The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tthksswnc1998, 2019-01-20 04:01:50

PowerPoint Presentation เศรษศาสตร์ บท7

หลักเศรษศาสตร์





























รายได้ประชาชาติ




















































สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

1







บทน า





















ในการวิเคราะห์เศรษฐศาสตร์มหาภาค ตัวแปรที่



มีความส าคัญที่สุดคือ รายได้ประชาชาติ (National


Income) เพราะสามารถใช้เป็นมาตรการในการวัด



การด าเนินกิจกรรมทั้งหมดของระบบเศรษฐกิจหนึ่งๆ



ได้มากกว่าตัวแปรอื่นๆ ฉะนั้น จึงเป็นเป็นสิ่งจ าเป็นที่



จะต้องเข้าใจถึงแนวความคิดแถวความคิดของตัวแปร



นี้ และจะต้องเข้าใจถึงวิธีที่จะใช้วัดตัวแปรดังกล่าวนี้


ด้วย

























รายได้ประชาชาติ

2








1. ความเป็นมาของการศึกษา




รายได้ประชาชาติ










แนวความคิดในเรื่องรายได้ประชาชาติ มีมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 17 โดย


มีการน ามาใช้เพื่อเปรียบเทียบความมั่งคั่งของประเทศ เช่นเดียวกับการ


เปรียบเทียบฐานะของเอกชนและแนวความคิดในเรื่องรายได้ประชาชาติ

ได้มีวัฒนาการมาโดยตลอด ในปัจจุบันรายได้ประชาชาติเป็นเครื่องชี้ภาวะ


เศรษฐกิจและระดับการกินดีอยู่ดีของประชาชนในประเทศ กล่าวคือ ถ้า

ต้องการทราบว่าระดับการกินดีอยู่ดีของประชาชนเพิ่มขึ้นหรือลดลง ก็จะ


พิจารณาจากระดับกิจกรรมทางเศรษฐกิจว่ามีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร


ทั้งนี้ เพราะความพอใจของผู้บริโภคในระบบเศรษฐกิจไม่มีหน่วยวัดได้จึง

ต้องดูตัวเลขเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจคือ รายได้ประชาชาติ ประเทศใดมี


ทรัพยากรมากและมีการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพสูงก็ย่อมมีร

รายได้ประชาชาติสูง ซึ่งอาจเป็นสิ่งหนึ่งที่แสดงให้เห็นว่าประชาชนใน


ประเทศนั้นมีระดับการกินดีอยู่ดี






















รายได้ประชาชาติ

3








1. ความเป็นมาของการศึกษา




รายได้ประชาชาติ










แนวคิดในการจัดท าข้อมูลรายได้ประชาชาติได้ถูกพัฒนาขึ้นมาโดย


ล าดับ ส านักงานองค์การสหประชาชาติได้ให้ความส าคัญในเรื่องนี้อย่าง


มากจึงได้พยายามวางระบบการจัดท ารายได้ประชาชาติขึ้นอย่างเป็น

ทางการ ต่อมาได้สถาปนาระบบการจัดสถิติรายได้ประชาชาติขึ้นเป็นครั้ง


แรก ในปี ค.ศ. 1953 เรียกกันโดยทั่วๆ ไปว่า ระบบบัญชีประชาชาติอง

องค์การสหประชาชาติ (System of National Accounts of United


Nations) ปัจจุบันเรียกกันทั่วไปว่า 1953 UN.SNA หรือ Old SNA ระบบ


นี้จะพยายามบันทึกกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจของประเทศโดยน าหลักการ

ลงบัญชีมาใช้ ระบบนี้แพร่หลายเป็นที่ยอมรับกันในหลายประเทศ รวมทั้ง


ประเทศไทยก็ได้เริ่มจัดท าบัญชีประชาชาติภายใต้ระบบนี้มาตั้งแต่ปี ค.ศ.

1956


























รายได้ประชาชาติ

4








1. ความเป็นมาของการศึกษา




รายได้ประชาชาติ










ต่อมาระบบบัญชีประชาชาติได้ถูกพัฒนาเพิ่มเติมเพื่อปรับปรุงแก้ไข


ข้อบกพร่องต่างๆ รวมถึงเพิ่มระบบบัญชีให้สะท้อนสภาวะการ


เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในแต่ละประเทศให้ครบถ้วนมากขึ้นอีก

2 ครั้ง คือ ใน ปี ค.ศ. 1968 เรียกกว่า New UN.SNA และครั้งล่าสุด


องค์การสหประชาชาติได้ปรับปรุงระบบบัญชีประชาชาติ ในปี ค.ศ. 1993

ที่ผ่านมาเรียกกันโดยทั่วไปว่า ค.ศ. 1993 UN.SNA หรือ Revise UN.SNA


อย่างไรก็ตาม ด้วยสภาพปัญหาทางด้านความพร้อมของข้อมูล ท าให้หลาย


ประเทศไม่สามารถจัดท าบัญชีประชาชาติให้ครบสมบูรณ์ ตามระบบ New

SNA หรือก้าวไปสู่ระบบ Revise SNA ได้ รวมทั้งกรณีประเทศไทยก็


เช่นเดียวกัน





























รายได้ประชาชาติ

5








1. ความเป็นมาของการศึกษา




รายได้ประชาชาติ











ระบบบัญชีประชาชาติ (บัญชีเศรษฐกิจ) ใน ปัจจุบันแบ่งออกเป็น 5


บัญชี คือ




1. บัญชีประชาชาติ (National Income Accounts)


2. ตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต (Input–Output Table)


3. บัญชีเศรษฐกิจเงินทุน (Flow of Fund Account)


4. บัญชีดุลช าระเงิน (Balance of Payment)


5. บัญชีงบดุลแห่งชาติ (National Balance Sheet)






ใน 5 หน่วยนี้จะกล่าวถึงเฉพาะบัญชีประชาชาติเท่านั้น



























รายได้ประชาชาติ

6








2. ลักษณะและความส าคัญของ




รายได้ประชาชาติประเภทต่างๆ











รายได้ประชาชาติมีหลายประเทศซึ่งรายได้ประชาชาติเหล่านี้ก็มี


ความสัมพันธ์ ประเภทต่างๆ ของรายได้ประชาชาติ มีดังนี้





2.1 ผลิตภัณฑ์รวมภายในประเทศเบื้องต้น (Gross Domestic


Product : GDP) คือ มูลค่าของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายในราคาตลาด



ที่ผลิตขึ้นได้ในประเทศ โดยยึดอาณาเขตทางการเมืองเป็นส าคัญ ไม่


ค านึงถึงว่าทรัพยากรที่น ามาผลิตสินค้านั้นเป็นของชนชาติใด เช่น ชาว


ญี่ปุ่นมาลงทุนตั้งโรงงานตั้งโรงงานผลิตรถยนต์ในประเทศไทย ผลิตผลที่ได้


จะรวมอยู่ใน GDP ของไทย ในทางตรงกันข้าม คนไทยที่ไปเปิดร้านขาย


อาหารในออสเตรเลีย ผลิตผลที่ได้ก็จะรวมอยู่ใน GDP ของประเทศ


ออสเตรเลียจะน ามารวมไว้ใน GDP ของประเทศไทยไม่ได้


GDP ที่ค านวณได้จะแสดงก าลังความสามารถในการผลิตของประเทศ

















รายได้ประชาชาติ

7








2. ลักษณะและความส าคัญของ




รายได้ประชาชาติประเภทต่างๆ











2.2 ผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น (GrossNational Product :


GNP) คือมูลค่าของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายในราคาตลาดที่ผลิตขึ้น


ด้วยทรัพยากรของประเทศในระยะเวลาหนึ่งส าหรับประเทศที่เศรษฐกิจ


เป็นแบบปิด GNP จะเท่ากับ GDP แต่ถ้าเศรษฐกิจเป็นแบบเปิด


กล่าวคือ มีการน าทรัพยากรออกไปผลิตในประเทศอื่นและ หรือประเทศ



อื่นน าทรัพยากรเข้ามาผลิตในประเทศดังนั้น GNP จะต่างกับ GDP เท่ากับ


รายได้สุทธิจากต่างประเทศ ซึ่งเขียนเป็นสมการได้ดังนี้




GNP = GDP + รายได้สุทธิจากต่างประเทศ




GNP ที่ค านวณได้สามารถใช้แสดงถึงสภาวะเศรษฐกิจของประเทศได้
























รายได้ประชาชาติ

8








2. ลักษณะและความส าคัญของ




รายได้ประชาชาติประเภทต่างๆ







2.3 ผลิตภัณฑ์ประชาชาติสุทธิ (Net National Product : NNP)


คือ ผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น (GNP) หักค่าใช้จ่ายที่กินทุน


(Capital Consumption Allowance : CCA) ซึ่งประกอบด้วยค่าสึกหรอ


เนื่องจากการใช้หรือค่าเสื่อมราคา (Depreciation) สินค้าประเภททุน


และค่าเสียหายในการผลิต เช่น ถูกโจรกรรม อัคคีภัยหรืออุทกภัย





NNP = GNP - CCA




NNP สามารถใช้แสดงความสมารถในการผลิตของประเทศไทยใน


ระยะยาวได้เป็นอย่างดี เพราะ NNP จะรวมแต่เฉพาะค่าใช้จ่ายในการ


ลงทุนสุทธิ ซึ่งเป็นสิ่งเพิ่มพูนก าลังผลิตให้แก่ประเทศในอนาคตเท่านั้น


ค่าใช้จ่ายในการลงทุนเพื่อชดเชยค่าเสื่อมราคาทรัพย์สินจะไม่ถูกรวมเข้าไว้


ใน NNP



อนึ่ง การหา NNP ให้ถูกต้องตรงตามความเป็นจริงกระท าได้ยาก


เพราะแต่ละหน่วยการผลิตมีการคิดค่าเสื่อมราคาแตกต่างกัน ด้วยเหตุนี้


นักเศรษฐศาสตร์ จึงนิยมใช้ GNP มากกว่า NNP เพราะถือว่ามีความ


ถูกต้องมากกว่าในแง่สถิติ



รายได้ประชาชาติ

9








2. ลักษณะและความส าคัญของ




รายได้ประชาชาติประเภทต่างๆ











2.4 รายได้ประชาชาติ (National Income : NI) หรือผลิตภัณฑ์



ประชาชาติสุทธิตามราคาทุน (NNP at factor cost) คือ ผลิตภัณฑ์


ประชาชาติสุทธิ (NNP) หักด้วยภาษีทางอ้อมธุรกิจ (Indirect Business


Tax)


NI = NNP - ภาษีทางอ้อมธุรกิจ




เหตุที่ต้องหักด้วยภาษีทางอ้อมธุรกิจ ก็เพื่อที่จะทราบถึงรายได้ทั้งหมด


ที่เจ้าของปัจจัยการผลิตได้รับ ซึ่งถือเป็นค่าใช้จ่ายโดยตรงในการผลิต






NI สามารถใช้วัดรายได้ที่เกิดจากการผลิตโดยตรง


























รายได้ประชาชาติ

10








2. ลักษณะและความส าคัญของ




รายได้ประชาชาติประเภทต่างๆ











2.5 รายได้ส่วนบุคคล (Personal Income : PI) คือ รายรับของ


บุคคลทั้งหมดโดยรวมทั้งรายได้ที่เป็นผลตอบแทนของปัจจัยการผลิตและที่


มิได้เป็นผลตอบแทนของปัจจัยการผลิต ซึ่งเป็นรายได้ที่ตกถึงมือบุคคล


จริงๆ


รายได้ส่วนบุคคล = NI (ภาษีประกันสังคม + ภาษีรายได้บริษัท +



ก าไรที่ยังไม่ได้จัดสรร + เงินโอน + ดอกเบี้ยที่เอกชนได้รับจากรัฐบาล)


PI สามารใช้วิเคราะห์ภาวการณ์ใช้จ่ายของประชากรได้




































รายได้ประชาชาติ

11








2. ลักษณะและความส าคัญของ




รายได้ประชาชาติประเภทต่างๆ











2.6 รายได้ส่วนบุคคสุทธิ (Disposible Income : DI) คือ รายได้ส่วน


บุคคลที่เหลืออยู่หลังจากได้หักค่าภาษีเงินได้และภาษีอื่นๆ ที่เกี่ยวกับตัว


บุคคลออกไปแล้ว รายได้นี้สามารถที่จะไปใช้จ่ายได้




DI = PI - ภาษีเงินได้





รายได้ส่วนบุคคลสุทธิ (DI) เป็นเครื่องชี้อ านาจซื้อของประชาชนว่ามี


อยู่มากน้อยเพียงใดและแสดงความโน้มเอียงที่จะใช้จ่ายบริโภคหรือเก็บ


ออมของประชาชน
































รายได้ประชาชาติ

12








2. ลักษณะและความส าคัญของ




รายได้ประชาชาติประเภทต่างๆ











2.7 รายได้เฉลี่ยต่อคน (Per Capita Income) คือ รายได้เฉลี่ยของ


บุคคลในแต่ละประเทศ หารด้วยจ านวนประชากรทั้งสิ้นในประเทศ การหา


รายได้เฉลี่ยต่อคนที่ส าคัญ มีอยู่ 2 ชนิด คือ


1) ผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้นเฉลี่ยต่อคน (Per capita GNP)


หาได้จากการน าผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น (GNP) หารด้วยจ านวน



ประชากรทั้งประเทศ







per capita =
จ านวนประชกรทั้งประเทศ






ผลิตผลรวมของชาติเฉลี่ยต่อคน (per capita GNP) ใช้เป็นเครื่องชี้



ความสามารถในการผลิตของประชากรแต่ละคนในประเทศโดยเฉลี่ย















รายได้ประชาชาติ

13








2. ลักษณะและความส าคัญของ




รายได้ประชาชาติประเภทต่างๆ











2) รายได้ประชาชาติเฉลี่ยต่อคน (per capita NI) หาได้จากการ


น ารายได้ประชาชาติ








per capita =
จ านวนประชกรทั้งประเทศ






รายได้ประชาชาติเฉลี่ยต่อคน (per capita NI) ใช้เป็นเครื่องชี้ฐานะ


ทางเศรษฐกิจของแต่ละประเทศ และเป็นเครื่องแสดงมาตรฐานการครอง


ชีพของประชากรในประเทศว่าสูงต่ าอย่างไร มื่อเปรียบเทียบกับประเทศ


อื่น
























รายได้ประชาชาติ

14








2. ลักษณะและความส าคัญของ




รายได้ประชาชาติประเภทต่างๆ











รายได้ประชาชาติประเภทต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้น สามารถน ามาเขียน


เป็นภาพเพื่อให้เห็นความสัมพันธ์ชัดเจนยิ่งขึ้น ได้ดังนี้



























รูปที่ 2.1 ความสัมพันธ์ระหว่าง GNP,NNP,NI,PI และ DI


(ตัวเลขสมมติขึ้นและให้มีหน่วยเป็นพันล้านบาท)
























รายได้ประชาชาติ

15











3. การค านวณรายได้ประชาชาติ














เราสามารถค านวณหารายได้ประชาชาติได้จากวงจรที่แสดงการ


หมุนเวียนของรายได้ ผลผลิตและค่าใช้จ่าย ดังรูปที่ 7.2












































รูปที่ 7.2 วงจรอย่างง่ายแสดงการหมุดเวียนของรายได้ ผลผลิตและ


ค่าใช้จ่าย







รายได้ประชาชาติ

16











3. การค านวณรายได้ประชาชาติ














จากรูปที่ 7.2 การหมุนเวียนของบริการจัดการปัจจัยการผลิตของ


ครัวเรือนไปยังวิสาหกิจ ซึ่งใช้บริการปัจจัยเพื่อการผลิต ผลลัพธุ์ก็คือ การ


หมุนเวียนของสินค้าและบริการไปยังตลาด ค่าใช้จ่ายในการชื้อสินค้า


และบริการ ถูกแสดงใจฐานะที่เป็นการหมุนเวียนจากครัวเรือนในรูปของ


การบริโภคบวกกับการหมุนเวียนจากวิสาหกิจในรูปของการลงทุน



ถ้าเราวัดการหมุนเวียนของสินค้าและบริการจากวิสาหกิจไปยังตลาด


เราจะได้มูลค่าของ ผลิตผลรวมของชาติ ถ้าเราวัดการหมุนเวียนของ


ค่าใช้จ่าย เราจะได้มูลค่ารวมของค่าใช้จ่ายประจ าชาติ ผลรวมทั้งสอง


ประเภทจะเท่ากันโดยค าจ ากัดความ นั่นคือ





ผลิตผลรวมของชาติ = ค่าใช้จ่ายประชาชาติ = การบริโภค + การลงทุน





















รายได้ประชาชาติ

17











3. การค านวณรายได้ประชาชาติ














ปัจใจในการผลิตที่ใช้โดยวิสาหกิจนั้นก็จะเป็นของเอกชนซึ่งประกอบ


ขึ้นเป็นครัวเรือนขายบริการของปัจจัยให้แก่วิสาหกิจเอกชน ครัวเรือนจะ


ได้รับผลตอบแทนในรูปของค่าจ่าง ค่าเช่า ดอกเบี้ย และก าไร สิ่งเหล่านี้ก็


จะเป็นรายได้ของปัจจัย หรือถ้ามองในแง่ของวิสาหกิจก็จะเป็นต้นทุนของ


ปัจจัย นั่นคือสิ่งที่เป็นต้นทุนของวิสาหกิจก็จะเป็นรายได้ของครัวเรือน นั้น



คือ

มูลค่าของผลิตผลรวม = ค่าจ้าง + ค่าเช่า + ดอกเบี้ย + ก าไร = รายได้ประชาชาติ



เมื่อรวมความสัมพันธ์ที่กล่ามาแล้วทั้งหมดจะได้ว่า



ผลิตผลรวมของชาติ = ค่าจ้าง + ค่าเช่า + ดอกเบี้ย + ก าไร


= การบริโภค + การออม

= ค่าใช่จ่ายประชาชาติ



ความสัมพันธ์นี้ถือเป็นพื้นฐานของสิ่งที่เราเรียนกันว่าบัญชีรายได้


ประจ าชาติ











รายได้ประชาชาติ

18











3. การค านวณรายได้ประชาชาติ














ความสัมพันธ์นี้ถือเป็นพื้นฐานของสิ่งที่เราเรียนกันว่าบัญชีรายได้


ประจ าชาติ


ในรูปที่ 7.2 ตรงจุด A นั้น เราวัดผลรวมของค่าจ้าง ค่าเช่า ดอกเบี้ย


และก าไร ชึ่งก็คือ รายได้ ประชาชาติ ตรงจุด B เราวัดการหมุนเวียนของ


สินค้าและบริการที่ผลิตขึ้นโดยวิสาหกิจ ซึ่งคือผลิตผลรวมของประชาชาติ



หรือผลิตภัณฑ์ประชาชาติ และตรงจุด C นั้น เราวัดมูลค่าของการบริโภค


และการลงทุน นั้นคือค่าใช้จ่ายประชาชาติ จุดใด ๆ ก็ตามมวลรวมที่เรา


ได้รับก็จะเป็นเช่นเดียวกัน กล่าวคือ



มูลค่าผลิตผลรวมของชาติ = มูลค่ารายได้ประชาชาติ = มูลค่าของค่าใช้จ่ายประชาชาติ



จากการพิจารณาดังกล่าว สามารถสรปการค านวณรายได้ประชาชาติ


ออกเป็น 3 วิธี คือ การค านวณจากด้านรายได้ (Income Approach) การ


ค านวณจากด้านรายได้ (Expenditre Approach) และการค านวณจาก



ด้านผลิตผลขั้นสุดท้าย (Product Approach)









รายได้ประชาชาติ

19











3. การค านวณรายได้ประชาชาติ














3.1 การค านวณจากด้านรายได้ (Income Approach) เป็นการค านวณ


รายได้ประชาชาติ โดยรวมรายได้ทุกประเภทที่เจ้าของปัจจัยการผลิตได้รับ


จากการขายหรือการให้บริการปัจจัยการผลิตเหล่านั้นแก่วิสาหกิจต่าง ๆ เพื่อ


การผลิตสินค้าและบริการ ได้แก่ ผลรวมของค่าจ้าง ค่าเช่า ดอกเบี้ยและ


ก าไร ในการค านวณจะมีรายการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ดังนี้



1) ค่าจ่าง เงินเดือน และเงินทดแทนอื่นแก่ลูกจ้าง รายการนี้รวม


ค่าจ้างที่จ่ายให้แก่ลูกจ้างโดยตรง เช่น ค่าแรง และที่จ่ายเพิ่มเติมทางอ้อมทั้ง


ที่เป็นตัวเงิน เช่น ค่าประกันสังคม ค่ารักษาพยาบาล และเงินโบนัส และเป็น


สิ่งของที่สามารถประเมิลค่าออกมาเป็นตัวเงินตามราคาตลาดได้ เช่น ที่อยู่


อาศัย เสื้อผ้าและอาหาร


2) รายได้ที่ไม่ใช้ของบริษัท หมายถึง ก าไรและรายได้ของกิจการที่



ไม่ได้อยู่ในรูปของบริษัท ซึ่งได้แก่การประกอบอาชีพอิสระ ห้างหุ้นส่วน ร้า


ค้าเจ้าของคนเดียว เกษตรกร และสหกรณ์ประเภทต่าง ๆ











รายได้ประชาชาติ

20











3. การค านวณรายได้ประชาชาติ














3) รายได้ที่เอกชนได้รับในรูปค่าเช่า หมายถึง ค่าเช่าที่เอกชนได้รับ


จากการให้เช่าที่ดินเคหสถานและทรัพย์สินอื่น ในกรณีที่ผู้ประกอบการเป็น


เจ้าของที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างให้ตีราคาค่าเช่าออกเป็นรายได้เข้าในรายการนี้


ด้วย ส่วนค่าเช่าที่บริษัทได้รับไม่รวมในรายการนี้ แต่แยกไปรวมอยู่ในยอก


ก าไรของบริษัท



4) ดอกเบี้ยสุทธิ หมายถึง ดอกเบี้ยที่เอกชนได้รับหักด้วยดอกเบี้ยที่


ได้รับจากรัฐบาลและหักด้วยดอกเบี้ยการกู้เพื่อบริโภค เหตุที่ไม่ถือดอกเบี้ยที่


ได้รับจากรัฐบาลเป็นรายได้ เพราะโดยมากรัฐบาลก็จะน าไปใช้จ่ายเพื่อการ


บริโภคมากกว่าที่จะน าไปใช้ผลิตโดยตรง




























รายได้ประชาชาติ

21











3. การค านวณรายได้ประชาชาติ














5) ค่าเสื่อมราคา หมายถึง เงินส่วนหนึ่งที่ธุรกิจกันไว้เพื่อชดเชยการ


เสื่อมค่าของทุนและเก็บไว้ชื้อปัจจัยทุนทดแทนของเดิมเมื้อสิ้นสุดอายุการใช้


งาน เงินที่กันไว้นี้อาจถือเป็นก าไรของบริษัทอย่างหนึ่ง


6) ก าไรของบริษัทก่อนหักภาษี หมายถึง ก าไรของบริษัท ซึ่งแบ่งเป็น


เงินปันผลก าไรซึ่งยังไม่ได้จัดสรรและภาษีเงินได้ของบริษัท



7) ภาษีทางอ้อมธุรกิจ การค านวณหามูลค่าผลิตรวมของชาติจะต้องมี


ภาษีทางอ้อมธุรกิจรวมอยู่ด้วยทั้งนี้ เพราะการค านวณหาผลผลิตรวมของ


ชาติเป็นการค านวณหา ณ ราคาตลาด
































รายได้ประชาชาติ

22











3. การค านวณรายได้ประชาชาติ














จะเห็นได้ว่าการค านวณรายได้ประชาชาติโดยวธี Income Approach


จะไม่นับรวมรายการเงินได้อื่น ๆ ที่ไม่ก่อให้เกิดผลผลิต รายได้ดังกล่าว ได้แก่


1) รายการโอนเงิน เงินโอนที่ไม่ถือเป็นค่าตอบแทนของปัจจัยการผลิต


เพราะเงินโอนเป็นแต่เพียงการโอนอ านาจชื้อจากบุคคนหนึ่งไปยังอีกบุคคล


หนึ่งเท่านั้น มิได้ก่อให้เกิดผลผลิตเพื่มขึ้นแต่อย่างได เงินโอนมี 3 ประเภท



คือ เงินโอนรัฐบาล (เช่น เงินบ าเหน็จ บ านาญ) เงินโอนธุรกิจ (เช่น เงิน


บริจาก) เงินโอนส่วนบุคคล (เช่น มรดกตกทอด)


2) รายการที่เป็นส่วนเพิ่มของทุน (CapitaI Gains) หมายถึง การได้


ก าไรจากการขายทรัพย์สินที่มีอยู่ เงินจ านวนนี้ถือว่าไม่มาโดยบังเอิญ ไม่ได้


เป็นผลตอบแทนของปัจจัยการผลิต


3) รายได้จากกิจการที่ผิดกฎหมาย เช่น ก าไรจากการขายยาเสพติด



ร้ายแรง รายได้จากการจับเด็กไปเรียกค่าไถ่ รายได้จากการลักขโมย















รายได้ประชาชาติ

23











3. การค านวณรายได้ประชาชาติ










ตารางที่ 7.1 รายได้ประชาชาติของประเทศไทย พ.ศ. 2554 ถึง พ.ศ. 2556 ณ ราคา

ตลาด (ค านวณจากด้านรายได้)


มูลค่า ณ ราคาประจ าปี อัตราหารขยายตัว
รายการ (ล้านบาท) (ร้อยละ)

2554 2555 2556 2554 2555 2556


ค่าตอบแทนแรงงาน 3,414,193 3,776,137 4,006,523 5.5 10.6 5.8

รายได้จากทรัพย์สินและ 4,538,619 4,694,576 4,777,025 4.8 3.4 1.0

การประกอบการ

รายได้จากทรัพย์สิน (สุทธิ) 369,354 428,310 519,319 0.2 16.0 16.0



 ครัวเรื่อน & สถาบัน

ไม่แสวงก าไรฯ 367,336 433,455 501,133 -4.3 18.0 10.2

 รัฐบาล 2,018 -5,145 18,186 113.4 -355.0 354.2

รายได้จากการ 4,169,265 2,972,342 4,257,706 5.2 2.3 -2.8

ประกอบการ

 ครัวเรื่อน & สถาบัน

ไม่แสวงก าไรฯ 2,888,063 1,293,927 2,811,171 8.0 2.9 -5.1


 นิติบุคคล 1,281,201 1,293,927 1,446,535 -0.6 1.0 2.1



รายได้ประชาชาติ 7,952,815 8,470,716 8,783,551 5.1 6.4 2.0


ประชากร (พันคน) 66,214 66,492 66,214 0.4 0.4 0.4

รายได้ประชาชาติเฉลี่ยต่อ
คน (บาท) 120,108 127,395 123,935 4.6 6.1 1.6

ที่มา : รายได้ประชาชาติของปรเทศไทย ฉบับ พ.ศ. 2556

24











3. การค านวณรายได้ประชาชาติ














3.2 การค านวณจากด้านรายจ่าย (Expenditure Approach) เป็นการ


ค านวนรายได้ประชาชาติโดยน ารายจ่ายของประชาชนในหารซื้อสินค้าหรือ


บริการขั้นสุดท้าย รวมกันในระยะเวลาหนึ่งโดยทั่วๆ ไปรายจ่ายทั้งหมดที่


เกิดขึ้นแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ดังนี้


1) รายจ่ายในการบริโภคของประชาชน (Personal Consumption



Expenditure : C) หมายถึง ค่าซื้อสินค้าและบริการของครัวเรือน และ


สถาบันที่ตั้งขึ้นโดยมิได้หวังก าไร เช่น โรงเรียน โรงพยาบาล สินค้าที่ซื้อเป็น


ประเภทถาวรและไม่ถาวร นอกจากรายจ่ายที่เป็นเงินสดแล้วรายการนี้ยัง


รวมรายจ่ายที่ไม่มีการจ่อยออกไปเป็นตัวเงิน เช่น ค่าอาหาร ค่าเสื้อผ้า ค่า


รักษาพยาบาล ที่นายจ้างออกให้แก่ลูกจ้างอีกด้วย นอกจากนี้ ยังรวมค่าเช่า


ที่ผู้มีบ้านอยู่เองจะต้องคิดค่าเช่าจ่ายให้แก่ตนเองด้วย




















รายได้ประชาชาติ

25











3. การค านวณรายได้ประชาชาติ














2) รายจ่ายเพื่อการลงทุนทั้งสิ้นของเอกชนภายในประเทศ (Gross


Private Domestic Investment : I) รายการนี้แบ่งออกเป็น 3 ประเภท


ย่อยๆ คือ


(1) รายได้เพื่อการก่อสร้างใหม่ เฃ่น ค่าก่อสร้างโรงงาน คลังสินค้า ที่อยู่


อาศัย



(2) รายจ่ายเพื่อซื้อสินค้าประเภททุน ได้แก่ เครื่องจักร เครื่องมือและ


อุปกรณ์ต่างๆ เพื่อการผลิตสินค้าและบริการ


(3) ส่วนเปลี่ยนของสินค้าคงเหลือขององค์กรธุรกิจ หมายถึง ส่วน


แตกต่างระหว่างสินค้าคงเหลือปลายปีและสินค้าคงเหลือต้นปี ในการ


ค านวณรายได้ประชาชาติทางด้านรายจ่ายจ าเป็นต้องน าส่วนเปลี่ยนของ


สินค้าคงเหลือคิดมาด้วย เพราะจะท าให้ทราบยอดที่แท้จริง เราสามารถ



เขียนสมการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจ านวนผลผลิต จ านวนขายและส่วน


เปลี่ยนแปลงของสินค้าคงเหลือ ได้ดังนี้



จ านวนผลิต = จ านวนการขาย + ส่วนเปลี่ยนของสอนค้าคงเหลือ

= จ านวนขาย + (สินค้าคงเหลือปลายปี – สินค้าคงเหลือต้นปี)



รายได้ประชาชาติ

26











3. การค านวณรายได้ประชาชาติ














ตัวอย่าง ประเทศ ก มีสินค้าต้นปี ยกมา 30 ล้านบาท ปีนี้ขายสินค้าได้


80 ล้านบาท และ ปลายปีมีสินค้าคงเหลือ 50 ล้านบาท รายได้ประชาชาติ


ของประเทศ ก ในปีนี้จะได้เท่ากับ 100 ล้านบาท [80 + (50 – 30)]


3) รายจ่ายในการซื้อสินค้าและบริการต่างๆ ของรัฐบาล (General


Government Consumption Expenditure : Q) รายการนี้



ประกอบด้วยรายจ่ายของรัฐบาลเพื่อซื้อสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายจาก


ธุรกิจเอกชนและค่าจ้างเงินเดือนที่รัฐจ่ายให้แก่คนงาน พนักงาน ข้าราชการ


แต่ไม่รวมรายจ่ายในรูปเงินโอน (Transfer Payments) ต่างๆ เช่น เงิน


บ านาญ รายจ่ายเพื่อสวัสดิการทางสังคม




























รายได้ประชาชาติ

27











3. การค านวณรายได้ประชาชาติ














4) การส่งออกสุทธิ (Net Export : X M) หมายถึง ผลต่างระหว่าง


สินค้าและบริการที่ประเทศนั้นส่งไปจ าหน่ายต่างประเทศ (Net Export :


X) กับสินค้าและบริการที่ประเทศนั้นซื้อจากต่างประเทศ (Net Export :


M) ประเทศที่มีระบบเศรษกิจแบบเปิด (Open Economy) จะต้องน า


สินค้าส่วนหนึ่งไปขายต่างประเทศและได้รับรายได้ในรูปแบบเงินตรา



ต่างประเทศ มีการสั่งซื้อสินค้าจากต่างประเทศเข้ามา ซึ่งถือเป็นการ


รั่วไหลของรายได้ประชาชาติ ดังนั้น มูลค่าของสินค้าในรายการบวกของ


รายได้ประชาชาติ ส่วนมูลค่าสินค้าน าเข้าก็จะแสดงในรายการลบ


เมื่อรวบรวมรายการทั้ง 4 ประเภทเข้าด้วยกัน ก็จะได้รายได้


ประชาชาติ ซึ่งสามารถแสดงเป็นสมการได้ดังนี้






Y = C +I + G + (X – M)
















รายได้ประชาชาติ

28











3. การค านวณรายได้ประชาชาติ














ตารางที่ 7.2 รายได้ประชาชาติของประเทศไทย พ.ศ. 2555 และ


พ.ศ. 2556 ณ ราคาประจ าปี (ค านวณจากด้านรายจ่าย)


รายจ่าย 2555p1 2556p1

การใช้จ่ายของครัวเรือน 6,293,508 6,475,849

การใช้จ่ายของรัฐบาล 1,544,330 1,643,464

การลงทุนสินทรัพย์ถาวร 3,245,926 3,180,865

ส่วนเปลี่ยนสินค้าคงเหลือ 137,205 298,352

การส่งออกสุทธิ 128,989 390,957

-สินค้า -495,335 -483,634

-บริการ 624,324 874,591

การส่งออกของสินค้าและบริการ 2,529,212 8,753,512
-สินค้า (f.o.b.) 7,030,290 6,933,366

-บริการ 1,498,922 1,820,146

การน าเข้าสินค้าและบริการ 8,400,223 8,362,555

-สินค้า (c.i.f) 7,525,625 7,417,000

-บริการ 874,598 945,555

อุปสงค์ 11,349,958 11,989,487

ค่าสถิติผิดพลาด 25,391 -90,777

อุปทาน (GOP) 11,375,349 11,898,710

ที่มา : รายได้ประชาชาติของประเทศไทย พ.ศ. 2556 แบบปริมาณลูกโซ่



รายได้ประชาชาติ

29











3. การค านวณรายได้ประชาชาติ










3.3 การค านวณจากด้านผลิตผลขั้นสุดท้าย (ProductApproach)



เป็นการค านวนรายได้ประชาชาติโดยหาผลรวมของมูลค่าของสินค้าและ


บริการขั้นสุดท้าย (Final product) ที่ประเทศผลิตขึ้นได้ในระยะเวลา 1 ปี


การค านวณท าได้ 2 แบบ คือ


1) คิดเฉพาะมูลค่าของสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย วิธีนี้เป็นไปได้


ในทางทฤษฎีเท่านั้นในทางปฏิบัติแล้ว เป็นไปได้ยากมาก โดยเฉพาะใน


ประเทศด้อยพัฒนาที่ระบบการจัดเห็บข้อมูลไม่มีประสิทธิภาพ หรือใน



ประเทศที่มีระบบการผลิตเป็นขั้นตอน ทั้งนี้ เพราะเป็นการยากที่จะจ าแนก


ว่าสินค้าใด้เป็นสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายและสินค้าใดเป็นสินค้าและ


บริการขั้นกลางบางครั้งสินค้าชนิดเดียวกันก็เป็นได้ทั้ง 2 ประเภท เช่น


ข้าวโพดที่พ่อค้าขายให้แก่ผู้บริโภค ก็ถือว่าข้าวโพดเป็นสินค้าและบริการขั้น


สุดท้าย แต่ถ้าพ่อค้าขายให้แก่โรงงานผลิตอาอารสัตว์ ซึ้งน าข้าวโพดไปเป็น


อาหารสัตว์ ข้าวโพดก็จะป็นสินค้าและบริการขั้นกลาง เมื่อเป็นเช่นนี้อาจก่อ


ใก้เกิด (Double Counting) ท าให้ตัวเลขรายได้ประชาชาติสูงเกินความเป็น


จริง เพื่อที่จะหลีกเลี่ยงปัญหาหารนับซ้ า จึงได้มีการใช้วิธีมูลค่าเพิ่ม (Value



Added)


รายได้ประชาชาติ

30











3. การค านวณรายได้ประชาชาติ














2) การคิดแบบมูลค่าเพิ่ม (Value Added)มูลค่าเพิ่ม หมายถึง มูลค่า


ของผลผลิตที่จ าหน่ายออกจากหน่วยธุรกิจนั้น หักด้วยมูลค่าของวัตถุดิบหรือ


สินค้าขั้นกลาง






ตารางที่ 7.3 ตัวอย่างการค านวณมูลค่าเพิ่มของโรงงานผลิตอาหารสัตว์


มูลค่าของสินค้าจาก มูลค่าของสินค้าขั้น
ขั้นของการผลิต มูลค่าเพิ่ม
การขาย กลาง

1. มันส าปะหลัง 100 0 100

2. มันเส้น 150 100 50

3. อาหานสัตว์ 300 150 150

550 250 300


ในกรณีนี้ สินค้าขั้นสุดท้าย คือ อาหารสัตว์ ซึ่งมีมูลค่าเท่ากับ 300 บาท


หากพิจารณาทางด้านมูลค่าเพิ่ม มูลค่าเพิ่มในการผลิตสินค้าทั้ง 3 ขั้นตอนจะ



เท่ากับ 300 บาทด้วย (100 + 50 +150)












รายได้ประชาชาติ

31











3. การค านวณรายได้ประชาชาติ










ตารางที่ 7.4 รายได้ประชาชาติของประเทศไทย พ.ศ. 2554 ถึง พ.ศ.


2556 ณ ราคาตลาด(ค านวณจากด้านผลิตผลขั้นสุดท้าย)





























































รายได้ประชาชาติ

32











สาขาการผลิต 2554 2555 2556

ภาคการเกษตร 1,310,995 1,427,362 1,459,150

การเกษตร การเลี้ยงปศุสัตว์ 1,201,017 1,315,871 1,357,522
และป่าไม้

การประมง 106,978 113,491 101,628
ภาคนอกเกษตร 9,989,488 10,925,293 11,450,888

การเหมืองแร่และเหมืองหิน 400,574 484,261 495,341
การผลิตอุตสาหกรรม 3,294,332 3,478,562 3,294,332

การไฟฟ้า แก๊ส และประปา 303,287 326,942 353,767

การก่อสร้าง 306,602 338,360 345,955
การค้าส่ง การค้าปลีก การซ่อมแซม

ยานยนต์ จักรยานยนต์ ของใช้ส่วนตัว
และของใช้ในครัวเรือน 1,628,794 1,779,692 1,813,321

โรงแรมและภัตตาคาร 349,523 413,838 477,212
การขนส่ง การคมนาคม และคลังสินค้า 789,570 859,811 899,475

ตัวกลางทางการเงิน 644,852 731,948 845,277

บริการด้านอสังหาริมทรัพย์ การให้เช่าและ
บริการทางธุรกิจ 741,399 841,578 888,118

บริหารราชการและการป้องกันประเทศ
รวมทั้งการประกันภัย 644,852 732,992 769,725

การศึกษา 458,310 507,704 529,995
บรืการสุขภาพและงานสังคมสังเคราะห์ 184,976 198,331 204,972

บริการชุมชน สังคม และบริการส่วนบุคคล 186,092 208,651 226,058

อื่น ๆ 20,503 22,623 23,297
ลูกจ้างในครัวเรือน 11,052,339 12,354,655 12,910,038

ผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น (GDP) -284,114 -505,861 -719,462
บวก : รายได้สุทธิจากต่างประเทศ 11,052,339 11,848,794 12,190,576

ผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น (GNP) 170,666 185,807 193,394
GDP ต่อหัว (บาท)





รายได้ประชาชาติ

33











3. การค านวณรายได้ประชาชาติ














อนึ่ง ในทางทฤษฎีการค านวณรายได้ประชาชาติทั้ง 3 วิธีนี้ จะได้ผลลัพธ์


จ านวณเท่ากัน เพราะเป็นแต่เพียงมองกันไปคนละแง่เท่านั้น ในทางปฏิบัติ


ควรจะได้มีการค านวณทั้ง 3 วิธี เพื่อสามารถตรวจสอบได้ว่าจะได้ผลลัพธ์


เท่ากันหรือไม่ ถ้ามีความแตกต่างกันมากก็จะได้ตรวจสอบดูว่าการค านวณ


ตอนใดผิดพลาดแต่ถ้าแตกต่างกันเพียงเล็กน้อยก็ไม่มีความเสียหายอย่างไร



เพราะอาจเกิดจากความคลาดเคลื่อนทางสถิติและเกิดจากความเหลื่อมของ


เวลาในการบันทึกข้อมูลทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ที่ใช้ค านวณ ดังนั้นในบัญชี


รายได้ประชาชาติในแต่ละด้านที่ค านวณได้จะต้องมีรายการแสดงความ


คลาดเคลื่อนทางสถิติซึ่งรวมความคลาดเคลื่อนจากความเหลื่อมของเวลาไว้


ด้วย
























รายได้ประชาชาติ

34











3. การค านวณรายได้ประชาชาติ














ตารางที่ 7.5 เปรียบเทียบการค านวณรายได้ประชาชาติ ด้านรายได้


ผลผลิตและรายจ่าย ตารางนี้จะแสดงให้เห็นว่ารายได้ประชาชาติไม่ว่าจะ


ค านวณโดยวิธีใดก็จะมีมูลค่าเท่ากัน


รายได้ ผลผลิต รายจ่าย

1. ค่าจ้างเงินเดือน 1. เกษตรกรรรม 1. รายจ่ายเพื่อการอุปโภคบริโภค

2. ค่าเช่า 2. เหมืองแร่และย่อยหิน 2. รายจ่ายเพื่อการสะสมทุน

3. ดอกเบี้ย 3. อุตสาหกรรม 3. รายจ่ายของรัฐบาล

4. ก าไร 4. ก่อสร้าง 4. รายจ่ายสุทธิของการส่งออก

บวก ภาษีทางอ้อม 5. ไฟฟ้าและประปา และการน าเข้า

บวก ค่าเสื่อมราคา 6. คมนาคมและขนส่ง

7. ค้าส่งและค้าปลีก

หัก เงินอุดหนุนที่รัฐบาลจ่าย 8. ธนาคาร ประกันภัยและ
ให้แก่ธุรกิจ ธุรกิจสังหาริมทรัพย์

9. ที่อยู่อาศัย

10. การบริหารราชการและ

การป้องกันประเทศ

11. บริการ

หักหรือบวก สถิติผิดพลาด

หักหรือบวก สถิติผิดพลาด

= รายได้ในประเทศ = ผลิตภัณฑ์ในประเทศ = รายจ่ายในประเทศ


รายได้ประชาชาติ

35








4. การเปรียบเทียบรายได้




ประชาชาติ











ในการค านวณหารายได้ประชาชาติ เราคิดในราคาตลาดเรียกว่า รายได้


ประชาชาติเป็นตัวเงิน (money GNP)หรือรายได้ประชาชาติตามราคาตลาด


(GNP at current market price) ซึ่งราคามักจะเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ


ฉะนั้น การน าตัวเลขรายได้ประชาชาติต่างปีมาเปรียบเทียบกัน จึงไม่


สามารถบอกได้แน่นอนว่าผลิตผลที่แท้จริงเพิ่มขึ้นรึลดลงเพียงใด เช่น ในปี



2548 ประเทศ ก. มี GNP เท่ากับ 400 ล้านบาท ในปี 2549 ประเทศ ก. มี


GNP เป็น 800 ล้านบาท เรายังไม่สามารถบอกได้แน่นอนว่าผลิตผลทั้งหมด


ในปี 2549 เป็น 2 เท่าของปี 2548 ทั้งนี้ เพราะส่วนที่เพิ่มขึ้นอีก 400 ล้าน


บาท อาจเป็นผลจากราคาสินค้าสูงขึ้นเท่าตัว แต่จ านวนผลผลิตคงเดิมหรือ


จ านวนผลผลิตเพิ่มขึ้นเท่าตัวแต่ราคาคงเดิมหรือทั้งราคาและผลผลิตเพิ่มขึ้น
























รายได้ประชาชาติ

36








4. การเปรียบเทียบรายได้




ประชาชาติ











เพื่อที่จะสามารถทราบจ านวนเปลี่ยนแปลงที่แท้จริงของผลผลิตของ


ประเทศเราจะต้องพยายามขจัดการเปลี่ยนแปลงอันเกิดจากราคา


เปลี่ยนแปลงออก นั่นคือ จะต้องแปลงรายได้ประชาชาติเป็นตัวเงินให้เป็น


รายได้ประชาชาติที่แท้จริง (real GNP) หรือรายได้ประชาชาติตามราคาคงที่


(GNP at constant price) ซึ่งหาได้โดยใช้สูตร ดังนี้




รายได้ประชาชาติเป็นตัวเงิน
รายได้ประชาชาติที่แท้จริง = × ดัชนีราคาปีฐาน
ดัชนีราคาของปีนั้น


ปีฐาน หมายถึง ปีที่สภาวะทางเศรษฐกิจสังคมและการเมืองดีที่สุด


ดังนั้น ดัชนีราคาปีฐานจะมีค่าเท่ากับ 100 เสมอ


ตัวอย่างเช่น สมมุติให้ money GNP ในปี 2556 มีมูลค่า 1,000 ล้าน


บาท ดัชนีราคาในปี 2556 เท่ากับ 150 (ก าหนดให้ปี 2550 เป็นปีฐาน และ



money GNP ในปี 2550 มีมูลค่า 500 ล้านบาท) จงหา real GNP ปี 2556















รายได้ประชาชาติ

37








4. การเปรียบเทียบรายได้




ประชาชาติ





























จะเห็นได้ว่า ถ้าเราเปรียบเทียบรายได้ประชาชาติปื 2550 และ 2556


ตามราคาตลาด (money GNP) รายได้ประชาชาติในปี 2556 จะมีมูลค่าสูง


กว่า 2 เท่าตัว แต่เมื่อปรับรายได้รายได้ประชาชาติ ในปี 2556 ตามราคาปี


2556 แล้ว จะพบว่าเพิ่มขึ้นจากปี 2550 เพียง 166.66 ล้านบาทเท่านั้น


(666.66 – 500)



























รายได้ประชาชาติ

38








5. ประโยชน์ของรายได้




ประชาชาติ











ผู้บริหารประเทศ นักวางแผน นักวิชาการและนักธุรกิจทั่วไป สามารถใช้


สถิติรายได้ประชาชาติให้เป็นประโยชน์ได้ ดังนี้


5.1 รายงานภาวะเศรษฐกิจของประเทศ เพื่อทราบว่าการพัฒนา


ประเทศในช่วงที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบันมีสถานการณ์อย่างใด รายได้ที่เกิดขึ้นมี


มากน้อยเพียงใดประชากรในประเทศมีการรับจ่ายใช่สอยในลักษณะใด การ



ลงทุนของภาคเอกชนและรัฐบาลดีขึ้นหรือลดลงมากน้อยเพียงใด เพื่อผู้ตัด


สนใจจะลงทุนสามารถคาดการณ์และก าหนดนโยบายในการด าเนินการของ


ตนได้ ส่วนภาครัฐบาลก็จะใช้เป็นแนวทางในการก าหนดและปรับปรุง


นโยบายได้เช่นกัน




























รายได้ประชาชาติ

39








5. ประโยชน์ของรายได้




ประชาชาติ











5.2 เป็นแนวทางในการวงแผนส่วนรวมของประเทศ เพื่อก าหนด


เป้าหมายของแผนว่าจะเพิ่มขึ้นในอัตราเท่าใดในแผนพัฒนาแต่ละฉบับ โดย


น ารายได้ประชาชาติด้านการผลิต รายได้และรายจ่ายมาพิจารณาร่วมกัน


เริ่มจากวิเคราะห์ด้านการผลิตเพื่อศึกษาแนวโน้มการผลิตในอดีตถึงปริมาณ


การผลิต การน าไปใช้และความต้องการของตลาดของสินค้าและบริการที่



ส าคัญว่ามีมากน้อยเพียงใด ผลที่ได้จากการวิเคราะห์จะสามารถน าไปเป็น


แนวทางในการก าหนดเป้าหมายการผลิตสินค้าและบริการที่ส าคัญ และ


เป้าหมายการผลิตโดยส่วนรวมของแผนพัฒนาฯ ได้


5.3 ใช้ประกอบการก าหนดและปรับปรุงแผนงานและโครงการต่าง


ๆ ให้บรรลุเป้าหมายที่ว่างไว้ โดยการวิเคราะห์เฉพาะเรื่อง เช่น การใช้จ่าย


ของรัฐบาล รายได้จากภาษีอากรของรัฐบาล การออมเพื่อการลงทุน การ



วิเคราะห์ผลตอบแทนของโครงการลงทุนต่าง ๆ การวิเคราะห์เฉพาะเรื่อง


ดังกล่าวมานี้มีความจ าเป็นที่จะต้องใช้สถิติข้อมูลมาก สถิติดังกล่าวนอกจาก


จะได้จากแหล่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องแล้วยังอาจได้จากสถิติบัญชีประชาชาติ


ด้วย



รายได้ประชาชาติ

40








5. ประโยชน์ของรายได้




ประชาชาติ











5.4 ใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์ความแตกต่างของรายได้ระหว่าง


สาขาการผลิต ทั้งในระดับประเทศภาคและจังหวัด และระหว่างกลุ่มอาชีพ


ใหญ่ ๆ เช่น ระหว่างเกรษตรกรกับผู้ประกอบวิชาชีพอิสระ ทั้งนี้เพื่อ


ประกอบการวางแผนการผลิตของประเทศ ภาคและจังหวัด ตลอดจนการลด


ช่องว่างของรายได้ของประชาชนในเขตต่าง ๆ ด้วย



5.5 ใช้ประโยชน์ในการเปรียบเทียบรายได้ของประชาชนไทยกับ


ต่างประเทศ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการวัดระดับการพัฒนาของประเทศต่าง ๆ


โดยการเปรียบเทียบผลิตภัณฑ์ประชาชาติต่อคน (GNP Income per


Capita) หรือรายได้ประชาชาติต่อคน (National Income per Capita)


ของประเทศไทยกับประเทศอื่น ๆ
























รายได้ประชาชาติ

39








5. ประโยชน์ของรายได้




ประชาชาติ











5.6 การวางแผนการผลิต การจัดจ าหน่ายในภาคเอกชน ซึ่งปัจจุบัน


ได้น ารายได้ประชาชาติไปใช้วิเคราะห์กันอย่างกว้างขวาง เพราะสามารถจะ


ทราบได้ว่าการผลิตสินค้าและบริการต่าง ๆ มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร มี


สัดส่วนการผลิตในหมวดนั้น ๆ มากน้อยแค่ไหน และมีสัดส่วนต่อประเทศ


อย่างไร เมื่อเทียบกับวัตถุดิบ ทุน และความต้องการใช้ภายในและ



ต่างประเทศแล้วควรจะส่งเสริมการผลิตสินค้านั้น ๆ เพิ่มขึ้นหรือไม่


นอกจากนี้ การวางแผนกระจายการผลิตไปสู่จังหวัดต่าง ๆ ก็สามารถ


วิเคราะห์ได้จากผลิตภัณฑ์ภาคและจังหวัดเช่นกัน
































รายได้ประชาชาติ

39










6. ข้อบกพร่องในการใช้การใช้รายได้ประชาชาติ


เป็นเครื่องวัดสวัสดิการทางเศรษฐกิจ











แม้ว่าสถิติรายได้ประชาชาติจะมีความส าคัญ และจ าเป็นยิ่งส าหรับ


การศึกษาสถานการณ์ทางเศรษฐกิจของประเทศและการก าหนดนโยบาย


เศรษฐกิจการเงินและการคลังของประเทศก็ตาม แต่ไม่ใช่เครื่องวัดสวัสดิการ


ทางเศรษฐกิจ (Economic Welfare) ที่สมบูรณ์นัก ทั้งนี้ เพราะ


6.1 รายได้ประชาชาติไม่ได้รวมสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ผลิตได้



ทั้งหมดแท้จริง กล่าวคือ จะไม่รวมสินค้าและบริการที่ไม่ได้ผ่านตลาด เช่น


การท างานบ้านของแม่บ้าน การเพาะปลูกเพื่อบริโภคเอง การปลูกสร้างที่พัก


อยู่อาศัยเอง หากสินค้าและบริการที่ไม่ผ่านตลาดมีมูลค่าเพียงเล็กน้อย


รายได้ประชาชาติก็จะเป็นเครื่องชี้สวัสดิการทางเศรษฐกิจที่ใกล้เคียงกับ


ความเป็นจริง แต่ถ้าประเทศใดมีสินค้าและบริการที่ไม่ได้ผ่านตลาดเป็น


มูลค่าสูง รายได้ของประชาชาติย่อมชี้ให้เห็นสวัสดิการทางเศรษฐกิจที่ต่ ากว่า



ความเป็นจริง















รายได้ประชาชาติ

39










6. ข้อบกพร่องในการใช้การใช้รายได้ประชาชาติ


เป็นเครื่องวัดสวัสดิการทางเศรษฐกิจ











6.2 รายได้ประชาชาติไม่ได้ค านึงถึงค่าเสียหายที่


การผลิตก่อให้เกิดขึ้นแก่สังคม ตัวอย่าง เช่น โรงงานทอ


ผ้าซึ่งตั้งอยู่ต้นล าธาร ก่อให้เกิดสภาพแวดล้อมเป็นพิษแก่


บุคคล เช่น น ้าเสีย เสียงรบกวนชาวบ้าน อากาศเป็นพิษ สิ่ง



เหล่านี้ล้วนท าให้สวัสดิการทางเศรษฐกิจเลวลง ผลิตผลที่


โรงงานทอผ้าผลิดได้จะถูกนับรวมเข้าไว้ในรายได้ประชาชาติ


ดังนั้น รายได้ประชาชาติจึงชี้ให้เห็นสวัสดิการทางเศรษฐกิจที่


เกินความเป็นจริง



ข้อบกพร่อง 2 ประการนี้ หากได้มีการประมาณตัวเลข


อย่างหยาบ ๆ นั้นคือ หามูลค่าของการท างานของแม่บ้านอื่น


ๆ และต้นทุนในการแก้ไขสภาพแวดล้อมเป็นพิษอันเกิดจาก


การผลิตแล้วน ามาปรับปรุง จะท าให้รายได้ประชาชาติเป็น


เครื่องวัดสวัสดิการทางเศรษฐกิจได้ดีขึ้น











รายได้ประชาชาติ


Click to View FlipBook Version