The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปีรามัน65.docx

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานประจำปีรามัน65.docx

รายงานประจำปีรามัน65.docx

รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ศนู ยย์ ุตธิ รรมชุมชนอำเภอรามัน อำเภอรามนั จังหวัดยะลา

อำเภอรามนั จังหวัดยะลา

ประจำปี 2565

(๑)

คำนำ
ศูนย์ยุติธรรมชุมชนมีภารกิจหลัก 5 ด้าน (๑) การป้องกันและควบคุมอาชญากรรมในชุมชน
(Crime Control & Prevention) (2) การรบั เรื่องราวร้องทุกข์ แจง้ เบาะการทจุ ริตคอรปั ช่นั (3) การไกล่เกล่ีย
ประนอมข้อพิพาท (Conflict Management) (4) การเยียวยาเสริมพลัง แก่เหยื่ออาชญากรรมและความรู้สกึ
ของชุมชน (Community & Empowerment) (5) การรับผู้พ้นโทษหรือผู้ถูกคุมประพฤติกลับสู่ชุมชน
(Reintegration) นอกจากนี้ ยังมีภารกิจอื่นที่ได้รับมอบหมายตามนโยบาย เช่น การให้ความรู้แก่ประชาชน
ในเร่ืองกฎหมายเบ้อื งตน้ และกระบวนการยุตธิ รรม การบรกิ ารประชาชนเชิงรกุ
ในอดีต ศูนย์ยุติธรรมชุมชนภายใต้การสนับสนุนของสำนักงานยุติธรรมจังหวัดยะลามิเคยจัดทำ
รายงานประจำปีของศูนย์ยุติธรรมชุมชน ทำให้ไม่ทราบว่าผลการดำเนินงานศูนย์ยุติธรรมชุมชนนั้นๆ
เป็นอย่างไร ดังนั้น เมื่อสิ้นสุดปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานยุติธรรมจังหวัดยะลา จึงได้กำหนดให้
ศูนย์ยุติธรรมชุมชนจัดทำรายงานประจำปีอันเป็นการบ่งบอกถึงผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมา อีกทั้ง กระทรวง
ยุติธรรมกำหนดให้ยกระดับศูนย์ยุติธรรมชุมชนเป็นระดับ A นั้น เป็นการแสดงศักยภาพในการจัดทำรายงาน
ประจำปขี องศูนยย์ ุตธิ รรมชมุ ชนอกี ทางหน่งึ

(2)

สารบัญ หน้า
(๑)
คำนำ............................................................................................................................. ................... (๒)
สารบัญ.................................................................................................... ......................................... ๑
ส่วนที่ 1 ข้อมูลท่วั ไป........................................................................................................................ ๑-๒๐
๒๑-๒๒
ขอ้ มูลทว่ั ไปของเขตพ้ืนท่ีรบั ผดิ ชอบ.................................................................................. ๒๓
โครงสรา้ งคณะกรรมการศนู ยย์ ุตธิ รรมชมุ ชน.................................................................... ๒๔
ภารกิจศนู ย์ยตุ ิธรรมชุมชน................................................................................................ ๒๔
สว่ นที่ 2 ผลการปฏบิ ัติงาน.............................................................................................................. ๒๔
ผลการปฏบิ ัตงิ านตามภารกจิ ศนู ยย์ ุตธิ รรมชุมชน............................................................... ๒๔
ผลการปฏิบตั ิงานตามภารกิจศนู ยย์ ตุ ธิ รรมชุมชนตามขอ้ กำหนดของส่วนกลาง................. ๒๕
ผลการปฏบิ ตั งิ านตามภารกิจศนู ย์ยตุ ิธรรมชมุ ชนด้านประชาสมั พันธ์................................ ๒๖-๒๗
ผลการปฏบิ ัตงิ านตามภาพรวมภารกจิ ศนู ย์ยตุ ธิ รรมชมุ ชนตามข้อกำหนดของสว่ นกลาง...
ผลการปฏิบตั ิงานตามภาพรวมภารกจิ ศนู ยย์ ตุ ิธรรมชมุ ชนตามข้อกำหนดของสำนักงาน ๒๘
ยุติธรรมจงั หวัดยะลา........................................................................................................ ๒๙
ส่วนท่ี 3 ผลงานเด่น.........................................................................................................................
ผู้จดั ทำ.............................................................................................................................................



พืน้ ทรี่ ับผิชอบ ๘ ตำบล ดงั น้ี ส่วนที่ ๒
๑. ตำบลบือมงั ข้อมูลท่ัวไป
๓. ตำบลกาลอ
๕. ตำบลกาลปู ัง ๒. ตำบลบาโงย
๗. ตำบลยะต๊ะ ๔. ตำบลเนนิ งาม
๖. ตำบลวงั พญา
๘. เทศบาลตำบลโกตาบารู

๑.ตำบลบอื มัง
สภาพท่วั ไป
ทตี่ ั้งและขนาด

ตำบลบือมงั เป็นตำบลหนึง่ ใน ๑๖ ตำบลของอำเภอรามนั จังหวดั ยะลา หา่ งจากทว่ี า่ การอำเภอรามัน
ทางทิศตะวันตกเฉยี งใต้ ประมาณ ๑๔ กิโลเมตร มีพืน้ ทท่ี ง้ั หมดประมาณ ๓๒.๔๕ ตารางกิโลเมตร หรือ
ประมาณ 20,281.25ไร่
อาณาเขตตดิ ต่อ

ทิศเหนอื ตดิ ต่อกับ ตำบลโกตาบารู และตำบลบุดี อำเภอเมือง
ทิศใต้ ตดิ ตอ่ กับ ตำบลกาลอ อำเภอรามัน และตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบนั นังสตา
ทิศตะวนั ออก ติดตอ่ กบั ตำบลยะต๊ะ อำเภอรามัน
ทศิ ตะวนั ตก ติดตอ่ กบั ตำบลกรงปินัง กิ่งอำเภอกรงปินงั และตำบลตาเนาะปเู ต๊ะ อำเภอ
บนั นังสตา
ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ

สภาพพืน้ ท่ตี ำบลบือมัง สว่ นใหญเ่ ปน็ พนื้ ท่ลี าดชัน สภาพเป็นภูเขา และทรี่ าบสงู ตามเทือกเขากาลอ

และป่าสงวน มคี วามสมบรู ณ์ ตามธรรมชาติ มกี ารจดั สรรท่ีดนิ เพอื่ การเกษตร (สปก ๔ – ๐๑) นอกจากน้นั ยัง

มนี ้ำตก แมน่ ้ำ ลำธาร อยู่ในหมู่ ๑,๒,๓,๔ และหมู่ท่ี ๖ ทรี่ าบมีประมาณ ๔๐ % ของตำบลอยู่ในหมูท่ ่ี ๑,๓

และ ๔ ทีร่ าบลุ่มอยู่ในหมู่ ๒,๔ และ ๕ การใช้ประโยชน์ทดี่ ินสว่ นมากจะใชป้ ลกู พืชยืนตน้ เช่นยางพารา ไมผ้ ล

และทำนาสภาพภมู ิอากาศอยู่ในลกั ษณะภมู ิประเทศแบบรอ้ นชืน้ มีฝนตกปริมาณมากในช่วง เดอื นธนั วาคม

และปรมิ าฝนตกตำ่ สดุ ในเดือนกุมภาพันธ์


การเมอื งการปกครอง

เขตการปกครอง
ตำบลบือมงั แบ่งการปกครองออกเป็น ๖ หมบู่ า้ น คอื
หมทู่ ี่ ๑ บา้ นตะโละเลาะ มพี น้ื ท่ี ๔,๖๘๗ ไร่
หม่ทู ่ี ๒ บา้ นบือมัง มีพื้นท่ี ๓,๐๓๐ ไร่
หมู่ที่ ๓ บ้านดซู งตาวา มีพื้นที่ ๖,๘๘๑ ไร่
หมู่ท่ี ๔ บา้ นมาแฮ มีพืน้ ที่ ๑,๓๗๙.๒๕ ไร่
หมูท่ ่ี ๕ บา้ นปงตา มีพ้นื ท่ี ๑,๙๓๑ ไร่
หมู่ที่ ๖ บ้านปีแยะ มีพน้ื ที่ ๒,๓๗๓ ไร่

ประชากร
ประชากร ณ เดือนกันยายน ๒๕๕๒ จำนวนทงั้ หมด ๕,๒๔๔ คน เป็นชายจำนวน ๒,๕๘๘ คน และ

เปน็ หญิงจำนวน ๒,๖๕๖ คน ๑,๐๖๓ ครวั เรอื น จากจำนวนประชากรปัจจุบันของตำบลบอื มัง การต้งั ถนิ่ ฐาน
ส่วนใหญม่ ลี กั ษณะแบบสังคมชนบททั่วไป จะมีการกระจกุ ตัวอยู่เป็นกลุม่ บ้าน ได้แก่

หมู่ท่ี ๑ บา้ นตะโละเลาะ มี ๓ กล่มุ บ้านคือ บา้ นบาลกู า, บ้านตะโละเลาะ และบ้านบาโงกามตู ิง
หมู่ที่ ๒ บ้านบือมัง มี ๖ กลุ่มบา้ นคือ บ้านตะโละมาเละ, บา้ นปูลาตือเงาะห์, บ้านดรู แี ยดง, บา้ นบา
เละฮีเล, บา้ นมืองาแบ และบ้านปาฆามูติง
หมทู่ ี่ ๓ บ้านดูซงตาวา มี ๕ กล่มุ บ้านคือ บ้านดูซงตาวา, บ้านมาแฮยาโตะฮ์, บา้ นบีโละ, บา้ นปาฮงมา
แจ, บ้านดีแยสปาฮง
หมู่ท่ี ๔ บา้ นมาแฮ มี ๖ กลุม่ บา้ นคือ บา้ นมาแฮ, บา้ นลโู บะบือโน, บ้านตะโละเก๊ียะ, บ้านกแู บลเี ตาะ,
บ้านบือเจาะฆาบุฮ และบ้านมูบา
หมูท่ ี่ ๕ บ้านปงตา มี ๓ กลมุ่ บา้ นคอื บา้ นปงตา, บ้านลือมุ และบ้านทาเนาะปือเราะ
หมทู่ ี่ ๖ บา้ นปีแยะ มี ๒ กลุ่มบา้ นคอื บา้ นปีแยะ และบา้ นเป๊ยี ะใน
และบางส่วนจะกระจายไปตามที่พน้ื ทเี่ กษตรกรรม โดยมศี าสนสถาน คือมสั ยิดเป็นศูนย์กลาง
วฒั นธรรมประเพณีมีเอกลักษณเ์ ฉพาะดา้ นศาสนาอสิ ลาม พดู ภาษามลายู บริเวณที่มีประชากรอยู่หนาแน่น
ทสี่ ุด ได้แกช่ มุ ชนบา้ นบือมัง



ดา้ นสังคม
การศกึ ษา
ตำบลบอื มัง มีสถานศึกษา คือ
โรงเรียนระดบั ประถมศกึ ษาจำนวน ๔ แหง่
ทอ่ี า่ นหนังสือพิมพ์ ๕ แห่ง
โรงเรียนสอนศาสนาอิสลาม (ตาดีกา) ๑๐ แห่ง

ศาสนา
ประชากรตำบลบือมัง นับถอื ศาสนาอิสลามร้อยละ ๑๐๐ โดยมีมัสยิดและ สเุ หรา่ เปน็ ศาสนสถาน

สำหรับประกอบพิธกี รรมทางศาสนา ภายในตำบลมีมัสยดิ จำนวน ๙ แหง่
การสาธารณสุข

ตำบลบือมงั มีสถานีอนามัยประจำตำบล จำนวน ๑ แห่ง ไดแ้ กส่ ถานี อนามยั ตำบลบอื มัง ต้ังอย่หู มู่ท่ี ๕
ตำบลบอื มัง มีเจา้ หน้าทป่ี ระจำอนามยั จำนวน ๔ คน และมศี ูนย์สาธารณสขุ มูลฐาน(ศสมช.) ประจำหมู่บา้ น
จำนวน ๖ แหง่ โดยมี อสม. ประจำหมูบ่ า้ น หมู่บ้านละ ๑๐ คน
สาธารณูปโภค

ปจั จบุ นั ในหมบู่ ้านต่าง ๆ ของตำบลบือมงั มีสถานบรกิ ารสาธารณะใหบ้ ริการแกป่ ระชาชน ไดแ้ ก่
ท่อี ่านหนังสือประจำหม่บู ้าน มีจำนวน ๕ แห่ง ตงั้ อยทู่ หี่ มู่ที่ ๑,๒,๓,๔ และ ๖
หอกระจายข่าว มีอยู่ในหมบู่ ้านซ่ึงเปน็ ของ อบต.จำนวน ๖ แห่ง ขององค์กรในหมู่บ้าน จำนวน

๕ แห่ง และหอกระจายข่าวระบบไรส้ ายของ อบต. จำนวน ๑ จดุ
ทท่ี ำการ อบต. ต้งั อย่ทู ่ี หมู่ที่ ๕
ศูนยบ์ รหิ ารราชการประจำตำบล ตง้ั อยทู่ ่ี หมู่ท่ี ๒
ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเล็กบา้ นปีแยะ จำนวน 1 แห่ง ต้งั อยทู่ ห่ี มู่ที่ ๖



๒. ตำบลบาโงย

ตำบลบาโงย ก่อตง้ั ขนึ้ เมื่อปี พ.ศ. 2475 ได้ชอื่ วา่ "บาโงย" หมายถงึ เขาเต้ียๆ หรอื เนิน สาเหตทุ ่ี
ได้ตัง้ ชือ่ น้ี เน่ืองจากกลางหมู่บ้านจะมีพนื้ ทเี่ ปน็ เนนิ ขนาดกลาง นำ้ ไมท่ ่วม มีประวัตคิ วามเป็นมาคือเดิมมีสามี
ภรรยาคู่หน่ึงเป็นชาวจีน สนั นษิ ฐานว่ามาจากเมืองปัตตานี มาตัง้ ครอบครวั และมาค้าขาย กับเมืองรามนั (โก
ตาบารู) โดยขนสินคา้ จากเมืองโกตาบารู ไปสง่ ท่าเรือปตั ตานี และขนสนิ คา้ จากปัตตานี มาสง่ ทเ่ี มืองโกตาบารู
เมอ่ื มีครอบครวั จงึ มาสร้างบา้ นเรอื นบนเนนิ น้ี คนเมืองโกตาบารเู รียกคนน้วี า่ "โตะ๊ บาโง" และเป็นตน้ ตระกลู
"เด็งระกนี า" ซ่ึงตน้ ตระกูลนเ้ี ป็นผนู้ ำสบื ทอดกนั มาในตำบลบาโงยจนถงึ ปัจจบุ นั จงึ ได้มีการนำคำวา่ "บาโง"
หรอื บาโงย มาตั้งเป็นช่ือหมู่บ้านและตำบลจนถึงปัจจุบัน

ตำบลบาโงยได้รับการยกฐานะจากสภาตำบลเป็นองค์การบริหารส่วนตำบล ตามประกาศ
กระทรวงมหาดไทย และมผี ลบงั คับใชเ้ มื่อปี 2542 โดยมีผบู้ ริหารคนแรกคอื นายอสิ มาแอ เด็งระกีนา แบ่ง
เขตการปกครอง ออกเปน็ 4 หมู่บ้าน มีจำนวนประชากรทั้งหมด 2,841 คน แยกเป็นชาย 1,407 คน และ
หญงิ 1,434 คน การตั้งถ่ินฐานส่วนใหญ่ มีลกั ษณะเป็นแบบสงั คมชนบท มีการกระจุกตัว อย่เู ปน็ กลมุ่ บา้ น
และบางส่วนจะกระจายไปตามพน้ิ ทเ่ี กษตรกรรมของตนเอง โดยมีศาสนาสถานเป็นศูนย์กลาง

ประชากร

จำนวนประชากร จำนวนประชากรท้ังหมด 6,991 คน แยกเปน็ ผ้ชู าย จำนวน 3,444 คน ผู้หญิง
จำนวน 3,557 คน มีความหนาแนน่ เฉลี่ยต่อพืน้ ท่ี 350 คน/ตารางกโิ ลเมตร จำนวนครัวเรอื น 1,214
ครัวเรอื น ความหนาแนน่ ของบา้ นเฉล่ียต่อพนื้ ท่ี 61 หลังคาเรอื น นบั ถือศาสนาอสิ ลาม 100 %

อาชีพ

อาชพี หลัก ได้แก่ การทำนา ทำสวน อาชพี เสรมิ ได้แก่ การเล้ยี งโค ข้อมูลสถานที่สำคัญของตำบล 1.
โรงเรยี นบา้ นยือโร๊ะ



๓.ตำบลกาลอ

สภาพท่วั ไป

ท่ีต้ังและขนาด

ตำบลบาลอ เป็นตำบลหน่ึงใน 16 ตำบลของอำเภอรามัน จังหวัดยะลา มที ตี่ ง้ั อยู่ทางทศิ ใต้

ของอำเภอ โดยอยหู่ า่ งจากทว่ี า่ การอำเภอรามัน ทางทิศใต้ตามแนวเส้นทางโยธาสายรามัน บา้ นบาโงปู

โล๊ะ มพี ้ืนทโ่ี ดยประมาณ 26.41 ตารางกโิ ลเมตร หรอื ประมาณ 18,430 ไร่

อาณาเขต

ทศิ เหนือ ตดิ ต่อกับ ตำบลกายบู อเกาะ อำเภอรามนั จังหวัดยะลา

ทิศใต้ ตดิ ต่อกับ ตำบลเรียง อำเภอรอื เสาะ จงั หวัดนราธิวาส

ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ต่อกับ ตำบลตะโล๊ะหะลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

ทิศตะวนั ตก ติดตอ่ กับ ตำบลกายบู อเกาะ ตำบลยะต๊ะ อำเภอรามนั จงั หวดั ยะลา

ลกั ษณะภมู ิประเทศและภูมิอากาศ

มีลักษณะเปน็ พน้ื ท่ีราบลมุ่ – ราบสูง และพ้ืนที่ภูเขา ดงั รายละเอยี ดตอ่ ไปนี้

1. พื้นที่ภูเขามีความสูงจากระดับน้ำทะเล 300–417 เมตร และมีพื้นที่ประมา ณ

30 % ของพื้นที่ตำบล อยู่ทางตะวันตกของตำบล พื้นที่ส่วนมากจะเป็นพื้นที่ป่าสงวน และมีการปลูก

ยางพาราบา้ งบางสว่ น

2. พื้นที่เชิงเขา ความสูงจากระดับน้ำทะเล 100 – 300 เมตร มีพื้นท่ีประมาณ 25 % ของ

พื้นทต่ี ำบล พน้ื ทีส่ ่วนใหญ่ปลูกยางพารา ไมผ้ ล ไมย้ ืนต้น

3. พนื้ ทร่ี าบลมุ่ มีความสงู จากระดบั น้ำทะเล 10–100 เมตร มพี ้ืนทปี่ ระมาณ 10% ของพ้ืนที่

ตำบล พ้ืนทีส่ ่วนใหญจ่ ะทำการปลูกยางพารา ปลูกไมผ้ ลไม้ยนื ต้นและมีการทำนาบา้ งบางส่วน

4 . พื้นที่ราบลุ่ม มีความสูงจากระดับน้ำทะเล 20 – 30 เมตร มีพื้นที่ประมาณ 35 % ของ

พื้นที่ตำบล พื้นที่ตำบล พื้นที่ส่วนใหญ่จะเป็นพื้นที่ทำนา และมีการปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น และปลูก

ยางพารา

สภาพทางด้านสงั คม

ด้านสงั คม

สภาพทางสังคมของตำบล ประกอบด้วยประชากรที่นบั ถอื ศาสนาอสิ ลาม กว่า รอ้ ย

ละ 99 ในขณะที่ประชากร อีกร้อยละ 1 นับถือศาสนาพุทธ โดยมีสถาบันทางศาสนา ได้แก่ มัสยิด

7 แห่ง บาลาเซาะ 3 แห่ง

การศึกษา

ในตำบลบาลอ มีโรงเรียนระดับประถมศึกษาจำนวน 3 แห่ง โรงเรียนอาชีวะ 1 แห่ง

โรงเรยี นสอนศาสนา 1 แห่ง


ศาสนา

ประชากรภายในตำบลบาลอนับถอื ศาสนาอิสลามร้อยละ 90 โดยมีมัสยิดและสุเหร่า เปน็ ศาสน
สถานสำหรับประกอบงานบุญและพิธกี รรมทางศาสนาภายในตำบลมี
มสั ยิด จำนวน 7 แห่ง สุเหร่า 4 แหง่ และมีศูนยอ์ บรมและศาสนสถานประจำมัสยดิ หรือโรงเรียน
สอนตาดกี า จำนวน 9 แห่ง
การสาธารณสขุ

ภายในตำบลบาลอ มสี ถานีอนามยั ประจำตำบล จำนวน 1 แหง่ ไดแ้ ก่สถานีอนามยั ตำบล
บาลอ ตัง้ อยูห่ มู่ที่ 1 ตำบลบาลอ มีเจ้าหน้าทป่ี ระจำอนามยั จำนวน 3 คน และมีศนู ยส์ าธารณสุขมลู
ฐาน(ศสมช.) ประจำหมู่บา้ น จำนวน 7 แหง่ โดยมี อสม. ประจำหมูบ่ า้ น หม่บู ้านละ 5 คน
สาธารณูปโภค

ปัจจุบนั ในหมู่บา้ นต่าง ๆ ของตำบลบาลอ มบี รกิ ารสาธารณะให้บริการแก่ประชาชน ได้แก่
- ท่อี ่านหนังสอื ประจำหมู่บ้าน มจี ำนวน. 7 แหง่ ตั้งอยูท่ ี่หมูท่ ี่ 1 , 2 , 3, 4, 5, 6, 7
- กองทุนยา(ศสมช.) จำนวน 7 แหง่ ต้ังอยทู่ ี่หมู่ที่ 1 , 2 , 3, 4, 5, 6, 7
- หอกระจายข่าว มีอยภู่ ายในหม่บู า้ นซ่ึงเป็นขององค์กรของหม่บู ้าน คอื มสั ยิด
- ท่ที ำการ อบต. ตั้งอยทู่ ีห่ มู่ที่ 1
- ศูนยก์ ฬี าตำบล จำนวน 1 แหง่ ตัง้ อยูท่ ่หี มทู่ ี่ 1
ด้านเศรษฐกิจ
การประกอบอาชีพ
ประชากรตำบลบาลอ สว่ นใหญ่มีการประกอบอาชพี ทำสวนยางพารา คดิ เป็นรอ้ ยละ 80 รองลงมา
ได้แกอ่ าชพี ทำนาและทำสวน ประมาณรอ้ ยละ 8 และค้าขาย รับราชการ ประมาณรอ้ ยละ 2
ด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม
ตำบลบาลอมีทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ ได้แก่ เป็นเขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่าเทือกเขา
ลาก๊ะ เป็นแหล่งต้นน้ำของตำบลบาลอ และมีแม่น้ำสายบุรีไหลผ่านกั้นแนวเขตตำบลบาลอกับตำบล
สาวอ อำเภอรือเสาะ จงั หวดั นราธิวาส
แหล่งน้ำ แหล่งน้ำธรรมชาติที่สำคัญของตำบลบาลอ ได้แก่ แม่น้ำสายบุรี ไหลผ่านพื้นที่ทางทิศใต้
ของตำบล เป็นเส้นแบ่งเขตตำบลบาลอกับตำบลสาวอ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส นอกจากแม่น้ำ
สายบรุ แี ลว้ ยังมีลำคลอง ลำธารอกี มากมาย เชน่ คลองตะโละ๊ แม บึงบาโระยามู บึงละแอ



๔.ตำบลเนินงาม

สภาพท่ัวไป

สภาพพ้ืนท่ตี ำบลเนนิ งาม เป็นพื้นทีภ่ เู ขาอย่ทู างทศิ ตะวนั ตก ความสงู จากระดับนำ้ ทะเล 130 - 170

เมตร และค่อย ๆ ลาดต่ำไปจนเปน็ ทร่ี าบลุ่มทางทิศตะวันออก

เนอ้ื ท่ี

สว่ นพืน้ ที่ ท่ีเปน็ ทร่ี าบลมุ่ ประมาณร้อยละ 40 เหมาะแกก่ ารทำนาข้าว นอกจากน้ันเป็นพื้นทีเ่ นนิ

(ควนดนิ ) มีแหล่งนำ้ ธรรมชาติประเภท คลอง ลำห้วย บึง และสระน้ำ

ทตี่ ั้งอาณาเขต

ตำบลเนินงาม มเี นื้อท่ีประมาณ 20.70 ตารางกโิ ลเมตร หรอื ประมาณ 12,937.50 ไร่

ทที่ ำการองคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลเนินงาม อยู่ทางทิศตะวนั ตกของท่ีว่าการอำเภอรามัน ตั้งอยู่ หม่ทู ี่

6 ตำบลเนนิ งาม อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

ภมู ปิ ระเทศ

สภาพพ้นื ที่ตำบลเนินงาม เป็นพ้นื ทภี่ เู ขาอย่ทู างทศิ ตะวันตก ความสูงจากระดบั นำ้ ทะเล 130 -

170 เมตร และค่อย ๆ ลาดตำ่ ไปจนเป็นท่รี าบลมุ่ ทางทิศตะวันออก โดยพ้นื ทล่ี าดเนินเหมาะสำหรับปลกู

ยางพารา และพื้นท่ีราบลุม่ ประมาณร้อยละ 40 เหมาะแก่การทำนาขา้ ว มแี หล่งนำ้ ธรรมชาติประเภท

คลอง ลำห้วย บึง และสระน้ำ มีอาณาเขตตดิ ต่อ

ทศิ เหนอื ติดตำบลวังพญา อำเภอรามนั จงั หวัดยะลา

ทศิ ใต้ ตดิ ตำบลกาลูปังและตำบลบาโงย อำเภอรามนั จงั หวัดยะลา

ทศิ ตะวันออก ติดตำบลกอตอตือร๊ะ อำเภอรามัน จังหวดั ยะลา
ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ตำบลบดุ ี อำเภอเมือง จงั หวดั ยะลา

ประชากร



๕.ตำบลกาลูปัง

ท่ตี ัง้
ตำบลกาลูปงั เป็นตำบลหน่ึงใน 16 ตำบลของอำเภอรามนั จงั หวดั ยะลา หา่ งจากท่ีวา่ การอำเภอรา

มนั ไป ทางทศิ ตะวนั ตกประมาณ 8 กโิ ลเมตร สายทางหลวงหมายเลข 4060 สายยะลา-รามัน มพี ้นื ท่ีท้ังหมด
ประมาณ 20.50 ตารางกิโลเมตร หรอื ประมาณ 12,812.50 ไร่

ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตำบลกอตอตือร๊ะ ตำบลเนินงาม อำเภอรามัน
ทิศใต้ ติดต่อกับ ตำบลยะตะ๊ อำเภอรามัน
ทิศตะวนั ออก ตดิ ตอ่ กับ ตำบลกายบู อเกาะ อำเภอรามัน
ทิศตะวันตก ตดิ ตอ่ กับ ตำบลบาโงย ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน
การปกครอง

ตำบลกาลูปงั แบง่ การปกครองออกเป็น 4 หมบู่ ้าน คือ
หม่ทู ี่ 1 บา้ นบอื แนบารู
หมู่ที่ 2 บ้านกาลูปัง
หมู่ที่ 3 บา้ นบาลูกา
หมทู่ ี่ 4 บา้ นเลสุ
ประชากร
ประชากร ณ เดือน เมษายน 2550 จำนวนทง้ั หมด 2,693 คน เปน็ ชายจำนวน 1,288 คน เป็น
หญิงจำนวน 1,405 คน แสดงจำนวนประชากร จำนวนครัวเรอื น จำแนกตามรายหมบู่ า้ น

หมทู่ ี่ ชื่อหม่บู า้ น ประชากร จำนวนครัวเรอื น
ชาย หญิง รวม
1 บอื แนบารู 328 328 656 148
2 กาลปู งั 585 679 1264 265
3 บาลูกา 240 261 501 116
4 เลสุ 135 137 272 70
1,288 1,405 2,693 599
รวม

อาชีพและรายไดป้ ระชากร
ประชากรตำบลกาลปู งั ส่วนใหญ่มกี ารประกอบอาชีพเพียงอย่างเดียว ได้แก่ การเกษตร

กรรม ประมาณร้อยละ 75 รองลงมาไดแ้ กอ่ าชีพรบั จา้ งและเกษตรกรรม ประมาณรอ้ ยละ 22.14 และ
คา้ ขาย รับราชการ ประมาณร้อยละ 2.86
การศึกษา

ในตำบลกาลปู ังมีโรงเรยี นประถมศึกษา จำนวน 1 แห่ง ได้แก่โรงเรียนกาลูปงั โดยมี อาจารย์/
ครู ทง้ั หมด 13 คน พนักงานราชการจำนวน 1 คน นักเรยี นจำนวน 340 คน คดิ เปน็ อตั ราสว่ น ครู/
นักเรยี น 1:24 คน


ศาสนา

ประชากรภายในตำบลกาลูปังนับถือศาสนาอิสลามร้อยละ 100 โดยมีมสั ยดิ และสุเหรา่ เปน็ ศาสน
สถาน สำหรับประกอบงานบุญ และพิธกี รรมทางศาสนา ภายในตำบลมีมัสยิด และสุเหรา่
จำนวน 13 แห่ง และมศี นู ย์อบรมและศาสนาประจำมัสยิด หรือ โรงเรียนสอนตาดีกา จำนวน 6 แห่ง
การสาธารณสุข

ภายในตำบลกาลูปงั มีสถานีอนามัยประจำตำบล จำนวน 1 แห่ง
ได้แกส่ ถานอี นามัยตำบลกาลูปงั ตง้ั อยหู่ มู่ที่ 1 ตำบลกาลปู ัง มเี จา้ หน้าที่ประจำอนามยั จำนวน 3 คนและมี
ศนู ย์สาธารณสขุ มลู ฐาน (ศสมช.) ประจำหมู่บ้าน จำนวน 4 แห่งโดยม อสม.
การสาธารณปู โภค

ปัจจุบันในหมู่บา้ นตา่ ง ๆ ของตำบลกาลูปงั มบี ริการสาธารณะให้บริการแก่ประชาชนได้ที่อ่าน
หนังสอื พิมพ์ประจำหม่บู า้ น มีจำนวน 4 แหง่ ต้งั อยู่หมูท่ ี่ 1,2,3,4

กองทนุ ยา (สศมช.) จำนวน 4 แห่ง ตงั้ อยู่ท่ี 1,2,3,4
หอกระจายขา่ ว มีอยภู่ ายในหมู่บา้ นซึง่ เปน็ ขององค์กรของหมบู่ ้าน คือมสั ยิด ทที่ ำการ อบต. ตงั้ อย่หู มู่
ที่ 2
ศนู ย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 1 แหง่ ต้งั อยหู่ มู่ที่ 2
ศนู ย์กฬี าตำบล จำนวน 1 แห่ง ตั้งอยหู่ มู่ที่ 2
การบริการพื้นฐาน
การไฟฟ้า
ไฟฟา้ เป็นปัจจยั สำคัญทที่ ำให้เกดิ การพัฒนาในด้านตา่ ง ๆ ขณะน้ีประชาชนในตำบลกาลปู งั มไี ฟฟ้าใช้
ประมาณ 100%
การประปา
การระบบประปาในหมู่บ้านมีจำนวน 2 แห่งได้แก่ หมู่ท่ี 4 มใี ชน้ ำ้ ประมาณ 48 ครวั เรอื น และหมทู่ ่ี
2 ระบบประปาใช้ไม่ได้ ทำให้ประชาชนตอ้ งอาศัยบ่อน้ำตืน้ ขดุ ขึ้นมาเองภายในครวั เรอื น และอาศัยนำ้ ฝนไว้
บรโิ ภค

๑๐
ตำบลวังพญา
สภาพทั่วไป
ทตี่ ัง้ และขนาด
ตำบลวงั พญา เปน็ ตำบลหน่งึ ใน 16 ตำบล ของอำเภอรามัน จังหวัดยะลา องค์การบริหารส่วน ตำบล
วงั พญา ตัง้ อยูท่ ี่ หมูท่ ี่ 1 บา้ นปากาซาแม ตำบลวงั พญา อำเภอรามัน จงั หวัดยะลา ห่างจากทว่ี ่าการอำเภอ
เมืองยะลาประมาณ 13 กิโลเมตร มีพน้ื ท่ีทง้ั หมดประมาณ 63.13 ตารางกโิ ลเมตร หรือประมาณ
39,456.25 ไร่
ลกั ษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ
สภาพพน้ื ทโ่ี ดยท่ัวไป ของตำบลวงั พญา เป็นที่ราบลมุ่ บางพื้นทเี่ ป็นทรี่ าบและเนนิ เขาดินเต้ียๆ จงึ
เหมาะสมแกก่ ารทำการเกษตร ท้ังประเภท การทำนาข้าว การทำสวนยางพารา และสวนผลไม้ โดยพน้ื ที่ตำบล
วงั พญา ไม่อยูใ่ นเขตปา่ สงวนแหง่ ชาติ หรือเขตหวงห้ามตามประกาศกรมป่าไม้ และมแี หล่งนำ้ ธรรมชาติ จึงเปน็
ประโยชนต์ ่อการทำการเกษตรของราษฎร
สภาพภูมิอากาศเป็นลักษณะรอ้ นช้นื ฝนตกเกือบตลอดปี มี 2 ฤดู คือ ฤดูฝน ชว่ งเดือน พฤษภาคม
- มกราคม และฤดรู ้อน ช่วงเดือน กุมภาพันธ์ – เมษายน
อาณาเขตตดิ ตอ่ ดงั นี้
ทศิ เหนือ ตดิ ต่อกบั ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมือง จังหวัดยะลา
ทิศใต้ ตดิ ตอ่ กับ ตำบลกอตอตือระ๊ ตำบลเนินงาม และตำบลท่าธง อำเภอรามนั จังหวัดยะลา
ทิศตะวนั ออก ติดตอ่ กบั อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปตั ตานี
ทิศตะวันตก ตดิ ตอ่ กับ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมือง จังหวัดยะลา
การเมืองการปกครอง
เขตการปกครอง ตำบลวังพญามจี ำนวนหมบู่ า้ นท้งั หมด 7 หมู่บ้าน
หมู่ที่ 1 บ้านปากาซาแม
หมูท่ ี่ 2 บา้ นโตะ๊ ปาแก๊ะ
หมู่ท่ี 3 บา้ นวังพญา(ตาลาแน)
หมู่ท่ี 4 บา้ นอูเป๊าะ
หมทู่ ี่ 5 บา้ นบเู ก๊ะจือฆา
หมูท่ ่ี 6 บ้านหัวควน
หมูท่ ่ี 7 บ้านบาโงบองอ

๑๑
จำนวนประชากร

ตำบลวงั พญามีประชากร ทงั้ ส้ิน 8,093 คน แยกเปน็ ชาย 4,384 คน หญิง 3,709 คน นับถอื
ศาสนาอสิ ลาม 97% นบั ถือศาสนาพุทธ 3% จำนวน 2,125 ครวั เรือน

หมทู่ ี่ ชอื่ หมบู่ า้ น ชาย ประชากร รวม จำนวนครวั เรือน
662 หญิง 1,286
1 ปากาซาแม 838 624 1,629 366
2 โตะ๊ ปาแก๊ะ 501 791 1,030 436
3 วังพญา(ตาลาแน) 415 529 821 276
4 อูเปาะ 460 406 936 199
5 บูเก๊ะจือฆา 955 476 1,269 302
6 หัวควน 553 314 1,122 328
7 บาโงบองอ 4,384 569 8,093 218
รวม 3,709 2,125

สภาพทางเศรษฐกิจ
การศกึ ษา

- โรงเรียนระดบั ก่อนประถมศึกษา จำนวน 2 แห่ง
1. ศูนย์อบรมเดก็ ก่อนเกณฑ์ประจำมสั ยิดดารลุ ฮูดาห์ ตัง้ อย่หู มู่ท่ี 1
2. ศนู ยอ์ บรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมสั ยิดอลั ฟัลลาฮูอามลี ีน ต้ังอยู่หมู่ที่ 2

- โรงเรียนตาดีกา จำนวน 10 แห่ง ตง้ั อยู่หมูท่ ่ี 1 - 7
- โรงเรียนระดับประถมศึกษา จำนวน 4 แห่ง

1. โรงเรยี นบ้านโตะ๊ ปาแก๊ะ ตัง้ อย่หู มู่ท่ี 2
2. โรงเรียนบ้านวงั พญา ตง้ั อยหู่ มทู่ ี่ 3
3. โรงเรียนบ้านบเู ก๊ะจือฆา ตั้งอยู่หมู่ท่ี 5
4. โรงเรยี นบ้านปา่ ใส ต้งั อยู่หมูท่ ี่ 7
- โรงเรียนระดบั มัธยมศกึ ษา จำนวน 1 แห่ง
- โรงเรยี นดารลู ฮูดาวิทยา (โรงเรียนเอกชน) ตง้ั อยู่หม่ทู ่ี 1
ศาสนา
- วัด 1 แห่ง คอื วดั นิโครธาวาส ต้ังอยหู่ มูท่ ี่ 6
- มัสยิด 9 แห่ง ตง้ั อยูห่ มู่ท่ี 1 – 7

๑๒
การสาธารณสขุ

มีสถานีอนามยั 1 แห่ง ต้งั อยู่หมทู่ ่ี 3 และมีศูนยส์ าธารณสุขชมุ ชน (ศ.สบต) ประจำหม่บู ้าน จำนวน 7
หม่บู ้าน
สาธารณปู โภค

ปจั จุบันในหมบู่ า้ นต่าง ๆ ของตำบลวงั พญา มสี ถานบรกิ ารสาธารณะทใ่ี ห้บริการประชาชน ดงั น้ี
- ทอ่ี ่านหนงั สือประจำหมูบ่ ้าน มจี ำนวน 7 แห่ง ตัง้ อย่ทู ุกหมู่บา้ น
- หอกระจายข่าว 7 แหง่ ตัง้ อยู่ ณ. อบต.วงั พญา มัสยดิ และสุเหร่า
- ที่ทำการ อบต.วงั พญา ตั้งอยทู่ ่ี หมู่ท่ี 1 ปากาซาแมตำบลวังพญา อำเภอรามัน
- ศนู ย์พฒั นาเดก็ เลก็ อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดดารลุ ฮดู าห์ หมู่ที่ 1
- ศนู ย์พัฒนาเด็กเลก็ อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยดิ อัลฟลั ลาฮูอามลี ีน ตงั้ อยู่ ม. 2
- อาคารอเนกประสงค์ 5 แหง่ ตั้งอยทู่ ี่ หมทู่ ่ี 1,2 ,3,4,7

การประกอบอาชพี
อาชพี หลกั ของราษฎรตำบลวังพญา คือทำการเกษตร เช่นทำสวนยางพารา สวนผลไม้ สวนปาลม์ ทำ

นา เลยี้ งสตั ว์ คดิ เปน็ ร้อยละ 85 อกี รอ้ ยละ 15 รับราชการและรับจ้างท่วั ไป ประชากรมีรายได้ถวั เฉลี่ย
30,000.- บาท/คน/ปี
กลุ่มอาชพี มจี ำนวน 3 กลุ่มอาชีพ

1. กลุ่มปกั จกั ร ตงั้ อยูห่ ม่ทู ่ี 1 มีสมาชิกจำนวน 82 คน สามารถทำรายได้เฉลี่ย 2,000.- บาท /คน/
เดือน

2. กลุ่มจักสานใบเตย ตง้ั อยู่หมู่ท่ี 2 มีสมาชกิ จำนวน 108 คน สามารถทำรายไดเ้ ฉลย่ี 3,000 บาท
/ คน/เดือน

3. กลมุ่ เล้ยี งปลาทบั ทมิ มสี มาชิก 40 คน สามารถทำรายได้เฉลย่ี 3,000.- บาท คน/ เดอื น
การไฟฟ้า

ไฟฟ้าเปน็ ปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดการพัฒนาในด้านต่าง ๆ ขณะนี้ตำบลวังพญามไี ฟฟ้าใช้เกอื บทุก
ครวั เรือน ส่วนทย่ี ังไม่มีไฟฟ้าใชเ้ นอ่ื งจากก่อสรา้ งบ้านใหม่และแยกบ้านในสถานท่หี า่ งไกลจากชมุ ชน
การปะปา

ระบบประปาหม่บู า้ น จำนวน 7 แหง่ ต้งั อยทู่ ุกหมบู่ ้าน แต่มีบางกลุ่มบา้ นมกี ารขุดบอ่ นำ้ ตื้นและอาศยั
นำ้ ฝนไว้อปุ โภคและบริโภค

๑๓
๗.ตำบลยะตะ๊
สภาพและขอ้ มูลทั่วไป
สภาพทัว่ ไป
ทีต่ ้งั และขนาด
ทต่ี ้งั และขนาดตำบลยะต๊ะ เป็นตำบลหน่ึงใน 16 ตำบลของอำเภอรามัน จังหวดั ยะลา ห่างจากทีว่ ่า
การอำเภอรามนั ทางทิศตะวันตกเฉยี งใต้ ประมาณ 12 กโิ ลเมตร มีพ้ืนที่ทง้ั หมดประมาณ 26.63 ตาราง
กโิ ลเมตร หรอื ประมาณ 16,641 ไร่
อาณาเขตติดตอ่

ทิศเหนือ ตดิ ตอ่ กับ ตำบลกาลปู ัง อำเภอรามัน
ทิศใต้ ตดิ ตอ่ กับ ตำบลกาลอและตำบลบือมัง อำเภอรามัน
ทศิ ตะวันออก ติดตอ่ กับ ตำบลบาลอและตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน
ทศิ ตะวันตก ติดตอ่ กับ ตำบลบือมัง อำเภอรามัน

ลักษณะภมู ิประเทศและภมู ิอากาศ
สภาพพืน้ ท่ีตำบลยะต๊ะสว่ นใหญเ่ ปน็ พื้นทีร่ าบและที่ลุม่ โดยเฉลยี่ เปน็ พื้นที่ราบคอ่ นขา้ งสงู และภเู ขา

สลบั ซับซอ้ น เกษตรกรใช้ในการปลูกยางพารา ไม้ผลและไม้ยนื ต้นอยทู่ างฝง่ั ตะวันออกเฉียงใตข้ องตำบล
สภาพภูมอิ ากาศร้อนและฤดูฝน ฝนตกเกือบตลอดปี ฤดูฝนประมาณชว่ งเดือนพฤษภาคมถงึ เดือน

มกราคม ส่วนฤดูร้อนประมาณชว่ งเดอื นกุมภาพันธ์ ถงึ เดือนเมษายน

การเมอื งการปกครอง
ตำบลยะตะ๊ แบง่ การปกครองออกเป็น 5 หมู่บ้าน คือ

หมทู่ ่ี 1 บ้านปาแล ผ้ใู หญ่บ้าน นายซูเฟยี น สามะแก

หมทู่ ี่ 2 บ้านตกู ู ผู้ใหญบ่ ้าน นายกอเซ็ง โซะ๊ บารู

หมู่ท่ี 3 บ้านตะโละ ผใู้ หญบ่ า้ น นายมอมัดตอฮา ไสสากา

หมู่ที่ 4 บ้านอูแบ ผใู้ หญบ่ ้าน นายมะเฮะ สามะแก

หมูท่ ี่ 5 บา้ นตีบุ กำนัน นายอับดลุ เล๊าะอนิ กานิเซง็

ประชากร
ประชากรปจั จุบันของตำบลยะต๊ะ การต้งั ถิ่นฐานส่วนใหญม่ ลี ักษณะแบบสงั คมชนบททั่วไป และบางส่วน

จะกระจายไปตามท่ีพน้ื ที่เกษตรกรรม โดยมีศาสนสถาน คือมัสยดิ เปน็ ศูนย์กลาง วัฒนธรรมประเพณมี ี
เอกลักษณ์เฉพาะดา้ นศาสนาอสิ ลาม พดู ภาษามลายู บริเวณทีม่ ีประชากรอยหู่ นาแนน่ ท่ีสุด ได้แก่ชมุ ชนบ้านตะ
โละ หมทู่ ่ี 3

๑๔

แสดงจำนวนประชากรจำนวนครวั เรือนจำแนกตามรายหมู่บา้ น ณ เดือน มีนาคม 2565

หมทู่ ่ี ช่ือหมู่บ้าน ชาย ประชากร รวม จำนวนครัวเรอื น
604 หญงิ 1,228
1 บา้ นยะต๊ะ 419 624 833 261
2 บา้ นตกู ู 908 414 1,807 223
3 บ้านตะโละ 549 899 1,078 403
4 บา้ นอูแบ 442 529 901 244
5 บา้ นตีบุ 2,922 459 5,842 233
2,925 1,364
รวม

การศึกษา

ตำบลยะตะ๊ มสี ถานศึกษา คอื โรงเรยี นระดบั ประถมศึกษา มจี ำนวน 4 แห่ง ได้แก่

๑.โรงเรียนบา้ นอาเหอโู ต๊ะ ตง้ั อยู่ หมทู่ ี่ ๑

๒.โรงเรยี นบ้านตะโละ ตั้งอยู่ หมทู่ ี่ ๒

๓.โรงเรยี นยะต๊ะ ตัง้ อยู่ หมู่ที่ ๓

๔.โรงเรียนคีรบี ูรวฒั นา(ตีบ)ุ ตั้งอยู่ หมูท่ ่ี ๔

ศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เล็ก มจี ำนวน 2 แหง่ ได้แก่

๑.ศนู ยอ์ บรมเดก็ เกณฑ์ ประจำมสั ยิดดารลุ นาอิม ตงั้ อยู่ หมูท่ ่ี ๓

๒.ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเล็กบ้านอูแบ ต้ังอยู่ หมทู่ ี่ ๔

โรงเรียนสอนศาสนาอิสลาม (ตาดกี า) มีจำนวน 9 แห่ง ไดแ้ ก่

1 โรงเรียนตาดกี าอีกอมาตุดดีน ตั้งอยู่ หมู่ท่ี 1 บา้ นกามตู ิง

2 โรงเรยี นตาดีกาดารสุ าลาม ตั้งอยู่ หมู่ที่ 1 บ้านบาโงตือมุ

3 โรงเรียนตาดกี าอลั ฟุรกอน ตง้ั อยู่ หมทู่ ่ี 1 บา้ นบอื แนชอื มิ

4 โรงเรยี นตาดีกาอัลคอยรียะห์ ตง้ั อยู่ หมทู่ ่ี 2 บ้านโต๊ะมาโดะ๊

5 โรงเรยี นตาดกี าดารุลนาอิม ตงั้ อยู่ หมทู่ ี่ 3 บ้านตะโละ

6 โรงเรียนตาดีกาบ้านกาดอื แป ตัง้ อยู่ หมู่ที่ 3 บ้านกาดือแป

7 โรงเรียนตาดกี าดารุลฮูดา ตั้งอยู่ หมู่ท่ี 3 บา้ นตะโละยามิง

8 โรงเรียนตาดกี านูรุลฮดี ายะห์ ตั้งอยู่ หมู่ท่ี 5 บ้านตีบุ

9 โรงเรยี นตาดกี านรู ุลอิฮซาน ตงั้ อยู่ หมูท่ ่ี 5 บา้ นโต๊ะแย๊ะ

๑๕

สถาบันศกึ ษาปอเนาะจำนวน 1 แห่ง ได้แก่

สถาบันศึกษาปอเนาะตะห์ฟซิ ดารุลกรุอาน ต้ังอยู่ หมู่ที่ 4

ศาสนา
ประชากรตำบลยะตะ๊ นบั ถอื ศาสนาอิสลามร้อยละ 100 โดยมีมัสยดิ และสุเหร่าเป็นศาสนสถาน

สำหรับประกอบพิธกี รรมทางศาสนาและงานบญุ ภายในตำบลมี มัสยดิ จำนวน 11 แหง่ และ
สเุ หร่า จำนวน 6 แห่ง ดังน้ี
มสั ยดิ มีจำนวน 11 แห่งดงั น้ี

1 มัสยดิ ดารุสสลาม ตัง้ อยู่ หมู่ท่ี 1 บา้ นบาโงตือมุ
2 มสั ยดิ อลั ฟรุ กอน ตัง้ อยู่ หมูท่ ่ี 1 บ้านบอื แนชอื มิ
3 มสั ยดิ ซีอารุดดนี ตง้ั อยู่ หมทู่ ี่ 1 บา้ นกำปงปาแย
4 มสั ยิดนรู ลี ฮดี ายะห์ ตั้งอยู่ หมทู่ ่ี 1 บ้านกามตู ิง
5 มัสยิดอลั คอยรียะห์ ตง้ั อยู่ หมู่ท่ี 2 บา้ นโตะ๊ มาโด๊ะ
6 มสั ยดิ ดารลุ นาอมี ตงั้ อยู่ หมทู่ ่ี 3 บ้านตะโละ
7 มสั ยิดอลั ฮดี ายะห์ ตงั้ อยู่ หมทู่ ่ี 3 บา้ นตะโละยามิง
8 มัสยิดดารุลซาอาดะห์ ตง้ั อยู่ หม่ทู ่ี 3 บา้ นกาดือแป
9 มสั ยิดอลั ฮูรยี ะห์ ตั้งอยู่ หมู่ที่ 4 บ้านอูแบ
10 มสั ยิดยาแมะตีบุ ตงั้ อยู่ หมู่ท่ี 5 บ้านตีบุ
11 มัสยดิ นูรลุ อิห์ซาน ตง้ั อยู่ หมู่ที่ 5 บา้ นโตะ๊ แยะ๊

สุเหร่า มจี ำนวน 6 แหง่ ดังนี้

1 สุเหร่าบา้ นตูกู ต้ังอยู่ หมทู่ ี่ 2

2 สุเหร่าบา้ นตะโละใน ตั้งอยู่ หมทู่ ี่ 3

3 สเุ หร่าบา้ นตะโละเหนอื ตั้งอยู่ หมู่ท่ี 3

4 สุเหรา่ บา้ นปาแล ตง้ั อยู่ หมู่ที่ 4

5 สเุ หรา่ บ้านปูตะ ต้งั อยู่ หมู่ท่ี 4

6 สุเหร่าบา้ นตีบุ ตัง้ อยู่ หมทู่ ่ี 5

การสาธารณสุข

ตำบลยะตะ๊ มีโรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพประจำตำบล จำนวน 1 แห่ง และมรี ถกู้ภัย กู้ชีพ 1 คนั

(อบต.รบั ผดิ ชอบ)

สาธารณปู โภค

ปัจจุบนั ในหม่บู ้านตา่ ง ๆ ของตำบลยะต๊ะ มสี ถานบริการสาธารณะให้บริการแก่ ประชาชน

ประกอบด้วย

๑.ทท่ี ำการองค์การบริหารส่วนตำบล ตงั้ อยู่ที่ หมู่ท่ี 4

๒.สำนักงานบริหารราชการตำบล ตัง้ อยทู่ ี่ หมู่ที่ 4

๑๖
ด้านเศรษฐกจิ
การประกอบอาชีพ

ประชากรตำบลยะต๊ะ ส่วนใหญม่ กี ารประกอบอาชพี เกษตรกรรม ประมาณรอ้ ยละ 75 รองลงมา
ได้แก่อาชพี รบั จา้ ง ประมาณร้อยละ 17 และคา้ ขาย รบั ราชการ ประมาณร้อยละ 8 สว่ นใหญไ่ มม่ รี ายได้
เสรมิ
แรงงาน

ในวยั แรงงานของตำบลยะตะ๊ รอ้ ยละ 75 เป็นแรงงานในภาคเกษตรกรรม สว่ นใหญ่เปน็ แรงงานใน
ครวั เรือน เปน็ แรงงานในการทำนา ทำสวนไม้ผล สวนยางพารา ส่วนแรงงานทีเ่ หลือ
ร้อยละ 25 เป็นแรงงานประเภทตา่ ง ๆ เชน่ รบั จา้ ง ค้าขาย รับราชการ เปน็ ต้น
พาณชิ ยกรรม

ภายในตำบลยะต๊ะ มรี ้านจำหน่ายสนิ คา้ อุปโภคบรโิ ภค เนอื่ งจากร้านค้าขายของชำและสินคา้
เบ็ดเตลด็ ขนาดเลก็ ซ่ึงต้งั อยู่ตามหม่บู า้ นต่าง ๆ ส่วนสนิ ค้าอุปโภคบรโิ ภคทไ่ี ม่สามารถซ้อื ไดภ้ ายใน
ตำบล ตลอดจนอปุ กรณ์การผลติ ทางการเกษตร จะหาซื้อในเขตอำเภอรามนั และตวั จังหวัดยะลา สำหรบั
การจำหนา่ ยผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญของตำบล ได้แก่ ยางพารา จะมีพอ่ คา้ จากภายนอกมารบั ซอื้ จาก
ชาวบา้ นภายในตำบล
อุตสาหกรรม

ภายในตำบลยะต๊ะ ไมม่ ีอตุ สาหกรรมขนาดใหญ่ จะมเี พียงอตุ สาหกรรมขนาดเล็กเทา่ นั้น เช่น
อตุ สาหกรรมประเภทแปรรูปผลผลติ ทางการเกษตร ได้แก่ โรงสีข้าว กลุ่มแปรรูปผลติ ภัณฑส์ มนุ ไพร เป็นต้น
การท่องเท่ียว

ตำบลยะต๊ะ เป็นตำบลขนาดเล็กและทร่ี าบลุ่ม จงึ ไม่มีสถานที่ทอ่ งเทยี่ วในตำบล

ดา้ นโครงสร้างพื้นฐาน
การไฟฟา้

ไฟฟา้ เปน็ ปจั จยั สำคัญทที่ ำให้เกดิ การพัฒนาในด้านต่าง ๆ ขณะนี้ครัวเรอื นในตำบล
มีไฟฟา้ ใชป้ ระมาณ 99 % เหลือครวั เรือนประมาณ 1% ทยี่ งั ไม่มีไฟฟ้าใช้ เนอ่ื งจากเป็นบ้านท่ีกำลงั
กอ่ สร้างใหม่และแยกบ้านในสถานท่หี า่ งไกลจากชุมชน
การประปา

การระบบประปาเปน็ ระบบประปาภูเขา มีจำนวน 1 แหง่ ระบบประปาใชก้ ารได้ดี ระบบประปา
หมูบ่ ้าน จำนวน 3 แหง่ และราษฎรบางส่วนอาศัยบ่อน้ำต้ืนที่ขุดข้นึ ใชเ้ องภายในครวั เรอื นและอาศยั นำ้ ฝนไว้
บริโภค

๑๗

การสอื่ สาร

การบริการดา้ นการส่ือสารภายในตำบลยะต๊ะ มีการบรกิ ารด้านไปรษณีย์โทรเลข จำนวน 1 แหง่ โดย

มพี นกั งานไปรษณีย์อำเภอรามนั เป็นผู้ส่งจดหมาย และบริการโทรศัพท์มือถือใชไ้ ด้เพียงบางระบบในบางพน้ื ท่ี

เทา่ นนั้

การคมนาคม

การคมนาคมของตำบลยะตะ๊ มีการคมนาคมทางบก โดยมเี ส้นทางท่ีสำคญั คือ ทางรถยนต์ ใชท้ าง

หลวงแผ่นดินสายยะลา – รามัน ระยะทาง 19 กโิ ลเมตร เสน้ ทางดงั กล่าวเปน็ เสน้ ทางลาดยางและภายใน

หมบู่ า้ นมถี นนเช่ือมตดิ ต่อกนั ได้ทกุ หมู่บ้าน โดยเป็นเส้นทางลาดยาง ถนนคอนกรีตและถนนลูกรงั

ซงึ่ มีรายละเอียดดังน้ี (ท่ี อบต.รับผดิ ชอบ)

1. ถนน ลกู รงั จำนวน 12 สาย

2. ถนน ลาดยาง จำนวน 4 สาย

3. ถนน คอนกรตี เสรมิ เหลก็ จำนวน 55 สาย

4. สะพานคอนกรีต จำนวน 1 แห่ง

แหลง่ น้ำ

แหลง่ น้ำธรรมชาติของตำบลยะตะ๊ มีแหลง่ น้ำทสี่ ามารถนำมาใชป้ ระโยชน์ เพื่ออุปโภคบริโภค และ

เพื่อการเกษตร มีดงั นี้ (ที่ อบต.รบั ผดิ ชอบ)

1. ห้วย/หนอง/คลอง/บึง ฝาย จำนวน 3 แห่ง/สาย

2. บอ่ บาดาล จำนวน 2 แห่ง

3. บอ่ นำ้ ตืน้ สาธารณะ จำนวน 55 แห่ง

ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
ในเขตตำบลยะต๊ะ มีสภาพแวดล้อมแบบชนบททั่วไปที่ยังไม่มีผลกระทบจากมลพิษต่างๆ แต่ยังขาด

ความเป็นระเบียบเรียบร้อยสวยงามตามบริเวณบ้าน สภาพความเป็นอยู่และที่พักอาศัย สภาพถนนส่วนใหญ่
ภายในหมู่บา้ นยังมีสภาพเปน็ ลูกรังทำให้การดูแลรักษาความสะอาดทำได้ยากในช่วงหน้าแลง้ ก่อให้เกิดปัญหา
เรื่องฝุ่นละออง และในช่วงฤดูฝนจะก่อให้เกิดโคลนถนนลื่นทำให้การคมนาคมไม่สะดวก จึงควรปรับปรุงและ
แก้ไขส่งิ ตา่ งๆให้อย่ใู นสภาพท่ีดขี ึ้น

๑๘

๘.เทศบาลตำบลโกตาบารู

ขอ้ มูลเบือ้ งตน้
ที่ตง้ั และขนาด

เทศบาลตาํ บลโกตาบารมู พี ้นื ที่ประมาณ 17 ตารางกโิ ลเมตร หรอื 5,386 ไรซ่ ง่ึ มเี ขตพ้ืนท่ี ตดิ ต่อดังน้ี
ทิศเหนอื ตดิ ตอ่ ตาํ บลบาโงย อําเภอรามัน จังหวัดยะลา
ทิศใต้ ติดตอ่ ตาํ บลบือมัง อาํ เภอรามัน จงั หวดั ยะลา
ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ตอ่ ตําบลกาลปู ัง อําเภอรามนั จังหวัดยะลา
ทิศตะวันตก ตดิ ต่อ ตาํ บลบดุ อี ําเภอเมืองยะลา จงั หวัดยะลา

ลกั ษณะภูมิประเทศ
ภมู ิประเทศโดยทั่วไปของเทศบาลตําบลโกตาบารูดา้ นตะวันตกและด้านใต้เป็นภเู ขาเหมาะ สําหรับ

ปลกู ยางพาราและผลไมด้ า้ นเหนอื และด้านตะวันกออก มีลักษณะเปน็ ทร่ี าบลมุ่ เหมาะแก่การทํานา
ลกั ษณะภมู ิอากาศ

ลักษณะภมู ิอากาศของตําบลโกตาบารมู ลี กั ษณะรอ้ นชน้ื เน่ืองจากได้รบั อิทธพิ ลจากลมมรสุม
ตะวันออกเฉียงเหนือ และมรสุมตะวนั ออกตะวันออกเฉยี งใตม้ ี 2 ฤดูคอื ฤดรู ้อนและฤดูฝน ฤดูรอ้ นจะเร่ิม
ต้งั แต่เดือนกุมภาพันธ์ถุ ึงเดือนสงิ หาคม และฤดูฝน ต้งั แต่เดือนกนั ยายนถงึ เดือนมกราคม มีฝนตกตลอดชว่ งฤดู
และมีฝนตกชดุ มากที่สุด
ลักษณะของแหล่งน้ำ

น้ำอปุ โภค-บรโิ ภค
แหล่งน้ำเพื่อการอุปโภค-บริโภค ประชาชนในพนื้ ท่ตี ําบลโกตาบารสู ่วนมากยังใช้น้ำ บอ่ น้ำบอ่ บาดาล
น้ำปะปาส่วนภูมภิ าคและน้ำประปาเทศบาลตําบลโกตาบารู
น้ำเพอ่ื การเกษตร
แหลง่ น้ำทใ่ี ช้เพ่ือการเกษตรในตาํ บลโกตาบารูสว่ นใหญ่ใช้น้ำฝน และนำ้ จากลําธารเล็กๆ ท่ีไหลผ่าน
พน้ื ทเ่ี กษตรกรรม แหล่งน้ำธรรมชาติทส่ี ําคัญ ไดแ้ ก่คลองบาโงตาแย คลองโต๊ะนิ
แหล่งน้ำธรรมชาติ
- ตาํ บลโกตาบารูมแี หล่งน้ำธรรมชาตทิ ี่สาํ คัญ ไดแ้ ก่ คลองบาโงตาแย คลองโต๊ะนิลาํ ธารกือรี - คลอง
บาโงตาแย ตน้ น้ำจากตําบลยะต๊ะไหลผา่ นตําบลโกตาบารู โดย ประชาชนใช้แหลง่ นำ้ น้ีเพื่อการเกษตรน้อยมาก
เฉพาะในช่วงฤดฝู น เท่านั้น
- คลองโตะนไิ หลผ่านตําบลโกตาบารูและเปน็ แหล่งนำ้ เพ่ือการ เกษตรกรรม และในปัจจบุ ันโดยเฉพาะ
ในชว่ งฤดูแล้ง แหล่งน้ำน้จี ะแหง้ ขอดในห้วงเดือน เมษายน-ตุลาคม ของทกุ ปี

๑๙

ดา้ นการเมอื ง/การปกครอง
เขตการปกครอง
จาํ นวนหมบู่ า้ นในเขตเทศบาลตําบลโกตาบารมู จี ํานวน 4 หมบู่ ้าน คือ

หมู่ท่ี ช่อื หมบู่ ้าน จำนวนครวั เรือน
๐- ๓
๑ โกตาบารู ๖๑๓
๒ มะดือลง ๔๘๘
๓ จาลงฮเิ ล ๑๓๗
๔ กำปงบูเก๊ะ ๑๓๒

รวม ๑,๓๗๓

ประชากร
ประชากรชาย (คน) จำนวน 2,702 คน
ประชากรหญงิ (คน) จำนวน 2,814 คน
รวมประชากร (คน) จำนวน 5,516 คน
บา้ น (หลังคาเรอื น) จำนวน 1,373 ครัวเรอื น

การประกอบอาชพี
การประกอบอาชีพ อาชีพหลักของคนชุมชนโกตาบารูคือ ทําสวนกรีดยางพารา ปลูกพืชผัก ส่วน

อาชีพรอง คือ คา้ ขายและรับจ้างทัว่ ไป ทง้ั น้มี อี าชีพของกลุ่มแมบ่ ้านกลุ่มสตรีที่เข้มแข็ง คือ การทํามะพร้าวค่ัว
ขายแก่ท้องตลาดที่ต้องการ นับเป็นหนึ่งอาชีพที่สร้างรายได้ให้กับกลุ่มสตรีในชุมชนนี้เงินที่ได้จากการขายมี
การแบ่งส่วนทเ่ี ป็นของกลุม่ เก็บไว้เปน็ ทุนกบั สว่ นทเ่ี ป็นค่าตอบแทน ทําให้มีการออมเงนิ ของกลมุ่ สตรีกลุ่มนี้ด้วย
แม้ว่าจะเจอกับอุปสรรคของการทาํ งานบ้างคือ ถา้ อยู่ในชว่ งของมะพร้าวแพงก็จะลดปริมาณการส่งออกน้อยลง
ทาํ ให้ลกู คา้ ทต่ี อ้ งการขาดหายไป และสมาชิกในกลมุ่ มีเวลาวา่ งไม่ตรงกนั ดว้ ยทาํ ให้บางครง้ั ต้องหยดุ ทํามะพร้าว
คั่ว แต่มะพร้าวที่ทํานั้นมาจากต้นสดๆของสมาชิกในกลุ่มเองและได้ซื้อมาจากตําบลที่ใกล้เคียงในการมาทํา
มะพรา้ วค่วั ขายอกี ด้วย

๑.รบั ราชการ ไดแ้ ก่ สํานกั งานเทศบาลตําบลโกตาบารูหน่วยป้องกนั และบรรเทาสาธารณ ภยั เทศบาล
ตําบลโกตาบารู สถานีตํารวจภูธรโกตาบารูโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตําบลโกตาบารูหน่วยผสมเทียมรามัน
เปน็ ตน้

๒.อุตสาหกรรม ประเภทอุตสาหกรรมบริการ ได้แก่ ร้านซ่อมรถจักรยานยนต์โรงงานทําอฐิ บล็อกโรงสี
ขา้ ว ทาํ วงกบบานประต-ู หนา้ ต่าง เป็นตน้

๒๐
การศกึ ษา

1) โรงเรียนระดับประถมศึกษา จํานวน ๒ แห่ง › โรงเรียนบ้านโกตาบารูตั้งอยู่ที่ถนนยะลา-โกตา ›
โรงเรยี นบา้ นนาเตย ตัง้ อยู่ หมทู่ ี่ 3 บา้ นนาเตย

2) โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา จานวน ํ 1 แห่ง › โรงเรียนศรีฟารีดาบารูวิทยา ตั้งอยู่หมูที่ 1 เป็น
โรงเรียนเอกชนสอนศาสนา อสิ ลาม

3) โรงเรียนตาดีกา จํานวน 5 แห่ง › โรงเรียนตาดีการาวฎอตุลยันนะห์ ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 › โรงเรียนตาดี
กานะห์ฏอตุลอฏั ฟาล ตั้งอยหู่ มู่ท่ี 1 › โรงเรียนตาดกี านูรุลกรุ อาน ตง้ั อยู่หมทู่ ่ี 2
สาธารณสุข

การใหบ้ ริการด้านสาธารณสุขในเขตเทศบาล มโี รงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพประจาํ ตาํ บล 1 แห่ง ตง้ั อยู่
ริมทางหลวงหมายเลข 4063 ใกล้สถานีดับเพลิง (งานป้องกันและบรรเทาสาธารณะภัย) สํานักงานเทศบาล
ตําบลโกตาบารูให้บริการแก่ประชาชนในเขตเทศบาล และบริเวณใกล้เคียง ให้การรักษาโดยแพทย์และ
เจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ผู้ที่เจ็บป่วยทั่วไป ทันตกรรม เป็นต้น ปัจจุบันในเขตเทศบาลตําบลโกตาบารูมี
สถานพยาบาลเอกชน (คลินิก) แพทย์แผนปัจจุบันเพื่อรักษาโรคทั่วไปให้แก่ประชาชนในพื้นที่ตําบลโกตาบารู
และตําบลใกล้เคียง จํานวน 2 แห่ง นอกจากนี้เทศบาลตําบลโกตาบารูมีโครงการบริการรับส่งผู้ป่วยไป
โรงพยาบาลกรณฉี ุกเฉินโดย อาสาสมัครกู้ชีพกู้ภัยฉุกเฉนิ เพือ่ บริการประชาชนในตาํ บลโกตาบาร

โครงสรา้ งคณะกรรมการศูนยย์ ุติธรรมชุมชน ๒๑
รปู ถา่ ย
ลำดบั ชื่อ – สกุล ตำแหน่ง หมายเลขโทรศัพท์
๑ นางรุสนี ดาวาลี ประธาน ๐๘๑-๐๙๕๐๓๓๒

๒ นายอารมัน ดาวาลี รองประธาน ๐๘๗-๒๙๔๘๐๐๙

๓ นายอบั ดลุ เลา๊ ะอีน กานเิ ซ็ง เลขานกุ าร ๐๙๐-๘๘๔๙๓๖๙

๔ นายอาดือนงั ยาริเมง็ คณะกรรมการ ๐๙๘-๔๑๘๓๒๔๑

๕ นายสลุ คิพลี ยาหะแม คณะกรรมการ ๐๙๓-๗๘๔๓๘๔๐

๖ นางสาวอานีซะ ยาหะแม คณะกรรมการ ๐๖๑-๒๑๘๗๓๐๕

ลำดับ ชื่อ-สกุล ตำแหนง่ หมายเลขโทรศพั ท์ ๒๒
๗ นายมาหายดุ นิ ดอละ คณะกรรมการ ๐๘๔-๘๕๐๓๔๔๐ รูปถา่ ย

๘ นายตามยี ี บอื แน คณะกรรมการ ๐๙๘-๗๓๒๖๔๘๐

๙ นางสาวสายนารยี ๊ะ ซมิ ะกาเรง็ คณะกรรมการ ๐๘๑-๒๗๙๖๒๘๕

๑๐ นายรุสดี ยาหะแม คณะกรรมการ ๐๙๙-๑๑๖๕๔๘๑

๑๑ นางสาวซรู ีนา ละนิติง กรรมการและ ๐๖๔-๐๔๒๓๒๒๒
ผู้ชว่ ยเลขานกุ าร

๑๒ นายอาซิ กาเซง็ ผชู้ ่วยเลขานกุ าร ๐๘๒-๒๖๔๓๔๔๒

๒๓

ภารกิจศนู ยย์ ตุ ิธรรมชุมชน

1. การปอ้ งกนั และควบคมุ อาชญากรรมในชุมชน (Crime Control & Prevention) ด้วยการยบั ย้ัง
หรือชะลอสถานการณ์มใิ ห้เกิดความขดั แย้ง ข้อพิพาท หรอื การกระทำผดิ ทางอาญาโดยการเฝา้ ระวังป้องกัน
การให้ความรู้ความเข้าใจแกป่ ระชาชน เช่น ระเบยี บ กฎหมายท่ีประชาชนควรรู้ เปน็ ต้น

2. การรับเรื่องราวรอ้ งทุกข์ แจ้งเบาะการทจุ ริตคอรปั ชั่น (Receiving complaints/Report
corruption) รวมทงั้ ปัญหาความเดอื ดร้อนของผู้ดอ้ ยโอกาส (เด็ก สตรี คนชรา ผู้พิการ) แลว้ ส่งตอ่ ไปยงั
หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องดำเนินการต่อไปและตดิ ตามผลการดำเนนิ งานและแจ้งใหผ้ รู้ บั บริการรับทราบเป็นระยะ

3. การไกลเ่ กลยี่ ประนอมข้อพพิ าท (Conflict Management) ตามหลกั ยุติธรรมเชิงสมานฉันท์
หรอื หลกั สันตวิ ัฒนธรรม

4. การเยยี วยาเสรมิ พลัง แก่เหย่ืออาชญากรรมและความรูส้ ึกของชุมชน (Community &
Empowerment) ดว้ ยการให้ความเขา้ ใจกำลังใจชว่ ยเหลอื สนับสนนุ ให้เหยือ่ อาชญากรรมและชุมชนน้ันมี
ความรู้สกึ ทด่ี ีและใช้ชวี ิตเปน็ ปกติตอ่ ไปรวมท้งั การให้ความรหู้ รือคำแนะนำในการยน่ื ขอรับความชว่ ยเหลือจาก
ทางราชการทีเ่ กี่ยวข้อง

5. การรบั ผ้พู น้ โทษหรือผูถ้ กู คุมประพฤติกลบั สูช่ ุมชน (Reintegration) เพ่ือให้บุคคลนั้นสามารถ
ดำรงชีวติ อยใู่ นชมุ ชนสังคมได้เปน็ ปกตแิ ละไมห่ วนกลบั ไปกระทำผดิ ซ้ำอกี ต่อไป

6. งานอ่นื ๆ ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย

๒๔

ส่วนท่ี 2

ผลการปฏบิ ัตงิ าน

ผลการปฏิบัตงิ านตามภารกจิ ศูนยย์ ตุ ิธรรมชมุ ชน

ผลการปฏบิ ัติงานตามภารกจิ ศนู ย์ยุตธิ รรมชุมชนตามข้อกำหนดของส่วนกลาง

ภารกิจ เปา้ หมาย ผลงาน
1๙ เรอ่ื ง/๖๐๐
1. การปอ้ งกันและควบคุมอาชญากรรมในชุมชน (Crime ๙.๕ เรือ่ ง/๓๐๐
ราย
Control & Prevention) ราย
-
2. การรบั เร่อื งราวรอ้ งทุกข์ แจง้ เบาะการทจุ ริตคอรัปช่นั -

(Receiving complaints/Report corruption) ๓.๕ เร่อื ง ๗ เรอ่ื ง
3. การไกล่เกลี่ยประนอมข้อพพิ าท (Conflict Management) ๗.๕ ๑๕เรอ่ื ง
4. การเยียวยาเสริมพลงั แกเ่ หยื่ออาชญากรรมและความรู้สึก

ของชมุ ชน (Community & Empowerment) ๒.๕ ๕ เรอ่ื ง
5. การรับผู้พน้ โทษหรอื ผถู้ ูกคุมประพฤติกลบั สชู่ มุ ชน (Reintegration)

ผลการปฏบิ ัติงานตามภารกิจศูนย์ยตุ ิธรรมชุมชนด้านประชาสมั พนั ธ์ เปา้ หมาย ผลงาน
การประชาสัมพันธ์
๑๘.๕ เร่ือง/ ๓๗ เรื่อง/๗๖๐
1. การประชาสัมพันธ์ โดยใชส้ ่ือบุคคล หรอื แบบพบตวั
๓๘๐ ราย ราย
2. การประชาสัมพันธ์ โดยใช้สื่อสิ่งพมิ พ์ (เอกสาร แผ่นพบั แผ่นปลิว)
๕ เรื่อง/๓๒๕ ๑๐ เร่ือง/๖๕๐
3. การประชาสมั พนั ธ์ โดยใช้ส่ือโสตทศั น์ (เสยี งตามสาย ส่ือออนไลน์)
ราย ราย
4. การประชาสัมพนั ธใ์ นสงั กัด
๑๑ เรอ่ื ง/๕๗๕ ๒๐ เรอื่ ง/๑,๑๕๐

ราย ราย

๘๓ เร่อื ง/ ๑๖๖ เร่อื ง/

๑,๓๑๐ ราย ๒,๖๒๐ ราย

4. การประชาสัมพนั ธ์นอกสงั กดั 60 เรอ่ื ง /10 120 เรอื่ ง /20
ราย ราย

ผลการปฏบิ ตั ิงานตามภาพรวมภารกิจศนู ย์ยตุ ิธรรมชุมชนตามขอ้ กำหนดของส่วนกลาง ๒๕

ภาพรวมภารกจิ ศนู ยย์ ตุ ธิ รรมชุมชน เปา้ หมาย ผลงาน

การใหค้ ำแนะนำ (เรอ่ื ง) ๗.5 เรื่อง 1๕ เร่ือง
กฎหมาย 5 เรือ่ ง
15 เรอื่ ง
ทว่ั ไป 2.5 เรอื่ ง 2 เร่ือง
สชง. 7.5 เร่อื ง
-
การรบั เรือ่ งราวร้องทุกข์/ร้องเรียน/ขอความเปน็ ธรรม (เร่ือง) 1 เรอ่ื ง 2 เรื่อง
กฎหมาย - 2 เรื่อง
ทั่วไป ๗ เรื่อง
1 เรื่อง ๗ เรื่อง

สชง. 1 เรื่อง -
10 เรื่อง
การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท (เรื่อง) ๓.๕ เร่อื ง ๑๖ เรือ่ ง
๑๖ เรื่อง
ดำเนนิ การเอง ๓.๕ เรอื่ ง
ประสานงาน - -
-
การเฝา้ ระวงั /ป้องกันอาชญากรรม/ยาเสพติด (เรอ่ื ง) 5 เร่ือง ๔๔เรือ่ ง
๑๘ เร่ือง
การแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิด (เร่ือง) ๘ เร่อื ง 17 เรอ่ื ง
รับรายงานตัว ๘ เรือ่ ง ๙ เรื่อง
ทำงานบริการสังคม ๒ เรื่อง
- ๔๖ เรื่อง
5 เรอ่ื ง
ตดิ ตาม - 5 เรอ่ื ง
๑ เรอ่ื ง
การประสานงาน (เรอ่ื ง) ๒๒ เร่ือง 61 คร้ัง
ศยช.ตำบล ๙ เรอื่ ง ๒๒ ครงั้
ในสงั กดั 8.5 เร่อื ง 20 คร้งั
นอกสงั กัด ๔.๕ เรอ่ื ง 19 ครง้ั
2 คร้งั
การแจง้ เบาะแส (เร่ือง) ๑ เรื่อง

กจิ กรรมชมุ ชน (เร่ือง) ๒๓ เรือ่ ง
ดำเนนิ การเอง 2.5 เรอ่ื ง
ในสงั กัด 2.5 เรอ่ื ง

นอกสงั กดั ๐.๕ เร่ือง

อ่นื ๆ 30.5 ครัง้

VDO conference ๑๑ คร้ัง
เข้าร่วมโครงการ 2.5 คร้ัง
ในสังกดั 9.5 ครง้ั

นอกสังกดั 1 ครงั้

๒๖

ผลการปฏิบตั งิ านตามภาพรวมภารกจิ ศนู ย์ยุตธิ รรมชมุ ชนตามขอ้ กำหนดของสำนักงานยุติธรรมจังหวัดยะลา

ภารกจิ ศนู ย์ยุติธรรมชมุ ชน เป้าหมาย ผลงาน

1. การปอ้ งกันและควบคุมอาชญากรรมในชมุ ชน (Crime Control & ๓ เร่ือง/๑๐๒.๕ ๖ เรอ่ื ง/๒๐๕

Prevention) ราย ราย

๑.๑ การใหค้ วามรแู้ ก่ประชาชน (เร่ือง/คน) ๑๐.๕ คร้งั ๒๑ ครง้ั

1.2 การเฝ้าระวงั ป้องกนั อาชญากรรมในชมุ ชน (คร้งั ) --

2. การรับเร่อื งราวร้องทุกข์ แจ้งเบาะการทจุ ริตคอรปั ชั่น

(Receiving complaints/Report corruption)

2.1 การรบั เรื่องราวร้องทุกข์ (เร่ือง) ๑ เร่อื ง/๑ ราย ๒ เรื่อง/๒ ราย

2.2 แจ้งเบาะแสการทจุ รติ คอรปั ช่นั (เร่อื ง) --

2.3 ปญั หาความเดอื ดร้อนของผูด้ ้อยโอกาส

2.3.1 เด็ก (ราย) --

2.3.2 สตรี (ราย) --

2.3.3 คนชรา (ราย) --

2.3.4 ผูพ้ ิการ (ราย) --

2.4 การส่งตอ่ ปญั หาความเดือดร้อนของผดู้ อ้ ยโอกาสไปยงั --

หนว่ ยงาน

ท่ีเก่ียวขอ้ ง (ราย) --

2.5 ตดิ ตามผลการดำเนนิ งานและแจ้งให้ผรู้ บั บริการทราบเปน็ ระยะ - -

(หน่วยงาน/ราย)

3. การไกลเ่ กลย่ี ประนอมข้อพพิ าท (Conflict Management) (เร่ือง) - -

4. การเยยี วยาเสริมพลัง แก่เหยือ่ อาชญากรรมและความรู้สึกของ

ชุมชน

(Community & Empowerment)

4.1 การใหก้ ำลังใจ/การให้คำแนะนำ/การให้คำปรกึ ษา (เรอื่ ง/ราย) - -

4.2 การให้ความชว่ ยเหลือดา้ นพสั ดุและอุปกรณ์ (ราย) --

4.3 การให้ความชว่ ยเหลอื ดา้ นการเงนิ (จาก พ.ร.บ.ค่าตอบแทนฯ/ ๑ เรอื่ ง/๑ ราย ๒ เรอ่ื ง/๒ ราย

พ.ร.บ.กองทุนยตุ ธิ รรม) (ราย)

5. การรับผูพ้ น้ โทษหรอื ผถู้ ูกคุมประพฤติกลบั สู่ชมุ ชน (Reintegration)

5.1 การรับผู้พ้นโทษกลับสชู่ มุ ชน (ราย) --

5.2 การรบั ผ้ถู ูกคุมความประพฤตกิ ลบั สู่ชุมชน (ราย) --

ภารกิจศูนย์ยตุ ิธรรมชมุ ชน เปา้ หมาย ๒๗
อืน่ ๆ ผลงาน
1. สทิ ธมิ นษุ ยชน/สิทธิและเสรภี าพ
๐.๕ เรอื่ ง/๒๕ ๑ เร่อื ง/๕๐ ราย
1.1 การสง่ เสรมิ สทิ ธิมนษุ ยชน/สิทธิและเสรภี าพ โดยการให้ความรู้ ราย -
(เรื่อง/คน) -

1.2 การพิทักษส์ ิทธมิ นษุ ยชน/สทิ ธิและเสรภี าพ โดยการเฝ้าระวัง --
การละเมิดสิทธมิ นุษยชน/สิทธแิ ละเสรีภาพ (เรื่อง) --
9 ราย 18 ราย
1.3 การเผยแพร่และลงแอฟพเิ คชันยตุ ธิ รรมใสใ่ จ (Justice Care)
(ราย)

๒๘

ส่วนที่ ๓
ผลงานเดน่
การไกล่เกล่ียข้อพิพาทเรอ่ื งทด่ี ิน

การเยียวยาค่าตอบแทนผู้เสียหายในคดีอาญา

การประชาสัมพันธ์

ชือ่ นามสกลุ ๒๙
ตำแหน่ง ผู้จดั ทำ
หนว่ ยงาน นายอาซิ กาเซ็ง
เจ้าหน้าทศ่ี ูนยย์ ตุ ิธรรมชุมชนอำเภอรามัน จงั หวัดยะลา
การศึกษา ศนู ยย์ ุตธิ รรมชุมชนอำเภอรามัน จังหวัดยะลา
สำนักงานยุตธิ รรมจงั หวัดยะลา
มธั ยมตอนปลาย โรงเรียนศนู ย์การศึกษาตามอธั ยาศยั ตำบลย๊ะตะ อำเภอรามัน จังหวดั ยะลา


Click to View FlipBook Version