ ภาพและ

อยา่ งย่ังยืน ประยุกตใ์ ช้ใน ความชานาญ

ชวี ติ ประจาวัน เฉพาะทางของ

อย่างยงั่ ยืน ผูเ้ รยี น

6 โครงการสง่ เสรมิ พฒั นาสบื ครู นกั เรยี น นักศกึ ษานาองคค์ วามรู้ ความชานาญทาง ด้านผ้เู รียน ผู้เรียน ครู ปริมาณ ผู้เรียน ครู

สานต่อยอดการสร้าง อาหาร และโภชนาการสง่ เสรมิ พัฒนา ตอ่ ยอดการสร้าง ครู ผู้บรหิ าร ผู้บรหิ าร เกดิ ผเู้ รยี น ครู ผบู้ รหิ าร เปน็

เอกลกั ษณภ์ ูมสิ ังคม เอกลักษณ์ ภมู สิ งั คมปรชั ญาทอ้ งถิน่ เศรษฐกจิ วัฒนธรรม การเรยี นรู้และ ผบู้ รหิ าร แบบอยา่ งที่ดี

ปรชั ญาทอ้ งถนิ่ เศรษฐกิจ และส่งิ แวดลอ้ มให้แก่ ชมุ ชน เพอื่ สรา้ งและพัฒนา สามารถ แสดงถึง

วฒั นธรรม และส่ิงแดว ผู้ประกอบการอาหารในทอ้ งถน่ิ ให้มีคณุ ภาพ เอ้ือประโยชน์ ประยกุ ตใ์ ช้ใน คุณภาพและ

ลอ้ ม แกผ่ ู้บรโิ ภคในทอ้ งถ่ิน โดยผูเ้ รียนประยกุ ตอ์ งคค์ วามรู้ ตอ่ ชีวติ ประจาวัน ความชานาญ

ยอดความชานาญทางอาหารและโภชนาการทางวิชาชีพ อย่างยั่งยนื เฉพาะทางของ

ใหเ้ กิดประโยชน์ตอ่ ไปในอนาคต ผเู้ รยี น

7 โครงการสร้างจิตสานึก 1. ครู นกั เรยี น นกั ศึกษา เขา้ รว่ มกิจกรรม จัดนทิ รรศการ ครู นักเรยี น การปลูกฝังให้ ปรมิ าณครู การปลกู ฝงั ให้

อดุ มการณ์ความรกั ชาติ เพ่อื เชิดชูสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ โดยการ นักศึกษา และ เกิดความ นกั เรยี น เกดิ ความ

ปลูกฝังให้เกดิ ความรักภกั ดี และเปน็ แบบอย่างทดี่ ใี นการ บคุ ลากร จงรกั ภักดแี ละ นักศึกษา จงรักภกั ดแี ละ

ประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นเป็นแบบอย่างทดี่ ีแกส่ ังคม ทางการศึกษา เป็นแบบอยา่ ง และ เปน็ แบบอยา่ ง

2. สนบั สนุนการเป็นผู้นาและการจัดสถานท่ีในพิธสี าคญั ๆ ท่ดี ีในการ บุคลากร ทีด่ ีในการ

ของสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ เพื่อสรา้ งความ ประพฤติ ทางการ ประพฤติ

เปน็ ผนู้ าท่สี มบูรณ์ ปฏิบัตติ นเป็น ศกึ ษา ปฏบิ ัติตนเป็น

แบบอยา่ งทด่ี ี แบบอยา่ งทีด่ ี

แกส่ งั คม แกส่ งั คมและ

ประเทศชาติ

ตอ่ ไป

8 โครงการพัฒนาฝกึ ปกบิ ัติ ฝึกปฏบิ ัตกิ ารเพอ่ื สร้างความชานาญเฉพาะทางงานใน ครู นกั เรียน การพฒั นา นกั เรียน นักเรียน

พัฒนาความเปน็ ผนู้ า ตอง ให้เขม้ ขน้ ขึ้น โดยเพ่ิมศาสตรง์ านใบตอง เทคนคิ นกั ศกึ ษา และ ผเู้ รยี นให้เกิด นกั ศกึ ษา นักศกึ ษาและ

ด้านอหารและโภชนาการ วธิ ีการ เพอ่ื บูรณาการและสนบั สนุนการสรา้ งนวัตศลิ ป์งาน บุคลากร ทาง ทักษะความ และ บคุ ลากร

(ศาสตร์งานใบตอง) ใบตอง การศึกษา ชานาญและ บุคลากร ทางการศกึษา

เป็นแบบอยา่ ง ทางการ มที ักษะที่ได้

ทีด่ ใี นการ ศึกษา มาตรฐานและ

ประพฤติ มที กษั ะที่ได้ นาไปใชป้ ระ

ปฏิบตั ติ น มาตรฐาน โยชนืในการ

จดั กจิ กรรมอื่น

สบื สาย

ประเพณอี น่ื

ตอ่ ไป

233

ที่ กิจกรรม รายละเอยี ด สอดคล้องกบั เหตผุ ลความ ตัวช้วี ัด ผลทีค่ าดวา่ จะ
มาตรฐานดา้ น จาเป็น ความสาเรจ็ ไดร้ ับจากการ
9 โครงการสง่ เสรมิ ความรู้ จดั การเรยี นการสอนการชนมไทยประยกุ ต์ให้แก่
และการสร้างพ้ืนฐานการ นักเรียนนักศึกษาแผนกวชิ าอาหารและโภชนาการเพื่อสบื ใด การพัฒนา ของ ดาเนิน
เรยี นรู้ภมู ปิ ญั หาทอ้ งถิน่ สานการเรียนรู้พน้ื ฐานภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ขนมไทยประยกุ ต์ ผเู้ รยี นใหเ้ กิด กจิ กรรม กจิ กรรม
ขนมไทยประยุกต์ เพือ่ ให้ผเู้ รียนเกิดกระบวนการเรียนร้กู ารทาขนมไทย ครู นกั เรียน ทกั ษะความ นกั เรยี น นักเรยี น
ประยกุ ต์อย่างมขี ้นั ตอนในภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2562 นกั ศึกษา และ ชานาญและ นกั ศึกษา นกั ศึกษา และ
บุคลากร เป็นแบบอยา่ ง และ บคุ ลากร
1. ระดับชัน้ ปวช. ( 2 ชวั่ โมงตอ่ สปั ดาห์) ทางการศกึ ษา ทดี่ ีในการสืบ บุคลากร ทางการศึกษา
2. ระดบั ช้นั ปวช. 1 ( 2 ชวั่ โมงต่อสัปดาห์) สานภูมปิ ญั ญา ทางการ มที กั ษะทไี่ ด้
3. ระดบั ชัน้ ปวช. 1 (2 ชวั่ โมงต่อสปั ดาห์) ทอ้ งถิน่ ของคน ศกึ ษามี มาตรฐานและ
ทกั ษะทาง นาไปใช้
ภมู ปิ ัญญาที่ ประโยชน์ใน
ได้มาตรฐาน การจัด
กิจกรรมอน่ื ๆ

12. งบประมาณโครงการ

ท่ี กิจกรรม แหล่ง ไตรมาศท่ี จานวนเงนิ (บาท) ไตรมาศท่ี รวม
งบประมาณ 1 ไตรมาศที่ ไตรมาศที่ 4
50,000
1 โครงการพัฒนาศูนย์ชานาญ สอศ. 23 80,000
เฉพาะทาง สอศ.
(อาหารและโภชนาการ) 50,000 80,000
สอศ.
2 โครงการพฒั นาทกัษะการเรยี นรู้และ 80,000 50,000
นวัตกรรมสง่ เสริมการเรยี นรกู้ าร สอศ. 50,000
สอ่ื สารในศตวรรษที่ 21 (ทักษะการ สอศ. 40,000 40,000
คิด วิเคราะหแ์ ละทักษะทางภาษา)
50,000
3 โครงการส่งเสรมิ และพัฒนาทักษะ
ทางอาหารนวัตศลิ ปร์ ่วมกบั ชุมชน 20,000 30,000
ศิลปาชพี บางไทร (เทศกาลอาหาร
นวัตศิลปาชีพบางไทร)

4 โครงการทดสอบฝมี ือความชานาญ
เฉพาะทางอาหารและโภชนาการ

5 โครงการเสรมิ สร้างภาพลักษณท์ ่ีดี
ของสถานศกึ ษาเฉพาะทางสายอาชีพ

234

ที่ กิจกรรม แหล่ง ไตรมาศที่ จานวนเงนิ (บาท) รวม
งบประมาณ 1 ไตรมาศที่ ไตรมาศท่ี ไตรมาศที่ 50,000
6 โครงการศกึ ษาดงู านตามรอยพระ 50,000
ยุคลบาทประจาปกี ารศึกษา 2563 สอศ. 234 30,000
50,000
7 โครงการสรา้ งจติ สานกึ อุดมการณ์ 50,000
ความรักชาติ สอศ. 50,000
50,000
8 โครงการพฒั นาฝกึ ปฏิบัติพัฒนา สอศ. 30,000
ความเป็นผู้นาด้านอาหารและ 540,000
โภชนาการ สอศ. 20,000 30,000
(ศาสตรง์ านใบตอง)
สอศ. 20,000 30,000
9 โครงการส่งเสรมิ ความรู้และการ
สร้างพื้นฐานการเรยี นรูภ้ มู ปิ ญั ญา
ทอ้ งถิน่ ขนมไทยประยกุ ต์

10 โครงการสง่ เสรมิ ความร้แู ละการ
สร้างพนื้ ฐานการเรยี นรภู้ ูมปิ ัญญา
ทอ้ งถิ่น

235

แบบเสนอโครงการ ประจาปีงบประมาณ 2563
วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี ูนยศ์ ิลปาชีพบางไทร
สถาบันการการอาชีวศึกษาภาคกลาง สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

1. ชื่อโครงการ โครงการอนุรักษพ์ นั ธไ์ุ มส้ มี ว่ ง พันธุ์ไมห้ อมในวรรณคดีและไมใ้ นนาม
สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ เพื่อเป็นแหลง่ อิงอาศยั ของเห็ดชนิดต่างๆ

2. ผูร้ ับผดิ ชอบโครงการ
2.1. หลกั : นางสาวรพพี ร ทองยิ่ง
2.2. รอง : (ช่ือผรู้ ับผิดชอบ/แผนกวชิ า/งาน)

3. ความสอดคล้อง/เชื่อมโยง/ภายใต้ยุทธศาสตร์ นโยบายและมาตรการ
 นโยบายชาติ
 นโยบายสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
 นโยบายประกันคุณภาพภายใน
 นโยบายประกนั คุณภาพภายนอก
 นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ

4. หลกั การและเหตุผล
ปัจจุบนั ทุกประเทศทว่ั โลกตระหนักถงึ ภยั ธรรมชาติที่มีมากข้ึน เน่ืองจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ ประเทศ

ไทยเป็นอีกประเทศหนึ่งที่มีแผนการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553– 2557 ตั้งแต่วันท่ี 17
พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 ซ่ึงแผนดังกล่าวได้ใช้เป็นกรอบแนวทางการดาเนินงานเก่ียวกับการจัดการภัยพิบัติของประเทศ
แตถ่ ึงแมป้ ระเทศไทยมีแผนฯ ดงั กลา่ ว แตน่ ั่นเปน็ การแกป้ ญั หาเฉพาะหน้าตอ่ ภยั ธรรมชาตทิ ี่เกิดข้ึน ส่ิงท่ีควรตระหนักมาก
ท่ีสุด คอื สาเหตขุ องการเกิดส่ิงเหล่าน้ันอันได้แก่ การดูแลทรัพยากรธรรมชาติที่กาลังถูกคุกคามในหลาย ๆ ลักษณะ เราจึง
ควรตระหนักและเห็นความสาคัญ ในเรอ่ื งคุ้มครองและใชป้ ระโยชน์จากทรัพยากรและความหลากหลายทางชีวภาพอย่างมี
ประสิทธิภาพและยั่งยืนก่อนที่จะสูญส้ินไป วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศิลปาชีพบางไทร ตั้งอยู่ในจังหวัด
พระนครศรีอยุธยาซึ่งมีการเปล่ียนแปลงการใช้พ้ืนท่ีจากพ้ืนที่ทางการเกษตรไปเป็นพื้นที่อุตสาหกรรม การเปล่ียนแปลงน้ี
ทาใหเ้ กดิ ผลกระทบกบั พชื พรรณธรรมชาตอิ ยา่ งมาก พชื พรรณบ้างชนดิ เกดิ การสญู หายไปจากทอ้ งถ่ิน

สวนปาุ บริเวณศนู ยศ์ ิลปาชีพพิเศษบางไทร ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชีนีนาถ มีพ้ืนที่ 50 ไร่ สร้าง
ข้ึนเม่ือปพี .ศ. 2534 – 2535 เพ่ือนาข้ึนทูลเกล้าถวายแด่องค์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชีนีนาถ (สมเด็จพระนาง
เจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชีนีนาถ พระบรมราชนนีพันปีหลวง) ในวาระที่พระองค์ทรงเจริญพระชนมายุครบ 60 พรรษา โดย
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศิลปาชีพบางไทร ได้รับมอบหมายจากกรมอาชีวศึกษาให้ดาเนินการพัฒนาและ

236

ปรับปรงุ สวนปุาบริเวณศูนย์ศิลปาชีพพิเศษบางไทร ฯ ให้มีความร่มรื่นและสวยงามตามธรรมชาติ โดยดาเนินการปลูกปุา
ธรรมชาติของไทยและไมใ้ นวรรณคดไี ทย ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวท่ีสาคัญและเป็นสถานท่ีรวบรวมพันธ์ุไม้ต่าง ๆ ในวรรณคดี
ไทย ในปี 2554 พ้ืนท่ีสวนปุาได้รับความเสียหายเน่ืองจากเกิดภาวะน้าท่วม ทาให้พันธ์ุไม้บางส่วนตายและอุปกรณ์ต่าง ๆ
ได้รบั ความเสยี หาย ตอ่ มาในปี 2559–2561 วิทยาลัยไดร้ บั การสนับสนุนงบประมาณการดาเนนิ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรม
พืชอนั เน่อื งมาจากพระราชดารฯิ ทาให้สามารถปกปักรักษาพนั ธุ์ไมด้ ัง่ เดมิ ไว้ไดบ้ างส่วน มีการนาพันธ์ุไม้หอม ไม้ปุาหายาก
เข้ามาปลูกและขยายพันธุ์เพ่ิม สร้างให้เป็นแหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติ เป็นแหล่งอาหารธรรมชาติที่มีประโยชน์ชุมชน
วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี ูนยศ์ ิลปาชีพบางไทรจึงได้จัดทาโครงการอนุรักษ์พันธ์ุไม้สีม่วง พันธ์ุไม้หอมในวรรณคดีและ
ไม้ในนามสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ เพื่อเปน็ แหลง่ อิงอาศัยของเห็ดชนิดต่างๆ

4. วัตถปุ ระสงค์
4.1 สารวจเกบ็ รวบรวมพนั ธกุ รรมพืชพนั ธไุ์ มส้ ีม่วง ไมห้ อมในวรรณคดีและเกบ็ รวบรวมพันธุ์ไม้ในนามสมเด็จพระเทพ
รตั นราชสุดาฯ เพอ่ื การเรยี นรู้
4.2 ขยายพนั ธ์เุ พ่ิมปริมาณใหม้ ากยิง่ ข้นึ โดยการเพาะเมลด็ ปักชา ตอนฯลฯและการใช้เทคโนโลยชี วี ภาพดว้ ยการ
เพาะเลี้ยงเนื้อเย่ือเขา้ มาใช้ในการดาเนนิ งานเพาะเลี้ยงพันธ์ุไมเ้ ช้อื เห็ดเพ่ือนาไปเพาะลงในพืน้ ทส่ี วนปุา
4.3 ค้นควา้ วจิ ัยสรา้ งนวตั กรรมและสิ่งประดิษฐ์จากราก ใบ ลาต้น ดอก ผลและเมล็ด ในรูปของอาหาร ยาและ
เวชภณั ฑ์ตา่ ง ๆ ศกึ ษาการนาพนั ธไ์ุ มแ้ ละเหด็ ชนดิ ตา่ ง ๆ มาใชป้ ระโยชน์

5. เปูาหมาย
5.1 เชงิ ปริมาณ
5.1.1 สารวจทรพั ยากรทางกาภาพและชีวภาพของพ้ืนท่ีบรเิ วณวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศลิ ปาชพี บาง
ไทร และสารวจพืน้ ทใ่ี นรัศมี 50 เมตร ประกอบไปดว้ ยพน้ื โรงเรียนอนบุ าลศนู ย์ศิลปาชีพบางไทร สวน
ปุาเฉลมิ พระเกียรติพระบรมราชนี ีนาถและศนู ยส์ ่งเสริมศิลปชีพระหวา่ งประเทศ
5.1.2 ขยายพนั ธุ์เพิ่มปรมิ าณให้มากย่งิ ขึน้ โดยวิธกี ารเพาะเมล็ด ปักชา ตอนฯลฯและการใชเ้ ทคโนโลยีชวี ภาพ
ดว้ ยการเพาะเล้ยี งเน้ือเยอ่ื เขา้ มาใช้ในการดาเนนิ งานเพาะเลยี้ งพันธไุ์ มส้ มี ่วง พนั ธุไ์ มห้ อมในวรรณคดีและ
เกบ็ รวบรวมพันธุ์ไม้ในนามสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ เพ่ือนาไปเพาะปลูกในพ้ืนท่ีสวนปาุ ฯ
5.1.3 ค้นคว้า วจิ ยั สร้างนวตั กรรมและสงิ่ ประดิษฐ์จากราก ใบ ลาต้น ดอก ผลและเมล็ด จากเห็ดชนดิ ตา่ ง ๆ ใน
รปู ของอาหาร ยาและเวชภณั ฑ์ต่าง ๆ ศึกษาการนาไม้มาใช้ประโยชน์
5.2 เชิงคณุ ภาพ
5.2.1 สารวจเกบ็ รวบรวมพนั ธุกรรมพืชพนั ธุ์ไมส้ ีมว่ ง ไม้วงศ์ถวั่ หรอื Fabaceaeb (Leguminosae) เพอ่ื เปน็
แหล่งอิงอาศัยของเห็ดตบั เตา่ และไม้ในนามสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ และจัดทาปูายช่อื พร้อมคิวอาร์
โคด้ พนั ธ์ุไม้ได้

237

5.2.2 ขยายพนั ธเุ์ พิ่มปรมิ าณใหม้ ากย่ิงขน้ึ โดยการเพาะเมลด็ ปักชา ตอนฯลฯและการใชเ้ ทคโนโลยีชีวภาพดว้ ย
การเพาะเลย้ี งเนื้อเย่ือเข้ามาใชใ้ นการดาเนินงานเพาะเลีย้ งพันธไุ์ มแ้ ละเชอ้ื เห็ดเพ่ือนาไปเพาะลงในพืน้ ท่ี
สวนปุา และแจกใหแ้ ก่ผทู้ สี่ นใจนาไปเพาะปลูก

5.2.3 การค้นคว้า วิจยั สรา้ งนวตั กรรมและสง่ิ ประดษิ ฐ์จากราก ใบ ลาต้น ดอก ผลและเมลด็ ในรูปของอาหาร
ยาและเวชภัณฑต์ ่าง ๆ ศึกษาการนาเห็ดชนดิ ตา่ ง ๆ มาบริโภคและแปรรปู เปน็ ผลิตภัณฑ์ใหม่ได้

6. ตวั ชีว้ ัด
6.1 เชิงปริมาณ
6.1.1 ผลการสารวจเก็บรวบรวมพนั ธกุ รรมพชื พันธุไ์ มส้ มี ่วง ไม้วงศถ์ ่วั หรอื Fabaceaeb (Leguminosae) เพอ่ื
เป็นแหลง่ อิงอาศยั ของเหด็ ตับเตา่ และไม้ในนามสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ และจัดทาปาู ยช่ือพร้อมคิว
อารโ์ คด้ พันธ์ุไมไ้ ดไ้ มน่ ้อยกว่า ๕๐ ชนิด
6.1.2 จานวนการขยายพนั ธุเ์ พม่ิ ปริมาณให้มากยิ่งขึ้นโดยการเพาะเมล็ด ปกั ชา ตอนฯลฯและการใช้
เทคโนโลยชี ีวภาพดว้ ยการเพาะเล้ียงเนอ้ื เย่ือเข้ามาใชใ้ นการดาเนนิ งานเพาะเลย้ี งพนั ธุไ์ ม้และเชือ้ เห็ดเพอื่
นาไปเพาะลงในพื้นทสี่ วนปาุ จานวนไมน่ ้อยกวา่ 100 ต้น ขยายพนั ธ์เชือ้ เหด็ ชนิดต่าง ๆ ไดจ้ านวนไม่น้อย
กว่า 100 ขวด เพื่อนาลงเพาะเลี้ยงในสวนปุาฯ และแจกให้แกผ่ ทู้ สี่ นใจนาไปเพาะเล้ียง
6.1.3 จานวนงานคน้ คว้า วิจัยสรา้ งนวตั กรรมและสิ่งประดิษฐจ์ ากราก ใบ ลาตน้ ดอก ผลและเมล็ด ในรปู ของ
อาหาร ยาและเวชภัณฑต์ า่ ง ๆ ศึกษาการนาเหด็ ชนิดตา่ ง ๆ มาบริโภคและแปรรูปเป็นผลติ ภณั ฑ์ใหม่ได้
ไมน่ ้อยกวา่ 1 เร่อื ง/ชิ้นงาน

6.2 เชงิ คณุ ภาพ
6.2.1 มีการสารวจเก็บรวบรวมพนั ธุกรรมพืชพันธ์ไุ มส้ ีม่วง ไม้วงศ์ถ่ัวหรอื Fabaceaeb (Leguminosae) เพอ่ื
เป็นแหล่งองิ อาศัยของเห็ดตับเต่าและไมใ้ นนามสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ และจัดทาปูายชอ่ื พร้อมคิว
อารโ์ ค้ดพนั ธ์ุไม้ได้
6.2.2 สามารถขยายพันธ์เุ พิ่มปริมาณให้มากยิง่ ข้ึนโดยการเพาะเมลด็ ปกั ชา ตอนฯลฯและการใช้
เทคโนโลยีชีวภาพด้วยการเพาะเล้ยี งเนื้อเยื่อเข้ามาใชใ้ นการดาเนนิ งานเพาะเล้ียงพันธุไ์ ม้และเชอ้ื เหด็ เพอ่ื
นาไปเพาะลงในพ้นื ที่สวนปาุ และแจกใหแ้ ก่ผ้ทู ส่ี นใจนาไปเพาะปลูก
6.2.3 มีการค้นควา้ วิจยั สร้างนวตั กรรมและสิ่งประดิษฐจ์ ากราก ใบ ลาตน้ ดอก ผลและเมลด็ ในรปู ของ
อาหาร ยาและเวชภณั ฑ์ตา่ ง ๆ ศึกษาการนาเหด็ ชนิดต่าง ๆ มาบรโิ ภคและแปรรูปเปน็ ผลติ ภัณฑ์ใหม่ได้

238

7. สถานที่ดาเนนิ การ
หอ้ งเพาะเลีย้ งเน้ือเย่ือพชื วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี นู ยศ์ ิลปาชีพบางไทร
59 หมู่ 1 ตาบลโพแตง อาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

8. ระยะเวลาดาเนินการ(ระบวุ ันท/่ี เดอื น/ปี พ.ศ.)
1 ตลุ าคม 2562 – 30 กันยายน 2563

9. แผนการดาเนินงาน ต.ค. พ.ย. ปงี บประมาณ 2563 ก.ค. ส.ค. ก.ย.

กจิ กรรม ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย พ.ค. มิ.ย.

- เสนอโครงการ
- เตรียมวัสดุ-อุปกรณ์
- ดาเนนิ การสารวจพันธไ์ุ ม้/เก็บ
ตวั อยา่ ง/จาทาปูายชื่อ
-ขยายพนั ธุด์ ว้ ยวธิ ต่างๆและโดยการ
เพาะเลย้ี งเน้อื เยื่อพืช
- ค้นคว้า ศึกษาวิจัยและสร้าง
นวตั กรรมใหม่
- เผยแพร่ความรู้/สง่ เสรมิ การใช้
ประโยชนจ์ ากพชื

10. งบประมาณคา่ ใช้จ่าย
งบประมาณค่าใช้จ่ายรวมท้ังสิ้น 30,000 บาท ( สามหมื่นบาทถว้ น )

11. การตดิ ตามประเมนิ ผล
-

12. ผลทคี่ าดว่าจะได้รบั
12.1 สารวจเกบ็ รวบรวมพันธกุ รรมพชื พนั ธ์ไุ มส้ มี ว่ ง ไม้วงศถ์ ว่ั หรือ Fabaceaeb (Leguminosae) เพ่ือเป็นแหล่งอิง
อาศัยของเห็ดตบั เต่าและไม้ในนามสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ และจดั ทาปาู ยชื่อพร้อมควิ อารโ์ ค้ดพันธ์ไุ ม้ได้ไม่
นอ้ ยกวา่ 50 ชนดิ
12.2 ขยายพนั ธ์เุ พม่ิ ปรมิ าณใหม้ ากยง่ิ ขนึ้ โดยการเพาะเมล็ด ปักชา ตอนฯลฯและการใชเ้ ทคโนโลยีชีวภาพดว้ ยการ
เพาะเลยี้ งเนอื้ เย่ือเข้ามาใช้ในการดาเนินงานเพาะเลี้ยงพันธุ์ไม้และเช้อื เหด็ เพื่อนาไปเพาะลงในพื้นทสี่ วนปุา จานวน
ไมน่ อ้ ยกว่า 100 ต้น ขยายพันธ์เชื้อเห็ดชนดิ ตา่ งๆ ได้จานวนไมน่ ้อยกว่า 100 ขวด เพอ่ื นาลงเพาะเลีย้ งในสวนปาุ
ฯ และแจกใหแ้ ก่ผูท้ สี่ นใจนาไปเพาะเลย้ี ง

239

12.3 ค้นคว้า วจิ ยั สรา้ งนวัตกรรมและสิ่งประดษิ ฐ์จากราก ใบ ลาต้น ดอก ผลและเมลด็ ในรูปของอาหาร ยาและ
เวชภณั ฑ์ตา่ ง ๆ ศกึ ษาการนาเห็ดชนดิ ต่าง ๆ มาบรโิ ภคและแปรรปู เปน็ ผลิตภัณฑใ์ หม่ได้ไม่นอ้ ยกว่า 1 เรอ่ื ง/
ช้นิ งาน

240

แบบเสนอโครงการ ประจาปงี บประมาณ 2563
วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนยศ์ ิลปาชีพบางไทร
สถาบันการการอาชวี ศกึ ษาภาคกลาง สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

1. ช่ือโครงการ โครงการอาชีวะพัฒนา ซอ่ มแซมหอพกั นกั เรยี น นักศึกษา วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี
ศนู ยศ์ ิลปาชีพบางไทร จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา

2. ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ
2.1. หลกั : นายเสกสรรค์ จนั ทร
2.2. รอง : (ชอ่ื ผ้รู บั ผิดชอบ/แผนกวิชา/งาน) งานอาคารสถานท่ี

3. ความสอดคล้อง/เชอื่ มโยง/ภายใตย้ ุทธศาสตร์ นโยบายและมาตรการ
 นโยบายชาติ
 นโยบายสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
 นโยบายประกันคุณภาพภายใน/ภายนอก
3.4 .ระดับคณุ ภาพในการจัดกิจกรรมเสรมิ หลกั สูตร
 นโยบายกระทรวงศกึ ษาธิการ

4. หลกั การและเหตผุ ลของโครงการ
วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศิลปาชีพบางไทร สงั กัดสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ไดเ้ ล็งเหน็ ถึง

ความสาคัญของการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถ ทกั ษะและประสบการณ์ รวมท้ังปลูกฝังใน เรื่องคา่ นิยมหลัก
มีคุณธรรม จริยธรรม สร้างวินัย จติ สานึกความรับผดิ ชอบต่อสงั คม สนบั สนุนใหน้ ักเรยี น นักศกึ ษารวมกลุม่ ทางานเปน็ ทมี ทา
กจิ กรรมจติ อาสาทีเ่ ปน็ ประโยชน์ ซงึ่ เปน็ การสรา้ งภาพลกั ษณ์ท่ีดใี หแ้ ก่นักเรยี น นักศึกษาให้เกิดความปรองดองสามัคคีในหมู่
คณะ ร่วมกันนาความรู้ความสามารถและทกั ษะวิชาชีพมาพัฒนาสถานศึกษา ดว้ ยเหตุนี้ งานอาคารสถานที่ และแผนกวิชา
ช่างกลเกษตร จงึ ได้จัดทาโครงการอาชีวะพฒั นาซ่อมแซมหอพักนักเรยี น นกั ศกึ ษา วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยศี ูนย์ศลิ ปา
ชพี บางไทร จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา
5. วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ

5.1 เพอื่ ส่งเสรมิ ให้นักเรียน นักศกึ ษา ได้ฝกึ ทกั ษะวชิ าชีพ ความชานาญ จากสถานการณ์จริง
5.2 เพอื่ ใหน้ กั เรียน นกั ศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษา ได้เขา้ รว่ มกิจกรรมทีเ่ ปน็ ประโยชน์
เรียนรกู้ ารทางานเป็นทมี เสริมสร้างความรกั ความสามัคคใี นหมคู่ ณะ
5.3 เพื่อเสริมสร้างภาพลกั ษณท์ ีด่ ีของนักเรยี น นักศึกษาอาชีวศึกษาต่อสงั คม ใหเ้ หน็ ถงึ คณุ คา่ และความสาคัญของ
การเรียนสายอาชีพ ที่สามารถนาความรู้ ทักษะและประสบการณ์ ไปชว่ ยเหลอื สังคมและพฒั นาสถานศึกษา

241

5.4 เพือ่ ให้นักเรยี น นักศึกษา ได้ทากจิ กรรมจิตอาสาทีเ่ ป็นประโยชนใ์ นช่วงปดิ ภาคเรียน เปน็ การเพ่มิ

เวลารใู้ นงานสายอาชพี และเสริมสร้างคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ใหก้ ับนักเรยี น นักศกึ ษา ทเ่ี ข้ารว่ มกิจกรรม

6. ตวั ชวี้ ดั ความสาเร็จ

6.1 เชงิ ปริมาณ

6.1.1 จานวนผเู้ ข้าร่วมโครงการ ครู 3 คน ลกู จ้างชัว่ คราว 2 คน นกั เรียน นกั ศึกษา 20 คน

6.1.2 ผู้เขา้ ร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการเขา้ ร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 100

6.1.3 มีหอพกั พรอ้ มใช้งาน 25 หลงั

6.1.4 สถานศึกษาไดเ้ พิ่มปริมาณผเู้ รียน ในปกี ารศกึ ษา 2563 อย่างนอ้ ย 70 คน

6.2 เชิงคุณภาพ

6.2.1 นักเรยี น นักศกึ ษาไดพ้ ัฒนาทกั ษะวิชาชพี ในการปฏบิ ัติงานจากสถานการณจ์ ริง

6.2.2 สถานศกึ ษาไดป้ ระชาสัมพันธ์ ส่งเสรมิ ภาพลกั ษณข์ องสถานศึกษาในการเพม่ิ ปริมาณผ้เู รียน

6.2.3 ผปู้ กครองมีทัศนคตทิ ด่ี ีในการส่งเสริมให้บุตรหลานมาเรยี นต่อสายอาชีพ

7. แผนการดาเนินงานโครงการ

8. ข้ันตอนดาเนินการ

8.1 เขยี นโครงการเพ่อื ขออนุมตั โิ ครงการ

8.2 ดาเนนิ การตามโครงการท่ไี ด้รับอนมุ ตั ิ

8.3 สรปุ และประเมินผลการดาเนินโครงการ

8.4 รูปแบบการจดั กิจกรรม ใชก้ ารบูรณาการการเรียนการสอนในรายวชิ า ช่างเกษตรเบ้ืองต้น

8.5 ระยะเวลาดาเนินงาน เดือนเมษายน ถึง เดือนมถิ ุนายน พ.ศ. 2563

9. แผนงบประมาณทใ่ี ชใ้ นการดาเนินงานโครงการ

9.1 คา่ ตอบแทน รวม 43,200 บาท

9.2 คา่ วสั ด-ุ อุปกรณ์ รวม 156,800 บาท

รวมท้ังสนิ้ 200,000 บาท

10. ผลที่คดิ วา่ จะได้รับจากการดาเนนิ โครงการ

10.1 นักเรียน นักศกึ ษา ไดฝ้ กึ ทักษะวชิ าชีพ ความชานาญ และประสบการณจ์ ากสถานการณ์จริง

10.2 สถานศกึ ษาได้ประชาสัมพันธ์ ส่งเสริมภาพลกั ษณใ์ หก้ ับสถานศึกษาส่งผลต่อการเพ่ิมปริมาณผเู้ รียน

10.3 หอพักนักเรียน นักศึกษา มีสภาพพร้อมใช้งานเต็มประสิทธภิ าพ

11. การวดั ความสาเร็จของโครงการ

11.1 เชงิ ปริมาณ

11.1.1 มีจานวนผูเ้ ข้ารว่ มโครงการ 23 คน

11.1.2 มีหอพักนักเรยี น นกั ศึกษา พร้อมใช้งาน 25 หอ้ ง

242

11.1.3 ผเู้ ข้าร่วมโครงการมีความพงึ พอใจในการเข้ารว่ มกจิ กรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 100
11.1.4 สถานศกึ ษาไดเ้ พ่ิมปริมาณผูเ้ รียน ในปีการศกึ ษา 2563 อยา่ งนอ้ ย 70 คน
11.2 เชิงคณุ ภาพ
11.2.1 มกี ารเชอ่ื มโยงกับการเรียนการสอนในรายวชิ าชา่ งเกษตรเบื้องต้น
11.2.2 นกั เรียน นักศึกษา และครทู เี่ ขา้ ร่วมโครงการฯ ไดฝ้ ึกทกั ษะวิชาชพี ความชานาญ และประสบการณ์

จากสถานการณจ์ ริง
11.2.3 สถานศกึ ษาได้ประชาสมั พันธ์ ส่งเสรมิ ภาพลักษณใ์ ห้กบั สถานศึกษาส่งผลต่อการเพ่ิมปริมาณผู้เรยี น
11.2.4 ผู้ปกครองมที ัศนคติที่ดีในการสง่ เสรมิ ใหบ้ ุตรหลานมาเรยี นต่อสายอาชีพ
12. การตดิ ตามประเมินผล
12.1 จากแบบสอบถามความพงึ พอใจของผู้เขา้ ร่วมโครงการ
12.2 จากจานวนหอพักท่ีพร้อมใช้งาน
12.3 จากการสมั ภาษณน์ กั เรียน นกั ศกึ ษาในหอพัก

243

แบบเสนอโครงการ ประจาปีงบประมาณ 2563
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี นู ย์ศลิ ปาชพี บางไทร
สถาบนั การการอาชีวศึกษาภาคกลาง สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

1. ชื่อโครงการ โครงการสร้างความรว่ มือในการจดั การอาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคี
2. ผ้รู บั ผิดชอบโครงการ

2.1. หลกั : งานความร่วมมือ ฝุายแผนงานและความร่วมมือ
2.2. รอง : (ชอ่ื ผรู้ ับผิดชอบ/แผนกวชิ า/งาน) นางพนดิ า แจ้งสว่าง
3. ความสอดคล้อง/เชื่อมโยง/ภายใตย้ ุทธศาสตร์ นโยบายและมาตรการ

 นโยบายชาติ
 นโยบายสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
 นโยบายประกันคุณภาพภายใน/ภายนอก

3.4 .ระดับคณุ ภาพในการจัดกจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู ร
 นโยบายกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
4. หลกั การและเหตุผล
ตามพระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 และแกไ้ ขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ได้ให้ความสาคญั ใน
การพฒั นาและส่งเสริมความร่วมมอื ระหวา่ งหน่วยงานการศึกษา ภาครฐั และภาคเอกชนเพ่ือให้การจัดการศึกษาเปน็ ไป
อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ สามารถผลติ กาลงั คนไดส้ อดคลอ้ งกับความตอ้ งการของสถานประกอบการ
สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ได้มอบนโยบายใหส้ ถานศึกษาสงั กดั สานักงานคณะกรรม
การการอาชวี ศกึ ษา จดั การศึกษารว่ มกับสถานประกอบการและหนว่ ยงานตา่ งๆในการรับนกั เรียน นักศึกษา
เขา้ ฝกึ งานในระบบปกติ และระบบทวภิ าคี เพื่อการพฒั นา และผลติ นกั ศึกษาสตู่ ลาดแรงงานอย่างมคี ุณภาพ
และมีประสทิ ธิภาพ เพื่อก้าวเข้าสู่ตลาดแรงงานโลกต่อไป
5.วตั ถปุ ระสงคโ์ ครงการ
1. เพอ่ื สนับสนุนการพฒั นาการผลติ กาลงั คนของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษาอยา่ งเปน็ ระบบและต่อเน่ือง
2. เพ่อื ประสานความร่วมมือกับสถานประกอบการทั้งภาครัฐและเอกชน ทงั้ ในและตา่ งประเทศ
6. สถานที่ดาเนนิ การ
วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีศนู ยศ์ ิลปาชพี บางไทร
7.เป้าหมายโครงการ
เชงิ ปริมาณ : นกั เรยี น นกั ศึกษาในระดบั ชั้น ปวช. และปวส. ทจ่ี ะออกฝึกงานร่วมกับสถานประกอบการ
เชิงคุณภาพ : นักเรยี น นกั ศกึ ษาไดฝ้ กึ งานในสถานประกอบการทง้ั ภาครัฐและเอกชน ท้ังในและต่างประเทศ

244

8. ระยะเวลาดาเนินงาน

ดาเนนิ การจัดทาโครงการ ตั้งแต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2562 ถงึ วนั ที่ 30 กันยายน 2563

9. แผนการดาเนินการ

กิจกรรม พ.ศ. 2562 พ.ศ.2563

ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

1.จัดประชมุ ครู บคุ ลากรทร่ี บั ผิดชอบงาน

2.วางแผนการดาเนินโครงการ

3.เสนอโครงการ

4.ดาเนนิ การตามกิจกรรม

5.สรุปผลการดาเนนิ โครงการ

6.รายงานผล

10. งบประมาณดาเนนิ การ

งบประมาณ จานวน 30,000 บาท

1. คา่ ใช้จ่ายในการทาความรว่ มมือกับสถานประกอบการ จานวน 20,000 บาท

2. ค่าใชจ้ า่ ยในการซ้ือวัสดอุ ปุ กรณ์ จานวน 10,000 บาท

รวมทั้งสนิ้ 30,000 บาท

11. ผลท่คี าดว่าจะได้รบั

1. นักเรยี น นักศกึ ษาในระดับช้ัน ปวช. และปวส. มีความพึงพอใจในการฝึกงานร่วมกับสถานประกอบการท่ีได้ทา

ความรว่ มมอื

2. นักเรยี น นักศึกษาไดฝ้ กึ งานในสถานประกอบการทัง้ ภาครฐั และเอกชน ท้ังในและตา่ งประเทศ

12. การตดิ ตามประเมนิ ผล

1. แบบสอบถาม

2. แบบสงั เกต

245

แบบเสนอโครงการ ประจาปีงบประมาณ 2563
วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนยศ์ ิลปาชีพบางไทร
สถาบนั การการอาชวี ศกึ ษาภาคกลาง สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

1. ชอื่ โครงการ โครงการปลกู จิตสานึกรักษาทรัพยากรปุาไม้
2. ผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการ

2.1. หลกั : ฝาุ ยแผนงานและความรว่ มมือ
2.2. รอง : (ชอื่ ผรู้ บั ผิดชอบ/แผนกวิชา/งาน) นางสาวรพพี ร ทองยิง่ นางพชั รี โตประเสรฐิ
3. ความสอดคล้อง/เช่ือมโยง/ภายใตย้ ุทธศาสตร์ นโยบายและมาตรการ

 นโยบายชาติ
 นโยบายสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ดา้ นด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชวี ติ ทีเ่ ป็นมติ รกับสงิ่ แวดล้อม
 นโยบายประกันคุณภาพภายใน/ภายนอก
 นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ
4. หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันท่ัวโลกตระหนักถึงภัยธรรมชาติที่มีมากขึ้น เนื่องจากข่าวสารสามารถสื่อสารได้อย่างฉับไว ทาให้ทราบ
เหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ประเทศไทยมีแผนการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓ – ๒๕๕๗
ตัง้ แตว่ นั ที่ ๑๗ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๕๒ ซึง่ แผนดังกล่าวได้ใชเ้ ป็นกรอบแนวทางการดาเนินงานเกยี่ วกบั การจัดการภัยพิบัติ
ของประเทศ ถึงแม้จะมีแผนฯ ดังกล่าว แต่นั่นเป็นการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าต่อภัยธรรมชาติท่ีเกิดข้ึน ส่ิงท่ีควรตระหนัก
มากที่สุด คือ สาเหตุของการเกิดภัยพิบัติเหล่านั้นอันได้แก่ การดูแลทรัพยากรธรรมชาติที่กาลังถูกคุกคามในหลาย ๆ
รปู แบบ เราจึงควรตระหนักและเห็นความสาคัญในการคุ้มครองและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรและความหลากหลายทาง
ชวี ภาพอย่างมปี ระสิทธภิ าพและย่งั ยนื กอ่ นท่ีจะสูญส้ินไป จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นอีกจังหวัดหนึ่งที่มีการเปล่ียนแปลง
การใช้พื้นท่ี จากพื้นที่ทางการเกษตรไปเป็นพ้ืนท่ีอุตสาหกรรม ทาให้พ้ืนท่ีทางการเกษตรเหลือน้อยลงอย่างเห็นได้ชัดเจน
การเปล่ียนแปลงน้ีทาให้เกิดผลกระทบกับพืชพรรณธรรมชาติอย่างมาก พืชพรรณบ้างชนิดเกิดการสูญหายไปจากท้องถิ่น
สวนปาุ บรเิ วณศูนยศ์ ลิ ปาชีพพิเศษบางไทร ในสมเดจ็ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชีนีนาถ มีพื้นท่ี ๕๐ ไร่ สร้างขึ้นเม่ือปี
พ.ศ. ๒๕๓๔ – ๒๕๓๕ เพ่ือนาขึ้นทูลเกล้าถวายแดอ่ งค์สมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชีนีนาถ ในวาระที่พระองค์ทรง
เจริญพระชนมายุครบ ๖๐ พรรษา โดยวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศิลปาชีพบางไทร ได้รับมอบหมายจากกรม
อาชีวศึกษาให้ดาเนินการพัฒนาและปรับปรุงสวนปุาบริเวณศูนย์ศิลปาชีพพิเศษบางไทร ฯ ให้มีความร่มรื่นและสวย งาม
ตามธรรมชาติ โดยดาเนินการปลูกปุาธรรมชาติของไทยและไม้ในวรรณคดีไทย ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวท่ีสาคัญและเป็น

246

สถานทร่ี วบรวมพันธ์ุไม้ต่าง ๆ ในวรรณคดไี ทยและไม้หอม สร้างให้เป็นแหล่งเรยี นรทู้ างธรรมชาติและเพ่ือให้สวนปุามีความ
สมบูรณ์และสรา้ งประโยชน์ตอ่ ชมุ ชนมากยิง่ ขึ้น

วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีศนู ย์ศลิ ปาชีพบางไทร ตระหนกั ถึงความสาคญั ข้างต้น จงึ ปลูกฝงั ใหผ้ ู้เรียนมี
จิตสานึกในการรักษาทรพั ยากรปุาไม้ โดยจัดทาโครงการศนู ย์เรยี นรพู้ นั ธ์ไุ มห้ อมสวนปุาเฉลิมพระเกยี รติสมเดจ็ พระนางเจา้
สิรกิ ิติ์ฯ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศนู ยศ์ ิลปาชีพบางไทร ใหเ้ ป็นแหล่งศกึ ษาหาความรแู้ กผ่ ้เู รยี น ครู บคุ ลากรทางการ
ศึกษาและประชาชนท่ัวไป ได้เขา้ มาใชป้ ระโยชนด์ ้านฐานขอ้ มูลพชื ทางพฤกษศาสตร์ การนาไปใช้ประโยชนใ์ นดา้ นตา่ ง ๆ
การค้นคว้าวิจัยเพ่ือให้เกิดประโยชนส์ ูงสุด โครงการดงั กล่าวจะชว่ ยปลูกปาุ ในใจคนและส่งผลใหเ้ ยาวชนมีจติ สานกึ ในการ
รักษาทรัพยากรปุาไมร้ ่วมกนั มกี ารนาไปใช้ประโยชน์และพัฒนาให้เกิดความยั่งยืนต่อไป
5. วตั ถปุ ระสงค์

1. เพอื่ ปลูกจิตสานึกในการรกั ษาทรัพยากรปาุ ไม้และการใชป้ ระโยชน์จากทรัพยากรอย่างยั่งยืนให้แกผ่ ู้เรยี น ครู

บุคลากรทางการศึกษาทง้ั หมดของวทิ ยาลยั ฯ หน่วยงานในทอ้ งถนิ่ และประชาชนทว่ั ไป

2. เพือ่ จัดทาศูนยเ์ รียนรูศ้ ึกษาพนั ธไ์ุ มห้ อมและพนั ธ์ไมต้ า่ ง ๆ รว่ มกบั โครงการอนุรักษ์พนั ธุกรรมพชื อันเนือ่ งจาก
พระราชดารฯิ ภายในสวนปาุ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสริ กิ ติ ์ิฯ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี นู ย์ศิลปาชีพ
บางไทร

3. เพือ่ พัฒนาใหผ้ ูเ้ รยี น ครู บุคลากรทางการศึกษาท้งั หมด หน่วยงานในทอ้ งถ่ินและประชาชนทวั่ ไป ใหม้ ี
ความรู้และทักษะในการปลกู ดูแลรกั ษาและสามารถนาไปใชป้ ระโยชนใ์ นด้านตา่ ง ๆ ใหเ้ กดิ ประโยชน์สูงสุดและย่งั ยนื
6. เปา้ หมาย

6.1. เชิงปริมาณ

1) ผลติ เอกสารเผยแพรจ่ านวน 1,000 ชดุ
2) ผูเ้ รยี น ครู บุคลากรทางการศกึ ษาท้ังหมดจานวน 451 คน หน่วยงานในท้องถ่ินและประชาชนทว่ั ไปเข้า
รว่ มโครงการและเข้าไปใชป้ ระโยชนใ์ นสวนปาุ ฯ ตลอดจนเผยแพร่ความรใู้ ห้แก่ประชาชนท่ัวไป
3) วทิ ยาลยั มีศนู ย์เรยี นรู้พันธุไ์ ม้หอม ทผ่ี ู้เรียน ครู บคุ ลากรทางการศึกษาทงั้ หมดและประชาชนท่ัวไป
สามารถเขา้ ไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ อยา่ งน้อย 1 แห่ง
6.2. เชิงคุณภาพ

1) ผลิตเอกสารเผยแพร่ความรใู้ ห้แก่ ผเู้ รยี น ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษาท้ังหมดและประชาชนทว่ั ไป
2) ผเู้ รียน ครู บุคลากรทางการศึกษาทัง้ หมดและประชาชนผู้ที่สนใจเขา้ ร่วมโครงการ เขา้ ใชแ้ ละได้รับ
ประโยชนใ์ นการเข้าไปศึกษาหาความรเู้ ก่ียวกับพันธ์ุไมห้ อมและพนั ธุไ์ มใ้ นสวนปุาฯ
3) วทิ ยาลยั มีศูนย์ศึกษาพันธ์ุไมห้ อม พนั ธ์ุไม้ในส่วนปาุ และพันธไุ์ ม้ในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพชื อนั
เน่อื งจากพระราชดารฯิ ภายในบริเวณสวนปาุ เฉลิมพระเกียรติสมเดจ็ พระนางเจ้าสิรกิ ิติ์ฯ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี

247

ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ในด้านต่าง ๆ ไดย้ ง่ั ยนื
7. ตวั ชี้วัด

7.1. เชงิ ปรมิ าณ
1. ผลิตเอกสารเผยแพรจ่ านวน 1,000 ชุด
2. ผู้เรียน ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษาทง้ั หมดจานวน 451 คน หนว่ ยงานในทอ้ งถิ่นและประชาชนทั่วไปเข้าร่วม

โครงการและเข้าไปใช้ประโยชน์ในสวนปุาฯ ตลอดจนเผยแพร่ความรใู้ ห้แก่ประชาชนทว่ั ไป
3. วทิ ยาลัยจดั ตั้งศูนยเ์ รียนรพู้ ันธไุ์ ม้หอมเพ่ือการศกึ ษาสาหรับผู้เรียน ครู บุคลากรทางการศกึ ษา เกษตรกรและ

ประชาชนท่ัวไป สามารถเขา้ ไปใช้ประโยชน์ได้ 1 แหง่
7.2. เชิงคุณภาพ

1. ผลิตเอกสารเผยแพร่ความรู้ให้แก่ ผเู้ รียน ครู บุคลากรทางการศกึ ษาทั้งหมดและประชาชนทว่ั ไป

2. ผเู้ รียน ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษาทั้งหมดและประชาชนผู้ทส่ี นใจเข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความสามารถเขา้
ใชไ้ ปใชป้ ระโยชน์ในการเข้าไปศึกษาหาความรเู้ กีย่ วกับพันธ์ุไมห้ อมและพันธ์ุไม้ในสวนปุาฯ

3. วทิ ยาลัยมีศูนย์ศึกษาพนั ธ์ุไม้หอม พนั ธ์ุไม้สีม่วงและพนั ธ์ุไมต้ า่ งๆ ในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพชื อนั เนื่องจาก
พระราชดารฯิ ภายในบรเิ วณสวนปาุ เฉลิมพระเกยี รติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกติ ์ิฯ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศนู ย์ศิลปา
ชพี บาไทร สามารถนาไปใชป้ ระโยชนใ์ นดา้ นต่าง ๆ ได้ย่ังยืน
8. สถานทดี่ าเนินการ

สวนปุาเฉลิมพระเกยี รตสิ มเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ฯิ ศูนย์ศลิ ปาชพี บางไทรและพ้ืนท่บี รเิ วณ
ภายในวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยศี นู ย์ศิลปาชีพบางไทร
9. ระยะเวลาดาเนินการ(ระบวุ ันท่/ี เดือน/ปี พ.ศ.)

1 ก.ย. 2562 – ต.ค. 2563

10. แผนการดาเนนิ งาน

กจิ กรรม ปงี บประมาณ 2563 หมายเหตุ

ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

กิจรรมที่ 1 สารวจพื้นที่

ปลูกพันธ์ไุ ม้หอมภายใน

บรเิ วณสวนปาุ ฯ

กจิ กรรมที่ 2 จดั ทาศนู ย์
ศึกษาเรยี นรู้พันธุไ์ ม้
หอมภายในสวนปาุ ฯ

248

กิจกรรม ปีงบประมาณ 2563 หมายเหตุ

ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

กจิ กรรมที่ 3 อบรม

สง่ เสริมเผยแพรค่ วามรู้

ด้านการเพาะขยายพนั ธุ์

ไมห้ อมและการนาพนั ธุ์

ไม้หอมมาใชป้ ระโยชน์

กิจกรรมท่ี 4 ให้บริการ
เข้าเยีย่ มชมศนู ย์ศกึ ษา
เรียนรู้

11. งบประมาณคา่ ใชจ้ ่าย

งบประมาณค่าใช้จ่ายรวมทง้ั สิ้น 20,000 บาท ( สองหม่นื บาทถว้ น )

12. การตดิ ตามประเมนิ ผล
1. สงั เกตพฤติกรรมการทางานของผ้เู รยี น (แบบสังเกต)
2. ประเมนิ การปฏิบัตงิ านของผ้เู รยี น (แบบประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ าน)
3. ประเมนิ ผลงานของผเู้ รียน (แบบประเมินผลงาน)

4. ประเมินความพงึ พอใจผู้ใชบ้ ริการ (แบบประเมินความพึงพอใจ)
13. ผลทคี่ าดวา่ จะได้รบั

1. ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการเกดิ จิตสานึกในการรักษาทรัพยากรปุาไม้และนาไปใช้ให้เกดิ ประโยชนส์ งู สุด
2. สร้างศนู ย์เรยี นรเู้ พอ่ื เป็นแหล่งศกึ ษาพันธไุ์ มห้ อมใหผ้ เู้ ข้าร่วมโครงการและประชาชนท่ัวไปไดเ้ ข้ามาศึกษาหาความรู้

คน้ ควา้ วจิ ัยทดลองและใช้ประโยชนใ์ นดา้ นตา่ ง ๆ
3. ผู้เขา้ ร่วมโครงการมคี วามรู้และทักษะในการตกแต่งพื้นที่ด้วยการปลกู พันธ์ุไม้หอม การนาพันธ์ไมห้ อมมาใช้

ประโยชนด์ ้านอาหาร ด้านสมนุ ไพรและศึกษาประโยชนแ์ ละโทษของพันธ์ุไม้ ภายในศูนยศ์ กึ ษาเรียนรพู้ นั ธ์ุไมห้ อม

สวนปุาเฉลมิ พระเกยี รติสมเด็จพระนางเจ้าสริ ิกิต์ิฯ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี ูนย์ศิลปาชีพบางไทร

249

แบบเสนอโครงการ ประจาปีงบประมาณ 2563
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศลิ ปาชีพบางไทร
สถาบันการการอาชีวศึกษาภาคกลาง สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

1. ชือ่ โครงการ โครงการเสริมสรา้ งจิตสานึกและความรใู้ นการผลติ และบริโภคทีเ่ ปน็ มติ รกบั ส่ิงแวดลอ้ ม
2. ผรู้ ับผิดชอบโครงการ

2.1. หลัก : งานอาคารสถานท,ี่ งานกิจการนกั เรียนนกั ศึกษา
: ฝาุ ยบรหิ ารทรพั ยากร ฝุายพฒั นากิจการนักเรยี นนักศกึ ษา

2.2. รอง : (ชอ่ื ผรู้ ับผิดชอบ/แผนกวิชา/งาน) : นางสาวรพีพร ทองยิ่ง, นางพัชรี โตประเสริฐ
3. ความสอดคลอ้ ง/เชอื่ มโยง/ภายใต้ยทุ ธศาสตร์ นโยบายและมาตรการ

 นโยบายชาติ
 นโยบายสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

: ด้านการสรา้ งการเตบิ โตบนคุณภาพชีวิตท่เี ปน็ มติ รกับสงิ่ แวดลอ้ ม
 นโยบายประกันคุณภาพภายใน/ภายนอก

: 3.4 ระดับคุณภาพในการจัดกจิ กรรมเสรมิ หลักสูตร
 นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ
4. หลักการและเหตุผล

ตามท่ีสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีนโยบายให้สถานศึกษาในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการ
อาชวี ศึกษา จดั ทาโครงการเสริมสรา้ งจติ สานึกและความรใู้ นการผลิตและบริโภคท่เี ป็นมิตรกับส่งิ แวดลอ้ ม เพื่อให้ชุมชนและ
สังคมมีสว่ นร่วมในการส่งเสริมคณุ ภาพส่งิ แวดลอ้ ม ตลอดจนเปน็ แหล่งบม่ เพาะการพัฒนานวัตกรรมช่างฝีมือและเทคโนโลยี
ท่ีสาคัญของนักเรียน นักศึกษา ซึ่งลักษณะของโครงการประกอบด้วยการประกวดส่ิงประดิษฐ์จากการนาขยะมูลฝอย
กลบั มาใช้ประโยชน์ รวมท้ังการจัดสรา้ งแหล่งเรียนรูใ้ นการบริหารจดั การขยะอยา่ งถกู ตอ้ ง สถานศกึ ษาจัดการเรียนการสอน
กิจกรรม เกี่ยวกับการบริหารจัดการขยะมูลฝอย เพ่ือพัฒนาจิตสานึกความรับผิดชอบต่อสังคม และเพื่อเป็นการสนอง
นโยบายดังกล่าวให้เกิดเป็นรูปธรรมและมีประสิทธิผล งานอาคารสถานท่ีและงานกิจกรรมนักเรียน นักศึกษา จึงได้จัดทา
โครงการเสริมสร้างจิตสานกึ และความรู้ในการผลิตและบริโภคทเ่ี ปน็ มิตรกับสง่ิ แวดล้อม
5. วัตถุประสงค์

5.1 เพือ่ พัฒนาจติ สานึกความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คมให้แกน่ ักเรียน นกั ศึกษา
5.2 เพ่ือส่งเสรมิ ใหม้ ีการจัดการเรียนการสอน การบริหารจดั การขยะมูลฝอย แบบบรู ณาการใน

หลกั สตู รรายวชิ าหรอื กิจกรรม
5.3 เพ่ือส่งเสริมใหน้ ักเรยี น นักศึกษา พัฒนาส่งิ ประดิษฐจ์ ากการนาขยะมลู ฝอยกลับมาใชป้ ระโยชน์

250

5.4 เพือ่ พัฒนาสถานศึกษาต้นแบบในการบริหารจัดการขยะมลู ฝอย ใหเ้ ป็นแหลง่ เรยี นรกู้ ารบริหาร

จัดการขยะมลู ฝอยอยา่ งถูกวธิ ี

6. วิธดี าเนินการ

6.1 จดั ทาศนู ย์บรกิ ารความรู้เพอ่ื เผยแพรค่ วามรู้ เก่ียวกบั การบรหิ ารจัดการขยะมลู ฝอยไปยงั

นกั เรยี น นกั ศึกษา

6.2 จัดกิจกรรมประกวดส่ิงประดษิ ฐจ์ ากการนาขยะมลู ฝอยกลบั มาใช้ประโยชน์

6.3 สร้างแหล่งเรยี นรูใ้ นการบริหารจัดการขยะมูลฝอยอยา่ งถูกต้อง

6.4 จัดทาถังขัดแยกขยะรีไซเคลิ

7. ระยะเวลาดาเนนิ การ

ดาเนินการปงี บประมาณ 2563 (เดือนตลุ าคม 2562– กันยายน 2563)

8. งบประมาณดาเนนิ การ

: งบประมาณ 100,000 บาท

8.1 คา่ ประชาสมั พันธ์ 5,000 บาท

8.2 ค่าวัสดุสรา้ งแหล่งเรียนรู้ในการบริหารจดั การขยะมูลฝอย 50,000 บาท

8.3 ค่าจดั กจิ กรรมและศึกษาดงู าน 15,000 บาท

8.4 คา่ วัสดุจัดกจิ กรรมประกวดสิ่งประดิษฐ์ฯ 30,000 บาท

รวมเปน็ เงนิ ทง้ั สนิ้ 100,000 บาท

9. ผลทค่ี าดว่าจะได้รับ

10.1 นกั เรียน นักศึกษา มีจิตรสานกึ ในการรักษาสิ่งแวดล้อม

10.2 นกั เรยี น นกั ศึกษา มคี วามรู้ และสามารถบรหิ ารจัดการขยะมลู ฝอยได้ถูกวธิ ี

10.3 นกั เรียน นกั ศึกษา สามารถคดิ ค้นพฒั นาส่งิ ประดษิ ฐจ์ ากการนาขยะมลู ฝอยกลับมาใชป้ ระโยชน์

10.4 มีแหล่งเรียนรู้ในการบริหารจัดการขยะมลู ฝอยท่เี ป็นประโยชนต์ ่อชมุ ชน

10. ผลผลิต/ผลลัพธ์

10.1 ผลผลติ

10.1.1 นกั เรยี น นักศกึ ษา ไดร้ ับความรูเ้ ร่อื งการบริหารจดั การขยะมูลฝอย

10.1.2 สถานศกึ ษาเป็นแหลง่ เรียนรใู้ นการบรหิ ารจัดการขยะมลู ฝอย และแหลง่ คิดคน้ พฒั นาส่งิ ประดษิ ฐ์จาก

การนาขยะมลู ฝอยกลบั มาใช้ประโยชน์

10.2 ผลลพั ธ์

10.2.1 นักเรียน นกั ศกึ ษา วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยศี ูนยศ์ ิลปาชีพบางไทรเป็นพลเมืองทส่ี มบรู ณม์ ี

หน้าทร่ี ับผดิ ชอบตอ่ ชุมชนและสังคมในการสง่ เสรมิ คณุ ภาพสงิ่ แวดล้อม ตรงกบั แนวทางคุณลกั ษณะที่สาคัญ และ

จาเปน็ สาหรบั ผเู้ รยี นในศตวรรษที่ 21

251

10.2.2 นักเรียน นักศึกษา วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีศนู ยศ์ ลิ ปาชีพบางไทรมีความรูค้ วามสามารถในการ
บรหิ ารจดั การขยะมลู ฝอยตามมาตรฐานการจดั การขยะมลู ฝอยและส่ิงปฏกิ ลู
11. ตัวชวี้ ัด
11.1 เชงิ ปริมาณ

11.1.1 นกั เรียน นกั ศึกษา วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยศี ูนยศ์ ิลปาชีพบางไทร ไมน่ ้อยกวา่ 300 คน ไดร้ บั
ความรเู้ รือ่ งการบรหิ ารจดั การขยะมลู ฝอย

11.1.2 มีแหล่งเรียนรูใ้ นการบรหิ ารจดั การขยะมูลฝอยสาหรับนกั เรยี น นกั ศกึ ษา และประชาชนทวั่ ไป 2
แหง่

11.1.3 มีจานวนส่ิงประดษิ ฐ์จากการนาขยะมูลฝอยกลับมาใชป้ ระโยชนไ์ ม่นอ้ ยกว่า 20 ช้ิน
11.2 เชิงคุณภาพ

11.2.1 นักเรียน นกั ศึกษา วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยศี นู ย์ศลิ ปาชีพบางไทร มีความร้ใู นการบริหาร
จดั การขยะมูลฝอยตามมาตรฐานการจดั การขยะมูลฝอย 3R

11.2.2 นกั เรียน นักศกึ ษา วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีศนู ย์ศิลปาชีพบางไทร สามารถคิดคน้ พัฒนา
สิง่ ประดษิ ฐ์จากการนาขยะมูลฝอยกลับมาใชป้ ระโยชน์ทีใ่ ชง้ านไดจ้ ริง

252

แบบเสนอโครงการ ประจาปีงบประมาณ 2563
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศนู ย์ศลิ ปาชีพบางไทร
สถาบนั การการอาชีวศกึ ษาภาคกลาง สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

1. ชื่อโครงการ “ธรรมาภบิ าล สกู่ ล้าคุณธรรมน้อมนาเศรษฐกจิ พอเพียง เทิดไท้องคร์ าชนั ย์ องคร์ าชนิ ี”
2. ผรู้ ับผิดชอบโครงการ

2.1. หลัก : งานกิจการนักเรียนนกั ศกึ ษา : ฝุายพัฒนากจิ การนักเรียนนกั ศึกษา : ฝุายแผนงานและความรว่ มมอื
2.2. รอง : (ชอื่ ผู้รับผิดชอบ/แผนกวชิ า/งาน) : นายปฏญิ ญา คอนเพ็ง, นางกฤติกา ลกั ษโณสุรางค์

นักเรียน นกั ศึกษา
คณะกรรมการดาเนนิ งาน อกท. หน่วยบางไทร
3. ความสอดคลอ้ ง/เชือ่ มโยง/ภายใต้ยุทธศาสตร์ นโยบายและมาตรการ
 นโยบายชาติ
 นโยบายสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
: ดา้ นการสร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ิตท่เี ปน็ มิตรกบั สง่ิ แวดล้อม
 นโยบายประกนั คุณภาพภายใน/ภายนอก
: 3.4 ระดับคุณภาพในการจัดกจิ กรรมเสริมหลักสูตร
 นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ
4. ยทุ ธศาสตรช์ าติ ดา้ นการปรับสมดุล และพฒั นาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ
5. ระยะเวลาดาเนนิ งาน วันท่ี 15 พฤษภาคม 2563 ถึง 30 มถิ ุนายน 2563
6. สถานท่ีดาเนนิ งาน หอประชมุ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศนู ย์ศลิ ปาชพี บางไทร และสถานปฎิบัติธรรม
7. หลักการและเหตุผล
การพัฒนาจติ ใจ ปลกู ฝงั และสง่ เสริมคุณธรรมจริยธรรม เป็นปัจจยั สาคัญ ในการพฒั นาคน สังคม และประเทศชาติ
ซงึ่ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีศูนย์ศิลปาชีพบางไทร สังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปิดสอนเยาวชนใน
ระดับช้ันประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) และช้ันประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.) ถือเป็นเยาวชนวัยรุ่นท่ีควรได้รับการ
เสริมสร้างพัฒนาคุณภาพชีวิตท่ีดี เป่ียมด้วยคุณธรรมจริยธรรม รวมท้ังการสร้างความเข้มแข็งในการเอาชนะยาเสพติด
ตระหนักในปัญหา ยาเสพติด การกล้าคิด กล้าทาดีให้เป็นที่ประจักษ์ต่อสังคม ทางงานกิจกรรมนักเรียน นักศึกษา เห็นว่า
การทางานร่วมกับ กองบัญชาการกองทัพไทยและเครือข่ายเพ่ือนๆ คุณธรรม เป็นแนวทางที่จะพัฒนา ปลูกฝัง เสริมสร้าง
คุณธรรมกล้าแผ่นดิน โดยการน้อมนาเอาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดาเนินชีวิต มีส่วนร่วมในการปูองกันและ
แก้ไขปัญหายาเสพติด รวมท้ังปัญหาสังคมต่างๆ และเน่ืองในวโรกาสครบรอบ ๘๗ พรรษา ของพระบาทสมเด็จพระ

253

เจา้ อยู่หัวฯ ภมู พิ ลอดุลยเดช ในวันท่ี ๕ ธันวาคม ๒๕๕๗ และวโรกาสครบรอบ ๘๒ พรรษา ของสมเด็จพระรางเจ้าสิริกิต์ิฯ
พระบรมราชนิ นี าถ ในวนั ที่ ๑๒ สงิ หาคม ๒๕๕๗ เพื่อเป็นการเทดิ พระเกยี รติ จึงขอเสนอโครงการ ฯ ดังกลา่ ว
8. วตั ถุประสงค์

1. เพื่อเป็นการเสรมิ สร้าง พฒั นาธรรมาภบิ าลแก่ผ้เู รยี น
2. เพ่ือรว่ มเทดิ พระเกยี รตใิ นวโรกาสเฉลมิ พระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว ฯ
3. เพือ่ เปน็ การพฒั นาคณุ ภาพชีวิตทดี่ ีแก่ผูเ้ รยี น
4. เพ่อื เปน็ การนอ้ มนาปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง มาส่กู ารปฏบิ ตั ใิ นชีวติ ประจาวัน
5. เพอ่ื เสรมิ สรา้ งทศั นคติทด่ี ตี ่อวิชาชีพ
6. เพอื่ เสรมิ สร้างชีวติ ใหม้ ความเข้มแขง็ สามารถดาเนนิ ชวี ติ ในสังคมได้อยา่ งเปน็ สุข และย่ังยนื
9. เป้าหมาย
ดา้ นปรมิ าณ
1. สมาชิก รว่ มกิจกรรมอย่างน้อย 90% ของสมาชกิ ทั้งหมด
2. ครูเข้าร่วมกจิ กรรมอย่างน้อย 80 % ของท้ังหมด
ดา้ นคณุ ภาพ
1. นักเรียน นักศึกษาที่เขา้ รว่ มโครงการไดร้ บั การเสรมิ สรา้ งพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยมกี ารดาเนินชวี ิตอย่างมี
คุณธรรม จริยธรรม ภายใตห้ ลักธรรมาภิบาล ประพฤตติ นในทางที่ถูกที่ควรเปน็ กลา้ พนั ธ์ทด่ี ีงามของสังคม และเกิด
จติ สานกึ ทดี่ ตี ่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
2. นักเรียน นักศึกษา สามารถดาเนินชวี ติ อยใู่ นสงั คมไดอ้ ย่างมีคุณภาพ มีความสขุ แบบย่ังยนื
10. การดาเนินงาน
วธิ กี ารดาเนินงาน
1. ประชมุ คณะกรรมการดาเนนิ งาน
2. จัดทาโครงการเพื่อเสนอพิจารณาอนมุ ัติ
3. ประชาสมั พันธก์ จิ กรรมโครงการ
4. จัดเตรียมสถานทีแ่ ละวสั ดุ
5. ปฎิบัติงานตามโครงการ

- กจิ กรรม “ธรรมาภบิ าลสูน่ อ้ งพีเ่ พื่อชวี ีเป็นสขุ อยา่ งย่ังยืน และพอเพยี ง”
- กิจกรรม “อบรมธรรมะเพอื่ พัฒนาคุณภาพชีวติ ให้มีความสขุ และย่ังยนื ”
6. สรปุ และประเมินผลการดาเนินงานโครงการ
7. รายงานผลการดาเนนิ กิจกรรม

254

แผนการดาเนนิ งาน

แผนการดาเนนิ งาน โครงการ “ธรรมาภบิ าล สู่กลา้ คณุ ธรรมน้อมนาเศรษฐกจิ พอเพียง เทิดไท้องคร์ าชันย์ องค์ราชินี”

ขัน้ ตอนการดาเนนิ งาน พฤษภาคม 2563 มิถนุ ายน 2563

1 2 3 4 12 3 4

1. ประชมุ คณะกรรมการดาเนนิ งาน

2. จัดทาโครงการเพือ่ เสนอ

พิจารณาอนมุ ัติ

3. ประชาสมั พันธก์ ิจกรรมโครงการ

4. จดั เตรียมสถานที่และวัสดุ

5. ปฎิบัตงิ านตามโครงการ

6. สรุปและประเมินผล

การดาเนนิ กจิ กรรม

7. รายงานผลการดาเนนิ กจิ กรรม

11. งบประมาณ

ท่ี รายการ จานวน ราคา/หนว่ ย จานวนเงนิ
10,000 บาท
1 กจิ กรรม “ธรรมาภบิ าลสนู่ อ้ งพ่ีเพ่ือชวี ีเป็นสขุ อย่าง
ยัง่ ยืน และพอเพียง” 10,000 บาท

2 กจิ กรรม “อบรมธรรมะเพื่อพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ให้มี 20,000 บาท
ความสขุ และยัง่ ยนื ”

รวม

12. แหล่งงบประมาณ  เงนิ บารุง อกท.
 งบประมาณของวิทยาลัยฯ
 อ่นื ๆ (โครงการธรรมาภิบาลในสถานศึกษา)

13. ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ บั
1. นักเรยี น นักศกึ ษา มีแนวทางดาเนินชีวติ ทด่ี ขี นึ้
2. นักเรยี น นักศึกษา ไดร้ ับการพฒั นาคุณธรรมจริยธรรม
3. นกั เรยี น นักศึกษา ไดน้ ้อมนาปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ้ นการดาเนินชวี ติ ประจาวัน
4. นักเรียน นกั ศึกษา เกิดจติ สานกึ ท่ีดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษตั ริย์

255

14. ปัญหาและอุปสรรค
1. สภาพภมู อิ ากาศไมเ่ อ้ืออานวยอาจมีฝนตก

15. การตดิ ตามและประเมนิ ผล
1. แบบสอบถาม
2. การถอดบทเรยี น
3. การสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมทากิจกรรม

16. ข้อเสนอแนะ
1. ควรปฏิบัตกิ จิ กรรมในสถานท่ีมิดชิดตลอดการดาเนนิ กจิ กรรม เพ่อื ความสะดวกในการร่วมกจิ กรรมของสมาชกิ

256

แบบเสนอโครงการ ประจาปีงบประมาณ 2563
วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี นู ย์ศิลปาชีพบางไทร
สถาบนั การการอาชีวศึกษาภาคกลาง สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

1. ชือ่ โครงการ ร่วมใจต้านภัยยาเสพติดในสถานศึกษาและชมุ ชน (สถานศึกษาสขี าว)

2. ผรู้ ับผิดชอบโครงการ

2.1. หลัก : งานกิจการนักเรียนนักศึกษา : ฝุายพฒั นากิจการนักเรียนนักศึกษา : ฝาุ ยแผนงานและความร่วมมอื

2.2. รอง : (ช่อื ผ้รู บั ผดิ ชอบ/แผนกวิชา/งาน) : นายปฏญิ ญา คอนเพ็ง หัวหนา้ งานกิจกรรม

นางกฤติกา ลกั ษโณสรุ างค์ ครูทีป่ รกึ ษา อกท.

นายจริ ะพงค์ ลกั ษโณสุรางค์ หัวหน้างานปกครอง

คณะกรรมการดาเนินงาน อกท.หนว่ ยบางไทร

นางประภาพร สายขนุ เลขานกุ ารงานปกครอง

นางสาวสุภมาศ ผิวบาง ประจางานกิจกรรมนกั เรียนนกั ศกึ ษา

3. ที่ปรกึ ษาโครงการ : นายรักส่ี เตชะผลประสทิ ธิ์ รองผู้อานวยการฝาุ ยพฒั นากิจการนักเรียน นกั ศึกษา

: นางสาวศิริเพ็ญ คุ้มทุกข์ รองอานวยการฝาุ ยแผนงานและความร่วมมือ

4. ความสอดคลอ้ ง/เชื่อมโยง/ภายใตย้ ุทธศาสตร์ นโยบายและมาตรการ

 นโยบายชาติ

 นโยบายสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

: ดา้ นการสร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชีวติ ท่เี ป็นมิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม

 นโยบายประกนั คุณภาพภายใน/ภายนอก

: 3.4 ระดับคุณภาพในการจัดกจิ กรรมเสรมิ หลักสูตร

 นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ

4. ยทุ ธศาสตร์ชาติ ด้านความมั่นคง

5. ระยะเวลาดาเนนิ งาน ระหว่างวนั ที่ 15 สงิ หาคม 2563 ถึง วันท่ี 13 กนั ยายน 2563

6. สถานท่ดี าเนินงาน วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยศี ูนยศ์ ิลปาชีพบางไทร หน่วยงานอืน่ ๆ ทเี่ กี่ยวข้อง

และชมุ ชนใกลเ้ คียง

7. หลกั การและเหตุผล

เยาวชน คืออนาคตของชาติ ปัจจุบันสังคมไทยกาลังประสบปัญหาวิกฤต จากสถานการณ์ปัญหายาเสพติดที่ได้

เร่ิมแพร่ระบาดและกาลังทวีความรุนแรงมากขึ้นอย่างน่าวิตก การหวนกลับมาระบาดอย่างหนักของยาเสพติดในปัจจุบัน

เป็นผลให้เยาวชน หลงผิดเข้าสู่วงจรของการซื้อขายและเสพยาเสพติดเพิ่มมากข้ึน ซึ่งเป็นอุปสรรคสาคัญในการพัฒนา

257

ประเทศ และเปน็ การทาลายทรัพยากรบคุ คลซ่ึงเป็นอนาคตและเป็นพลังในการพัฒนาประเทศให้ด้อยคุณภาพ อันจะส่งผล
กระทบต่อความมัน่ คงของชาติ และเปน็ ภาระงบประมาณของประเทศในการบาบัดรักษาผู้ปุวยที่เกิดจากการเสพยาเสพติด
อีกทั้งยังเป็นปัญหาท่ีสร้างความรู้สึกสะเทือนใจและเจ็บปวดให้กับพ่อแม่ผู้ปกครอง และปัญหายาเสพติดได้นามาซ่ึงความ
รุนแรงในครอบครัวและอาชญากรรมต่างๆในสังคม เช่น การลักขโมย ฉกชิงว่ิงราวและการก่อปัญหาอาชญากรรมอ่ืน ๆ
ตามมาอีกมากมาย ซึ่งทาให้มีผลกระทบต่อสังคมโดยรวม โดยรัฐได้มีนโยบายในการแก้ไขปัญหายาเสพติดตาม
ยุทธศาสตร์ ๕ รั้วปูองกันคือ ๑. รั้วชายแดน ๒. รั้วชุมชน ๓. รั้วสังคม ๔. ร้ัวครอบครัว และ ๕. รั้วโรงเรียน ซึ่งจากทั้ง ๕
ร้ัวปูองกันนี้ จะเห็นได้ว่า รั้วชุมชนและรั้วโรงเรียน เป็นยุทธศาสตร์ท่ีรัฐบาลให้ความสาคัญเป็นอย่างย่ิง เน่ืองจากเป็น
รากฐานและเป็นทรัพยากรท่ีสาคัญในการพัฒนาประเทศ งานกิจกรรม นักเรียน นักศึกษา และมหาจุฬาลงกรณ์ราช
วทิ ยาลยั ไดต้ ระหนักถงึ ปัญหาดงั กล่าว และเหน็ ว่าทุกภาคส่วนของสังคมควรมีบทบาทในการแก้ปัญหาร่วมกัน ไม่ปล่อยให้
การแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นหน้าท่ีของหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่ง ซึ่งจะทาให้ปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติด
รุนแรงข้นึ เรอื่ ยๆ จงึ ได้จัดทาโครงการปูองกันและแกไ้ ขปัญหายาเสพติด ในสถานศึกษา ข้ึน เพื่อเป็นการสนองต่อนโยบาย
ของรฐั ในการนาสงั คมไทยไปส่สู ังคมทพ่ี ึงปรารถนา คือ สังคมอยู่เย็นเป็นสขุ ร่วมกนั
8. วัตถปุ ระสงค์

1. เพ่อื ให้เยาวชน นกั เรียน นักศกึ ษา ไดร้ บั รู้และรับทราบถงึ ปัญหาและพษิ ภยั ของยาเสพตดิ
2. เพอ่ื สร้างผู้นาเยาวชนในการตอ่ ต้านและปอู งกนั การแพร่ระบาดของยาเสพตดิ ในสถานศึกษา และชุมชน
3. เพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ทักษะทางความคิด สร้างภูมคิ มุ้ กนั ทางดา้ นร่างกายจติ ใจให้กับเยาวชน ไม่ตกเป็นทาส
ของอบายมุขดว้ ยวถิ ีพุทธ
4. เพื่อสนบั สนนุ นโยบายของรัฐบาลและร่วมแก้ปญั หายาเสพติดในชมุ ชนอยา่ งเปน็ รูปธรรม
9. เป้าหมาย
เชิงปริมาณ

1. มคี รเู ข้าร่วมกจิ กรรมอย่างน้อย 70 %
2. มีสมาชกิ เข้ารว่ มกิจกรรมอยา่ งน้อย 90 %
3. มวี ิทยากรใหค้ วามรู้อย่างน้อย 3 คน
เชิงคณุ ภาพ
1. ผู้เข้าอบรมไดต้ ระหนักเกีย่ วกับโทษภยั ของยาเสพติดและรู้จักวธิ ีการปูองกนั ใหห้ า่ งไกลจากยาเสพตดิ
2. ผเู้ ขา้ อบรมมีพฤติกรรมไมเ่ ก่ยี วขอ้ งกับยาเสพตดิ สามารถปฏบิ ัตติ นในแนวทางที่ถูกตอ้ งเหมาะสม

ตามหลกั ธรรมแหง่ พุทธศาสนา และเป็นแบบอยา่ งทดี่ ีแก่ผู้อ่นื ทง้ั ในชุมชนและสงั คม
3. สมาชิกท่เี ข้ารว่ มกจิ กรรมสามารถดาเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อยา่ งมีความสขุ แบบยงั่ ยืน

258

10. การดาเนินงาน

วธิ ีการดาเนินงาน

1. ประชุมคณะกรรมการดาเนนิ งาน

2. จัดทาโครงการเพ่อื เสนอพิจารณาอนุมัติ

3. ประชาสัมพันธ์กจิ กรรมโครงการ

4. จดั เตรยี มสถานทแ่ี ละวสั ดุ

5. ปฎบิ ตั งิ านตามโครงการ (อบรมต่อตา้ นยาเสพตดิ )

6. สรุปและประเมนิ ผลการดาเนินงานโครงการ

7. รายงานผลการดาเนินกจิ กรรม

แผนการดาเนนิ งาน

แผนการดาเนนิ งาน โครงการ “รว่ มใจต่อตา้ นภัยยาเสพติดในสถานศกึ ษาและชมุ ชน (สถานศกึ ษาสขี าว)”

ขน้ั ตอนการดาเนินงาน สงิ หาคม 2563 กันยายน 2563

1 2 3 451234 5

1. ประชมุ คณะกรรมการดาเนินงาน

2. จัดทาโครงการเพื่อเสนอ

พจิ ารณาอนุมตั ิ

3. ประชาสมั พันธ์กิจกรรม

โครงการ

4. จัดเตรยี มสถานที่และวสั ดุ

5. ปฎิบตั ิงานตามโครงการ

๖. สรปุ และประเมินผลการ

ดาเนินกิจกรรม

๗. รายงานผลการดาเนนิ กิจกรรม

11. งบประมาณ จานวน ราคา/หน่วย จานวนเงนิ
250 คน 25 บาท 6,250 บาท
ที่ รายการ 1 แผ่น 1,000 บาท
1 คา่ อาหารวา่ ง 1 มือ้ 4 คน 1,000 บาท 6,000 บาท
2 คา่ ไวนลิ 2 * 3 เมตร 500 บาท 4,950 บาท
3 คา่ วิทยากร คนละ 3 ชม. 18,200 บาท
4 ค่าวัสดุ อุปกรณ์

รวม

259


Click to View FlipBook Version