The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สารคุณภาพ ปีที่ 16 || ฉบับที่ 1
ประจำเดือน มี.ค. 65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by KM-KSP, 2022-03-24 21:35:18

สารคุณภาพ 16-1

สารคุณภาพ ปีที่ 16 || ฉบับที่ 1
ประจำเดือน มี.ค. 65

สวสั ดีท่านผู้อ่านทกุ ทา่ น ตอนนป้ี ระเทศเราก็ไดเ้ ขา้ สูห่ นา้ รอ้ นกนั แล้ว แต่ก็ยังมีฝน
ตกบา้ งประปราย ระวังสุขภาพกนั ด้วยนะครับ ด้วยความปรารถนาดีจะคณะกรรมการ KM สาร
คณุ ภาพฉบับนี้เราไดน้ าควันหลงของงานมหกรรมคุณภาพ โรงพยาบาลค่ายสรรพสิทธิประสงค์
คร้ังท่ี 15 มาให้ทุกท่านได้อ่าน เพ่ือเป็นแรงจูงใจในการพัฒนาคุณภาพของหน่วยงาน และ
องค์กร มุ่งสู่การเป็นโรงพยาบาลท่ีได้รับการรับรองคุณภาพระดับ Advance HA ภายในปีนี้
นอกจากควันหลงจากงานมหกรรมคุณภาพแล้ว เรายังได้มีบทความท่ีได้รับการรังสรรค์จาก
บุคลากรในโรงพยาบาล เพ่ือถ่ายทอดเรื่องราวดีๆ ท่ีเกิดขึ้นในโรงพยาบาลของเรา ให้ทุกท่าน
ได้รับรู้ รับทราบ และเป็นแรงบันดาลใจในการให้บริการผู้ป่วยต่อไป ซ่ึงบทความท่ีได้รับการ
คดั เลือกมาในสารคณุ ภาพฉบบั นี้ กย็ งั คงอยใู่ นเร่อื งของการให้บริการผู้ปว่ ยโควดิ -19 ทง้ั จากใน
สว่ นห้องผา่ ตัด และห้องคลอด รวมถึงยังมีความรเู้ รอ่ื งของผลกระทบของโรคโควิด-19 และเรอ่ื ง
ท่ียังคงเป็นกระแสอย่างวคั ซีนโควิด-19 ในเดก็ อีกด้วย

นอกจากความรู้เรื่องการพัฒนาคุณภาพแล้ว เรายังเอาใจ สายมูด้วย KSP
Horoscope เปิดดวงชะตา เสริมดวงวันเกิด ในฉบับนี้เราได้นาเคล็ดลับการเลือกกระเป๋า
สตางคร์ ับทรพั ย์ มาให้ทุกทา่ นได้นาไปใช้ เพื่อให้ปังปูริเย่กันไปตามๆกัน ทั้งผู้อ่าน และผู้เขียน
หวงั ว่าคอนเทนต์ KSP Horoscope จะถกู ใจผอู้ า่ นสายมูทกุ คนกนั นะครับ

ในท้ายเลม่ จะมี QR code รว่ มตอบคาถามและโหวตบทความในเลม่ ที่ประทับใจ
เพ่อื ชิงรางวลั ทง้ั ผู้อา่ น และผู้เขียน ขอแรงผู้อ่านทุกท่านร่วมกัน Vote เข้ามากันเยอะๆ นะครับ
แลว้ เดี๋ยวเรามาลุ้นกันว่าบทความเรื่องใดจะได้เป็น Popular vote ประจาสารคุณภาพฉบับน้ี
และท่านผู้อ่านคนไหนสนใจเขียนบทความส่งสารคุณภาพ เพ่ือชิงรางวัล สามารถร่วมส่ง
บทความมายงั คณะกรรมการ KM ได้นะครบั

สุดท้ายนผ้ี มขอบอกทา่ นผู้อา่ นทกุ ทา่ นว่า “หน้ารอ้ นใหไ้ ปทะเล แตถ่ า้ อยากมรี กั ที่
ไม่โลเล....ใหเ้ ซมาหาหมอนะครบั ” รกั ษาสขุ ภาพกันดวั ยครบั

สวสั ดคี รับ

Dr.JiMiKo

วฒั นธรรมองค์กรทจ่ี บั ต้องได้

หลายคร้ังที่เวลาเราพูดถึงวัฒนธรรมองค์กร มันมักจะเป็นหัวข้อที่จับต้องได้ยาก
เน่ืองจากวัฒนธรรมองค์กรน้ันเป็นการปฏิสัมพันธ์กันระหว่างผู้คนท่ีทางานร่วมกัน ทาให้
มนั เปน็ หวั ขอ้ ทีเ่ ต็มไปดว้ ยตวั แปรมนุษย์ทีห่ ลากหลาย และซับซ้อน ซ่ึงทาใหห้ ลาย ๆ ครั้งท่ี
เราพยายามพัฒนาวฒั นธรรมองค์กรมนั ก็กลายเป็นเรื่องยากท่ไี มร่ จู้ ะเรมิ่ ต้นอย่างไร

วิธีหน่ึงท่ีอาจจะช่วยให้เราสามารถมองเห็น และเข้าใจปัญหาจริงของวัฒนธรรม
องค์กรเราได้มากข้ึน คือการอาศัยมุมมองของการตัดสาเหตุของความยุ่งเหยิงเหล่านี้ไป
แล้วมองดูปัจจยั ทางดา้ นโครงสรา้ ง และระบบขององค์กรเปน็ หลกั โดยหลัก ๆ แล้วมีอยู่ 3
สิง่ ท่ีควรมอง ไดแ้ ก่

1 Onboarding Process

ตรวจสอบใหด้ ีวา่ กระบวนการ Onboarding ขององคก์ รมกี าร
ส่อื สารในดา้ นวฒั นธรรมองค์กรมากนอ้ ยแคไ่ หน?

กระบวนการ Onboarding ช่วยใหพ้ นักงานเขา้ ใจไหม?

กระบวนการ Onboarding ช่วยใหพ้ นักงานปรบั ตวั
เขา้ กบั วัฒนธรรมองค์กรของเราไดด้ ีแคไ่ หน?

2 Evaluation System

ตอกยา้ ถึงความสาคญั ของวฒั นธรรมองคก์ รไปยงั วิถีการ
ทางานในทกุ ๆ วนั

ส่อื สารความคาดหวังอย่างสม่าเสมอ

การสรา้ งระบบทีช่ ว่ ยให้พนกั งานทาพฤติกรรมที่คาดหวงั ได้
อยา่ งตอ่ เนื่องหรือระบบการวดั ประเมนิ (Evaluation System)

3 Incentive Program

กระต้นุ ให้พนกั งานมีความ 'อยาก' ที่จะทาพฤตกิ รรมเหลา่ น้นั เอง
การทาใหพ้ นักงานร้วู ่าพวกเขาจะไดอ้ ะไรบางอย่างจากวฒั นธรรม
องค์กร
การสรา้ งระบบการให้รางวัลกบั พนักงาน(Reward & Recognition)

สร้างโปรแกรม Incentive Program

ที่มา : A Cup of Culture สารคณุ ภาพ ปีท่ี 16 ฉบับที่ 1 || หน้า 1

ภาวะผู้นาการเปลีย่ นแปลง

(Transformation Leadership)

ภาวะผู้นาการเปลีย่ นแปลง เป็นกระบวนการทีผ่ นู้ ามอี ทิ ธิพลตอ่ ผรู้ ่วมงานและผู้ตาม

โดยเปล่ียนแปลงความพยายามของผู้ร่วมงานและผู้ตามให้สูงขึ้นกว่าความพยายามที่คาดหวัง
พัฒนาความสามารถของผู้ร่วมงานและผู้ตามไปสู่ระดับที่สูงขึ้นและศักยภาพมากขึ้น ทาให้เกิด
การตระหนักรูใ้ นภารกิจและวิสยั ทัศนข์ องทีมและขององคก์ าร จงู ใจใหผ้ ู้ร่วมงานและผู้ตามมองให้
ไกลเกินกว่าความสนใจของพวกเขาไปสู่ประโยชน์ของกลุ่มองค์การหรือสังคม ซ่ึงกระบวนการท่ี
ผู้นามีอิทธิพลต่อผู้ร่วมงานหรือผู้ตามนี้จะกระทาโดยผ่านองค์ประกอบเฉพาะ 4 ประการ หรือที่
เรยี กว่า “4I’s” (Four I’s) คือ

เป็นนักสร้างแรงบันดาลใจ แรงบันดาลใจเป็นแรง กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ ผู้นากระตุ้นให้ทุกคนกล้า
ขับเคลื่อนองค์กรให้เดินต่อไปข้างหน้า ผู้นาต้อง คิดนอกกรอบ กระหายอยากเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ เพ่ือให้
เชื่อม่ันในความเป็นไปได้ และส่งต่อพลังบวกให้กับ ก่อเกิดนวัตกรรมที่จะผลักดันองค์กรให้ก้าวไป
คนในทีม ผู้นามีหน้าทจ่ี ดุ แรงบันดาลใจให้ทุกคนรับรู้ ข้างหน้า การท่ีผู้นาเปิดใจกว้าง กล้าลองส่ิงใหม่
ว่างานทท่ี าอยู่มีคุณค่า และจูงใจให้ทุกคนร่วมมือกัน ยอมรบั แนวคดิ ใหม่ๆ และสนับสนุนให้ทุกคนสนุกกับ
จนบรรลุเปา้ หมาย การเรยี นรู้ จะทาใหอ้ งคก์ รไม่หยดุ นงิ่ อยกู่ ับที่

เปน็ แบบอย่างทด่ี ี ผู้นาต้องทาตัวเป็นไอดอล เข้าใจความเป็นปัจเจกบุคคล หน้าท่ีหน่ึงของผู้นา
เป็นแบบอย่างที่ดี คนอื่นเคารพและเช่ือถือ คอื put the right man in the right job หากไม่
ผู้นาคล้ายๆ แม่เป็ดท่ีหากหัวแถวเดินเบี้ยว รู้จักแต่ละคนในทีมดีพอ ไม่รู้ทักษะ พรสวรรค์
หางแถวยอ่ มเดินคดไปคดมาไม่ตรงทาง ลักษณะนิสัย หรือความชอบ ไม่มีทางจับคู่คนได้
เหมาะกับงาน ผู้นาจึงต้องช่วยดึงศักยภาพของแต่
ทม่ี า : www.gotoknow.org ละคนออกมา และร้วู ่าควรพูดกบั แตล่ ะคนแบบไหน
www.schoolofchangemakers.com
สารคุณภาพ ปีที่ 16 ฉบับที่ 1 || หน้า 2

(After Action Review-AAR)

การทบทวนหลังปฏิบัติงาน (After Action Review : AAR) หมายถึง
เครื่องมือท่ีนามาใช้ในกระบวนการทางาน เพ่ือทบทวนวิธีการทางานท้ังด้านความสาเร็จ
และปญั หาทเี่ กดิ ขึน้ ท้งั นี้ไมใ่ ช่การคน้ หาคนทที่ าผิดพลาดไม่ใชก่ ารกล่าวโทษ แต่เป็นการ
ทบทวนเพื่อร่วมกันสะท้อน และทบทวนกระบวนการต่าง ๆ นาบทเรียนที่ได้จาก
ความสาเร็จและปัญหาท่ีเกิดขึ้น มาจัดทาและพัฒนากระบวนการทางานให้มี
ประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ลมากข้ึน โดยมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทางาน แบ่ง
วธิ ีการเปน็ 2 ลักษณะ คือ การทา AAR สาหรับผู้ร่วมกิจกรรม และการทา AAR สาหรับ
ผู้จัดกจิ กรรม

• การทา AAR สาหรับผู้รว่ มกจิ กรรม เพือ่ สะทอ้ นความสาเร็จ ปัญหา อปุ สรรค และส่ิง
ท่ีผู้ร่วมกิจกรรมได้เรียนรู้ โดยใช้ 6 คาถาม หลังจากนั้นผู้จัดกิจกรรมจะรวบรวม
ข้อมูลท่ีได้จากผู้ร่วมกิจกรรมไปพัฒนาปรับปรุงกระบวนการจัดกิจกรรมให้มี
ประสิทธิภาพยงิ่ ขึ้น

• การทา AAR สาหรับผู้จัดกิจกรรม เพ่ือสะท้อนการจัดกิจกรรมแต่ละครั้ง ให้เห็นทุก
กระบวนการ ต้ังแต่ก่อน ระหว่าง และหลังจัดกิจกรรม ทาให้ทีมงานเกิดการเรียนรู้
ร่วมกันว่า อะไรคือส่ิงท่ีพัฒนาได้ดี อะไรคือปัญหาอุปสรรค และสรุปแนวทาง
แก้ปญั หาร่วมกนั เพ่ือจดั ทาเปน็ แนวทาง/ขั้นตอน ของการทากิจกรรมครั้งต่อไป หรือ
เรยี นร้ตู ่อยอดไปท่ีกิจกรรมอืน่ ๆ

ทม่ี า : คุณภาพย่อยงา่ ย , www2.si.mahidol.ac.th สารคุณภาพ ปีที่ 16 ฉบับท่ี 1 || หน้า 3

ดวงตาเปรยี บเสมือนดวงใจและชวี ติ

เพราะดวงตา เม่ือดวงตามปี ญั หา การมองเห็นพร่ามัว หรือ มืด
ไม่ใชแ่ คด่ วงใจ บอด หนทางและโอกาสในชีวิตก็จะน้อยลง ข้อจากัดใน
การใช้ชีวิตก็จะเพิ่มข้ึน หรือพูดรวมๆ ว่าคุณภาพชีวิตจะ
แตย่ งั เป็น แย่ลง ดังน้ันการดูแลใส่ใจดวงตาก็คือการดูแลใส่ใจทั้ง
แสงสวา่ งของชวี ติ
ชีวิตและอนาคตของตัวเอง ผู้ป่วยที่มารับการรักษา
ปัญหาเก่ียวกับการมองเห็น เช่น ตาพร่ามัว มองเห็นจุด
ดาลอยไปมา หนังตาตก เห็นภาพบิดเบย้ี ว เปน็ ตน้

ส่วนใหญ่จะเป็นผู้ป่วยผู้สูงอายุ ร้อยละ80 ในส่วนผู้ป่วยท่ีมีอายุน้อยๆ ส่วนมากจะมาด้วย
เร่ืองตาเกิดอุบัติเหตุ เป็นต้น แต่ในสาระสาคัญ ท่ีจะมาแบ่งปันความรู้ ความรู้สึกดีๆ ที่
ผู้ป่วยได้รับ หลังจากการรักษา(ตาพร่ามัว)ได้กลับมามีความสุขในการใช้ชีวิต อีกคร้ังคือ
ผ้ปู ่วยสูงอายทุ ไ่ี ด้รบั การรกั ษาผ่าตัดต้อกระจก

ขอยกตัวอยา่ ง ผ้ปู ่วยหญงิ สงู อายุท่านหนึ่งทไี่ ดร้ บั การรักษาผ่าตดั ต้อกระจก (ขอเรียก
แทนนามว่าคุณยายนะคะ) วันท่ีคุณยายมาหาคุณหมอจักษุ (พ.นิพนธ์) ในเรื่องตาพร่ามัว
มาเป็นระยะเวลา 2 ปี ไม่เคยได้รับการรักษาที่ไหนมาก่อนไม่เคยไปปรึกษาแพทย์ใดๆเลย
เน่ืองจากไม่มีความรู้ในเรื่องตาพร่ามัว และคิดว่าอาจเป็นเพราะอายุมากคงไม่มีทางแก้ไข
หรือรักษาได้ลูกหลานอยู่ต่างจังหวดั ไม่สามารถมคี นให้คาปรึกษาได้ แต่วันน้ันลูกหลานได้

ไปเย่ยี มคณุ ยายทีบ่ ้านเลยไดร้ ู้ว่าคุณยายมอี าการตาพร่ามวั ท้ัง 2 ข้าง เลยพาคุณยายมาพบ
คุณหมอจักษุ เพราะได้ยินช่ือเสียงว่าคุณหมอตา ท่ี รพ.ค่ายฯ เก่งมากใครมาก็รักษาให้
มองเห็นไดท้ ุกคน (นคี่ อื คาบอกเล่าจากคณุ ยาย)

วันท่ีคุณยายมาถึง ห้องตรวจตา จนท. ก็
ได้ซักถามอาการที่คุณยายมาหาคุณหมอและได้พา
คุณยายเข้ากระบวนการ เข้าเครื่องตรวจวัดสายตา
ต่างๆและรอเข้าพบคุณหมอ คุณยายมีอาการรู้สึก

กลัวและกงั วลโดยเห็นได้ชดั พอถึงเวลาพบคุณหมอ
คณุ หมอไดว้ นิ จิ ฉัยวา่ คณุ ยายเป็นต้อกระจกต้องได้รับ
การรักษาคือการผ่าตัดอย่างเดียว คาตอบแรกคุณ
ยายบอกว่ากลัว ไม่ผ่า คุณหมอเลยให้พยาบาลให้
ความรูเ้ พมิ่ เติม เร่อื งการผ่าตดั ตอ้ กระจก สรุปว่าคุณ

ยายได้ตัดสินใจนัดผ่าตัดต้อกระจกในวันนั้น ได้ทา
เอกสารต่างเรียบร้อย และ จนท. ได้แนะนาการ
ปฏิบัติตัวก่อนผา่ ตัด

สารคณุ ภาพ ปที ี่ 16 ฉบับท่ี 1 || หนา้ 4

ดวงตาเปรยี บเสมือนดวงใจและชวี ติ

วันจันทร์ที่ 24 ม.ค. 65 เป็นวันที่คุณยายนัด
มาผา่ ตดั ตอ้ กระจกในเวลาชว่ งเชา้ คณุ ยายได้เข้าตรวจกับ
คุณหมออกี รอบ แลว้ นาเอกสารขึ้นหอผู้ป่วยเพื่อเตรียมตัว
เข้าห้องผ่าตัดในช่วงบ่าย เม่ือผ่าตัดเสร็จแล้วคุณยายได้
นอนพักดูอาการหลังผ่าตัด 1 คืน เช้าวนั อังคาร หอผู้ป่วย
ไดส้ ่งคณุ ยายมาตรวจหลังผ่าตัดอกี รอบก่อนกลับบา้ น ดู
จากรอยย้ิม สีหน้า และความดีใจของคุณยายกับการที่คุณยายกลับมามองเห็นชัดมากข้ึน
กว่าเดิม ทาให้คุณยายได้มคี าพดู ออกมาวา่

“ขอบคณุ คณุ หมอและเจา้ หนา้ ท่ี ทมี่ อบดวงตาใหม่ใหก้ บั ยาย คณุ หมอ
มือเบามากไมม่ คี วามรสู้ กึ เจบ็ เลย และ เหมือนยายไดก้ ลบั มาเปน็ สาวอกี ครงั้ ”

ทกุ คนรวมทงั้ ญาติที่อยบู่ ริเวณห้องตรวจได้ยินทาให้มีรอยยิ้มและเสียงหัวเราะไปตาม ๆ กัน
และคุณยายได้แจ้งคุณหมอว่าขอผ่าอีกข้างเลยได้ไหม เพราะจะได้มองเห็นเหมือนข้างท่ีผ่า
ไปแลว้

ความรู้สึกดีใจของคุณยายทาให้ดิฉัน
ไ ด้ เ ห็ น ว่ า ก า ร ดู แ ล แ ล ะ ก า ร ใ ห้ ค ว า ม รู้ ที่
ถูกต้องเข้าใจและได้รับการรักษาจึงทาให้
ผลลัพธ์ออกมาดีมีความสุขทั้งผู้มารับการ
รักษา ผู้รักษาและเจ้าหน้าท่ีที่เกี่ยวข้องตรง
กับคาท่ีว่า “ดวงตาเปรียบเสมือนดวงใจและ
ชวี ิต”

น.ส.ศริ ินนั ท์ บารุง
พนักงานช่วยการพยาบาล

(แผนก OPD จกั ษุ )

สารคุณภาพ ปีที่ 16 ฉบบั ท่ี 1 || หนา้ 5

ทมี เล็ก

MAKE BIG THING

“คณุ หมอ มารดาต้งั ครรภท์ ี่ 3 คลอดปกติ 2 คร้งั อายคุ รรภค์ รบไม่มีอาการผิดปกติลูกดน้ิ ดี
ไม่เจ็บครรภเ์ ลย 10 เดือนเตม็ ไมม่ ภี าวะเส่ยี งระหว่างท้องแตต่ รวจ ATK ผลเป็นบวก ติดจากสามี”
เสียงใสของน้องพยาบาลแจง้ ในใจคดิ วา่ ไมม่ ีปญั หา เรามีระบบส่งตอ่ และบริบทโรงพยาบาลเราท่ียัง
ไม่พร้อมการทาคลอด ชว่ งนี้หอ้ งผา่ ตดั ซ่อมปรับปรุง และยังไม่มีระบบแรงดันลบ ช่วงรอผล PCR ยัง
มเี วลาพูดคุยแนวทางการรกั ษา ถามไถอ่ าการมารดาต้งั ครรภ์ และประสานการส่งตอ่

ตามข้อตกลงในจังหวดั ปัจจุบันใหโ้ รงพยาบาลท่ีมีสูตินรีแพทย์ทาคลอดมารดาตั้งครรภ์เอง
ตามบริบทโรงพยาบาลไม่รับการส่งต่อ คาท่ีได้จากการโทรประสานงานเองของแพทย์ต่อแพทย์
โรงพยาบาลแมข่ ่าย พรอ้ มผล PCR แจง้ ว่าตดิ เชอื้ จรงิ

ความไม่พร้อมแต่ต้องทา ระดมความคิดในทีมรักษาที่เกี่ยวข้องห้องผ่าตัด ทีมดมยา ห้อง
คลอด ตึกรับผปู้ ่วย ภายใต้การดูแลของพยาบาล IC ที่มุ่งม่ัน ทีมต้องปรับแผนจากการเคยฝึกซ้อม
สถานการณ์สมมตุ ิ มาเปน็ เหตกุ ารณ์จริงในสถานการณ์จากัด แนวทางใหม่จัดได้ใน 1 ชั่วโมง การ
รวมพลเพ่ือเตรียมสถานที่ อุปกรณ์ชุด Full PPE สาหรับทีมงาน 6 คน 2 ชั่วโมง ของการระดมพล
คนหน้างาน ส่ิงที่เห็นคือความกระตือรือร้น ความเอื้อเฟ้ือช่วยเหลือซึ่งกัน ทางานเป็นทีม เป็นส่ิงท่ี
ทาจากใจ ใชจ่ ากส่งั การ

ชุด Full PPE ทฝี่ กึ ซ้อมใส่และเมือ่ ใช้งานจริงมีความแตกต่างทุกคนต้องปรับตัวเข้ากับ
ชุด เพื่อให้การผ่าตัดราบร่ืน ปลอดภัยทั้งมารดา บุตร และทีมงาน 2 ชั่วโมงของการอยู่ในชุดใหม่
การหายใจแบบใหม่การเคลื่อนไหวระหว่างผ่าตัดใหม่ เวลาผ่านไปเท่าไหร่เราไม่รู้ แต่รู้ว่าเหง่ือท่ี
ไหลผา่ นรอ่ งหลังลงไปไมข่ าด การผา่ ตดั ผ่านไปไดด้ ้วยดี ราบรื่น มารดาและบุตรปลอดภัย ส่งแยก
กลบั ตึกตามแนวทางทวี่ างไว้

ณ ชั่วโมงที่ 5 ทีมงานห้องผ่าตดั ยังอยู่ เพราะทาความสะอาดชดุ หรอื อุปกรณ์ยงั ไม่เสร็จ
ส้ิน เหนือ่ ยไหมใช่เหน่ือย เห็นความท้ออ่อนล้าไหม ไม่เห็น ผลลัพธ์ผลงานของทีมเล็ก Make big
thing มารดากลบั บ้านปลอดภยั ไมม่ ีภาวะแทรกซ้อนทัง้ โรคและการผ่าตดั บุตรปลอดภัยไม่ติดเชื้อ
สง่ิ ท่ีเกิดทาให้เราเห็นว่า Motto โรงพยาบาลคุณธรรมของเราไม่ใชก่ ารเรยี นเพอ่ื ความสวยหรู ดูงาน
แตแ่ ต่เร่ิมแทรกซึมไปในส่วนต่างๆขององค์กรของเรา

“ซื่อสตั ย์ สามคั คี มคี วามรบั ผดิ ชอบ จิตอาสา”

ทีมหอ้ งผา่ ตดั

สารคุณภาพ ปีที่ 16 ฉบับท่ี 1 || หน้า 6

มากกวา่ หนา้ ท่ี

คือ“หัวใจ”

“คุณแม่ครับ คณุ แม่ครับ” ลกู ชายตัวน้อย
วิ่งมาพรอ้ มโทรศัพทม์ ือถือ “ห้องคลอดโทรมาครับ”
ฉนั วางมือจากจานทีก่ าลังลา้ ง เชด็ มอื ลวกๆแล้วรบี
กดรับสาย “พี่ คุณแม่ท้องสามทีเ่ ปน็ โควิด รพ.ใหญ่
ไม่รับ refer นะ คุณหมอจะ set ผ่าตัดวันศุกร์ จะอยู่ถึงเหรอ” น้าเสียงปลายสายมีความ
กังวล ตอบน้องกลับไปเพียงว่า “ขอพ่ีคิดและปรึกษากับคุณหมอก่อนนะ อยู่กับปัจจุบัน
ทางานของเราวันน้ีให้เต็มที่ ก็พอ” และวางสายไป หน้าจอมือถือ แจ้งเตือนนัดหมาย

‘11.00 น. ไปทาบุญวันมาฆบูชากับหน่มุ น้อย’ ดทู ่าแมต่ ้องผดิ นดั กับเด็กชายตัวน้อยเสียแลว้

...
นึกย้อนกลับไปเมื่อเดือนก่อน ฉันก็ได้รับสายจากน้อง หน.ตึกโควิด ‘พี่ คุณหมอจะ

รับคุณแม่ท้องสาม อายุครรภ์ 37 สัปดาห์กว่าๆ เข้ามานอน ที่ตึกหนู ทีมหนูไม่พร้อม จะ
ดูแลได้อย่างไร นอกจากแม่ที่ติดเชื้อยังมีลูก 11 ขวบ 5 ขวบ พ่วงมาด้วย’ ได้บอกน้องว่า
‘ต้งั สติ เรามาช่วยกันคิดและวางแผน’ ทีมห้องคลอด ทีมตึกโควิด ฝ่ายการพยาบาล สูตินรี
แพทย์ ไดร้ ว่ มกันวางแผนดูแลหญิงต้ังครรภ์รายนี้และครอบครัว ให้ความรู้ทีมที่ดูแล เตรียม
ความพร้อมทีมสาหรับการคลอด เตรียมความพร้อมคุณแม่ต้ังครรภ์ การติดตามประเมิน
อาการทีเ่ ข้าสูร่ ะยะคลอด ในใจตมุ้ ๆต่อมๆกับความเสย่ี งท่ีเราแบกรบั อยู่ หลายคนอาจสงสัย
วา่ เรากลัวอะไร กลัวการทาคลอดคุณแม่ท่ีติดเช้ือโควิดเหรอ?? ค่ะยอมรับว่าเรากังวล และ
ที่กังวลที่สุดคือภาวะผิดปกติท่ีจะเกิดข้ึนได้ระหว่างการคลอดเช่น fetal distress ,
prolapse cord คลอดติดไหล่ฯ ภาวะแทรกซ้อนเหล่านี้อันตรายกับลูกน้อยในครรภ์
จาเปน็ ตอ้ งผ่าตดั ดว่ น แตเ่ ราไมพ่ ร้อม หอ้ งผา่ ตดั จาเปน็ ตอ้ งใชเ้ วลาเตรยี มความพร้อม ราวๆ
1 ชม. การประสานส่งต่อก็ใช้เวลา 1 ชม.เช่นกัน แต่ชีวิตลูกในครรภ์รอนานขนาดนั้นไม่ได้
บีบหัวใจเหลือเกิน ในเม่ือเราหลีกเลี่ยงการรับผู้ป่วยกลุ่มน้ีไม่ได้ เราก็ต้องเตรียมความ
พร้อมทีมใหด้ ที ี่สดุ ใหร้ ดั กุมทส่ี ุด ดีที่สดุ ตามบริบททเ่ี ราจะทาได้ 10 วนั ผ่านไปไมไ่ วเลย แต่
เราก็ผา่ นไปไดอ้ ย่างสวยงาม คุณแมร่ ายน้ีกลับมาคลอดอยา่ งปลอดภยั

สารคุณภาพ ปีที่ 16 ฉบบั ที่ 1 || หน้า 7

มากกวา่ หนา้ ที่ คือ“หัวใจ”

ตู้ดดด เสียงโทรศัพท์ในมือปลุกจากภวังค์ “พ่ี รู้ข่าวยังคุณแม่ท้องสามท่ีเป็นโควิด
รพ.ใหญ่ไม่รับ refer นะ คุณหมอจะ set ผ่าตัดวันศุกร์ จะอยู่ถึงเหรอ ได้ข่าวว่าเมื่อวัน
อาทิตย์ ปากมดลกู เปิด 2 ซม.แลว้ ” คราวนเ้ี ป็น หน.ตึกโควิด น้าเสียงร้อนรนไม่แพ้สายแรก
ทโี่ ทรมา ถามนอ้ งกลบั ไปว่า “เอาวนั นเ้ี ลยไหม จะวันนี้หรือวันศุกร์ บทสรุปคือผ่าตัดเช่นกัน
เมื่อเป้าหมายเราชัดไม่จาเป็นต้องรอ ขอประสานแพทย์และห้องผ่าตัดก่อนนะ” การ
ประสานงานเปน็ ไปอย่างราบรื่น วางโทรศัพท์ลง “ คุณแม่ครับกินแซนวิชกับนมก่อนนะค่อย
ออกไป ยงั พอจะมเี วลาอย่ใู ช่ไหม” อดไมไ่ ดท้ จ่ี ะดึงเจ้าตัวน้อยเข้ามาโอบกอด บอกลูกเบาๆ
ว่า วันหลังแม่ชดเชยให้นะ…

เกือบเที่ยง ห้องคลอดมีมารดาทารก
แรกคลอดรอย้าย ประสานตึกพิเศษมารับ
ย้ายหญิงตั้งครรภ์ท่ีกาลังเบ่งคลอดเข้าไป
คลอด ใหแ้ ม่บา้ นจัดเตรียมสถานท่ีตามแผน
ประสานงานเตรียมความพรอ้ มร่วมกับตึกโค
วิด ห้องผ่าตัด กุมารแพทย์ และแพทย์เวรใน
หลังทีมห้องคลอดทาคลอดเสร็จ ทบทวน
แผนดูแลทารกที่คลอดจากมารดาท่ีติดเช้ือ
โควดิ -19 ทุกคนแยกยา้ ยทาตามหน้าที่ ทไี่ ด้
รับมอบหมายตามแผน ตรวจสอบความพร้อม ทุกจุดพร้อม ทีมรับทารก หน.ห้องคลอด
ผชู้ ่วยพยาบาลและแพทยเ์ วรใน พยาบาลหอ้ งคลอด เตรียมความพร้อมกรณีต้องการความ
ชว่ ยเหลือฉกุ เฉนิ และดแู ลทารกต่อเน่อื ง

สารคุณภาพ ปีที่ 16 ฉบบั ท่ี 1 || หนา้ 8

มากกว่าหน้าที่ คอื “หวั ใจ”

เวลาที่ทุกคนรอคอยก็มาถึง นาทีที่ได้ยิน
เสยี งร้องของทารก หนูร้องเสียงดังมากค่ะลูก ฉัน
สบตากับคุณหมอท่ีรอรับทารก ฉันเห็นประกาย
ตาและมั่นใจว่ามีรอยย้ิมของคุณหมอซ่อนอยู่
ภายใต้หน้ากากนั้น ฉันเองก็ย้ิมอย่างโล่งใจ
ผู้ช่วยพยาบาลส่งสัญญาณให้ออกไปรับเด็ก เด็ก
น้อยตัวอวบอ้วนแข็งแรงดี ‘ต้าวอ้วนอยู่กับป้า
ก่อนนะ คุณแมห่ นปู ว่ ย คุณพ่อหนูก็ป่วย พ่ีๆหนูก็
ป่วย เจ้าโควิดมันร้าย ป้าจะดูแลหนูเอง’ ทารก
ได้รับการดูแลแรกคลอดตามมาตรฐาน และส่ง
ต่อให้ทีมห้องคลอดดูแลทารกน้อยต่อไป แม้ว่า
เร่ิมแรกทุกคนจะดูเคร่งเครียด ผ่านไปไม่นาน
ฉันก็ได้เห็นรอยย้ิมของทีมงาน แพ้ทางเจ้าหนู
นอ้ ยแลว้ ซนิ ะ
หลังเสร็จภารกิจ หยิบโทรศัพท์มาดู miss call 3 สาย และข้อความ Line จากลูก
ชายสุดท่ีรัก กดส่งข้อความกลับไป ‘แม่กาลังกลับครับ’ ก่อนกลับบอกน้องว่า ถ่ายรูปต้าว
อว้ นไวเ้ ยอะๆนะ คณุ พ่อคุณแม่เขาคงอยากเห็น เป็นไปตามคาด ส่ิงแรกท่ีคุณแม่ถามหาเมื่อ
ต่ืนลืมตาท่ีห้องพักตึกโควิด ‘ลูกเป็นอย่างไรบ้าง อยากเห็นลูก’ เราได้ส่งภาพทารกน้อยที่
ได้รับการดูแลใน incubator ภาพท่ีเต็มไปด้วยความรักและอ้อมกอดท่ีอบอุ่นของป้าๆ
นา้ ๆ ขอใหค้ ุณพ่อและคณุ แม่วางใจ... 3 วนั หลังจากนน้ั หนูน้อยได้รบั การดูแลและตรวจโค
วิด ตามมาตรฐาน ผลการตรวจหนูน้อยแข็งแรงดี เราได้คืนหนูน้อยกลับสู่อ้อมกอดของ
ครอบครัวอยา่ งปลอดภัย
‘การทาคลอด เหมือนการเปิดกล่องของขวัญ เราจะเปิดกล่องนี้อย่างไร ให้ของขวัญ
ข้างในไม่บอบชา้ ไม่เสียหายคือสิ่งที่เราให้ความสาคัญและใส่ใจ ทุกวิกฤติมีโอกาส ขอให้
ทุกคนเปิดใจ เรยี นรแู้ ละรว่ มพัฒนา’ เพราะ

“ลกู คือความรัก คือความฝัน คอื ความหวงั
คอื ของขวญั ชนิ้ สาคญั ของครอบครวั ”

จากใจสาวหอ้ งคลอด

สารคณุ ภาพ ปที ี่ 16 ฉบับที่ 1 || หน้า 9



ผลกระทบ COVID-19

ในเดก็ เล็ก

มสิ ซี (MIS-C)

(Multisystem Inflammatory Syndrome)

กล่มุ อาการอักเสบในหลายระบบ
ของรา่ งกายเด็กทม่ี กั พบ

หลงั ติดเชอ้ื โควิด 2-8สัปดาห์
เกิดจากการตอบสนองของภมู คิ มุ้ กัน
ตอ่ ไวรัสที่มากเกนิ ทาใหห้ ลายระบบ

ในร่างกายผดิ ปกติ

• พบไดใ้ นเด็กทุกกลมุ่ อายุ ประมาณ 0.02% ของผู้ป่วยเดก็ ที่เปน็ โควิด
• อาการ ไข้เกิน 38 องศาเซลเซียสนานกว่า 24 ชว่ั โมง

มีอาการรนุ แรงหลายระบบ เชน่ อาจมีผ่นื ตาแดง ปากแดง มือเท้าบวม
อาเจยี น ปวดทอ้ ง ถ่ายเหลว และอาจช็อกจากหวั ใจอกั เสบ สง่ ผลให้เสยี ชีวิตได้

• การฉีดวคั ซีนช่วยลดความเส่ยี งได้

สารคณุ ภาพ ปีท่ี 16 ฉบับท่ี 1 || หน้า 11

วคั ซีน การติดเช้ือโควิด-19 ในเด็กแม้จะมีความรุนแรงน้อย แต่
เด็กก็จาเป็นต้องได้รับวัคซีน เพื่ อเป็นการป้องกันและ
COVID-19 ควบคุมการระบาดให้น้อยลง การฉีดวัคซีนจะเป็นตัวช่วย
สาคัญทาใหก้ ารใช้ชวี ติ ของทกุ คนกลับมาปกติดงั เดิม
ในเดก็

ผลขา้ งเคยี งของวคั ซนี ป้องกนั โควดิ -19 ในเดก็ อายุ 5-11 ปี

มอี าการรนุ แรงหลงั ฉีดวัคซนี น้อยกวา่ วัยรนุ่ หรือวัยผูใ้ หญ่
ส่วนมากมีผลขา้ งเคียงเพยี งเลก็ น้อย เช่น ปวดบริเวณทฉี่ ดี วคั ซนี มีไข้ อาจมอี าการ
หนาวส่นั ปวดขอ้ และกล้ามเน้ือ อาการเหล่านีม้ กั จะดขี ้ึนภายใน 24-48 ชม.
บางคนก็ไมม่ ผี ลข้างเคียงใดๆ
ส่วนอาการกลา้ มเน้ือหัวใจอักเสบ จากการศึกษาพบว่ามีน้อยมาก โดยใน
เด็กผหู้ ญงิ พบเพียง 2 คนในล้านคน ในเดก็ ผูช้ ายพบเพียง 4 คนในลา้ นคน เท่านั้น

การเตรยี มกอ่ นไปฉีดวคั ซนี โควดิ -19

เตรียมรา่ งกายให้แขง็ แรง
ทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
ด่ืมนา้ และพักผอ่ นใหเ้ พยี งพออย่างนอ้ ย 8 ชม. กอ่ นมารบั วัคซีน
สามารถฉีดพร้อมวคั ซีนตวั อน่ื ๆ ได้ ไมต่ ้องเวน้ ระยะ
เดก็ ท่เี คยติดโควดิ -19 แล้ว สามารถใหก้ ระตุ้นวัคซีนโควิด-19 ได้
หลงั จากหายเปน็ ปกติแล้ว 1 เดอื น

เด็กเล็กหลังฉีดวัคซนี โควดิ
ผปู้ กครองควรเฝา้ ระวงั เรือ่ งต่อไปนี้

มีไข้ ซึม กินอาหารลดลง หายใจเร็ว หวั ใจเตน้ เรว็
เจบ็ แน่นหน้าออก หอบเหนื่อย ซี่โครงบมุ๋
เดก็ ทีม่ ีโรคประจาตัว เชน่ โรคอ้วน โรคหัวใจ โรคปอด เบาหวาน ภมู คิ ุ้มกนั บกพร่อง
โรคทางพันธกุ รรม เชน่ ดาวน์ซินโดรม มีโอกาสปว่ ยรุนแรง
เด็กเล็กอายตุ า่ กว่า 1 ปี มีโอกาสปอดอักเสบงา่ ยกวา่ เดก็ โต

ท่มี า : พญ. ภัสสร (รพ.สมติ ิเวช) สารคุณภาพ ปีที่ 16 ฉบบั ท่ี 1 || หน้า 12

การออกกาลงั กาย
ในสถานการณ์ COVID-19

เพิ่มการทางานของระบบภมู คิ มุ้ กนั ช่วยลดภาวะของโรคเรื้อรังทอี่ าจทาให้
และลดการอักเสบจนสามารถ เกดิ ความรนุ แรงของ COVID-19 ได้
ลดความรุนแรงของการติดเช้อื ได้ เชน่ โรคหัวใจและหลอดเลือด เบาหวาน
เปน็ ต้น
เป็นเครือ่ งมอื ในการจัดการ
ความเครยี ดทีด่ ี โดยลดอาการ ชว่ ยรักษาสมดลุ ของระดบั คอร์ตซิ อูล
วติ กกงั วล และภาวะซึมเศรา้ ได้
เนอื่ งจากความเครียดและความทกุ ข์ท่เี กดิ ขึ้น
ระหว่างสถานการณก์ ารแพร่ระบาดข่วง COVID
ทาใหเ้ กิดความไม่สมดลุ ของระดับคอร์ติซอล
และสง่ ผลทางลบตอ่ การทางานของระบบภมู ิ
คุ้มกนั และการอกั เสบได้

ออกกาลงั กายอย่างไรใหป้ ลอดภยั

งดออกกาลังกาย เวน้ ระยะห่างเมือ่ ออกกาลังกายกลางแจง้
หากมีไข้ ไอ หรอื หายใจลาบาก สวมหนา้ กากอนามยั และล้างมือใหถ้ กู วิธี

(อาการของ COVID-19) ท้ังก่อนและหลังออกกาลังกาย

หากยังไมค่ ุน้ เคยกบั การออกกาลงั กาย เพ่ื อลดความเสีย่ งตอ่ การบาดเจ็บ
ใหเ้ รม่ิ อยา่ งชา้ ๆ เลอื กกจิ กรรมทเ่ี หมาะสม

ดว้ ยกิจกรรมทางกายที่มคี วามหนักนอ้ ย ความหนักของการออกกาลงั กาย
ควรตรงกบั ระดับสขุ ภาพของตนเอง

ปริมาณการออกกาลงั กายทเ่ี หมาะสม

ทม่ี า : สมาคมกายภาพบาบัด แหง่ ประเทศไทย สารคณุ ภาพ ปที ่ี 16 ฉบบั ท่ี 1 || หนา้ 13

งานมหกรรมคุณภาพคร้งั ที่ 15
KSP Quality ก้าวสู่วถิ ี New Normal

วันที่ 8 มีนาคม พ.ศ.2565 เวลา 09.00 น. ศูนย์พัฒนาคุณภาพ
โรงพยาบาลคา่ ยสรรพสิทธิประสงค์ ได้จัด งานมหกรรมคุณภาพครั้งท่ี 15 "KSP
Quality" ก้าวสู่วิถี New Normal ประจาปี 2565 จัดขึ้นในวันท่ี 8-11
มีนาคม พ.ศ.2565 ในงานมีการจัดแสดงนิทรรศการกิจกรรมต่างๆมากมายมา
นาเสนอ เพ่อื ใหบ้ ุคลากรทกุ คนมคี วามตนื่ ตวั สนใจกระตุ้นในการพัฒนากจิ กรรม
พัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง โดยมี พ.อ.สายชล สิงห์ทน ผอ.รพ.ค่ายฯ เป็น
ประธาน ณ บริเวณห้องประชุมสายสวุ รรณ และหอ้ งโถง ตึกอานวยการช้ัน 1

สารคุณภาพ ปีที่ 16 ฉบับที่ 1 || หน้า 14

รวมภาพแหง่ ความประทับใจในสถานการณ์ COVID-19
และการใช้ชวี ติ วถิ ีใหม่ (New Normal)

รวมความหว่ งใย ตา้ นภยั Covid-19 จากสถานการณ์ Covid-19 ทาให้แผนก สสวป
รพ.ค่ายฯ ได้ปฏิบัติงานด้านการป้องกันและควบคุมโรค
มากยิ่งข้ึน ท้ังในหน่วยทหารและในชุมชน กระบวนการ
ท า ง า น เ ร่ิ ม ตั้ ง แ ต่ ก า ร เ ส ริ ม ส ร้ า ง ภู มิ คุ้ ม กั น โ ด ย ก า ร
ให้บริการวัคซีนป้องกัน Covid-19 ในชุมชน ในกลุ่ม
ผู้สูงอายุ และผู้ป่วยติดเตียง การค้นหาและควบคุมโรค
ตรวจ ATK ในกลุ่มเส่ียงท่ีไม่สามารถเข้ารับการตรวจคัด
กรองได้ ผู้สูงอายุติดเตียง เด็กเล็ก เป็นการให้บริการท่ี
ครอบคลุมทุกกลุ่ม ทาให้เห็นว่า โรงพยาบาลทหารของ
เรา ให้ความสาคัญกับประชาชนไม่น้อยไปกว่ากาลังพล
เพราะเราเปน็ หน่ึงในศูนย์กลางด้านสุขภาพท้ังทหารและ
ประชาชน

น.ส.อุไรรตั น์ เจริญสาร
แผนก ส่งเสรมิ สขุ ภาพและเวชกรรมปอ้ งกนั

ทมี ชา่ งยคุ โควิด NEW NORMAL พวกเราแผนกช่าง ในช่วงยุคโควิดทุกๆการ
ระบาด และทุกๆสถานท่ี พวกเราคือทีมเบื้องหลังทีม
สนับสนุนให้การดูแลผู้ป่วยโควิดสามารถดาเนินงานไป
ได้ด้วยความราบร่ืน ขึ้นชื่อว่า โรคโควิด19 เราก็กลัวแต่
หน้าท่ีเราก็ต้องรับผิดชอบ “ทีมช่างยุคโควิด NEW
NORMAL” จึงได้เกิดข้ึน ทีมช่างเรามั่นใจในการทางาน
และพร้อมเสมอในงานยุคโควดิ ครับ

ร.ต.ธเนศ จารูพงษ์
หน.แผนกช่าง

สารคุณภาพ ปที ี่ 16 ฉบับที่ 1 || หนา้ 15

รวมภาพแห่งความประทับใจในสถานการณ์ COVID-19
และการใชช้ วี ติ วิถีใหม่ (New Normal)

เราพรอ้ มทจ่ี ะกา้ วผา่ นไปดว้ ยกนั

ท่ า ม ก ล า ง ค ว า ม โ ก ล า ห ล ใ น ก า ร เ ต รี ย ม ทหารไทยรว่ มใจตา้ นภยั โควิด-19
อุปกรณ์และห้องผ่าตัดสาหรับผ่าตัดผู้ป่วยโควิด-19
รายแรก ของโรงพยาบาล แต่ทุกคนก็ทางานกันอย่าง สถานการณ์โควิด ท่ีว่ารุนแรงสร้างความทุกข์
มีความสุข สนุกสนาน เป็นความร่วมแรงร่วมใจของ ยากในการดารงชีวิตของประชาชนแล้ว ช่วงหนึ่งของพวก
ทีมงาน ห้องผ่าตัด เราพร้อมท่ีจะก้าวผ่านไปด้วยกัน เขายังต้องเผชิญกับสถานการณ์น้าท่วม รพ.ค่ายสรรพ
สุขกับงานทที่ าแลว้ เราจะทางานอยา่ งมคี วามสุขคะ่ สิทธิประสงค์จัดชุดแพทย์เดินเท้าเพ่ือให้ความช่วยเหลือ
ชาวบ้านทีป่ ระสบภยั พวกเราเจอเด็กๆที่ว่ิงเล่น แววตาไม่
พ.ต.หญิง ปิยวรรณ บุญสาร ร่าเริงนัก แต่ยินยอมให้ใส่หน้ากากอนามัยแต่โดยดี
แผนก หอ้ งผ่าตดั เพราะกลวั จะตดิ โรคร้ายนี้ ในทุกๆสถานการณ์ พวกเรา
พร้อมท่ีจะช่วยเหลือและเคยี งขา้ งประชาชนตลอดไป

พ.ต.ญ.สมสมัย ผ่องศรี
ส.ท.หญงิ ปารฉิ ตั ร จกั รธิฤทธิ์

แผนก หอผ้ปู ่วยพเิ ศษ

สารคณุ ภาพ ปีท่ี 16 ฉบบั ท่ี 1 || หนา้ 16

รวมภาพแห่งความประทับใจในสถานการณ์ COVID-19
และการใช้ชวี ิตวิถใี หม่ (New Normal)

ทางานวถิ ใี หม่ ด้วยหวั ใจดวงเดมิ

การดูแลผู้ป่วยท่ามกลางสถานการณ์การระบาดของ COVID-19 การให้การ
พยาบาลแบบองค์รวมเป็นส่ิง ท่ีเราให้ความสาคัญเช่นเคย โดยคานึงถึงความปลอดภัย
ของผู้ป่วยและบุคลากรเป็นหลัก ดูแลให้มีการสวมเครื่องป้องกันร่างกายที่เหมาะสม
นอกเหนอื จากการใหก้ ารดูแลเฉพาะโรค ในผู้ป่วยที่นอนนาน ผู้ป่วยติดเตียงหรือผู้ป่วย
หลงั ผา่ ตัดทมี่ ขี ้อจาในการเคลอื่ นไหว มีบริการสระผม 2 ครง้ั /สัปดาห์ ทุกวันอังคารและ
วนั ศุกร์ เพอื่ ใหผ้ ้ปู ว่ ยผ่อนคลายและสขุ สบาย

ร.ต.หญงิ พิมพ์วิภา สายบวั
หอผปู้ ว่ ย ตึก 1 ชัน้ 2

สารคณุ ภาพ ปีที่ 16 ฉบบั ท่ี 1 || หนา้ 17

ข่าว
สารคุ ณภาพ

โรงพยาบาลคา่ ยสรรพสทิ ธปิ ระสงค์
รบั มอบเกยี รตบิ ตั ร ผ่านการรับรอง ตามมาตรฐาน GREEN & CLEAN Hospital

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2565 เวลา 13.00 น. พ.อ.สายชล สิงห์ทน
ผอู้ านวยการรพ.ค่ายสรรพสิทธิประสงค์ เข้ารับมอบเกียรติบัตร ผ่านการรับรอง ตาม
มาตรฐาน GREEN &CLEAN Hospital ระดับดีมาก Plus ของกรมอนามัย และ
เกยี รตบิ ตั ร ผ่านการรบั รองมาตรฐานการจัดบรกิ ารอาชวี อนามัย ระดับเริ่มตันพัฒนา
ณ ห้องประชมุ 1 ชัน้ 3 สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดอบุ ลราชธานี

สารคุณภาพ ปที ี่ 16 ฉบับที่ 1 || หนา้ 18

ขา่ ว
สารคุ ณภาพ

โรงพยาบาลคา่ ยสรรพสิทธิประสงค์
จดั การเรียนการสอนตามรปู แบบ Unit School

เร่ืองการใส่ และถอดเครือ่ งป้องกนั รา่ งกาย

เมื่อวันท่ี 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2565 เวลา 10.30 น. - 11.30 น.ฝ่ายการ
พยาบาล โรงพยาบาลค่ายสรรพสิทธิประสงค์ จัดการเรียนการสอนตามรูปแบบ Unit
School เร่ืองการใส่ และถอดเครื่องป้องกันร่างกายรวมท้ังการปฏิบัติตนเพ่ือป้องกัน
การตดิ เชือ้ โควิด-19 ให้แกก่ าลังพลมณฑลทหารบกท่ี 22 ที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้คุมการ
สอบนักเรียนนายสบิ ทบ. ณ ตึกอานวยการโรงพยาบาลค่ายสรรพสิทธิประสงค์ผลการ
ปฏบิ ตั ิเปน็ ไปด้วยความเรยี บรอ้ ยผเู้ ข้ารับการเรยี นการสอนมีความรคู้ วามเขา้ ใจสามารถ
ปฏบิ ตั ไิ ดเ้ ปน็ อยา่ งดี

สารคณุ ภาพ ปที ี่ 16 ฉบับท่ี 1 || หน้า 19

ข่าว
สารคุ ณภาพ

โรงพยาบาลคา่ ยสรรพสิทธปิ ระสงค์
รับมอบเกียรตบิ ตั ร ผ่านการรบั รอง ตามมาตรฐาน

GREEN & CLEAN Hospital

วันท่ี 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2565 เวลา 13.00 น. พ.อ.สายชล สิงห์ทน
ผู้อานวยการรพ.ค่ายสรรพสิทธิประสงค์ เข้ารับมอบเกียรติบัตร ผ่านการรับรอง ตาม
มาตรฐาน GREEN &CLEAN Hospital ระดับดีมาก Plus ของกรมอนามัย และ
เกียรติบัตร ผ่านการรับรองมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย ระดับเริ่มตันพัฒนา
ณ ห้องประชมุ 1 ช้นั 3 สานักงานสาธารณสุขจังหวัดอบุ ลราชธานี

สารคุณภาพ ปีท่ี 16 ฉบับท่ี 1 || หน้า 20








Click to View FlipBook Version