1
แผนการจัดการเรียนรู้ (กล่มุ ทดลอง)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๓
ภาคเรยี นท่ี ๑ รหัสวชิ า ท ๒๓๑๐๑ ชือ่ รายวิชา ภาษาไทย
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๕ เร่ือง การอา่ นอย่างมีวจิ ารณญาณ จาํ นวน ๑6 ชั่วโมง
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๓ บทอา่ นนทิ าน เรือ่ ง พญาชา้ งผู้เสียสละ เวลา ๒ ชว่ั โมง
ผู้สอน นางพรทพิ ย์ พลไชย โรงเรยี นมธั ยมศึกษาเทศบาล ๓ “ยตุ ธิ รรมวิทยา”
๑. มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพ่ือนําไปตัดสินใจ
แก้ปญั หาในการดําเนนิ ชีวติ และนิสัยรักการอา่ น
๒. ตัวช้วี ัด
ท ๑.๑ ม.๓/๓ ระบใุ จความสําคัญและรายละเอยี ดของข้อมูลที่สนบั สนุนจากเรื่องทอี่ า่ น
ท ๑.๑ ม.๓/๕ วิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมินเรื่องท่ีอ่านโดยใช้กลวิธีการเปรียบเทียบ
เพือ่ ให้ผอู้ ่านเขา้ ใจได้ดีข้ึน
ท ๑.๑ ม.๓/๗ วจิ ารณ์ความสมเหตสุ มผล การลาํ ดับความ และความเป็นไปได้ของเรอื่ ง
ท ๑.๑ ม.๓/๘ วิเคราะหเ์ พ่อื แสดงความคดิ เหน็ โตแ้ ยง้ เกี่ยวกบั เรื่องทีอ่ า่ น
ท ๑.๑ ม.๓/๙ ตีความและประเมนิ คุณค่าและแนวคิดท่ีไดจ้ ากงานเขยี นอย่างหลากหลาย
เพื่อนําไปใชแ้ กป้ ัญหาในชีวติ
ท ๑.๑ ม.๓/๑๐ มีมารยาทในการอ่าน
๓. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด
นิทานเป็น ส่ิงท่ีสําคัญต่อชีวิตเด็ก ช่วยให้เด็กมีความสุขให้แง่คิดและคติสอนใจ
การจดั ประสบการณ์ใหเ้ ด็กโดยใช้นิทานเป็นสิ่งจําเป็นเพราะการเล่านิทาน สามารถใช้เป็นเคร่ืองมือ
ในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมให้กับเด็ก ซึ่งนิทานคติธรรมเรื่อง พญาช้างผู้เสียสละ ให้ข้อคิด
คติธรรมเกี่ยวกับความเสียสละของพญาช้างที่ยอมเสียสละงาของตัวเองและความอกตัญญู
ของนายพรานทีจ่ ะทาํ ใหพ้ บกบั ความหายนะ และชวี ติ ไมม่ คี วามสขุ
2
๔. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
ดา้ นความรู้
๑. บอกความหมายศัพท์ สาํ นวนทอี่ าจพบในเรื่องถูกตอ้ ง
๒. จัดลําดบั เหตกุ ารณข์ องเร่ืองได้
๓. บอกลกั ษณะนิสัยตัวละครในนทิ านที่อา่ นได้
๔. ต้ังคาํ ถามและตอบคําถามเกีย่ วกบั เรื่องท่อี า่ นได้
๕. บอกข้อคดิ คติธรรม จากนิทานท่อี า่ นได้
๖. สรุปสาระสาํ คัญของเรือ่ งได้
๗. บอกประเมนิ คา่ นิทานท่อี ่านได้อย่างมเี หตุผล
ดา้ นทักษะกระบวนการ
๑. ปฏิบตั ิตามลําดับขั้นตอนกระบวนการเรยี นรู้ไดถ้ กู ต้อง
๒. เขียนสรปุ ความรูแ้ ละนาํ ข้อคดิ จากการอ่านนิทาน เร่อื ง พญาช้างผู้เสียสละประยกุ ต์
ใชใ้ นชวี ติ จรงิ ได้
๓. นาํ เสนอผลงานการอ่านนิทาน เรอ่ื ง พญาชา้ งผู้เสยี สละ ได้
๔. สามารถปฏบิ ัติงานกลุ่มได้
ดา้ นคณุ ลกั ษณะ/เจตคติ
ตระหนกั ในคณุ ค่าและมีเจตคตทิ ่ีดีตอ่ การอา่ นอย่างมีวิจารณญาณ
๕. สาระการเรียนรู้
๕.๑ ลกั ษณะของนทิ าน
๕.๒ องค์ประกอบของนทิ าน
๕.๓ ชนิดของนิทาน
๕.๔ นทิ าน เรอ่ื ง พญาชา้ งผ้เู สียสละ
๖.กระบวนการเรยี นรู้
กิจกรรมชว่ั โมงท่ี ๑
ขัน้ ท่ี ๑ ขนั้ กาหนดเป้าหมายและวางแผนการอ่านร่วมกัน (๑๐ นาที)
๑. ครูจัดบรรยากาศในช้ันเรียน พูดคุยกับนักเรียนเป็นกัลยาณมิตร ด้วยอารมณ์
แจ่มใส
๒. ครแู จ้งจุดประสงค์การเรียนรู้รายละเอียดกระบวนการจัดการเรียนรู้และชี้แจง
วธิ วี ดั และประเมนิ ผล
๓. ครูทบทวนบทบาทและหน้าที่ของการเรียนรู้แบบร่วมมือกันในชั้นเรียน
เมอ่ื มอบหมายให้ทาํ งานร่วมกัน ต้องปฏิบัตกิ จิ กรรมดงั น้ี
3
๓.๑ สมาชิกในชุมชนต้องเขียนกฎเกณฑ์กติกาท่ีต้องปฏิบัติร่วมกัน
ในกระดาษและต้องอธิบายถึงคุณค่าประโยชน์ของกฎเกณฑ์กติกาดังกล่าวที่คาดหวังต่อสมาชิก
สมาชกิ ของกลุ่มแสดงการยืนยนั ในความรู้สึกนึกคดิ ของตนโดยใชห้ วั แมม่ อื ดงั นี้
๓.๑.๑ ยกหัวแมม่ ือขน้ึ หมายถงึ ใช่ มคี วามสุขกับกฎกติกานี้
๓.๑.๒ หัวแม่มืออยู่ในตําแหน่งแนวราบหรือแนวนอน หมายถึง
ไม่มีความสขุ ทงั้ หมด คอื มคี วามสขุ บ้าง แตส่ ามารถทาํ ตามกฎเกณฑ์ กตกิ าน้ไี ด้
๓.๑.๓ หัวแม่มืออยู่ในตําแหน่งชี้ลง หมายถึง ไม่เห็นด้วย
กับกฎเกณฑ์กติกา
๓.๒ สมาชิกในกลุ่มมีบทบาทแตกต่างกันประกอบด้วย หัวหน้ากลุ่ม
ผนู้ ําการอธบิ ายคําศพั ท์ ผู้นาํ จบั ใจความสาํ คญั และผู้ประสานงาน
๔. สมาชิกในกลุ่มร่วมกันต้ังเปูาหมายในการเรียนรู้ในแบบบันทึกการตั้งเปูาหมายและ
ประเมินเปูาหมาย และตกลงกันเร่ืองบทบาทหน้าที่ที่แต่ละคนจะต้องรับผิดชอบ แล้วบันทึกใน
แบบบนั ทึกการกําหนดบทบาทสมาชิกในกลุ่มการเรียนรู้ สมาชิกจะต้องวางแผนการอ่านของตนเอง
โดยบันทึกในแบบบนั ทกึ การวางแผนการอ่านดว้ ยตนเอง
ขนั้ ท่ี ๒ ขั้นสร้างประสบการณ์และปรบั บริบทในการเรียนรู้ (๔๐ นาท)ี
๑. ครูตัวอย่างนิทานอีสป มาให้นักเรียนดู แล้วเล่าประวัติความเป็นมาของนิทาน
อสี ปให้นกั เรียนฟงั หลงั จากน้ันแนะนําหนังสือรวมนิทาน เร่อื ง พญาช้างผู้เสยี สละ
๒ ต้ังคาํ ถามใหน้ ักเรียนตอบ
“นกั เรยี นเคยอ่านนิทานอีสปมาก่อนหรือไม่ ถ้าเคยเรอ่ื งอะไรท่ีเคยอ่านแลว้ คดิ วา่
ขอ้ คิดในเรอ่ื งทอี่ า่ น นักเรยี นสารถนาไปใชไ้ ดใ้ นชวี ิตประประวันได้หรือไมอ่ ย่างไร”
(พิจารณาตามคําตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน
ตัวอย่าง เคย เร่ือง กระต่ายกับเต่า ข้อคิดท่ีได้จากเรื่องน้ี คือ อย่าตัดสินคนเพียงเพราะภายนอก
จากในเรื่องน้ี กระต่ายได้ประเมินค่าเจ้าเต่าน้อยต่ําเกินไป เพราะตัดสินแค่ภายนอกว่าเต่า
ไร้ความสามารถ เปน็ ต้น)
๓. ครูมอบเอกสารใบความรู้เร่ือง "นิทาน" ให้ผู้ประสานงานแต่ละกลุ่มมารับ
เพอื่ แจกใหส้ มาชกิ
๔. สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาใบความรู้ เรื่อง "นิทาน" พร้อมท้ังพูดคุยและ
อธิบายถึงประเด็นต่างๆ ดังน้ี ลักษณะของนิทาน องค์ประกอบของนิทาน และชนิดของนิทาน
จากน้ันให้หัวหน้ากลุ่มทําหน้าท่ีขยายความรู้เพ่ิมเติม ถามคําถามสมาชิกภายในกลุ่มทีละประเด็น
ว่ามีความเข้าใจตรงกันหรือไม่ ถ้ายังไม่เข้าใจตรงกันให้ร่วมกันศึกษาและอภิปรายกันใหม่
จนกว่าจะเข้าใจตรงกัน
๕. ครูให้นักเรียนทบทวนความหมาย หลักการอ่าน หลักปฏิบัติในการอ่าน
อยา่ งมีวิจารณญาณจากใบความรู้ เรื่อง การอา่ นอยา่ งมวี จิ ารณญาณ
4
๖. ครูมอบเอกสารประกอบด้วย นิทาน เร่ือง พญาช้างผู้เสียสละ แบบบันทึก
การอ่านรายบุคคล และแบบบันทึกการอ่านของกลุ่มให้ผู้ประสานงานแต่ละกลุ่มมารับเพื่อแจก
ใหส้ มาชิก หัวหน้ากลุ่มแจ้งให้สมาชิกสํารวจเนื้อหานิทานอย่างคร่าวๆ จากช่ือเร่ือง โดยให้เชื่อมโยง
ความรูแ้ ละประสบการณเ์ ดิมเก่ยี วกบั เรือ่ งที่อา่ น แลว้ เขียนลงในแบบบันทึกการอ่านรายบคุ คล
๗. จากน้ันสมาชิกนําข้อมูลที่บันทึกไว้มาอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็น
ซึง่ กนั และกัน โดยสมาชกิ แตล่ ะคนจะต้องประเมนิ ข้อมูลท่ีได้รับและตัดสินว่าข้อมูลของสมาชิกคนใด
มีเหตุผลมีนํ้าหนักน่าเช่ือถือเพื่อให้เป็นข้อสรุปของกลุ่มโดยมีหัวหน้ากลุ่มเป็นผู้นําอภิปราย และ
มีผปู้ ระสานงานเป็นผู้บันทกึ ลงในแบบบันทึกการอ่านของกล่มุ
๘. การอภิปรายใหส้ มาชิกมบี ทบาทหนา้ ที่ดังนี้
๘.๑ ผู้นําอธิบายศัพท์รับหน้าท่ีช้ีแนะการหาความหมายศัพท์ และ
เป็นผู้สรุปความเห็นของกลมุ่ ให้ผู้ประสานงานจดบันทึกลงในแบบบันทกึ การอา่ นของกลุม่
๘.๒ ผู้นําจับใจความสําคัญรับหน้าที่ช้ีแนะให้หาคําตอบว่าประเด็นสําคัญ
ที่สุดท่ีกล่าวถึงในเร่ืองนี้คืออะไร และเป็นผู้นําอภิปรายและสรุปใจความสํา คัญของกลุ่ม
ใหผ้ ู้ประสานงานบันทกึ ลงในแบบบันทกึ การอา่ นของกลมุ่
๘.๓ หัวหน้ากลุ่มเป็นผู้นําการอภิปรายในประเด็น อ่ืนๆ จนครบ
ในแบบบันทึกการอ่านของกลุ่มโดยผู้ประสานงานเป็นเขียนข้อสรุปตามความเห็นกลุ่ม ลงใน
แบบบันทึกการอ่านของกลมุ่
ขั้นท่ี ๓ ขั้นตรวจสอบความเข้าใจในการอ่าน (๑๕ นาที)
๑.ให้หัวหน้ากลุ่มสอบถามเก่ียวกับเวลาท่ีสมาชิกใช้ในการอ่าน ในประเด็น
ดังต่อไปน้ี สมาชิกคนใดใช้เวลาในการอ่านตรงตามเวลาท่ีตนเองกําหนดไว้บ้าง คนใดใช้เวลา
ในการอ่านมากกว่าเวลาที่ตนเองกําหนดไว้บ้าง คนใดใช้เวลาในการอ่านน้อยกว่าเวลาท่ีตนเอง
กําหนดไว้บา้ ง
๒. หลังจากน้ันผู้ประสานงานสรุปเวลาท่ีสมาชิกใช้ในการอ่าน เพื่อช่วยให้สมาชิก
ได้ตระหนกั ว่าตนเองอา่ นชา้ หรอื เร็ว
๓. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกช่วยกันต้ังคําถามเกี่ยวกับเน้ือหาของเรื่อง โดยให้
ต้ังคําถามตามลําดับขั้นของการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ เพ่ือตรวจสอบความเข้าใจของตนเอง
แล้วสุ่มเรียกสมาชิกในกลุ่มตอบ ถ้าตอบไม่ได้สมาชิกทุกคนในกลุ่มต้องช่วยกัน ค้นหาคําตอบ
โดยการอ่านซ้ําและชว่ ยกนั สรุปเรื่องจนทุกคนเข้าใจตรงกัน
กจิ กรรมชวั่ โมงท่ี ๒
ขั้นที่ ๔ ขั้นไตรต่ รองสะท้อนประสบการณ์การเรยี นรู้ (๓๐ นาท)ี
๑. สมาชกิ ในกลมุ่ อภิปรายร่วมกนั เพือ่ ทบทวนข้อมูลท่เี ป็นข้อสรุปของกลุ่ม
๒. ตัวแทนสมาชิกในกลุ่มนําเสนอผลการอภิปรายหน้าช้ันเรียน จากบันทึกไว้
ในแบบบันทึกการอา่ นของกลมุ่ และรว่ มกันอภิปรายแสดงความคิดเห็น
5
๓. ครูและสมาชิกของกลุ่มการเรียนรู้ฟังการนําเสนอผลการอภิปราย ครูเพ่ิมเติม
ในสว่ นทยี่ งั ไม่สมบูรณ์ เพ่ือเปน็ แนวในการตอบคําถาม แลว้ ใหแ้ ตล่ ะกล่มุ ประเมินการนําเสนอผลงาน
ของแต่ละกลุม่ (ยกเว้นกลมุ่ ของตน) ร่วมกบั ครูในแบบประเมินการนําเสนอผลงานทก่ี ําหนดให้
ขน้ั ท่ี ๕ ขนั้ ประเมนิ ผลการเรียนรู้ (๑๐ นาที)
๑. ครมู อบแบบฝกึ หัดเรื่อง พญาช้างผู้เสียสละ ให้ผู้ประสานงานแต่ละกลุ่มไปแจก
ให้สมาชิก จาํ นวน ๑๐ ข้อ ใช้เวลา ๕ นาที เม่ือครบกําหนดเวลา ให้หัวหน้ากลุ่มสอบถามสมาชิกว่า
ตนเองจะทาํ แบบฝกึ หดั ถูกกข่ี อ้ จากนั้นนําบตั รคาํ ตอบจากครมู าเฉลย
๒. สมาชิกในกลุ่มประเมินเปูาหมายของกลุ่มท่ีบันทึกไว้ เพ่ือดูว่าผลการอ่าน
บรรลตุ ามเปูาหมายของการอ่านท่ตี ้งั ไว้หรือไม่
๓. หัวหน้ากลมุ่ ใหส้ มาชิกอภิปรายในประเดน็ ต่อไปนี้
๓.๑ สมาชกิ เลือกใชว้ ิธกี ารอ่านใดบ้าง
๓.๒ บอกขอ้ ดี ขอ้ บกพรอ่ ง ของวิธกี ารอา่ นทสี่ มาชกิ เลือกใช้
๓.๓ เพราะเหตุใด สมาชิกจึงคิดว่าตนเองประสบความสําเร็จ
ตามเปูาหมายที่ตั้งไว้ หรือไมป่ ระสบความสาํ เรจ็ ตามเปูาหมายทตี่ ้ังไว้
๔. หวั หนา้ กลมุ่ แจกแบบประเมนิ พฤตกิ รรมการทาํ งานกลุ่มใหส้ มาชิกประเมนิ
๕. ครูประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม ประเมินผลงานและสะท้อน
ความกา้ วหน้าของนกั เรียนเป็นรายบุคคล
ข้นั ที่ ๖ ข้นั ทบทวน และบนั ทกึ การสรา้ งองค์ความรดู้ ้วยตนเอง (๒๐ นาที)
๑. ให้สมาชิกในกลุ่มทบทวนเน้ือหา โดยครูตั้งถามให้แต่ละกลุ่มร่วมกัน สรุปว่า
"หลังจากท่ีนักเรียนอ่านแลว้ นกั เรยี นคิดถึงอะไร เพราะเหตใุ ดจึงคิดเช่นนน้ั "
๒. ครูและนักเรียนสรุปข้อคิดที่ได้จากการอ่าน นิทาน เร่ือง พญาช้างผู้เสียสละ
โดยครูได้ยกอ้างถึงข้อความต่อไปนี้ “คนอกตัญญูเห็นแก่ได้ แม้ใครยกแผ่นดินให้เขาครอบครอง
ก็ไม่ทาให้เขาหยุดโลภได้” ซ่ึงนิทานเรื่องน้ีสอนให้รู้ว่า คนอกตัญญูน้ัน แม้ตอนแรกจะดูรุ่งเรือง
แต่สุดท้ายก็จะพบความวิบัติ เหมือนอย่างพรานป่าอกตัญญูพญาช้างสีลวะแล้วพบกับความวิบัติ
น่นั เอง
๓. ครูให้นักเรียนแต่ละคนเขียนบันทึกการเรียนรู้เพื่อวัดความสามารถ
ในการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง โดยแสดงความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก และความคิดเห็น
เก่ียวกับเนื้อเรื่องตามประเด็นในแบบบันทึกการเรียนรู้เพ่ือวัดความสามารถการสร้างองค์ความรู้
ดว้ ยตนเอง แลว้ จับคูแ่ ลกเปลีย่ นกนั อ่านบันทกึ การเรียนรู้กอ่ นนาํ มาส่งผ้สู อน
๔. ครูอา่ นบันทกึ การเรยี นรเู้ พอ่ื วัดความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
แลว้ เลอื กประเดน็ ท่นี าํ สนใจในแบบบันทึกการเรยี นรู้ของนักเรียนมานําเสนอในช้ันเรียน ในการเรียน
การสอนครั้งตอ่ ไป
๗. สอ่ื การเรยี นรู้/แหลง่ การเรียนรู้
๗.๑ ตวั อยา่ งนทิ านอีสป
๗.๒ แบบบันทกึ การวางแผนการอ่าน
๗.๓ ใบความรู้ เรอ่ื ง “การอ่านอยา่ งมีวิจารณญาณ”
6
๗.๔ ใบความรู้ เร่ือง ใบความรเู้ รอ่ื ง “ การอา่ นนทิ าน”
๗.๕ นทิ าน เรื่อง พญาช้างผเู้ สยี สละ
๗.๖ แบบบนั ทึกการเรียนรู้เพอื่ วดั ความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ดว้ ยตนเอง
๗.๗ แบบบนั ทึกการอ่านรายบุคคล
๗.๘ แบบบนั ทึกการอ่านของกลมุ่
๗.๙ แบบประเมนิ การนาํ เสนอผลงาน
๗.๑๐ แบบฝึกหัด เรอื่ ง พญาชา้ งผเู้ สยี สละ
๗.๑๑ แบบประเมินพฤตกิ รรมการทํางานกล่มุ
๗.๑๒ แบบบันทึกความคดิ เห็นของนกั เรียน
๘. การวัดและประเมนิ ผล
รายการประเมิน วธิ กี ารวดั และประเมินผล/ เครื่องมือวดั และประเมนิ ผล
ดา้ นความรู้ หลักฐานการเรยี นรู้
ด้านทักษะกระบวนการ อภปิ ราย ซกั ถาม ตรวจผลงาน -ประเดน็ คาํ ถาม
-แบบบันทึกการอ่านรายบุคคล
ดา้ นคณุ ลักษณะ/เจตคติ -แบบบันทึกการอ่านของกลมุ่
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน -แบบฝึกหัด
สรุปการประเมนิ
สังเกตพฤตกิ รรมนักเรียนตรวจ -แบบประเมินพฤติกรรมการ
ผลงาน ทาํ งานกลุ่ม
-แบบบนั ทึกการอา่ นรายบุคคล
-แบบบรรทุกการอา่ นรายกลุม่
สังเกตพฤตกิ รรมนักเรียน -แบบประเมินพฤติกรรมการ
ทํางานกล่มุ
สังเกตพฤตกิ รรมนกั เรียน -แบบประเมินสมรรถนะสาํ คญั
ของผเู้ รียน
นักเรียนจะต้องไดค้ ะแนนรวมผ่านเกณฑอ์ ย่างน้อยไม่ตํา่ กวา่
รอ้ ยละ ๘๐
7
๙. ความคิดเหน็ (ผู้บรหิ าร/หรือผ้ทู ไ่ี ด้รบั มอบหมาย)
ได้ทาํ การตรวจแผนการจดั การเรียนรขู้ อง นางพรทิพย์ พลไชย แลว้ มีความคิดเหน็ ดังนี้
๙.๑ เป็นแผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี
ดีมาก ดี
พอใช้ ต้องปรับปรุง
๙.๒ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรไู้ ดน้ าํ เอากระบวนการเรียนรู้
ท่ีเน้นผ้เู รียนเปน็ สําคญั ใช้ในการสอนไดอ้ ย่างเหมาะสม
ทีย่ งั ไม่เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสาํ คญั ควรปรบั ปรงุ พฒั นาตอ่ ไป
๙.๓ เป็นแผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่
นําไปใชส้ อนได้
ควรปรบั ปรุงก่อนนาํ ไปใช้
๙.๔ ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
ลงช่ือ.......................................................
(นายธรี ะนนั พริ ุณสนุ ทร)
รองผูอ้ าํ นวยการสถานศกึ ษา
............../............................./..............
8
แบบบนั ทกึ การวางแผนการอา่ นด้วยตนเอง
ชือ่ -สกุล...........................................................................................ชน้ั ........................เลขที่................
คาช้ีแจง ให้นกั เรียนวางแผนการอา่ น ให้นักเรยี นกาเครื่องหมาย / หรอื เครือ่ งหมาย X ลงในช่อง
ที่ตรงกับคาํ ตอบของนักเรียน
๑.การวางแผนการอ่าน (บันทึกการอา่ น)
ได้เปูาหมายการอา่ น
ได้คาดการณเ์ นอ้ื หาที่จะอา่ นล่วงหน้า
ได้กาํ หนดเวลาท่ีจะอา่ น
ไดม้ ุง่ ความสนใจไปในเร่อื งที่อ่าน
๒.การเลือกกลวธิ ีการอ่าน (บันทึกระหว่างการอ่าน)
การเขยี นแผนผงั เน้อื เร่ืองคอื การรวบรวมแนวคิดเปน็ แผนผังวา่ มคี วามสัมพันธก์ นั อยา่ งไร
อ่านสาํ รวจ เพอื่ คน้ หาใจความสําคญั ตา่ ง ๆ
อ่านชา้ ๆ เป็นการอา่ นเพือ่ ทําความเข้าใจเนอ้ื เรื่อง
อา่ นชา้ ๆ เป็นครงั้ ทส่ี อง เพ่ือทําความเขา้ ใจเนอ้ื เร่ืองใหช้ ดั เจน
อา่ นทบทวน เปน็ การอ่านเนอื้ หาเฉพาะเพ่อื จดจาํ เรื่องที่อา่ น
รวบรวมความคดิ หรือหยดุ อ่านเพื่อทําความเขา้ ใจภาพรวม ย่อเร่ือง
ใชค้ วามรู้เดิมมาช่วยในการทําความเข้าใจเร่ืองท่ีอา่ น
ใชจ้ ินตนาการ คอื วาดภาพสถานท่ี ส่ิงของ หรอื เหตกุ ารณ์ขนึ้ ในใจ
ตง้ั คําถามทดสอบตนเอง คือตั้งคาํ ถามและตอบคาํ ถามในใจขณะท่อี ่าน
คาดคะเนว่าอะไรเกดิ ข้นึ ตอ่ จากเรื่องท่ีอ่าน
นักเรียนถามเพอ่ื นเมอ่ื ไมท่ ราบความหมายของคําศพั ท์ใหม่
นักเรยี นถามครทู ่ไี ม่เข้าใจเร่ืองที่อ่าน
๓.ประเมินการอ่าน(บันทกึ หลังการอ่าน)
บรรลเุ ปาู หมายการอ่านทต่ี ั้งไว้ เพราะ
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
ไมบ่ รรลเุ ปูาหมายการอ่าน เพราะ
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
๔. ปญั หาและอปุ สรรค์ทเี่ กิดข้ึนในการทาํ กิจกรรมการอา่ น
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
9
ใบความรู้ เรอ่ื ง การอ่านอย่างมวี ิจารณญาณ
หลักการพฒั นาการอ่านอยา่ งมวี จิ ารณญาณ
ภาษานับว่าเป็นเร่ืองหลักของการเรียนที่เก่ียวกับวรรณกรรมและศิลปะของการอ่าน
เพราะเปน็ เรอ่ื งเกีย่ วกับการประมวลแนวคิด จึงมีความจําเป็นท่ีต้องใช้ภาษาให้ได้ดีในการแสดงออก
การใช้ภาษา จึงไม่อาจแยกจากความคิดได้ หากไม่สามารถควบคุมความคิดได้ก็ไม่มีความสามารถ
ในการใช้ภาษาเช่นกนั
ภาษาเป็นตัวถ่ายทอดความคดิ บอ่ ยคร้งั ทคี่ นเราไม่อาจพูดอย่างท่ีต้องการสื่อความหมายได้
หรือไม่ก็ทําให้คนอื่นน้ันเข้าใจผิดความหมายไป การพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจาร ณญาณ
จึงมีความจําเป็นต่อการใช้ภาษาเพ่ือการแสดงออกทางความคิด หรือทราบถึงความคิดจากภาษา
ของคนอ่ืนด้วย
การคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ (Critical Thinking)
การคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ หมายถงึ การคิดอย่างมีเหตุมีผล มีกระบวนการคิดตามข้ันตอน
ได้แก่ การทําความเข้าใจกับปัญหา การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการสรุป
เพอ่ื ประเมนิ คา่ หรือ ตัดสนิ ใจพิจารณาความน่าเช่ือถือที่สมเหตุสมผลก่อนการตัดสินใจอย่างละเอียด
รอบคอบ ซงึ่ สามารถนาํ มาใช้เป็นหลักหรอื แนวทางการพิจารณาการรับสารด้วยการอ่าน ประเมินค่า
การสือ่ สารได้อนั จะเป็นประโยชน์ตอ่ การเลอื กรับสารท่ีมีความน่าเชื่อถือ และนําคณุ ค่าจากการตัดสิน
ไปใชไ้ ดอ้ ย่างเกิดผลดี
ด้วยเหตุนี้ การคิดอย่างมีวิจารณญาณนับว่ามีความสําคัญอย่างยิ่งในสังคมสารสนเทศ
ทมี่ ากมาย ประการหน่ึงคือการรับสารด้วยการอ่าน การมีวิจารณญาณจึงเป็นกระบวนการที่จําเป็น
อย่างย่ิงในการคัดกรองและแยกแยะว่าส่ิงไหนดีหรือไม่ดี ควรหรือไม่ควร ถูกหรือผิด ก่อนการสรุป
และตดั สนิ ใจเชอ่ื ถือ
การอ่านอย่างมวี ิจารณญาณ
การอ่านนับว่ามีความสําคัญ เพราะเป็นการทําความเข้าใจว่าผู้เขียนคิดอะไร อย่างไร
แต่การท่ีจะทําความเข้าใจดังกล่าวได้ถูกต้อง จําเป็นต้องมีวิธีการและแนวทางเพื่อนําไปสู่
การพจิ ารณาเร่อื งที่เราอ่านไดอ้ ยา่ งมีวจิ ารณญาณ มีหลกั การดังตอ่ ไปน้ี
๑. การอา่ นอย่างมีจดุ หมาย
ผู้อ่านจะต้องรู้จุดหมายและเปูาประสงค์ของตนเองก่อนว่า ต้องการอยากจะรู้เกี่ยวกับ
เรื่องที่อ่านอย่างไร ซึ่งการรู้จุดมุ่งหมายในการอ่านจะเป็นตัวพิจารณาว่าเราจะอ่านสารนั้นอย่างไร
โดยจดุ มุง่ หมายของการอา่ นของเราแตกต่างกัน ทําใหต้ อ้ งใชท้ ักษะท่ตี ่างกันด้วย เช่น
• การอา่ นเพ่ือความบันเทงิ – คงไมต่ ้องใช้ทกั ษะอะไรนกั
• การอา่ นเพือ่ ใหร้ แู้ นวคดิ มมุ มอง เพ่อื ให้เกิดความเขา้ ใจ – ใช้ทกั ษะการอ่านอย่างพินจิ
• การอ่านแบบเรียนรู้วิชาการใหม่ๆ ใช้ทักษะการอ่านอย่างพินิจและทําความเข้าใจ
อย่างมรี ะบบ
10
๒. การอ่านอย่างหลกี เลย่ี งอคติ
ความชอบหรือความประทับใจของผู้อ่านจะทําให้เป็นอุปสรรคต่อการพิจารณาสาร
อย่างมีวิจารณญาณ เกิดความล้มเหลวอย่างไร เหตุผลนําไปสู่ความลําเอียงและไม่สามารถเข้าถึง
ขอ้ เท็จจริงได้
๓. การอา่ นอยา่ งไตรต่ รอง
การอ่านอย่างติดตามความคิดจากย่อหน้าหนึ่งไปยังอีกย่อหน้าหนึ่ง และมีการแยกแยะ
ระหว่างความคิดของผู้เขียนและความคิดของผู้อ่าน รู้จักปรับการอ่านให้สอดรับกับเปูาประสงค์
จะสามารถมีวิจารณญาณในการอ่านและประเมินส่ิงที่อ่านเพื่อให้เกิดความชัดเจน กระจ่าง ถูกต้อง
แม่นยํา สอดคล้องกับข้อเท็จจริง มีตรรกะความสําคัญ และความเท่ียงธรรม รวมทั้งยังทําให้
เป็นการเปิดกวา้ งความคิดของผู้อ่านได้เรียนรู้จากส่งิ ที่อ่านอีกดว้ ย
๔. การอ่านอย่างพนิ ิจ
เป็นการอ่านท่ีผู้อ่านเข้าใจถึงความหมายและความสําคัญของเน้ือหาน้ันจนสามารถ
อธบิ ายความไดโ้ ดยการเรียบเรยี งถ้อยคําของตนเองในการอธิบายอยา่ งครบถว้ นสาระ มีการวิเคราะห์
พิจารณาถึงเหตุผลประกอบกับการใช้คําถามเพื่อช่วยทําความเข้าใจในตนเองจนสามารถประเมิน
ตรรกะอย่างมีหลักเกณฑ์และมาตรฐานท่ีชัดเจน กระจ่าง ถูกต้อง แม่นยําสอดคล้องกับข้อเท็จจริง
มีตรรกะ ความสาํ คัญ และความเทยี่ งธรรม หรือในบางคร้งั ผ้อู ่านสามารถอ่านแล้วเข้าถึงอารมณ์และ
ความรูส้ ึกของผ้เู ขียนจนสามารถแสดงบทบาทน้ันๆ ออกมาได้
๕. การอา่ นเพ่ือการเรียนรู้
เป็นการอ่านเพ่ือให้เกิดการศึกษาและฝึกฝนทักษะให้กับตนเอง โดยการอ่านเพ่ือพัฒนา
ทักษะทางปัญญา ด้วยการอ่านงานเขียนที่มีความซับซ้อน ความคิดสําคัญที่ซ่อนเร้นอยู่และ
นําความคดิ เหลา่ นน้ั มาพิจารณาเพอ่ื นําไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ จริง
๖. การอา่ นใหเ้ ข้าใจในความคดิ
เป็นการอ่านเพื่อให้เกิดการศึกษาและฝึกฝนทักษะให้กับตนเอง โดยการอ่านเพ่ือพัฒนา
ทักษะทางปัญญา ด้วยการอ่านงานเขียนที่มีความซับซ้อน ความคิดสําคัญที่ซ่อนเร้นอยู่และ
นาํ ความคิดเหล่านน้ั มาพิจารณาเพื่อนําไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตจริง
ความเชื่อมโยงระหว่างการคิดอย่างมีวิจารณญาณกับการเรียนรู้ท่ีมีสมรรถนะ
เพียงอย่างเดียวซ่ึงเราใช้ในการเรียนก็คือ การคิดของมนุษย์ ถ้าหากว่าเราคิดได้ดี
ในขณะเรียนรู้ เราก็จะมีผลการเรียนดีมีความสามารถท่ีจะรู้ประโยชน์จากข้อมูลและ
ความรู้ท่ีเป็นข้อเทจ็ จริงไปสูก่ ารแก้ไขพฒั นาอยา่ งถูกตอ้ ง
11
ผอู้ ่านอย่างมีวจิ ารณญาณ (Critical Reader)
ผู้อ่านท่ีมีวิจารณญาณในการอ่านงานเขียนต่างๆ นับว่าเป็นการเปิดโอกาสต่อการเรียนรู้
ประสบการณ์ของผูอ้ น่ื พิจารณามุมมองอื่น ความสัมพันธ์กับปัญหาเพื่อสร้างความเข้าใจและช่ืนชม
งานเขียนน้ัน เลือกที่จะอ่านงานเขียนนั้นเพราะตระหนักได้ว่ามีคุณค่า ด้วยการพิจารณา
อยา่ งมีวจิ ารณญาณ
ดังน้ัน ผู้อ่านอย่างมีวิจารณญาณ จะไม่อ่านเพียงมองผ่านเพ่ือเก็บรวบรวมเป็นความจํา
แต่จะมคี าํ ถามในการจัดการข้อมูล การตีความ การสังเคราะห์ การตั้งคําถามนั้นไม่มีแต่ตามเน้ือหา
ท่ีกล่าวไว้ แต่มองไปถึงสิ่งที่บ่งช้ีและสันนิษฐานหรือคาดคะเนไว้เพ่ือการตีความ เป็นการพิจารณา
ทางเลือกไว้ เพื่อทบทวนและกลั่นกรองอีกคร้ัง จะไม่มีการยอมรับหรือปฏิเสธโดยง่าย การยอมรับ
ก็ต่อเม่ือสิ่งน้ันมีเหตุผล ปฏิเสธกับสิ่งที่ไม่ได้มีการคิดอย่างรอบคอบ หรือบิดเบือน หรือผิดพลาด
จากเดิมหรือพยายามทําตามความเขา้ ใจสิ่งใหมใ่ ห้เขา้ กับกรอบความคิดของตน
จากที่กล่าวมาน้ี หากมีนักเรียนที่ต้องการจะปรับเปล่ียนการคิดของตน
นับว่าเป็นเรื่องท่ีท้าทายมาก แนวทางหน่ึงคือการให้คุณค่ากับเร่ืองราวต่างๆ
ในชีวิตประจําวัน ไม่ละเลยเรื่องราวท่ีผ่านเข้ามาในความคิดและรู้จักพิจารณา
ความจําเป็นของข้อมูล สารสนเทศเหล่าน้ัน โดยพยายามค่อยๆ คิดแสวงหาเหตุผล
ในการเลือกยอมรับ หรือปฏิเสธ ผลท่ีเกิดจากการคิดอย่างถูกต้องจะเป็นความรู้และ
ทักษะท่ีดีให้กับนักเรียน หรือแม้ถ้าผิดพลาด ความล้มเหลวก็จะเป็นประสบการณ์
ให้เกิดการเรยี นรเู้ พื่อให้เกดิ การคดิ ท่ีละเอียดรอบคอบขึ้นในครั้งตอ่ ไป
อ้างองิ
เฉลิมลาภ ทองอาจ. (๒๕๕๕). การอ่านอย่างมีวิจารณญาณ สมรรถนะสาคัญของคนทุก
ศตวรรษ. เอกสารวชิ าการ,โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ฝาุ ยประถม.
บรรจง อมรชีวัน. (๒๕๕๖). Critical Thinking การคิดอย่างมีวิจารณญาณ.
กรงุ เทพมหานคร: หา้ งหุ้นสว่ น จาํ กดั ภาพพมิ พ.์
ทิศนา แขมมณี และคณะ. (๒๕๔๔). วิทยาการด้านการคิด. กรุงเทพมหานคร:
เดอะมาสเตอร์กร๊ปุ แมเนจเมน้ จ์ จาํ กัด.
12
ตัวอย่างนทิ านอสี ป
13
ใบความร้เู รอื่ ง “ การอ่านนทิ าน ”
ความหมายและความสาคญั ของนทิ าน
ความหมายของนิทาน มีหน่วยงานและนักวิชาการหลายท่าน ได้กล่าวถึงความหมาย
ของนิทานไวไ้ ด้ ดังน้ี
เกษลดา มานะจุติ และอภิญญา มนูญศิลป์ (2544 : 1) ได้ให้ความหมายของนิทานว่า
หมายถึง เร่ืองเล่าตอ่ กัน มาโดยใชว้ าจาหรือเลา่ โดยแสดงภาพประกอบ หรือการเล่าโดยวัสดุอุปกรณ์
ใช้ประเภทต่าง ๆ ประกอบก็ได้ เช่น หนังสือภาพ หุ่นหรือการใช้คนแสดงบทบาทลีลาเป็นไป
ตามเน้ือเรื่องของนิทานน้ันๆ แต่เดิมมานิทานถูกเล่าสู่กันและกันด้วยปากสืบกันมา เพ่ือเป็นเครื่อง
บันเทิงใจในยามว่าง และเพื่อถ่ายทอดความเช่ือความศรัทธาเลื่อมใสในส่ิงศักดิ์สิทธิ์ท่ีเป็นที่ยึดถือ
ของคนแตล่ ะกลมุ่
วิไล มาศจรสั (2545 : 12) ได้กล่าวถึงความหมายของนิทานว่า นิทาน หมายถึง เรื่องที่เล่า
กันมา เช่น นิทานอีสป นทิ านชาดก ในทางคติชนวิทยา ถอื ว่านิทานเป็นเรื่องเล่าสืบสานต่อ ๆ กันมา
ถือเป็นมรดกทางวัฒนธรรมอย่างงหนึ่งในหลายอย่างของมนุษย์เป็นส่ิงที่มีความหมาย มีคุณค่า
ซ่งึ นทิ านนั้นจะมีทงั้ นทิ านเล่าปากเปล่า จดจํากันมาแบบมุขปาฐะและนิทานท่ีมีการเขียนการบันทึก
ไวเ้ ป็นลายลกั ษณอ์ ักษร
ราชบณั ฑติ ยสถาน พทุ ธศักราช 2542(2546 : 588) ได้ระบุความหมายของนิทานไว้ว่า
นทิ าน หมายถงึ เรื่องท่ีเล่ากันมา เช่น นิทานชาดก นิทานอีสป
เกรกิ ย้นุ พนั ธ(์ 2547 : 8) ให้ความหมายของนิทานไว้ว่าหมายถึง เร่ืองราวท่ีเล่าสืบต่อกันมา
ตั้งแต่สมัยโบราณ เปน็ การผูกเร่ืองขนึ้ เพอื่ ใหผ้ ้ฟู ังเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน และสอดแทรกคติ
สอนใจลงไป
ประคอง นิมมานเหมินทร์(2550 : 9)ได้ให้ความหมายของนิทานว่า หมายถึง เร่ืองท่ีเล่ากัน
ต่อ ๆ มาจากคนรุ่นหนึ่งสู่คนอีกรุ่นหนึ่งโดยไม่ทราบว่า ใครเป็นผู้แต่ง เช่น นิทานเร่ื องสังข์ทอง
ปลาบู่ทอง หรือโสนน้อยเรือนงาม มีการเล่าสู่กันฟังจากปุูย่าตายายของเรา พ่อแม่ของเรา รวมทั้ง
ตัวเราเอง ไปจนถึงลูกหลานเหลนโหลนของเรา เป็นทอดๆ กันไปรุ่นแล้วรุ่นเล่า บางคร้ัง
ก็แพร่กระจายจากท้องถิ่นหน่ึงไปสู่อีกท้องถ่ินหนึ่ง เช่น นิทานเร่ืองสังข์ทองอาจมีหลายสํานวน
แล้วแต่ความทรงจํา ความเช่ือ อารมณ์ของผู้เล่าและวัฒนธรรมในแต่ละท้องถ่ินจากความหมาย
ของนทิ านดังกลา่ ว
ความสาคัญของนทิ าน
นิทานเป็น ส่ิงที่สําคัญต่อชีวิตเด็ก ช่ วยให้เด็กมีความสุขให้แง่คิดและคติสอนใจ
การจดั ประสบการณใ์ ห้เด็กโดยใช้นิทานเป็นสิ่งจําเป็นเพราะการเล่านิทาน สามารถใช้เป็นเครื่องมือ
ในการพัฒนาและเตรียมความพรอ้ มใหก้ ับเดก็
ประเภทของนทิ าน
การแบ่งประเภทของนิทานตามรูปแบบ ของนิทาน และตามเน้ือหาสาระที่เป็นเร่ืองราว
ของนทิ าน แบง่ ออกเป็นประเภทตา่ ง ๆ ๘ ประเภท คือ
14
๑. เทพนยิ ายหรอื เรื่องราวปรมั ปรา เป็นนิทานหรือนิยายที่เกินเลยความเป็นจริงของมนุษย์
สว่ นใหญเ่ ปน็ เร่อื งรวมท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั อภนิ หิ าร
๒. นิทานประจําท้องถ่ินหรือนิทานพื้นบ้าน มักเป็นนิทานท่ีถูกเล่าขานตกทอดต่อเนื่อง
กนั มาเปน็ เรื่องราวเกย่ี วขอ้ งกบั ตาํ นานพนื้ บ้าน ประวตั ิความเป็นมาของทอ้ งถ่ิน ภเู ขา ทะเล เป็นต้น
๓. นทิ านคตสิ อนใจ เปน็ นทิ านทเี่ รยี บเรียงเชิงเปรียบเทียบกับชีวิตและความเป็นอยู่ร่วมกัน
ในสังคมให้ บังเกิดผลในการดํารงชีวิตและความเป็นอยู่ร่วมกัน ให้ช่วยเหลือหรือเมตตา และอยู่
รว่ มกันอย่างมีความสขุ
4. นทิ านวรี บรุ ุษ เป็นนทิ านท่ีกลา่ วอ้างบุคคลท่ีมีความสามารถ องอาจ กล้าหาญ
๕. นิทานอธบิ ายเหตุ เป็นเรื่องราวของเหตุท่ีเกิดสิ่งหน่ึงสิ่งใดและอธิบายพร้อมตอบคําถาม
เร่ืองราวนั้น ๆ ดว้ ย
๖. เทพปกรณัม เป็นนิทานท่ีเก่ียวกบความเชื่อโดยเฉพาะตัวบุคคลท่ีมีอภินิหารเหนือความ
เป็นจรงิ ลกี ลบั
๗. นิทานที่มีตัวสัตว์เป็นตัวเอก เปรียบเทียบเร่ืองราว ที่อยู่ร่วมกันในสังคม สอนจริยธรรม
แฝงแง่คิดและแนวทางแกไข เป็นเร่อื งบนั เทิงคดีท่ีสนุกสนาน
๘. นิทานตลกขบขัน เป็นเรื่องเปรียบเทียบชีวิตความเป็นอยู่แต่มีมุขท่ีตลก ขบขัน
สนุกสนาน ทําให้เกดิ ความรู้สกึ เป็นสุข
ประโยชน์ของการอา่ นนทิ าน
1. ภาษา > หนังสือเปรียบเสมือนคลังภาษาสําหรับเด็ก เด็กจะเรียนรู้ภาษาจากประสาท
สมั ผัสทางหู ภาษาเหล่าน้ีจะเป็นเคร่ืองมือท่ีเด็กนําไปใช้สื่อสารต่อไป และภาษายังเป็นเคร่ืองมือให้
เด็ก ๆ ได้เรียนรู้และเข้าใจสิง่ รอบตัวมากยิ่งข้ึน
2. จินตนาการ > หนังสือเป็นเรื่องเล่าที่สนุกให้เด็กได้จินตนาการและคิดตาม การได้ฟัง
บ่อย ๆ จะช่วยกระต้นุ ให้เดก็ ฝึกใชจ้ ินตนาการ จําบางส่ิงได้จกการเหน็ บ่อย ๆ
3. สญั ลกั ษณ์ > เดก็ จะจดจาํ บางสงิ่ ไดจ้ ากการมองเหน็ บอ่ ย ๆ
4. ความคิด > สมองของเด็กจะถูกกระตุ้นให้คิดและเรียนรู้ตลอดเวลาจากการท่ีเราอ่าน
หนังสือให้เด็กฟงั จากการสมั ผัส เดก็ จะคิดและจินตนาการตามไปดว้ ย ที่ว่ากันว่าสมองมีแสนล้านเส้น
เพียงแตเ่ ราจะจุดประกายอย่างไรเอง
5. สมาธิ > เดก็ ทีไ่ ด้ฟงั จากการอ่านหนังสืออย่บู อ่ ย ๆ จะมสี มาธทิ าํ กจิ กรรมได้ต่อเน่ือง และ
จะมคี วามสนใจจดจอ่ กบั สิ่งนั้น
อ้างอิง
สชุ าดา บุญค้าํ . นิทานคตธิ รรม.(ออนไลน)์ . ๒๕๖๒. แหล่งท่ีมา:
https://sites.google.com/site/papaaem11/home/nithan-khtithrrm-txn-phya-chang-
phu-seiy-sla [๔ มิถนุ ายน ๒๕๖๔]
15
นทิ าน เรือ่ ง “พญาชา้ งผเู้ สยี สละ”
บริเวณปุาหิมพานต์ มีช้างปุาอยู่โขลงหนึ่งจํานวนนับเป็นแสนเชือกอาศัยอยู่ด้วยกัน
อยา่ งมีความสขุ คร้ังนน้ั พระพุทธเจ้าของเราเกดิ เป็นช้างขาวปลอดทั่วทัง้ ตัวมองดูแล้วเหมือนกองเงิน
ตาทั้งสองข้างกลมเหมือนก้อนแก้วมณี หน้าแดงระเร่ือเหมือนผ้ากัมพลแดง งวงขาวย้วยเหมือน
พวงเงินท่ีประดับด้วยหยดทองคําขาว เท้าทั้ง ๔ แดงเหมือนทาด้วยน้ําคร่ัง และมีชื่อว่า “พญาช้าง
สลี วะ” เน่อื งจากเป็นช้างถือศีล พระเทวทตั เกดิ เปน็ พรานปาุ
พญาช้างสีลวะมีรูปร่างสวยงามมาก เม่ือเติบโตเป็นช้างหนุ่ม ก็มีช้าง ๘๐,๐๐๐ เชือก
เป็นบรวิ ารห้อมลอ้ ม ต่อมาเกดิ เบื่อหนา่ ยโขลงช้างท่ีรับผิดชอบดูแลจึงปลีกตัวไปอยู่ตามลําพัง ต่อมา
มีพรานปุาชาวเมืองพาราณสีคนหนึ่งเดินทางไปบริเวณปุาหิมพานต์เพื่อหาเก็บผักผลไม้และล่าสัตว์
เลี้ยงชีพ เขาเดินไปเร่ือย ๆ จนเข้าไปในปุาลึกและจําไม่ได้ว่าทิศไหนเป็นทิศตะวันออกหรือ
ทิศตะวันตก ทิศเหนือหรือทิศใต้ จึงหลงทางกลับเมืองพาราณสีไม่ถูก และเมื่อไม่เห็นทาง
จะช่วยตนเองได้ กร็ อ้ งไหค้ ร่ําครวญอยู่กลางปาุ นน้ั เอง
พญาชา้ งสีลวะไดย้ ินเสยี งครํ่าครวญของพรานปุาแล้วเกิดสงสารจะช่วยเขา “ชายคนนั้นเขา
ประสบทกุ ข์ เราจะต้องชว่ ยเขา” พญาช้างคดิ พลางค่อยๆ เดนิ เขา้ ไปหาพรานปุา
ฝาุ ยพรานปาุ เห็นช้างเดินมาใกล้ก็รู้สึกกลัวจึงถอยหนี พญาช้างเห็นพรานปุาถอยหนีก็หยุด
ยืนมองอยเู่ ฉยๆ
“เอะ๊ ..... ช้างตวั นีม้ ีท่าทางแปลกประหลาด” พรานปุาเร่ิมคิดได้ “เวลาเราหนี มันกลับหยุด
เวลาเราหยดุ มนั กลับเดนิ เขา้ มา สงสัยจะมาชว่ ยเรา”
ครนั้ คิดได้ดังนั้น จงึ รวบรวมความกลา้ ยืนคอยช้างซึ่งค่อยๆ เดินเข้ามาใกล้ทุกขณะ พญาช้างเดินมา
หยุดอยู่ใกล้ๆ แลว้ สา่ ยสายตามองดูพรานปุาช่วั ขณะหนง่ึ จากนัน้ จงึ ถามไปว่า
“ท่านผู้เจรญิ ทา่ นเดนิ ร้องไหค้ ราํ่ ครวญอยูท่ ําไม”
พรานปุารูส้ กึ ดใี จที่ได้ยินเสยี งช้างถามขึน้ อยา่ งออ่ นโยน จงึ ตอบไปว่า
“ข้าพเจ้าร้องไห้ครํ่าครวญเพราะกลบั บา้ นไมถ่ ูก คงตายอยู่กลางปาุ นีเ้ ปน็ แน่”
“ท่านมาจากไหน”
“จากเมอื งพาราณสี”
“ข้าพเจ้าไม่รู้หรอกว่าเมืองพาราณสีอยู่ที่ไหน แต่จะพาท่านออกไปให้พ้นปุา จากนั้นท่าน
ค่อยหาทางกลับบ้านเอง”
“ขอบคณุ ทา่ นมาก พญาช้าง”
พญาช้างสีลวะชํานาญเส้นทางเดินลัดเลาะภูเขาและปุาไม้ก็ถึงบริเวณชายปุาหิมพานต์ แล้วค่อยๆ
ย่อตวั ลงเพื่อให้พรานปาุ ลงได้อยา่ งสะดวก เมื่อพรานปุาลงมายนื บนพนื้ ดนิ แล้วพญาชา้ งกพ็ ูดขึ้นว่า
“ท่านผ้เู จริญ เลยปุานห้ี น่อยหน่งึ ก็เป็นทางใหญ่ท่ีมนุษย์เดินไปมากัน ทางสายน้ีคงจะมีทาง
แยกไปเมืองพาราณสี”
“ข้าพเจ้าช่วยท่านคร้ังน้ีมิได้หวังอะไรตอบแทน” ช้างพูดขึ้น “มีอยู่อย่างเดียวที่จะขอท่าน
จะให้ขา้ พเจ้าไดห้ รือเปล่า”
“ท่านขออะไรว่ามาเลย”
“ขอให้ทา่ นอย่าบอกเร่ืองทีม่ าพบขา้ พเจ้าและอย่าบอกเรื่องท่ขี า้ พเจ้าอาศยั อยู่”
16
“เท่านเ้ี องหรือ” พรานปุาแสดงทา่ รบั คาํ ขอร้องได้
“ขอบคุณท่านมาก” พญาช้างพูดจบก็หันหลงั เดนิ กลบั เข้าปุาลึกไป
ฝุายพรานปุา ตลอดเวลาท่ีน่ังหลังพญาช้างออกมาจากปุานั้น ก็คอยสังเกตหนทางโดยอาศัยภูเขา
เล็กๆ และต้นไม้เปน็ เครื่องหมาย
“สกั วันหนึง่ เราจะกลับมาอกี ” เขาคิดอยใู่ นใจ “ช้างตัวนี้งาสวย ถ้าใครต้องการซ้ือเราจะมา
ตัดไปขาย”
ดังนนั้ เม่ือกลับมาถงึ เมอื งพาราณสแี ล้ว วันหนง่ึ ขณะเดินไปตามท้องถนนเหน็ พวกช่างงาชา้ งกําลังเอา
งาช้างมาทําเป็นรปู แปลกๆ กพ็ ลันคิดถงึ พญาชา้ งสลี วะ เขาจงึ เดนิ เข้าไปถาม
“ทา่ นอยากได้งาชา้ งเปน็ กนั ไหม”
“พูดเปน็ เลน่ ไป” พวกชา่ งงาแสดงท่าอยากได้ “งาชา้ งเปน็ มีค่ากว่างาช้างตายอีก”
“ถ้าพวกท่านอยากได้ ข้าพเจ้าจะไปหามาให้”
“ไปเอามาเลย เอามาเดย๋ี วนีไ้ ดย้ งิ่ ดี”
เมื่อพวกช่างงายืนยันว่ารับซื้อแน่นอน พรานปุาก็รีบกลับมาบ้านเตรียมเล่ือยเหล็กและเสบียง แล้ว
ออกเดินทางมุ่งหน้าไปปุาหิมพานต์ท่ีอยู่ของพญาช้างสีลวะทันที เขาชํานาญการเดินทางและจํา
เคร่ืองหมายได้ดี เดินทางอยู่ไมก่ ีว่ ันก็ไปถึงทอ่ี ยู่ของพญาช้าง
“ท่านผ้เู จรญิ ทา่ นกลับมาทาํ ไมล่ะ” พญาชา้ งสีลวะถามเขา ซง่ึ บดั นี้มายืนอยเู่ บื้องหนา้
“พญาช้าง” พรานปุาตอบละลา่ํ ละลกั “ข้าพเจา้ มาหาทา่ นนัน่ แหละ”
“มีเรอื่ งอะไรหรอื ”
“พญาช้าง ขา้ พเจ้าไม่มญี าติพ่ีน้องแถมยังหากินฝืดเคือง มาคร้ังนี้ก็เพื่อจะมาของาท่านสัก
สองท่อนเพ่อื เอาไปขาย”
“ได้ ถ้างาของข้าพเจ้าจะช่วยให้ท่านเล้ียงชีวิตอยู่ได้” พญาช้างสีลวะพูดด้วยความเต็มใจ
จากน้นั ก็หมอบลง
พรานปุาดใี จมากจงึ รีบเอาเล่อื ยออกมาเลื่อยตรงบรเิ วณส่วนปลายงาทั้งสองข้าง ทันทีท่ีงาขาดตกลง
กบั พนื้ ดิน พญาชา้ งสลี ะกเ็ อางวงจบั งาท้งั สองนั้นข้ึนมากําไวแ้ นน่ พรอ้ มกับกล่าวว่า
“ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าให้งาท้ังสองน้ีแก่ท่าน ไม่ใช่เพราะมันทําให้เรือนร่างของข้าพเจ้า
สวยงาม แต่ยงั มงี าอีกชนิดหนึ่งท่ีข้าพเจ้ารักยิ่งกว่า เพราะเป็นงาที่จะทําให้ข้าพเจ้าได้รู้แจ้งธรรมทั้ง
ปวงนน่ั คอื พระสัพญญุตญาณ และยังช่วยโลกใหพ้ น้ ทกุ ขไ์ ดอ้ ย่างใหญห่ ลวง”
คร้ันแล้ว พญาช้างสีลวะก็ชูงวงต้ังจิตปรารถนาขอให้ได้บรรลุพระสัพพัญญุตญาณ สําเร็จเป็น
พระพุทธเจ้า แลว้ ยืน่ งาใหพ้ รานปุาไป พรานปุาได้งาแลว้ ก็รบี เดินทางกลบั ไปเมืองพาราณสี นํางาช้าง
ไปขายให้พวกช่างงาได้ราคามางามทีเดียว เขาเป็นอยู่อย่างสุขสบายได้ระยะหนึ่งเงินก็หมด
จงึ เดินทางกลบั มาขอตดั งาส่วนทเี่ หลืออีก
“พญาชา้ ง งาสองท่อนทที่ า่ นให้ไปขายได้ราคาเพียงแค่ใช้หน้ีเท่านั้น ข้าพเจ้ามาครั้งนี้ก็เพ่ือ
จะมาของาทยี่ ังเหลอื ไปขายอกี ” พรานโอดครวญ
“เชญิ ทา่ นตดั เลย” พญาชา้ งสีลวะบอกพรานปาุ พลางหมอบลง
17
พรานปุาก็ตัดเอางาไปอีก ๒ ท่อน รายได้จากงา ๒ ท่อนนั้นช่วยให้เขาเป็นอยู่อย่างสบายได้ระยะ
หนึ่ง จากนน้ั เขาก็กลับมาขอตัดงาส่วนที่ยังเลือกอยู่อกี จนครัง้ สุดท้ายมาขอตัดเอาโคนงาส่วนที่ยังฝัง
อยใู่ นเนื้อ
“เชิญทา่ นตัดเลย” พญาช้างสีลวะเสียสละให้เหมือนอย่างเคย พรานปุาจึงมาเอาเลื่อยแล้ว
ปีนข้ึนไปตัดจนขาด คร้ันได้ตามต้องการแล้วก็รีบจากไปด้วยความดีใจขณะที่เขาเดินจากพญาช้าง
สีลวะไปดว้ ยความดใี จนั้น กพ็ ลนั เกดิ เหตอุ ศั จรรย์ขน้ึ คอื แผน่ ดินตรงทีเ่ ขาเดินอยู่น้ันได้แยกออกแล้ว
สูบเขาจมหายไป แลว้ ทันใดนัน้ เองก็มีเปลวไฟจากอเวจีมหานครลกุ ท่วมร่างของเขาแดงฉาน
เทวดาตนหน่ึง สถิตอยู่บริเวณปุาน้ัน เห็นพฤติกรรมของพรานปุามาตลอดจนกระทั่งถึงเวลา
ทแ่ี ผ่นดินสบู จงึ พดู ขึน้ เสียงดงั วา่
“คนอกตญั ญูเห็นแก่ได้ แมใ้ ครยกแผน่ ดินให้เขาครอบครอง กไ็ มท่ ําใหเ้ ขาหยดุ โลภได้”
ฝุายพญาช้างสีลวะ แม้บัดนี้จะไม่มีงาแล้ว ก็ต้องสู้ข่มความเจ็บปวดและทุกข์ทรมาน ต่อมาไม่นาน
ก็ลม้ ไปเมื่อถงึ อายขุ ัย
นิทานธรรมเร่ืองนี้สอนให้รู้ว่า คนอกตัญญูน้ัน แม้ตอนแรกจะดูรุ่งเรือง แต่สุดท้ายก็จะพบ
ความวิบตั ิ เหมือนอยา่ งพรานปุาอกตัญญูพญาช้างสลี วะแล้วพบกับความวิบัตฉิ ะนั้น
อ้างองิ
สุชาดา บุญค้ํา. นิทานคติธรรม.(ออนไลน)์ . ๒๕๖๒. แหล่งทม่ี า:
https://sites.google.com/site/papaaem11/home/nithan-khtithrrm-txn-phya-chang-
phu-seiy-sla. [๔ มถิ ุนายน ๒๕๖๔]
18
บนั ทึกการอ่านรายบคุ คล
ชอื่ -สกุล..............................................................................................ชัน้ ..................เลขที่..................
ชื่อเร่อื งทอ่ี า่ น “พญาชา้ งผูเ้ สยี สละ”
คาแนะนากอ่ นการอา่ นเรอ่ื งทีก่ าหนด
ใหน้ กั เรียนอ่านแล้วบันทกึ ขอ้ มูลลงในแบบบนั ทกึ การอ่านรายบคุ คลขั้นตอนการอา่ น
๑.นักเรียนมคี วามร้พู ื้นฐานเกยี่ วกบั เรอ่ื งที่อา่ นมากน้อยเพียงใด
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
๒.นักเรยี นคิดว่าจะสามารถอา่ นนทิ านนเ้ี พื่ออะไร
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
๓.นักเรยี นคิดวา่ เร่อื งท่กี าํ ลงั อ่านตอ่ ไปน้ี เปน็ เรอื่ งราวเก่ยี วกบั อะไร เพราะเหตใุ ดจึงคดิ เช่นนนั้
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
19
๔.นกั เรียนคิดวา่ จะใชเ้ วลาในการอา่ นนานเทา่ ไร
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
๕.ใหน้ กั เรยี นคิดวา่ จะเกิดคาํ ถามอะไรบา้ งหลงั จากที่นกั เรียนอา่ นนทิ านนีจ้ บ
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
ขัน้ ระหวา่ งอา่ น
๑.มีคาํ ศพั ท์ สํานวน หรือขอ้ ความใดบา้ ง ทน่ี กั เรยี นยงั ไมเ่ ขา้ ใจ
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
๒.นกั เรยี นมีความคิดอย่างไร ในขณะท่กี ําลงั อ่านนทิ านนี้ เพราะเหตุใด
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
20
๓.แกน่ ของเรอ่ื ง คอื อะไรบา้ ง
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
๔.ตวั ละครในเร่ือง มีใครบา้ ง
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
๕.นกั เรยี นคดิ ว่า ผูเ้ ขียนมวี ัตถุประสงคอ์ ะไรในงานเขียนน้ี
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
๖.ใจความสาํ คัญของเรอื่ งนี้ คอื อะไร
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
21
ข้นั หลังการอา่ น
๑.ใหน้ กั เรียนยกตวั อยา่ งขอ้ ความทเี่ ห็นวา่ เปน็ ขอ้ คดิ ที่ได้จากเพลงอภิสทิ ธ์ิชน คํากล่าวท่วี ่าน้ีมเี หตุผล
อะไรที่นา่ จะเป็นข้อสนับสนุน
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
๒.นักเรียนจะนําความรู้ท่ีได้จากการอ่านนิทาน ไปปรับประยุกต์ใช้ในเรื่องใดจึงจะเหมาะสมกั บ
นักเรยี นมากที่สุด
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
22
แบบประเมนิ การการอ่านรายบคุ คล
วันทป่ี ระเมิน.........................................................................................................................................
คาชี้แจง ให้นักเรียนประเมินการปฏิบัติกิจกรรมของตนเองและสมาชิกในกลุ่มตามสภาพจริง
เพ่ือปรบั ปรงุ พัฒนาการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมตอนเองและกลุ่ม
ชอ่ื -นามสกลุ เน้ือหาถูกต้อง การเขียนความ เสร็จทนั เวลา รวม
เหมาะสม สะอาด ความ
สวยงาม
เกณฑก์ ารให้คะแนน เกณฑ์การตดั สนิ ระดับคุณภาพ
ดี
ปฏบิ ัตมิ ากท่สี ดุ ให้ ๔ คะแนน คะแนน
ปฏบิ ตั มิ าก ให้ ๓ คะแนน ๑๐-๑๒ ปานกลาง
ปฏิบัตปิ านกลาง ให้ ๒ คะแนน ๖-๙ พอใช้
ปฏบิ ัตนิ อ้ ยที่สดุ ให้ ๑ คะแนน ๓-๕ ปรับปรุง
๑-๒
23
เกณฑก์ ารประเมนิ การบนั ทกึ การอ่านรายบคุ คล
ประเด็น ระดบั คุณภาพเกณฑ์การให้คะแนน
การประเมนิ ๔ ๓๒ ๑
๑.เน้อื หา ตอบคําถามได้ ตอบคาํ ถามได้ ตอบคาํ ถามได้ ตอบคาํ ถามได้
ตรงประเด็น
ถกู ตอ้ ง ตรงประเด็นถกู ต้อง ตรงประเดน็ ตรงประเด็น เป็นสว่ นน้อย
เหมาะสม
เหมาะสม เหมาะสม เป็นสว่ นใหญ่ เปน็ บางสว่ น เป็นสว่ นน้อย
เหมาะสม เหมาะสม เขียนไม่ถกู ต้อง
หลายคํา
เปน็ ส่วนมาก เปน็ สว่ นน้อย ไม่คอ่ ยสะอาด
ตัวอกั ษรไม่สวยงาม
๒.การเขียน เขียนถูกต้อง สะอาด เขยี นถูกตอ้ ง สะอาด เขียนไม่ถูกต้อง อา่ นยาก
ความสะอาด ตัวอกั ษรสวยงาม
ความสวยงาม อ่านง่าย ตัวอักษรไมส่ วยงาม บางคาํ ไมค่ ่อยสะอาด สง่ ชา้ เกนิ ๑๐ นาที
อ่านยาก ตวั อักษรไมส่ วยงาม
อา่ นยาก
๓.เสรจ็ ทันเวลา เสร็จทันเวลา และ ส่งชา้ ๓-๕ นาที สง่ ชา้ ๖-๘ นาที
ส่งตามกาํ หนดเวลา
เกณฑ์การตัดสนิ ระดบั คุณภาพ
คะแนน ดี
๑๐-๑๒
๖-๙ ปานกลาง
๓-๕ พอใช้
๑-๒ ปรบั ปรุง
24
แบบบนั ทกึ การอา่ นของกลมุ่
ชื่อกลุม่ .....................................................................................................
ชื่อเรือ่ งท่อี า่ น..............................................................................................
คาแนะนาก่อนการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมกลมุ่
กาํ หนดบทบาทสมาชิกในกลมุ่ แตล่ ะคนในกลุม่ แลว้ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นโดยใช้
ข้อมูลท่ีสมาชิกแต่ละคนบันทึกไว้มาประกอบการอภิปราย และผู้ประสานงานบันทึกข้อสรุป
ในช่องว่างท่กี าํ หนดไว้
๑.ขอ้ สรุปเกยี่ วกับคําศัพท์ สํานวน หรอื ข้อความใดบา้ งท่นี กั เรียนไม่เขา้ ใจ
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
๒.ข้อสรุปเกย่ี วกบั แก่นของเรอ่ื งคืออะไร
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
๓.นกั เรยี นคิดวา่ ผู้เขยี นมจี ดุ ประสงค์อะไร
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
25
๔.ขอ้ สรุปเก่ยี วกบั ข้อคิดท่ีได้จากเรื่องมีอะไรบ้าง
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
๕.ข้อสรปุ การนาํ ความรทู้ ่ไี ดจ้ ากการอ่านไปปรบั ประยุกต์ใช้ในเร่ืองใด จึงจะเหมาะสมกบั นกั เรียน
มากทสี่ ดุ
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
26
แบบประเมนิ การการอา่ นของกลุ่ม
วนั ทป่ี ระเมิน.........................................................................................................................................
คาชแ้ี จง ให้นกั เรยี นประเมินการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมของสมาชกิ ในกลมุ่ ตามสภาพจรงิ เพื่อปรบั ปรงุ
พัฒนาการปฏิบัตกิ ิจกรรมของกลุ่ม
ชอ่ื -นามสกุล การรวบรวมและ การใช้ภาษาและ รวม
บันทกึ ข้อมลู คุณภาพของงาน
เกณฑก์ ารให้คะแนน คะแนน เกณฑก์ ารตัดสิน
๗-๘
ปฏิบัติมากทีส่ ดุ ให้ ๔ คะแนน ๕-๖ ระดบั คุณภาพ
ปฏิบตั ิมาก ให้ ๓ คะแนน ๓-๔ ดี
ปฏบิ ัตปิ านกลาง ให้ ๒ คะแนน ๑-๒
ปฏิบัตินอ้ ยท่สี ดุ ให้ ๑ คะแนน ปานกลาง
พอใช้
ปรับปรุง
27
เกณฑ์การประเมินการบันทึกการอ่านของกลุม่
ประเด็น ระดับคุณภาพเกณฑ์การให้คะแนน
การประเมนิ
๔ ๓๒ ๑
๑. การ รวบรวมและ
รวบรวม รวบรวมและ รวบรวมและ รวบรวมและ บนั ทึกข้อมลู สรปุ
และบนั ทกึ บันทกึ ข้อมูลได้ เปน็ ความเห็น
ข้อมูล บนั ทกึ ขอ้ มลู ได้ บนั ทกึ ขอ้ มลู สรปุ ของกลมุ่ ได้
ครบถ้วน ไมช่ ัดเจน
๒. การใช้ ทกุ ประเดน็ ทุกประเด็น เป็นความเหน็ ไมค่ รบทุกประเดน็
ภาษาและ สรุปความเห็น
คณุ ภาพ ของกลมุ่ ได้ชดั เจน สรุปเป็นความเหน็ ของกลุ่มได้ ใชภ้ าษาพดู
ของงาน มีเหตผุ ล สอื่ ความได้
ของกลุ่มได้ คอ่ นข้างชัดเจน ผดิ อกั ขระวธิ ี
ใช้ภาษาทางการ มากกวา่ ๔ คาํ
กะทดั รดั สือ่ ความ ค่อนข้างชัดเจน แตไ่ มค่ รบ ลายมอื อา่ นยาก
ได้ดี ถูกอกั ขรวิธี ไมเ่ ปน็ ระเบียบ
สะอาด อา่ นง่าย และมีเหตผุ ล ทุกประเดน็
เป็นระเบียบ ใชภ้ าษาทางการ ใชภ้ าษากงึ่ ทางการ
สอ่ื ความไดด้ ี สือ่ ความได้
ผิดอักขรวิธีไมเ่ กิน ผดิ อักขรวธิ ี
๒ คาํ อา่ นงา่ ย ไม่เกนิ ๔ คาํ
สะอาด คอ่ นข้างเป็น
เป็นระเบยี บ ระเบยี บ
เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน ระดับคุณภาพ
ดี
๗-๘
๕-๖ ปานกลาง
พอใช้
๓-๔ ปรับปรุง
๑-๒
28
แบบประเมินการนาเสนอผลงาน
ประเดน็ ระดบั คณุ ภาพเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
การประเมนิ
๔ ๓๒ ๑
๑.ความ
ถกู ต้องของ เนือ้ หาครบถว้ น เน้อื หาครบถ้วน เน้อื หาครบถ้วน เน้อื หาไมค่ รบถ้วน
เน้ือหา ทุกประเด็น สรปุ ทกุ ประเด็น
เป็นความเหน็ ทกุ ประเด็น ทุกประเดน็
ของกลมุ่ ได้ชัดเจน สรุปเป็นความเหน็
สรปุ เป็นความเห็น สรุปเป็นความเหน็ ของกลมุ่ ได้ แต่ไม่
สมเหตุผล ละเอยี ด ไมช่ ัดเจน
ของกลมุ่ ได้ ของกลมุ่ ได้ แต่ไม่
ครอบคลมุ
ถูกต้องละเอยี ด ละเอียด ไมช่ ัดเจน เพยี งส่วนน้อย
ชดั เจนครอบคลุม ครอบคลมุ
เปน็ สว่ นใหญ่ เป็นบางสว่ น
๒.ความ มวี ธิ ีการนําเสนอ มวี ิธกี ารนาํ เสนอ มีวธิ กี ารนาํ เสนอ มีวธิ กี ารนาํ เสนอ
เหมาะสม ท่ีเหมาะสม ทเ่ี หมาะสม ท่เี หมาะสม ทเี่ หมาะสม
ของการ อธิบายคุณค่าและ อธิบายคณุ คา่ และ อธิบายคุณค่าและ อธิบายคุณคา่ และ
นาเสนอ ข้อคดิ ของเร่ืองได้ ข้อคิดของเร่ืองได้ ขอ้ คิดของเร่ืองได้ ขอ้ คดิ ของเร่ืองได้
ถูกตอ้ งละเอียด ถกู ต้องชัดเจน ถูกตอ้ ง แตไ่ ม่ ถกู ต้องแตไ่ ม่
ชัดเจน พร้อมยกตวั อย่าง ละเอียดไม่ชดั เจน ละเอยี ด ไม่ชดั เจน
พรอ้ มยกตวั อยา่ ง ประกอบได้ถูกตอ้ ง ยกตัวอยา่ ง ยกตวั อย่าง
ประกอบไดถ้ ูกตอ้ ง เข้าใจงา่ ย ประกอบไดถ้ กู ตอ้ ง ประกอบได้ถกู ต้อง
เข้าใจงา่ ยทุกข้อ เป็นสว่ นใหญ่ เขา้ ใจงา่ ย เข้าใจง่าย
เปน็ บางส่วน เพียงส่วนนอ้ ย
๓. การใช้ ใชน้ ํา้ เสยี ง ใช้นํ้าเสยี ง ใชน้ ้ําเสียง ใชน้ ํา้ เสยี ง
นา้ เสยี ง ไดส้ อดคลอ้ งและ ไดส้ อดคล้องและ ได้สอดคล้องและ ไดส้ อดคลอ้ งและ
สัมพันธ์กับเร่อื ง สมั พันธก์ ับเร่ือง สมั พันธ์กันเรอ่ื ง สมั พนั ธ์กบั เรือ่ ง
เปน็ ส่วนใหญ่ เปน็ บางสว่ น สว่ นน้อย
๔. ตรงตาม นาํ เสนอ นาํ เสนอ นําเสนอค่อนขา้ ง นาํ เสนอ
เวลาท่ี ตรงตาม ลา่ ช้าเลก็ น้อย ล่าชา้ ไม่ตรงเวลา
กาหนด กําหนดเวลา
เกณฑก์ ารตัดสิน
คะแนน ระดบั คุณภาพ
๑๓-๑๖ ดี
๙-๑๒ ปานกลาง
๕-๘ พอใช้
๑-๔ ปรับปรุง
29
แบบบนั ทกึ การเรยี นรเู้ พ่ือวัดความสามารถในการสรา้ งองคค์ วามรดู้ ว้ ยตนเอง
คาชแ้ี จง ให้นักเรียนบนั ทกึ การเรยี นรู้จากการเรียนในหวั ข้อท่นี กั เรยี นได้เรียนรู้โดยมีแนวทางหรอื
ประเดน็ ในการเขียนบนั ทกึ การเรยี นรู้
๑.ใหน้ กั เรยี นเขยี นสรุปเน้อื หาสาระสาํ คัญทไี่ ด้เรยี นรู้ตามประเดน็ ต่อไปนี้
๑.๑ หวั เร่อื งทไ่ี ด้เรียนรูค้ ือเร่อื งอะไร.......................................................................................
๑.๒ สรุปสาระสาํ คญั ของเร่อื ง โดยเขยี นเปน็ แผนภาพความคิด
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
30
๒.นักเรียนได้ใช้ประเด็นใดบ้างจากการเรียนรู้ในหัวข้อท่ีผ่านมา เพ่ือนําไปใช้ประโยชน์ในการเรียน
ในครง้ั นี้
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
๓. นักเรียนบอกประโยชน์ที่ได้จากการเรียน โดยเขียนอธิบายจะนําไปปรับประยุกต์ใช้
ในชวี ิตประจาํ วนั อย่างไร พร้อมใหเ้ หตุผลประกอบหรือยกตวั อย่างประกอบ
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
31
เกณฑก์ ารประเมินแบบบนั ทึกการเรยี นรู้
เพ่อื วดั ความสามารถในการสรา้ งองค์ความรู้ด้วยตนเอง
รายการ ดมี าก (4) คณุ ภาพของผลงาน
ดี (3) พอใช้ (2) ตอ้ งปรบั ปรงุ (1)
1.การสรปุ สรุปสาระสาํ คัญ สรปุ สาระสาํ คญั สรปุ สาระสาํ คัญ สรุปสาระสาํ คัญ
สาระสาคญั ของเรอื่ งครบตาม ของเรื่องครบตาม ของเร่ืองครบตาม ของเรอ่ื งไม่ตรงตาม
ของเรอ่ื ง ประเด็นใน ประเดน็ ใน ประเดน็ ใน ประเด็น
จุดประสงค์ จดุ ประสงค์ จดุ ประสงค์ ตามจดุ ประสงค์
การเรียนรู้ การเรียนรแู้ ต่ขาด การเรยี นรู้ การเรียนรู้
มีรายละเอยี ด รายละเอียด มีรายละเอยี ด มขี าดรายละเอยี ด
ครบถว้ น เปน็ บางสว่ น แต่ไม่ครบถว้ น
2.การสรา้ ง บอกความสมั พันธ์ บอกความสมั พันธ์ บอกความสมั พันธ์ บอกความสมั พนั ธ์
ความรดู้ ว้ ย ของสงิ่ ทพี่ บเห็นกับ ของสงิ่ ท่ีพบเหน็ กบั ของส่งิ ที่พบเห็นกบั ของสงิ่ ทพ่ี บเหน็ กบั
ตนเองด้วย ความเขา้ ใจเดมิ ทมี่ ี ความเข้าใจเดมิ ทม่ี ี ความเขา้ ใจเดมิ ท่ีมี ความเขา้ ใจเดมิ ทีม่ ี
การเรยี นรู้จาก มากอ่ น กบั ความรู้ มากอ่ น กับความรู้ มาก่อน กับความรู้ มากอ่ น กับความรู้
ความสัมพนั ธ์ ทีไ่ ด้เรยี นในครง้ั ทไ่ี ดเ้ รยี นในคร้งั ทไี่ ดเ้ รียนในคร้ัง ท่ไี ด้เรียนในคร้งั
ของสิ่งทพ่ี บเหน็ ใหม่และอธบิ าย ใหม่แต่ขาด ใหม่ได้บางสว่ นแต่ ใหม่ยังไมส่ มั พนั ธ์
กับความเข้าใจ รายละเอยี ด รายละเอยี ด ขาดรายละเอยี ด กันขาดรายละเอียด
เดิมท่มี ีมาก่อน ประกอบ ประกอบการ ประกอบการ ประกอบการ
กับความรู้ท่ไี ด้ การอธิบาย อธิบาย อธิบาย อธบิ าย
เรยี นในครง้ั ใหม่
3.การนาความรู้ อธิบายได้ชัดเจนว่า อธิบายไดช้ ัดเจนว่า อธิบายไดช้ ัดเจนว่า อธบิ ายยังไม่ชัดเจน
ท่ีได้ไประยกุ ต์ใช้ สามารถนาํ ความรู้ สามารถนําความรู้ สามารถนําความรู้ วา่ สามารถนาํ
ในวชิ าอนื่ ๆ ท่ีได้จากการเรียน ทไี่ ด้จากการเรียน ที่ได้จากการเรียน ความรู้ท่ไี ด้จากการ
และใน ไปประยุกตใ์ ช้ใน ไปประยกุ ต์ใช้ใน ไปประยุกต์ใช้ใน เรยี นไปประยุกต์ใช้
ชวี ติ ประจาวนั วชิ าอน่ื ๆ และใน วชิ าอนื่ ๆ และใน วชิ าอ่นื ๆ และใน ในวชิ าอ่นื ๆ และใน
ชวี ติ ประจาํ วันได้ ชีวติ ประจาํ วันได้ ชีวิตประจาํ วันได้ ชีวิตประจําวันได้
โดยมรี ายละเอยี ด โดยมรี ายละเอยี ด ขาดรายละเอยี ด ขาดรายละเอียด
และตวั อย่าง และตวั อยา่ ง และตวั อยา่ ง และตัวอยา่ ง
ประกอบมากกวา่ ประกอบ 1 ประกอบ ประกอบ
1 สถานการณ์ สถานการณ์
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เกณฑก์ ารตดั สิน
ปฏิบัติมากท่สี ดุ ให้ ๔ คะแนน คะแนน ระดบั คุณภาพ
ปฏบิ ัติมาก ให้ ๓ คะแนน ๑๐-๑๒ ดีมาก
ปฏิบตั ปิ านกลาง ให้ ๒ คะแนน ๗-๙ ดี
ปฏิบตั ินอ้ ยที่สดุ ให้ ๑ คะแนน ๔-๖ พอใช้
๑-๓ ปรับปรุง
32
แบบบนั ทกึ ความคดิ เหน็ ในการเรยี นร้ขู องนกั เรียน
วชิ าภาษาไทย เร่อื ง....................................................................................
วัน..........................เดอื น......................................................พ.ศ...............
ผบู้ นั ทึก .....................................................................................................
คาชีแ้ จง ให้นักเรียนบนั ทึกส่ิงท่นี กั เรียนได้รบั จากการเรียนรู้จากการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ
ในหัวขอ้ ตอ่ ไปนี้
๑. ชอบเนือ้ หาท่ไี ดเ้ รียนในวนั นี้หรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
๒. กิจกรรมอะไรบ้างที่ชอบที่สดุ เพราะอะไร
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
๓. กระบวนการจดั การเรยี นรู้ของครเู ป็นอยา่ งไร
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
๔. ตอ้ งการใหค้ รูช่วยเหลอื ในเรื่องใด/และอยากบอกอะไรใหค้ รไู ดร้ บั รู้บา้ ง
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
33
แบบประเมินพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม
(บนั ทึกทกุ คร้ังภายหลังเสรจ็ ส้ินการทากจิ กรรมการอ่าน)
คาช้ีแจง
โปรดประเมินการมีส่วนร่วมในการทํางาน และความคิดเห็นเกี่ยวกับการทํางานกลุ่ม
โดยทาํ เครื่องหมาย √ ลงในชอ่ งท่ีตรงกับการปฏิบตั ิ หรือตรงกับความคิดเห็นของผูป้ ระเมิน ดังนี้
สังเกตเห็นว่ามีการปฏิบัตมิ ากที่สุด ให้ ๕ คะแนน
สงั เกตเห็นว่ามีการปฏิบตั ิมาก ให้ ๔ คะแนน
สังเกตเห็นว่ามกี ารปฏิบตั ิปานกลาง ให้ ๓ คะแนน
สังเกตเหน็ วา่ มกี ารปฏิบตั ินอ้ ย ให้ ๒ คะแนน
สงั เกตเห็นวา่ มีการปฏิบัติน้อยท่สี ุด ให้ ๑ คะแนน
ช่ือ............................................นามสกุล....................................เลขที่.........ชื่อกลุม่ .............................
ผ้ปู ระเมนิ ตัวเอง สมาชิกในกลมุ่ ครู รวม สรุป
คะแนนประเมนิ
๑๒๓๔๕๑๒๓๔๕๑๒๓๔๕
รายการพฤติกรรม
ดา้ นกระบวนการทางานภายในกลุ่ม
๑. ปฏบิ ตั ิตามกฎกตกิ าของกลมุ่
๒. มีส่วนร่วมในการตัง้ เปูาหมายของกลมุ่
๓. ซักถามเมือ่ มขี อ้ สงสัยหรือเพือ่ ใหเ้ ขา้ ใจ
ตรงกัน
๔. รบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของสมาชกิ คนอน่ื
๕. ให้ขอ้ มลู และข้อเสนอแนะทเ่ี ป็น
ประโยชนต์ ่อกลุ่ม
๖. ชว่ ยเหลอื เมือ่ สมาชกิ เสนอข้อคดิ เหน็ ที่
ผิดพลาดหรอื ไมส่ มบรู ณ์
๗. ใฝเุ รียนรู้ มงุ่ ม่นั ในการทํางาน
๘. มีการจดบันทึกความรู้อยา่ งเป็นระบบ
๙. มคี วามคิดรอบคอบในการพิจารณา
ข้อมูล
๑๐. มีบรรยากาศการทํางานภายในกลุ่ม
ทีด่ ี
ดา้ นการรบั ผดิ ชอบงานกล่มุ
๑๑. มสี ่วนร่วมในการประเมินเปูาหมาย
การอา่ น
๑๒. มกี ารควบคุมและตรวจสอบการอ่าน
34
ผู้ประเมิน ตวั เอง สมาชิกในกลมุ่ ครู รวม สรุป
คะแนนประเมนิ ๑๒๓๔๕๑๒๓๔๕๑๒๓๔๕
รายการพฤติกรรม
๑๓. ทาํ งานกลุม่ ตามที่ได้รบั มอบหมาย
อย่างเตม็ ความสามารถ และเสรจ็ ตามเวลา
ทก่ี าํ หนด
๑๔. มคี วามกระตอื รอื ร้นในการทาํ งาน
๑๕. มสี มาธิในการอ่าน ตง้ั ใจทํางาน
๑๖. ซกั ถามเพ่ือนในสง่ิ ท่ไี มเ่ ขา้ ใจอยา่ งมี
เหตุผล
ดา้ นประโยชน์ทไี่ ด้จากการทางานกล่มุ
๑๗ เรียนรแู้ ละแลกเปลีย่ นการใชก้ ลวิธี
การอา่ น
๑๘. สามารถอ่านบทอา่ นได้อยา่ งเข้าใจ
มากข้นึ
๑๙. กลา้ ที่จะแสดงความคิดเห็นมากขนึ้
๒๐. เรยี นรวู้ ิธกี ารทํางานรว่ มกบั ผอู้ ่นื
เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑก์ ารตดั สิน
สังเกตเหน็ ว่ามีการปฏบิ ัติมากทส่ี ุด ให้ ๕ คะแนน คะแนน ระดับคณุ ภาพ
สงั เกตเห็นวา่ มกี ารปฏิบัติมาก ให้ ๔ คะแนน
สงั เกตเหน็ วา่ มีการปฏิบตั ิปานกลาง ให้ ๓ คะแนน ๒๔๐-๓๐๐ ดมี าก
สังเกตเห็นว่ามีการปฏิบตั นิ อ้ ย ให้ ๒ คะแนน ๒๑๐-๒๓๙ ดี
สงั เกตเห็นวา่ มีการปฏิบัติน้อยที่สุด ให้ ๑ คะแนน ๑๘๐-๒๐๙
๑๕๐-๑๗๙ ปานกลาง
ตาํ่ กวา่ ๑๕๐ พอใช้
ปรับปรุง
35
แบบฝกึ หดั
นทิ าน เร่ือง พญาช้างผเู้ สียสละ
ช่ือ-สกลุ .................................................................................................ชั้น..................เลขที่................
คาชี้แจง จงเลือกคาํ ตอบท่ถี ูกต้องที่สุดเพยี งคําตอบเดียว
๑. สาระสาคญั ทส่ี ุดของการอา่ นนิทาน คือข้อใด
ก. ชว่ ยใหไ้ ด้แง่คิดและคตสิ อนใจ ข.ทําให้ผู้อ่านรจู้ ักตัวละคร
ค.ทาํ ใหผ้ ู้อา่ นเหน็ ฉากแตล่ ะฉาก ง.ทาํ ให้ผู้อา่ นสนกุ สนาน
๒. สาระทีเ่ ป็นเรือ่ งราวของนทิ าน แบง่ ออกเปน็ ก่ีประเภท
ก. ๖ ประเภท ข. ๗ ประเภท
ค. ๘ ประเภท ง. ๙ ประเภท
๓. การอา่ นนิทานในขอ้ ใดที่เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ
ก.การอ่านขา้ มหนา้
ข.การอ่านจบั ใจความสําคญั
ค.การอ่านในใจ
ง.การอ่านออกเสยี ง
๔. “พญาช้างสลี วะ” เปน็ ใครลงมาเกดิ ในชาติน้ี
ก.พระพุทธเจ้า ข.พระเทวทตั
ค.พระอานนท์ ง.พระอินทร์
๕. พญาช้างสลี วะมีรูปร่างลกั ษณะเด่นอยา่ งไร
ก.เหาะเหนิ เดินอากาศได้ มตี ัวสีเขยี วมรกต มี4หน้า 4งวง 4งา
ข.เดนิ บนน้าํ ได้ มีหางเหมือนปลา มีเหงือก มเี กล็ด
ค.ตวั เล็กมากๆ บนิ ได้ พน้ ไฟได้ ม8ี งา
ง.ตาทัง้ สองข้างกลมเหมอื นกอ้ นแก้วมณี หน้าแดงระเรื่อเหมือนผ้ากมั พลแดง งวงขาวย้วย
เหมอื นพวงเงนิ ทป่ี ระดบั ดว้ ยหยดทองคําขาว เทา้ ทง้ั ๔ แดงเหมอื นทาด้วยนํา้ คร่ัง
๖. ในชาติน้พี ระเทวทัตเกิดเปน็ ใคร
ก.ช้างปุา ข.เสอื
ค.พรานปาุ ง.เจา้ เมือง
๗. นทิ านธรรมเร่ืองนีส้ อนในเรื่องใด
ก.การประหยดั อดออม
ข.การมีระเบยี บวนิ ยั
ค.คนอกตัญญนู นั้ แมต้ อนแรกจะดูรงุ่ เรือง แต่สดุ ทา้ ยก็จะพบความวบิ ัติ
ง.การมีนาํ้ ใจ
36
๘. พรานป่าไดร้ บั ผลกรรมอย่างไร ข.จมนํา้
ง.ธรณสี บู
ก.เกดิ อุบตั เิ หตุ
ค.ฟาู ผา่
๙. พญาชา้ งสลี วะได้ใหง้ าแก่พรานป่าหรือไม่
ก.ใหย้ มื ข.ไม่ให้
ค.ไมเ่ ตม็ ใจให้ ง.ใหด้ ว้ ยความเตม็ ใจ
๑๐. พรานปา่ ออกจากป่าและกลับบา้ นไดอ้ ย่างไร
ก.พญาชา้ งสลี วะให้ข้ึนขีห่ ลังพาออกจากปุา ข.หาทางออกเอง
ค.เดินหาแหล่งนํ้าแลว้ เดินตามกระแสน้ําไป ง.มคี นมาช่วย
37
เฉลยแบบฝึกหัด
นทิ าน เรอ่ื ง พญาช้างผเู้ สยี สละ
ข้อ เฉลย
๑ ก.
๒ ค.
๓ ข.
๔ ก.
๕ ง.
๖ ค.
๗ ค.
๘ ง.
๙ ง.
๑๐ ก.