The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by maneekarn bhakdeesoradej, 2019-06-04 02:57:26

หน่วยที่ 1 ตวามรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับธุรกิจ

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ

หนวยที่ 1 ความรูเ บ้อื งตน เกยี่ วกับธรุ กจิ และการเปนผูป ระกอบการ

ครมู ณีกาญจน ภักดสี รเดช

ใบความรู หนวยที่ 1

1. ความหมายของธรุ กิจ
ธุรกิจ(Business) หมายถึง กิจกรรมที่บุคคลหรือกลุมบุคคลทําเปนประจําเกี่ยวกับการแลกเปล่ียน

สิ่งของจําเปนหรือของมีคากับคาตอบแทนทเี่ ปนผลกําไร โดยท่ี “สิ่งของจําเปน” หรือ “ของมคี า” อาจจะ
เปนสินคา ซึ่งเปนสิ่งของมีคาและจับตองได หรือการใหบริหารซึ่งมีคา แตจับตองไมได “กจิ กรรมประจํา”

ก็หมายถึง การประกอบธุรกิจ ที่เราเรียกกันวา การทําธุรกิจ และ “บุคคลหรือกลุมบุคคล” ท่ีทํากิจกรรม

นี้ เรยี กวา ผปู ระกอบการ
1.1 องคประกอบท่สี ําคญั ของธุรกจิ
1. การคา ขาย

2. ผลกาํ ไร
3. เงินทนุ

4. ความเส่ยี งทางธรุ กิจ

5. การบริหารจดั การ
1.2 ประเภทของธรุ กจิ
การประกอบธุรกิจสามารถแบงตามลักษณะของสินคาและการไดมาของสินคา ซึ่งสามารถจําแนก

ออกเปน 3 รูปแบบใหญๆ ดงั น้ี
1. ธรุ กิจการผลติ สินคา

2. ธุรกิจการใหบรกิ ารสนิ คา

3. ธุรกิจการจัดจาํ หนาย
1.3 ปจจัยการผลิต (Factors of Production) ทรัพยากรตาง ๆ ที่ใชในการผลิตสินคาหรือ
บรกิ าร ปจ จบุ ันไดแบงเปน 5 ประเภทดงั น้ี

1. แรงงาน
2. เงิน

3. ทรัพยากรทางกายภาพ

4. การเปน ผปู ระกอบการ
5. ทรัพยากรสารสนเทศ
1.4 สิง่ แวดลอมทางธุรกิจ

สงิ่ แวดลอ มทางธรุ กจิ แบงเปน 2 ระดบั ดังนี้
1. ส่งิ แวดลอ มทางเศรษฐกิจและสงั คม

1) ปจจัยดา นการเมอื งการปกครอง

2) ปจจัยดานสภาวะเศรษฐกจิ
3) ปจ จัยดา นสังคม

4) ปจจยั ดา นเทคโนโลยี

5) ปจ จยั ดานกระแสโลกาภวิ ัฒน
2. ส่ิงแวดลอ มทางอตุ สาหกรรม

1) อํานาจตอรองของลกู คา
2) อํานาจตอ รองของผขู ายวัตถดุ ิบ
3) อปุ สรรคจากสนิ คา ทดแทน
4) ศกั ยภาพของคูแขง ขัน
5) ศกั ยภาพของผูเขามารายใหม
2. ความหมายของผูประกอบการและคุณสมบตั ิของผปู ระกอบการ
ผปู ระกอบการ (Entrepreneurs) หมายถึง ผูท่ีจัดต้ังธุรกิจข้ึนมาเปนของตนเอง มีการลงทุนและ
รับผิดชอบในการดําเนินงานธุรกิจทุกอยางดวยตนเอง เพ่ือมุงหวังผลกําไรตอบแทนและยอมรับความ
เส่ียงที่จะเกิดข้นึ จากผลการดําเนินงานนัน้
ผูประกอบการ (Entrepreneurs) หมายถึง เจาของกิจการหรือผูที่คิดริเร่ิมจัดต้ังธุรกิจข้ึนมาเปน
ของตนเอง มกี ารวางแผนการดําเนินการและดาํ เนินธุรกิจทุกดา นดวยตนเอง โดยมองเหน็ โอกาสทางธุรกิจ
และยอมรับความเสี่ยงที่อาจเกิดขน้ึ ไดตลอดเวลา เพื่อมุงหวังกําไรท่ีเกิดจากผลการดดําเนินงานของธุรกิจ
ตนเอง
2.1 ความตอ งการของผูประกอบการ
1) แรงบันดาลใจ
2) ความเปน อิสระทางการเงิน
3) ชองวา งทางการตลาดทท่ี าํ กาํ ไร
4) ธุรกจิ ของครอบครวั
2.2 คุณสมบตั ิของผปู ระกอบการ
1) มคี วามคิดรเิ รม่ิ สรา งสรรคใ นการผลิตสนิ คา หรือบรกิ ารใหมๆ
2) มคี วามสามารถในการบรหิ ารจดั การ
3) มีความกระตือรือรนสงู สขุ ภาพแขง็ แรง พรอมที่จะทํางานหนัก
4) มคี วามตอ งการที่จะประสบความสําเรจ็ สงู
5) มีวิสัยทศั นก วา งไกล ใฝหาความรอู ยเู สมอ
6) เปนผูทีม่ ีมนุษยสัมพันธท่ีดี
7) มีความสามารถในการคิดและแกปญ หา กลาเสีย่ ง
8) มองเหน็ โอกาสหรือชองทางในการทาํ ธรุ กิจ
2.3 คณุ ลกั ษณะของผปู ระกอบการทป่ี ระสบความสาํ เร็จ
1) มคี วามมงุ มน่ั ทจี่ ะประสบความสาํ เรจ็
2) มคี วามมนั่ ใจในตนเอง
3) มีแนวคิดเก่ียวกบั ธรุ กิจของตนเองอยา งชดั เจน

4) มแี ผนงานธรุ กิจทีเ่ ปนระบบ
5) มคี วามสามารถในการบริหารการเงนิ
6) มีความสามารถทางการตลาด
7) มีแหลง สนบั สนนุ ทด่ี ี
8) มีทกั ษะในการประสานงาน
9) มกี ารจัดองคก รท่เี หมาะสม
10) มคี วามสามารถมองเห็นสภาพของการแขงขนั ในอนาคตได
2.4 ลกั ษณะของผูป ระกอบการทปี่ ระสบความลมเหลว
1) บุคลิกออนแอ
2) โดดเดี่ยวคนเดยี ว
3) ไมม แี ผนงาน
4) ไมเตรยี มเงินทุนและเงนิ ขาดมอื
5) ทาํ การตลาดไมเปน
6) เลือกใชค นผิด
7) ประมาทการแขงขัน
8) ประเมินผลไมได
3. บุคคลผูม สี ว นไดสวนเสยี ของธุรกจิ
การประกอบธุรกิจยอมมีบุคคลเก่ียวของหลายฝาย แตละฝายลวนแลวแตเปนผูที่มีความสําคัญตอ
ธุรกิจ ดังนั้นจึงเปนหนาที่ของธุรกิจท่ีจะตองรักษาสัมพันธภาพท่ีดีของกลุมบุคคลที่เกี่ยวของ เพ่ือใหการ
ดาํ เนินกิจกรรมตาง ๆของธุรกจิ บรรลุเปาหมาย
3.1 ผมู สี ว นไดสวนเสียโดยตรง
1) ลูกคา
2) หนุ สวน
3) เจาหน้ี
4) ผูจาํ หนายวตั ถุดบิ
5) ลูกจา ง
6) ตัวแทนจําหนา ย
3.2 ผูมีสวนไดสวนเสียโดยออม หมายถึง คนหรือกลุมคน ซ่ึงสามารถกระทําบางส่ิงบางอยางท่ีจะ
สงผลกระทบตอผเู ก่ยี วของโดยตรงกับธุรกิจในประเภทแรกไดไมมากก็นอย หรืออาจกระทําการบางอยาง
เพ่ือไปจํากัดการดําเนินการที่ไมรับผิดชอบบางอยางของธุรกิจได โดยผานการแสดงความไมเห็นดวย
ความไมพอใจ การตอตานหรือสรางแรงกดดันตอธุรกิจ เพื่อทําหรือไมทําอะไรบางอยาง ผูมีสวนไดสวน
เสียโดยออม ไดแก ผูบริโภค ภาครัฐ องคกรแรงงาน กลุมอนุรักษสิ่งแวดลอม ชุมชน ทองถิ่น
ส่อื สารมวลชนและกลมุ ผลประโยชนอ่ืน ๆ

4. จรรยาบรรณของผูป ระกอบการ
จรรยาบรรณ หมายถึง ประมวลความประพฤติที่ผูประกอบธุรกิจการงานแตละอยางกําหนดข้ึน

เพ่ือรักษาและสง เสริมเกียรตคิ ณุ ช่อื เสยี งและฐานะของสมาชิก
การประกอบอาชพี ทุกประเภทจะตอ งมีจรรยาบรรณตอวิชาชีพของตนเอง เพ่ือเปนการแสดงความ

รับผิดชอบตอสังคม ตอประเทศชาติ และเปนการคืนกําไรใหกับสังคม ดังน้ันผูประกอบธุรกิจจึงตองมี
หนาที่รับผดิ ชอบตอบุคคลตาง ๆ ดังนี้

4.1 จรรยาบรรณตอลูกคา
4.2 จรรยาบรรณตอพนกั งาน
4.3 จรรยาบรรณตอผรู ว มลงทุน
4.4 จรรยาบรรณตอสงั คม
4.5 จรรยาบรรณตอ รัฐบาล


Click to View FlipBook Version