The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คุณสมบัติของผู้ประกอบการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by maneekarn bhakdeesoradej, 2019-06-04 03:57:39

คุณสมบัติของผู้ประกอบการ

คุณสมบัติของผู้ประกอบการ

ธรุ กิจและการเปน ผปู ระกอบการ

ครมู ณีกาญจน ภกั ดีสรเดช

1

ธุรกจิ และการเป็ นผู้ประกอบการ

ข้อท่ี 1 ความหมายของธุรกจิ (คะแนน 1)

ธุรกิจ (Business) หมายถึง กระบวนการนําทรัพยากรธรรมชาติมาผ่านกรรมวิธีการผลิตด้วย
แรงงานหรือเคร่ืองจกั ร เพื่อแปรสภาพให้เป็ นสินคา้ ก่ึงสําเร็จรูปหรือสินคา้ สาํ เร็จรูปเพ่ือจาํ หน่าย รวมท้งั
กิจกรรมบริการตา่ ง ๆ ดว้ ย โดยมี วตั ถุประสงคเ์ พ่อื มุ่งคา้ หรือแสวงหากาํ ไร

ข้อสังเกต 1. กิจกรรมบริการตา่ ง ๆ เช่น โรงแรม สายการบิน ธนาคาร ฯลฯ
2. ธุรกิจจะตอ้ งมีวตั ถุประสงคเ์ พอ่ื มุ่งคา้ หรือแสวงหากาํ ไร จึงจะเขา้ ความหมายของคาํ

วา่ “ธุรกิจ” แตถ่ า้ กระทาํ เพอ่ื บริจาค หรือกระทาํ เพอื่ แจกจา่ ยกจ็ ะไมเ่ ขา้ ความหมายของคาํ วา่ ธุรกิจ

ข้อท่ี 2 รูปแบบขององค์กร (คะแนน 1)

มนุษยไ์ ม่สามารถผลิต สร้างหรือจดั ทาํ สิ่งต่าง ๆ ได้ เพ่ือตอบสนองความตอ้ งการของตนเองได้
ท้งั หมด จึงจาํ เป็ นตอ้ งอาศยั ผูอ้ ่ืนจดั ทาํ หรือบริการให้ เรียกว่า “องค์กรทางธุรกิจ” ซ่ึงอาจเป็ นผูผ้ ลิต ผู้
จาํ หน่าย หรือผใู้ หบ้ ริการกไ็ ด้ จึงจาํ แนกรูปแบบขององคก์ รทางธุรกิจไดด้ งั น้ี

2.1 ธุรกิจแบบเจ้าของคนเดียว (Sole Proprietorships) ธุรกิจเจา้ ของคนเดียว คือ เจ้าของ
กิจการหรือเจา้ ของธุรกิจซ่ึงเป็นบุคคลธรรมดา

ข้อดี ข้อเสีย

1. ไดร้ ับผลกาํ ไรแตเ่ พยี งผเู้ ดียว 1. รับภาระหน้ีสินและผลขาดทุนแต่เพียงผเู้ ดียว
2. เก็บความลบั ไดด้ ี บางกิจการอาจมีสูตร 2. การขยายกิจการคอ่ นขา้ งยาก เพราะมีเงินทุน

การผลิต หรือเคลด็ ลบั ท่ีตอ้ งการปิ ดบงั มิให้ จาํ กดั การกเู้ งินจากสถาบนั การเงินขาดความ
บุคคลอ่ืนรู้ เชื่อถือ
3. การจดั ต้งั หรือเลิกกิจการทาํ ไดง้ ่าย เพราะ 3. เม่ือเจา้ ของกิจการชรา เสียชีวติ หรือมี
กฎหมายควบคุมนอ้ ยกวา่ องคก์ รธุรกิจ ประสบการณ์นอ้ ย อาจมีการเลิกกิจการไดง้ ่าย
แบบอ่ืน ๆ
4. มีอิสระในการดาํ เนินงานและยดื หยนุ่ ไดม้ าก

** ธุรกจิ แบบเจ้าของคนเดียวจะเสียภาษเี งนิ ได้แบบภาษเี งินได้บุคคลธรรมดา

2

2.2 ธุรกจิ แบบห้างหุ้นส่วน (Partnership)
ธุรกิจแบบหา้ งหุน้ ส่วน แบง่ ออกเป็น 3 ประเภท
1) หา้ งหุน้ ส่วนสามญั (Ordinary Partnership)
2) หา้ งหุน้ ส่วนสามญั นิติบุคคล (Registered Ordinary Partnership)
3) หา้ งหุน้ ส่วนจาํ กดั (Limited Partnership)

หลกั ของธุรกิจแบบหา้ งหุน้ ส่วนท้งั 3 ประเภท ที่มีลกั ษณะเหมือนกนั คือ
1. จดั ต้งั จากบุคคลต้งั แต่ 2 คนข้ึนไป
2. ตกลงทาํ สัญญาท่ีจะร่วมทุนหรือประกอบกิจการคา้ ร่วมกนั
3. มีวตั ถุประสงค์เพื่อแบ่งปันผลกําไรท่ีได้รับจากการดําเนินกิจการของห้าง
หุน้ ส่วนน้นั

** เรี ยกหุ้นส่ วนที่มีอํานาจจัดการว่า “หุ้นส่ วนผู้จัดการ” ผู้ร่วมลงทุนเรี ยกว่า
“หุน้ ส่วน”

ลกั ษณะทแี่ ตกต่างกนั ของธุรกจิ แบบห้างหุ้นส่วนท้งั 3 ประเภท คือ

ห้างหุ้นส่ วนสามัญ ห้างหุ้นส่วนสามัญนิตบิ ุคคล ห้ างหุ้นส่ วนจํากดั
1. ไม่ตอ้ งจดทะเบียนพาณิชย์ 1. ตอ้ งจดทะเบียนพาณิชย์
2. ใชค้ าํ นาํ หนา้ วา่ “หา้ ง 2. ใชค้ าํ นาํ หนา้ วา่ “หา้ ง 1. ตอ้ งจดทะเบียนพาณิชย์
หุน้ ส่วนสามญั ” หุน้ ส่วนสามญั นิติบุคคล” 2. ใชค้ าํ นาํ หนา้ วา่ “หา้ ง
3. มีหุน้ ส่วนประเภทไม่จาํ กดั 3. มีหุน้ ส่วนประเภทไมจ่ าํ กดั หุน้ ส่วนจาํ กดั ”
ความรับผดิ เท่าน้นั ความรับผดิ เท่าน้นั 3. มีหุน้ ส่วน 2 ประเภท คือ
3.1 หุน้ ส่วนประเภทจาํ กดั
4. หุน้ ส่วนทุกคนมีอาํ นาจใน 4. หุน้ ส่วนทุกคนมีอาํ นาจใน ความรับผดิ (รับผิดไมเ่ กิน
การบริหารหรือจดั การหา้ งฯ การบริหารหรือจดั การหา้ งฯ จาํ นวนเงินท่ีลงทุน)
เท่าเทียมกนั เทา่ เทียมกนั 3.2 หุน้ ส่วนประเภทไม่จาํ กดั
ความรับผดิ (รับผิดไมจ่ าํ กดั
จาํ นวนหน้ี)
4. หุน้ ส่วนประเภทไมจ่ าํ กดั
ความรับผดิ เท่าน้นั ท่ีมีอาํ นาจ
ในการบริหารหรือจดั การ งาน
ของหา้ งฯ

3

ห้างหุ้นส่ วนสามัญ ห้างหุ้นส่วนสามญั นิติบุคคล ห้างหุ้นส่วนจํากดั

5. ลงทุนดว้ ยเงินสด ทรัพยส์ ิน 5. ลงทุนดว้ ยเงินสด ทรัพยส์ ิน 5. - หุน้ ส่วนประเภทจาํ กดั
หรือแรงงานกไ็ ด้ หรือแรงงานก็ได้
ความรับผดิ ลงทุนดว้ ยเงินสด

ทรัพยส์ ินจะลงทุนดว้ ยแรงงาน
ไม่ได้

- หุน้ ส่วนประเภทไมจ่ าํ กดั

ความรับผดิ ลงทุนดว้ ยเงินสด

ทรัพยส์ ินแรงงาน
6. หุน้ ส่วนทุกคนตอ้ งรับผดิ ใน 6. หุน้ ส่วนทุกคนตอ้ งรับผดิ ใน 6. – หุน้ ส่วนประเภทจาํ กดั
หน้ีสินร่วมกนั โดยเจา้ หน้ี หน้ีสินร่วมกนั โดยเจา้ หน้ี ความรับผดิ รับผดิ ในหน้ีสิน
สามารถไล่เบ้ียใหห้ ุน้ ส่วนคน สามารถไล่เบ้ียใหห้ ุน้ ส่วนคน เป็นจาํ นวนเงินเท่าท่ีคา้ งชาํ ระ
ใดคนหน่ึงชาํ ระหน้ีจนครบได้ ใดคนหน่ึงชาํ ระหน้ีจนครบได้ แก่หา้ งฯ
- หุน้ ส่วนประเภทไม่จาํ กดั

ความรับผดิ ตอ้ งรับผดิ ชอบใน

หน้ีสินไม่จาํ กดั จาํ นวน
7. มีความน่าเชื่อถือกวา่ กิจการ 7. มีความน่าเชื่อถือกวา่ กิจการ 7. มีความน่าเชื่อถือกวา่ กิจการ
เจา้ ของคนเดียว, หา้ งหุน้ ส่วน เจา้ ของคนเดียว, หา้ งหุน้ ส่วน
เจา้ ของคนเดียว สามญั สามญั หา้ งหุน้ ส่วนสามญั

8. ถา้ ตอ้ งการเลิกกิจการ 8. ถา้ ตอ้ งการเลิกกิจการ นิติบุคคล
8. เม่ือหุน้ ส่วนคนใดเสียชีวติ

สามารถเลิกไดท้ นั ที สามารถเลิกไดท้ นั ที โดยแจง้ ลาออกหรือลม้ ละลาย เป็นเหตุ
เลิกกิจการ ใหเ้ ลิกประกอบกิจการ จะตอ้ ง
แจง้ เลิกกิจการและชาํ ระบญั ชี

ใหเ้ รียบร้อยดว้ ย

9. เสียภาษีแบบภาษีเงินได้ 9. เสียภาษีแบบภาษีเงินได้ 9. เสียภาษีแบบภาษีเงินได้

บุคคลธรรมดา นิติบุคคล นิติบุคคล

4

2.3 ธุรกจิ แบบบริษัท
หลกั การของธุรกจิ แบบบริษัท
1. จัดต้ังข้ึนโดยการแบ่งทุนเป็ นหุ้น ๆ ละเท่า ๆ กัน ตามจาํ นวนทุนจด
ทะเบียน
2. ผถู้ ือหุน้ แตล่ ะคนจะรับผดิ ชอบเฉพาะจาํ นวนหุน้ ที่ตนถืออยเู่ ทา่ น้นั
3. ผูถ้ ือหุ้นมีส่วนเป็ นเจา้ ของกิจการดว้ ย แต่ไม่จาํ เป็ นตอ้ งมีบทบาทในการ
บริหารกิจการบริษทั

บริษทั จํากดั Limited Company บริษัทมหาชนจํากดั Public Company

1. จดั ต้งั ข้ึนโดยบุคคลต้งั แต่ 7 คนข้ึนไป 1. จดั ต้งั ข้ึนโดยบุคคลต้งั แต่ 15 คนข้ึนไป
2. ใชค้ าํ นาํ หนา้ วา่ “บริษทั ” และคาํ วา่ “จาํ กดั ” 2. ใช้คํานําหน้าว่า “บริ ษัท” และคําว่า “จํากัด
ต่อทา้ ยชื่อ เช่น บริษทั ดุสิตจาํ กดั (มหาชน)ต่อทา้ ย เช่น บริษทั ดุสิตจาํ กดั (มหาชน)
3. เสนอขายหุน้ ใหก้ บั สมาชิกในบริษทั ตน 3. เสนอขายหุน้ ใหก้ บั ประชาชน

4. ระดมทุนโดยกาํ หนดทุนออกเป็ นหุ้น รวมถึง 4. ระดมทุนเพ่ือใชใ้ นกิจการ โดยการออกหุ้น แต่
กาํ หนดมูลค่าหุ้นไวด้ ว้ ย ชาํ ระค่าหุ้นคร้ังแรกอยา่ ง ละหุ้นมีมูลค่าเท่ากนั และตอ้ งชาํ ระค่าหุ้นคร้ังเดียว
นอ้ ย 25% ของหุน้ ที่ถือไว้ เตม็ มูลค่า

ข้อดขี องธุรกจิ แบบบริษัท ข้อเสียของธุรกจิ แบบบริษทั

1. สามารถระดมทุนได้มาก เพ่ิมทุนโดยการออก 1. มีข้นั ตอนในการจดั ต้งั ยงุ่ ยาก มีกฎเกณฑ์บงั คบั
หุน้ และนาํ มาขายเพ่มิ มาก
2. มีความมน่ั คงกวา่ กิจการเจา้ ของคนเดียวและ 2. มีอิสระในการดําเนินกิจการน้อยกว่าองค์กร
ธุรกิจแบบหา้ งหุน้ ส่วน ธุ รกิ จรู ป แ บ บ อ่ื น เม่ื อ ต้อ งก ารแ ก้ไข ห รื อ
3. สามารถเปล่ียนเจา้ ของได้ง่าย โดยการเข้าซ้ือ เปล่ียนแปลงเก่ียวกับบริษัท จะต้องหารือในที่
หุน้ ในตลาดหลกั ทรัพย์ ประชุม และการเปล่ียนแปลงบางประการจะตอ้ ง
4. มีการแข่งงานกนั ทาํ ตามหน้าที่ การทาํ งานเป็ น แจง้ ต่อสํานกั งานพาณิชยจ์ งั หวดั หรือกรมพฒั นา
ระบบ ธุรกิจการคา้ ดว้ ย

5. ผถู้ ือหุน้ รับผดิ ชอบจาํ กดั ในหน้ีสินของบริษทั

5

2.4 ระบบสหกรณ์ (CO-operative)
หลกั ของสหกรณ์ 1. เกิดจากกลุ่มบุคคลที่มีความตอ้ งการคลา้ ยคลึงกนั

2. จดั ต้งั จากผทู้ ่ีบรรลุนิติภาวะแลว้ ต้งั แต่ 10 คนข้ึนไป
3. ตอ้ งขอจดทะเบียนต่อสาํ นกั งานสหกรณ์ทอ้ งถ่ิน
4. มีวตั ถุประสงคเ์ พ่อื ส่วนรวม เป็นการช่วยเหลือสมาชิกโดยมิไดม้ ุง่

หากาํ ไรเพ่ือแบ่งปันกนั
5. ระดมทุนโดยการจาํ หน่ายหุน้ ใหแ้ ก่สมาชิก
6. การซ้ือขายหุน้ สหกรณ์จะเป็นหุน้ ลกั ษณะเปิ ด สมาชิก 1 คน จะ

ซ้ือหุน้ สหกรณ์กี่หุน้ ก็ได้
7. สมาชิก 1 คน ออกเสียงไดเ้ พยี ง 1 เสียงเท่าน้นั
8. สมาชิกได้รับผลตอบแทนจากการถือหุ้นตามสัดส่วนของหุ้นท่ีซ้ือเรียกว่า
“เงินปันผล”

สหกรณ์ จําแนกออกเป็ น 6 ประเภท
1. สหกรณ์การเกษตรจดั ต้งั ข้ึนจากกลุ่มเกษตรกร มีวตั ถุประสงคแ์ กไ้ ขปัญหาแก่

สมาชิก อาจรับฝากเงินและใหส้ ินเชื่อแก่สมาชิก เช่น ธกส.
2. สหกรณ์ประมงจดั ต้งั ข้ึนจากกลุ่มประมงหรือผมู้ ีอาชีพเก่ียวกบั ประมง
3. สหกรณ์นิคมจดั ต้งั ข้ึนเพื่อจดั สรรที่ดินทาํ กินให้กบั ประชาชน จากท่ีดินท่ีรกร้างวา่ ง

เปล่าหรือที่ดินที่ไดร้ ับอนุมตั ิจากรัฐบาล
4. สหกรณ์ร้านคา้ จดั ต้งั ข้ึนจากกลุ่มผบู้ ริโภคที่มีความตอ้ งการร่วมกนั จาํ หน่าย

สินคา้ อุปโภคบริโภค
5. สหกรณ์ออมทรัพยจ์ ดั ต้งั ข้ึนเพื่อช่วยเหลือสมาชิกดา้ นการเงิน เช่น ส่งเสริมการออม

ใหก้ ยู้ มื ในอตั ราดอกเบ้ียต่าํ
6. สหกรณ์บริการจดั ต้งั ข้ึนจากกลุ่มผใู้ หบ้ ริการตา่ ง ๆ หรือผตู้ อ้ งการรับบริการ

เช่น สหกรณ์เดินรถ

6

ข้อดี ข้อเสีย

1. สมาชิกจะได้ซ้ือสินค้าราคาถูก และจาํ หน่าย 1. การระดมทุนทาํ ไดย้ าก สมาชิกส่วนใหญ่มกั มี
สินคา้ ของสมาชิกโดยมิตอ้ งผา่ นพอ่ คา้ คนกลาง เงินทุนจาํ กดั
2. สมาชิกไดร้ ับความรู้และไดร้ ับการสนบั สนุนใน 2. การจ่ายค่าตอบแทนใหแ้ ก่ผูเ้ ขา้ มาดาํ เนินงานใน
สหกรณ์มีจาํ กดั จึงทาํ ให้ประสบปัญหาดา้ นการจดั
การประกอบอาชีพ

คนที่มีประสบการณ์เขา้ มาบริหารจดั การ
3. ได้รับ ก ารยก เว้น ไม่ ต้องเสี ยภ าษี เงิน ได้ 3. เลิกกิจการไดง้ ่าย ถา้ สมาชิกไม่ให้ความร่วมมือ
ตลอดจนเงินปันผลที่สมาชิกไดร้ ับกไ็ ม่ตอ้ งเสียภาษี กนั อยา่ งจริงจงั

เงินได้

2.4 รัฐวสิ าหกจิ (State Enterprise)
รัฐวสิ าหกิจเป็ นองคก์ รท่ีรัฐบาลเป็นเจา้ ของ รวมถึงนิติบุคคลต่าง ๆ ท่ีมีส่วนราชการเขา้
ไปถือหุน้ เกินกวา่ ร้อยละ 50 กาํ หนดนโยบายโดยการแต่งต้งั ขา้ ราชการหรือนกั การเมืองเขา้ ไปควบคุมการ
ดาํ เนินงานรัฐวสิ าหกิจ จาํ แนกออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. รัฐวสิ าหกิจท่ีเป็นนิติบุคคล เช่น ธนาคารกรุงไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคาร
สงเคราะห์
2. รัฐวสิ าหกิจท่ีไมเ่ ป็นนิติบุคคล เป็นหน่วยงานท่ีต้งั ข้ึนโดยใชท้ ุนรัฐบาลในการ
ดาํ เนินงานสังกดั หน่วยราชการที่เป็ นผูก้ ่อต้งั แต่ไม่มีสภาพเป็ นนิติบุคคล เช่น สํานกั งานสลากกินแบ่ง
รัฐบาล โรงงานยาสูบปัจจุบนั รัฐบาลมีนโยบายแปรสภาพรัฐวิสาหกิจ เพื่อให้มีประสิทธิภาพเท่าเทียมกบั
เอกชน เช่น การสื่อสารแห่งประเทศไทย ไดม้ ีการแปรสภาพและแยกกิจการเป็ น 2 บริษทั คือ บริษทั
ไปรษณียไ์ ทย จาํ กดั และ บริษทั กสท. โทรคมนาคม จาํ กดั (มหาชน)

ข้อท่ี 3 หน้าทข่ี ององค์กรธุรกจิ (คะแนน 1)

สงั คมปัจจุบนั เป็นสังคมมนุษยท์ ่ีมีความตอ้ งการสินคา้ และบริการ รวมถึงส่ิงอาํ นวยความสะดวก
ต่าง ๆ จึงเกิดองค์กรธุรกิจท่ีทาํ หน้าท่ีจาํ หน่ายสินคา้ และบริการข้ึน เพ่ือตอบสนองความตอ้ งการของ
มนุษยซ์ ่ึงเป็นผอู้ ุปโภคบริโภค ในการเลือกสรรสินคา้ หรือบริการที่ตนพึงพอใจมากท่ีสุด ในขณะเดียวกนั
องคก์ รธุรกิจก็มุ่งหวงั ผลกาํ ไรท่ีจะไดร้ ับ ภายใตก้ ารแข่งขนั ซ่ึงกนั และกนั เพื่อส่วนแบ่งทางการตลาดท่ี
มากที่สุด องคก์ รธุรกิจเหล่าน้ีจึงมีหนา้ ท่ีแตกตา่ งกนั ไป คือ

7

3.1 หน้าที่ผลิต เป็ นกระบวนการนาํ เอาวตั ถุดิบหรือทรัพยากรธรรมชาติมาแปรสภาพ เพ่ือสร้าง
มูลค่าหรือประโยชน์ที่สูงข้ึน ผูผ้ ลิตจะเลือกสินคา้ ท่ีตนถนดั และมีความชาํ นาญ ทาํ ให้สินคา้ มีมาตรฐาน
และไดใ้ ชท้ รัพยากรอยา่ งประหยดั และไดป้ ระโยชน์สูงสุด

3.2 ทาํ หน้าที่การจดั จาํ หน่าย คือ การขายสินคา้ หรือบริการ เป็ นการนาํ ผลผลิตไปสู่ผูบ้ ริโภค
อาจกระทาํ โดยผูผ้ ลิตไปสู่ผูบ้ ริโภคโดยตรง หรือมีคนกลางเป็ นผูจ้ ดั จาํ หน่ายระหวา่ งผผู้ ลิตกบั ผบู้ ริโภคก็
ได้ ซ่ึงเรียกวา่ ผคู้ า้ ส่งและผคู้ า้ ปลีก

3.3 ทาํ หน้าท่ีการกระจายรายได้ เมื่อมีการผลิต ก็จะต้องมีการจา้ งงาน ทาํ ให้ประชาชนมี
โอกาสทํางานมีรายได้ รายได้โดยรวมจะถูกจัดสรรไปยงั ประชาชนกลุ่มต่าง ๆ ส่งผลให้รายได้
ประชาชาติสูงข้ึน รัฐบาลก็มีรายไดจ้ ากภาษีอากร ซ่ึงทาํ ใหม้ ีเงินมาพฒั นาประเทศ เป็ นประโยชน์ต่อการ
พฒั นาเศรษฐกิจและสังคมโดยส่วนรวม

ข้อที่ 4 บทบาทขององค์กรธุรกจิ (คะแนน 1)

4.1 ยกมาตรฐานการครองชีพให้สูงข้ึน องคก์ รธุรกิจทาํ ให้เกิดการกระจายรายได้ ประชาชนมี
งานทาํ ทาํ ใหเ้ กิดการกินดีอยดู่ ี มีคุณภาพชีวติ ที่สูงข้ึน

4.2 เทคโนโลยี องคก์ รธุรกิจจึงเปิ ดรับเทคโนโลยี วทิ ยาการใหม่ เขา้ มาพฒั นาสินคา้ หรือบริการ
ของตนใหเ้ หนือกวา่ คู่แขง่ และยงั ลดตน้ ทุนการผลิตอีกดว้ ย

4.3 รัฐบาลมีรายได้เพียงพอต่อการนําไปบริหารประเทศ จากเงินภาษีอากรท่ีได้จดั เก็บจาก
องคก์ รธุรกิจต่าง ๆ

4.4 ช่วยเหลือสังคม เช่น นาํ เงินกาํ ไรจากการประกอบกิจการมาสร้างสะพานลอยสาธารณะ
4.5 เศรษฐกิจเติบโตเจริญกา้ วหนา้ มีเงินหมุนเวยี นในระบบเศรษฐกิจ ทาํ ใหเ้ กิดการจา้ งแรงงาน
รายไดป้ ระชาชาติสูงข้ึน ระบบเศรษฐกิจมน่ั คง
4.6 ส่งเสริมค่านิยมอนั ดี การสร้างภาพลกั ษณ์ให้แก่สินคา้ หรือบริการ เป็ นการสร้างรสนิยมใน
การอุปโภคบริโภค


Click to View FlipBook Version