The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by eyered_ooo, 2021-03-22 02:52:53

Annual Report_TH

Annual Report_TH

THE STEEL PUBLIC COMPANY LIMITED

บริษทั เดอะ สตีล จํากัด (มหาชน)

ANNUAL REPORT

2020

รายงานประจําปี 2563

สารบัญ

สารจากประธานกรรมการ

ท่านผถู้ ือหนุ้ และนกั ลงทนุ ทกุ ทา่ น ปี 2563 เป็นอีก 1 ปี ท�ียากลาํ บากและ
ทา้ ทายมากสาํ หรบั ทุกธุรกิจ รวมท�ังธุรกิจเหล็ก ผลจากการแพร่ระบาดของไวรสั
โคโรนา-2019 ส่งผลให้ธุรกิจมากมายหลายอุตสาหกรรมตอ้ งปิดตัวลง แม้หลาย
ธุรกิจท�ียังดํารงอยู่ได้กิจการก็หดตัวหรือชะลอตัวลงอย่างมาก ซ�ึงมีผลกระทบ
ต่อเน�ืองถึงอุตสาหกรรมเหล็ก ซ�ึงกลุ่มบริษัทเองก็ไดร้ บั ผลกระทบจนเกิดภาวะ
ขาดทนุ ในปีนี� เน�อื งจากยอดรายรบั จากการขายลดลงอย่างมาก

อย่างไรก็ตาม แม้ปีนีบ� รษิ ัทจะเกิดภาวะขาดทุน แต่ในเร�ืองสภาพคล่อง
ของธุรกิจยงั ดาํ เนินไปไดด้ ว้ ยดี และคาดการณ์ว่าเม�ือย่างเขา้ ปี 2564 ท�ีภาวะการแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา- 2019 ได้
ผอ่ นคลายลงเร�ือย จะทาํ ใหภ้ าวะการคา้ ของกล่มุ กลบั มาดงั เดมิ โดยเรว็

ในนามของคณะกรรมการบริษัท ขอขอบคุณท่านผูถ้ ือหุน้ ลกู คา้ พนั ธมิตรทางการคา้ สถาบนั ทางการเงิน
และเอกชนท�ีเกี�ยวข้อง ท�ีไดใ้ หก้ ารสนับสนุนการดาํ เนินกิจกรรมของบริษัทดว้ ยดีเสมอมา ขอขอบคุณผู้บริหารและ
พนักงานทุกท่านท�ีได้ปฏิบัติหน้าท�ีด้วยความรับผิดชอบและด้วยความร่วมมือร่วมใจท�ีจะมุ่งม�ันพัฒนาธุรกิจให้
เจรญิ กา้ วหนา้ ต่อไปไดอ้ ยา่ งม�นั คงตลอดไป

( นายมนู เลยี วไพโรจน์ )
ประธานกรรมการบรษิ ัท

รายงานประจําปี 2563 1

สรุปผลการดาํ เนินงานของบริษัท

2563 หนว่ ย : พนั บาท

7,445,910 2562 2561
295,254
งบการเงนิ โดยรวม (132,026) 10,280,694 11,284,737
259,823 316,441
รายไดจ้ ากการขายและบรกิ าร 4,325,471 211,437 (100,514)
กาํ ไรขน�ั ตน้ 2,708,143
กาํ ไร(ขาดทนุ ) สทุ ธิเบด็ เสรจ็ รวม 1,617,328 5,324,629 5,104,899
สนิ ทรพั ยร์ วม 3,533,682 3,437,227
หนสี� ินรวม 3.97 1,790,947 1,667,672
ส่วนของผถู้ ือหนุ้ (1.77)
อัตราส่วนทางการเงนิ (2.73) 2.79 2.80
(7.77) 2.02 (0.89)
อตั รากาํ ไรขนั� ตน้ ต่อรายไดร้ วม 1.00 4.07 (1.86)
อตั รากาํ ไร(ขาดทนุ )สทุ ธิตอ่ รายไดร้ วม 1.68 12.32 (5.73)
อตั ราผลตอบแทนตอ่ สนิ ทรพั ยร์ วม 1.00 0.98
อตั ราผลตอบแทนตอ่ สว่ นของผถู้ อื หนุ้ 1.98 2.06
อตั ราส่วนสภาพคลอ่ ง
อตั ราสว่ นหนสี� นิ ต่อส่วนผถู้ ือหนุ้

2 บริษัท เดอะ สตีล จํากัด (มหาชน)

ลกั ษณะการประกอบธุรกจิ

บรษิ ัทประกอบธุรกิจจดั จาํ หนา่ ยผลิตภณั ฑเ์ หล็กท�ีหลากหลายทง�ั ในรูปแบบวตั ถดุ ิบท�ยี งั มิไดแ้ ปรรูป ไดแ้ ก่ เหล็ก
แผ่นรีดรอ้ นชนิดมว้ น (Hot Rolled Coil) และท�ีแปรรูปแลว้ ทั�งเหล็กมว้ นสลิต เหล็กแผ่น เหล็กรูปพรรณประเภทขึน� รูปรอ้ น
และเหล็กรูปพรรณประเภทขึน� รูปเย็นรวมทงั� ผลิตภณั ฑ์เหล็กอ�ืนๆ นอกจากนีบ� ริษัทยังเป็นผแู้ ปรรูปผลิตภัณฑเ์ หล็กบาง
ประเภท ไดแ้ ก่ เหลก็ แผ่น เหลก็ มว้ นสลิต เหลก็ แบน เหลก็ ฉากพบั เหลก็ รางพบั ท่อเหลก็ และเหลก็ โครงสรา้ งรูปตวั ซี

โครงสรา้ งรายไดข้ องบรษิ ทั ประกอบดว้ ย
1 ) การใหบ้ รกิ ารจดั หาผลิตภณั ฑต์ า่ งๆ

บรษิ ทั ใหบ้ รกิ ารจดั หาผลติ ภณั ฑเ์ หลก็ ตา่ งๆ ไดแ้ ก่ เหลก็ แผ่นรีดรอ้ นชนดิ มว้ น เหล็กแผ่น เหลก็ รูปพรรณ
ประเภทขนึ� รูปรอ้ น ซง�ึ สามารถแบง่ ออกเป็น เหลก็ เอชบมี เหล็กไอบีม เหลก็ ไวรแ์ ฟรงค์ เหลก็ เสน้ เหลก็ รางรดี เหลก็ ฉากรีด
เหล็กแบนรีด และเหลก็ สเี� หล�ยี มตนั รวมทงั� เหล็กรูปพรรณขนึ� รูปเยน็ ซง�ึ สามารถแบ่งออกเป็น ทอ่ เหล็ก เหล็กรางพบั เหล็ก
ฉากพบั เหล็กโครงสรา้ งรูปตวั ซี นอกจากนบี� รษิ ัทยงั ใหบ้ รกิ ารจดั หาเหลก็ ชนดิ อนื� ๆ เชน่ ทอ่ ประปา แผน่ ซิงค์ เป็นตน้ และ
ตงั� แตป่ ี 2555 เป็นตน้ มา บรษิ ทั มกี ารนาํ เขา้ เศษเหลก็ จากตา่ งประเทศ รวมทง�ั จดั ซือ� ภายในประเทศ เพ�อื ขายเป็นวตั ถดุ ิบ
ใหแ้ ก่โรงหลอมเหลก็ เพ�อื แปรรูปเป็นเหลก็ มว้ นดาํ และเหล็กมว้ นหนา้ แคบมาขายใหบ้ รษิ ทั อีกทอดหน�งึ

2) การแปรรูปผลติ ภณั ฑเ์ หลก็

บรษิ ทั นาํ เหลก็ แผ่นรดี รอ้ นชนดิ มว้ นมาแปรรูปเป็นผลติ ภณั ฑเ์ หล็กประเภทตา่ งๆ ไดแ้ ก่ เหล็กมว้ นสลิต เหลก็
แผ่น เหลก็ แบน เหลก็ ฉากพบั เหล็กรางพบั ทอ่ เหลก็ และเหล็กโครงสรา้ งรูปตวั ซี รวมทงั� บรษิ ทั ยงั เป็นศนู ยบ์ รกิ ารเหลก็
ครบวงจร ซ�งึ ใหบ้ รกิ ารตดั เหลก็ แผ่น (Plate) ซอยหนา้ เหล็กมว้ นแถบเลก็ (Slitting Coil) ตามขนาดท�ลี กู คา้ ตอ้ งการ

โครงสร้างรายได้ของบริษทั

โครงสรา้ งรายไดข้ องบรษิ ัทในระยะ 3 ปี สนิ� สดุ วนั ท�ี 31 ธนั วาคม ปี 2561 2562 และ 2563 ประกอบดว้ ยรายได้
หลกั จากการจดั หาผลติ ภณั ฑแ์ ละแปรรูปแลว้ จาํ หนา่ ย มีดงั นี�

2563 2562 2561

มลู ค่าการจาํ หนา่ ย ลา้ นบาท % ลา้ นบาท % ลา้ นบาท %

การใหบ้ ริการจดั หาผลิตภณั ฑ์

- วัตถดุ บิ 482.02 6.47 1,828.54 17.79 2,386.58 21.15
- รูปพรรณ 3,818.85 51.29 4,945.42 48.10 5,180.41 45.91

การแปรรูปผลิตภณั ฑเ์ หล็ก 3,036.21 40.78 3,371.25 32.79 3,688.56 32.69

รวม 7,337.08 98.54 10,145.21 98.68 11,255.55 99.74
1.32
รายไดอ้ นื� ๆ 108.83 1.46 135.49 100.00 29.17 0.26
รวมรายได้ 7,445.91 100.00 10,280.70 11,284.72 100.00

รายงานประจําปี 2563 3

ลักษณะผลิตภณั ฑแ์ ละบริการ
ลกั ษณะผลติ ภณั ฑแ์ ละบรกิ ารหลกั ของบรษิ ัทสามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ
1. การใหบ้ รกิ ารจดั หาผลติ ภณั ฑเ์ หลก็ เพ�อื จาํ หน่าย (Steel Trading and Warehousing)
ผลติ ภณั ฑท์ �บี รษิ ัทจดั หาเพ�อื จาํ หนา่ ยแกล่ กู คา้ สามารถแบ่งออกเป็น 3 กล่มุ หลกั คือ
1.1 ผลิตภณั ฑเ์ หลก็ ทรงแบนประเภทรดี รอ้ น (Hot-Rolled Flat product)
ผลติ ภณั ฑป์ ระเภทนเี� ป็นผลติ ภณั ฑท์ �ผี า่ นกระบวนการผลิตของผผู้ ลิตเหล็กทรงแบนประเภทรดี รอ้ นในประเทศ

เหล็กทรงแบนประเภทรดี รอ้ นท�ไี ดจ้ ะมลี กั ษณะเป็นแผ่น มขี นาดความกวา้ ง ความยาวและความหนา ท�แี ตกตา่ งกนั
โดยท�วั ไป มี 2 ลกั ษณะ คอื เหล็กแผน่ รีดรอ้ นชนิดมว้ น (Hot-Rolled Coil - HRC) ท�มี คี วามหนาตงั� แต่ 1.0 มิลลเิ มตร ถึง
13.0 มลิ ลิเมตร และเหล็กแผ่นรดี รอ้ นชนิดแผ่นหนา (Hot-Rolled Plate - HRP) ท�มี ีความหนาตงั� แต่ 8 มิลลิเมตรขนึ� ไป
จนถงึ 100 มิลลเิ มตร บรษิ ทั ทาํ หนา้ ท�จี ดั หาเหล็กแผ่นรีดรอ้ นชนิดมว้ น และเหลก็ แผ่นรีดรอ้ นชนดิ แผน่ หนาจากผผู้ ลิต
เหล็กในประเทศ โดยจดั จาํ หนา่ ยใหแ้ ก่ ผคู้ า้ ส่งเหล็ก และลกู คา้ ท�เี ป็นโรงงานเหลก็ ตา่ งๆ ทง�ั นลี� กู คา้ จะนาํ ไปใชใ้ นการแปร
รูปเป็นชิน� งานเหล็กตา่ ง ๆ ต่อไป ซง�ึ ชิน� งานเหลา่ นจี� ะถกู นาํ ไปใชอ้ ย่างกวา้ งขวา้ งในอุตสาหกรรมท�วั ไป เชน่ อตุ สาหกรรม
กอ่ สรา้ ง อตุ สาหกรรมผลติ เครอ�ื งจกั ร และอตุ สาหกรรมตอ่ เรอื เป็นตน้

1.2 ผลิตภณั ฑเ์ หล็กทรงยาว (Long Product)
1) ผลติ ภณั ฑเ์ หล็กทรงยาวขนึ� รูปรอ้ น (Hot Formed)
ผลิตภณั ฑป์ ระเภทนเี� ป็นผลิตภณั ฑท์ �ผี า่ นกระบวนการขนึ� รูปดว้ ยความรอ้ น ไดแ้ ก่ เหลก็ เอชบมี เหลก็ ไอบมี

เหลก็ ไวรแ์ ฟรงค์ เหลก็ เสน้ เหล็กรางรดี เหล็กฉากรีด เหล็กแบนรีด และเหล็กสเี� หลย�ี มตนั บรษิ ัททาํ หนา้ ท�จี ดั หาผลติ ภัณฑ์
ดงั กล่าวและจดั จาํ หนา่ ยใหแ้ ก่ผคู้ า้ ส่งเหล็ก และลกู คา้ ในกลมุ่ อตุ สาหกรรมก่อสรา้ งเป็นหลกั

2) ผลติ ภณั ฑเ์ หล็กทรงยาวขนึ� รูปเยน็ (Cold Formed)
ผลติ ภณั ฑป์ ระเภทนเี� กดิ จากการนาํ เหลก็ แผ่นรดี รอ้ นมาขึน� รูปซา�ํ อีกครงั� ดว้ ยเคร�อื งจกั ร โดยไมม่ กี ารใช้

ความรอ้ น ไดแ้ ก่ เหลก็ รางพบั เหล็กฉากพบั เหลก็ โครงสรา้ งรูปตวั ซี ท่อเหล็ก ซง�ึ ผลิตภณั ฑท์ อ่ เหล็ก ท�บี รษิ ทั ใหบ้ รกิ าร
จดั หาจะเป็นทอ่ เหลก็ ท�เี หมาะสมสาํ หรบั นาํ ไปใชใ้ นอตุ สาหกรรมกอ่ สรา้ ง บรษิ ัททาํ หนา้ ท�จี ดั หาผลิตภณั ฑด์ งั กล่าวและจดั
จาํ หน่ายใหแ้ ก่ ผคู้ า้ ส่งเหล็ก และลกู คา้ ในกลมุ่ อตุ สาหกรรมก่อสรา้ ง

1.3 ผลิตภณั ฑเ์ หล็กชนิดอื�น ๆ
บรษิ ัททาํ หนา้ ท�ีจดั หาผลิตภณั ฑเ์ หล็กชนดิ อืน� ๆ มาจดั จาํ หนา่ ยเพ�อื ใหม้ ีผลติ ภณั ฑท์ �หี ลากหลายไวใ้ หบ้ รกิ าร

และอาํ นวยความสะดวกแก่ลกู คา้ เชน่ เหล็กแผ่นขาว เหล็กเคลือบสงั กะสี เหล็กไวรเ์ มช รวมทง�ั เหล็กวตั ถดุ ิบ เป็นตน้
2. การแปรรูปผลิตภณั ฑเ์ หล็ก (Coil Center)
บริษัทนาํ เหล็กมว้ นรีดรอ้ นจากผูผ้ ลิตมาผ่านขบวนการแปรรูป เพ�ือใหไ้ ดส้ ินคา้ เหล็กแปรรูปตวั ใหม่ เช่น เหล็ก

มว้ นสลิต (Slitting Coil), ตดั เป็นเหล็กแผน่ ขนาดตา่ งๆ รวมทงั� แปรรูปเป็นเหลก็ ตวั ซี และท่อเหลก็ ดาํ ปัจจบุ นั เคร�อื งจกั รท�มี ี
อยู่ในกล่มุ บริษัท สามารถมีกาํ ลงั การผลิตรวมประมาณ 334,550 ตนั ต่อปี โดยทาํ งานวนั ละ 8 ช�วั โมง ในช่วงมียอดขาย
มากกจ็ ะเพิ�มการทาํ งานอีกประมาณ 2-4 ช�วั โมงต่อวนั

4 บริษัท เดอะ สตีล จํากัด (มหาชน)

การตลาดและภาวการณแ์ ข่งขนั
1. กลยทุ ธท์ างการตลาด

1) บริษัทมีผลิตภัณฑ์ท�ีหลากหลาย ทําให้ลูกค้าสามารถส�ังซื�อผลิตภัณฑ์เหล็กจากบริษัทโดยไม่
จาํ เป็นตอ้ งไปส�งั ซือ� จากผูจ้ ัดจาํ หน่ายหลายแห่ง ทาํ ใหบ้ ริษัทสามารถตอบสนองความตอ้ งการของ
ลกู คา้ ไดเ้ ป็นอย่างดี โดยเฉพาะผคู้ า้ ส่ง และหนว่ ยงานกอ่ สรา้ งซง�ึ เป็นลกู คา้ หลกั ของบรษิ ัท

2) ผลิตภัณฑ์เหล็กของบริษัททั�งท�ีบริษัทซือ� มาจากผูผ้ ลิตเพ�ือจดั จาํ หน่าย และท�ีบริษัทแปรรูปเองไดร้ บั
มาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.) จากกระทรวงอุตสาหกรรม และบรษิ ัทมีระบบตรวจสอบคุณภาพของ
สินคา้ ใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานก่อนจดั ส่ง นอกจากนีห� ากสินคา้ มีความบกพร่องบรษิ ัทจะจดั ส่งสินค้า
ใหมใ่ หล้ กู คา้

3) บรษิ ัทมบี รกิ ารจดั ส่งสินคา้ ใหก้ บั ลกู คา้ ในเขตกรุงเทพ และปรมิ ณฑล รวมทงั� จงั หวดั ใกลเ้ คียง
4) บริษัทสามารถตอบสนองความตอ้ งการของลูกคา้ ไดท้ ันความตอ้ งการ เน�ืองจากบรษิ ัทมีผลิตภณั ฑ์

หลากหลายขนาดและมีระบบควบคุมสินคา้ คงคลังท�ีมีประสิทธิภาพ รวมทั�งการจัดส่งผลิตภณั ฑ์ได้
รวดเรว็ ตรงตอ่ เวลา
5) บรษิ ัทแบ่งทีมการตลาดออกตามท�ีตงั� ของลูกคา้ โดยเฉพาะ เพ�ือใหส้ ามารถดูแลลกู คา้ ไดท้ �วั ถึง ทาํ ให้
ทราบถงึ ความตอ้ งการของลกู คา้ ไดเ้ ป็นอย่างดี
6) บริษัทเน้นการสรา้ งฐานมูลค่าเพ�ิมให้เกิดในองคก์ ร โดยเน้นการพัฒนาความรูข้ องบุคลากรด้าน
การตลาดให้มีความรูเ้ ก�ียวกับการใชผ้ ลิตภณั ฑข์ องบรษิ ัท เพ�ือให้พนกั งานสามารถใหค้ าํ ปรกึ ษากับ
ลกู คา้ ได้ และบรษิ ัทยงั ใหค้ วามสาํ คญั เร�ืองการใหบ้ รกิ ารกบั ลกู คา้
ลกั ษณะลกู คา้ และชอ่ งทางการจาํ หน่าย
บริษัทจัดจําหน่ายสินค้าให้แก่ลูกค้าภายในประเทศทั�งหมด ลูกค้าส่วนใหญ่เป็นลูกค้ากลุ่มผู้ค้าส่ง
ผปู้ ระกอบการในอตุ สาหกรรมอืน� ๆ และผรู้ บั เหมากอ่ สรา้ ง รวมทงั� โรงงานหลอมเหล็กมว้ นดาํ
2. ภาวการณแ์ ข่งขนั
จากการท�บี รษิ ัทประกอบธุรกิจเป็นทงั� ศนู ยบ์ รกิ ารเหลก็ และ ผผู้ ลิตเหลก็ รูปพรรณ จึงแบง่ ลกั ษณะการแข่งขนั
ออกเป็น 2 กลมุ่ ไดแ้ ก่
2.1 กลุ่มธุรกิจศูนยบ์ ริการเหลก็
ผปู้ ระกอบธุรกิจศูนยบ์ ริการเหล็กมีจาํ นวนมาก ส่วนใหญ่เป็นผูป้ ระกอบการขนาดเล็ก สาํ หรบั ผปู้ ระกอบธุรกิจ
ศนู ยบ์ รกิ ารท�ีมีกาํ ลงั การผลิตและมีศกั ยภาพในการแข่งขนั ในตลาดท�ีมีขนาดใหญ่จาํ นวน 2 ราย และขนาดกลางจาํ นวน
6 ราย ซง�ึ บรษิ ัทเป็นหนึง� ในผปู้ ระกอบธรุ กจิ ศนู ยบ์ รกิ ารท�มี กี าํ ลงั การผลติ ขนาดกลาง ดงั นน�ั การแขง่ ขนั ของกล่มุ ผผู้ ลิตขนาด
ใหญ่ และขนาดกลางจึงอยู่ในระดบั ปานกลาง รวมท�งั กาํ ลังการผลิตท�ีมีอยู่ในปัจจุบันไม่เพียงพอต่อความตอ้ งการของ
ลกู คา้

รายงานประจําปี 2563 5

2.2 กลุม่ ธุรกิจผผู้ ลิตท่อเหล็กและเหลก็ โครงสร้างรูปตวั ซี
สาํ หรบั การแข่งขนั ของผลิตภณั ฑท์ ่อเหล็กและเหล็กรูปตวั ซี มีการแข่งขนั ค่อนขา้ งสงู เน�ืองจากมีผูป้ ระกอบการ
ผลิตท่อเหลก็ และเหล็กโครงสรา้ งรูปตวั ซีในประเทศมากกว่า 50 ราย ซง�ึ บริษทั แบ่งการแข่งขนั ของธุรกิจท่อเหลก็ และเหล็ก
โครงสรา้ งรูปตวั ซีออกเป็น 3 กลมุ่ ตามกาํ ลงั การผลิต ไดแ้ ก่
กลมุ่ ท�ี 1 ผูผ้ ลิตท่อเหล็กและเหล็กโครงสรา้ งรูปตัวซีขนาดใหญ่ คือ ผู้ผลิตท่อเหล็กท�ีมีกาํ ลังการผลิตท่อเหล็ก

มากกว่า 100,000 ตนั ต่อปี กล่มุ นีม� ีจาํ นวน 9 ราย ปัจจุบันบรษิ ัทมีกาํ ลงั การผลิตท่อเหล็ก และเหล็ก
ตวั ซีอย่ใู นกล่มุ นี�
กล่มุ ท�ี 2 ผูผ้ ลิตท่อเหล็กและเหล็กโครงสรา้ งรูปตัวซีขนาดกลาง คือ ผูผ้ ลิตท่อเหล็กท�ีมีกาํ ลงั การผลิตท่อเหล็ก
ระหวา่ ง 50,000 ถึง 100,000 ตนั ตอ่ ปี กล่มุ นมี� ีประมาณ 13 ราย
กลมุ่ ท�ี 3 ผผู้ ลิตทอ่ เหล็กและเหล็กโครงสรา้ งรูปตวั ซีขนาดเล็ก คือ ผผู้ ลิตทอ่ เหลก็ ท�ีมกี าํ ลงั การผลิตท่อเหล็กนอ้ ย
กวา่ 50,000 ตนั ต่อปี ซง�ึ ผปู้ ระกอบการสว่ นท�เี หลือจะอยใู่ นกล่มุ นี�
การจดั หาผลติ ภัณฑ์
กลมุ่ บรษิ ัทฯ มแี หล่งการจดั หาผลติ ภณั ฑ์ ดงั นี�
 การผลิต
ปัจจุบันบริษัท มีโรงงานแปรรูปเหล็กม้วนดําของบริษัทเอง จาํ นวน 1 แห่ง และเม�ือกลางปี 2560 ได้รวม
เครอ�ื งจกั รท�อี ย่ใู นบรษิ ทั ยอ่ ยเขา้ กบั บรษิ ัทฯ เพ�อื ควบคมุ การบรหิ ารใหง้ า่ ยขึน� โดยเครื�องจกั รทงั� หมดตงั� อยใู่ นพนื� ท�ใี กลก้ นั มี
กาํ ลงั การผลิตรวมประมาณ 334,500 ตันต่อปี และในปี 2563 และ 2562 ใชก้ าํ ลงั การผลิตอย่ทู �ีประมาณรอ้ ยละ 38.00
และ 42.00 ของกาํ ลงั การผลติ รวมตามลาํ ดบั
 การจัดหาวตั ถุดิบหรือผลิตภณั ฑอ์ นื�
ปัจจุบันบริษัทจัดซือ� เหล็กแผ่นรีดรอ้ นท�ีมีมาตรฐานท�ังด้านความหนาและความกว้างและความยาวซ�ึงเป็น
วตั ถดุ บิ หลกั ในการผลิตจากผผู้ ลติ เหล็กแผ่นรีดรอ้ นในประเทศ ไดแ้ ก่ บริษทั ในกล่มุ บรษิ ัท จี เจ สตีล จาํ กดั (มหาชน) และ
บริษัท จี สตีล จาํ กัด (มหาชน) และกล่มุ บรษิ ัทในเครือสหวิรยิ า เป็นหลกั ซ�งึ เป็นผผู้ ลิตเหล็กแผ่นรีดรอ้ นในประเทศเพียง
รายใหญ่ และซือ� เหล็กแปรรูปอื�นๆ จากเจา้ หนีห� ลายราย นอกจากนี� บรษิ ัทไดม้ ีการจดั ซือ� เหล็กมว้ นหนา้ แคบจาก บริษัท
ไพรม์ สตลี มลิ ล์ จาํ กดั (บรษิ ัทรว่ ม) เพ�อื สนบั สนนุ วตั ถดุ ิบในการแปรรูปเหลก็ รูปพรรณอีกชอ่ งทางหน�ึง
 การจดั หาวตั ถุดบิ แปรรูปเหล็กมว้ นหน้าแคบ
ปัจจุบนั กล่มุ บริษัทมีการจดั หาวตั ถุดิบเพ�ือใชใ้ นการแปรรูปเป็นเหล็กมว้ นหนา้ แคบ คือ วตั ถุดิบประเภท SLAB
แลว้ ขายใหก้ บั บรษิ ัทรว่ มคือ บรษิ ัท ไพรม์ สตลี มิลล์ จาํ กดั เพ�อื เป็นวตั ถดุ ิบผลิตเป็นเหลก็ มว้ นดาํ หนา้ แคบตอ่ ไป
ผลกระทบต่อส�งิ แวดล้อม
ผลกระทบตอ่ สิง� แวดลอ้ มท�สี าํ คญั ของโรงงานแปรรูปเหล็ก คอื มลภาวะจากเสยี งในขบวนการผลติ แต่บรษิ ทั ไดม้ ี
การควบคมุ ปรมิ าณเสียงท�เี กดิ จากขบวนการผลิตของบรษิ ทั ไมใ่ หม้ ผี ลกระทบตอ่ ส�งิ แวดลอ้ มโดยออกแบบอาคารโรงงานให้
สามารถเก็บเสียงไดด้ ี นอกจากนบี� ริษัทยงั ไดร้ บั การตรวจสอบโรงงานอยา่ งสม�าํ เสมอทกุ ปีภายใตก้ ารควบคมุ ดูแลของกรม

6 บริษัท เดอะ สตีล จํากัด (มหาชน)

โรงงานอุตสาหกรรม ซ�งึ ผลการตรวจสอบสรุปไดว้ ่า สภาพโรงงานและสภาพแวดลอ้ มต่าง ๆ ในบริเวณโรงงานอย่ใู นเกณฑ์
มาตรฐาน ไม่ก่อใหเ้ กดิ ปัญหาใด ๆ ตอ่ สภาพแวดลอ้ ม

ทง�ั นี� ตงั� แต่โรงงานของบรษิ ัทเปิดดาํ เนินการมา บริษัทไมม่ ีขอ้ พิพาทหรอื ถกู ฟ้องรอ้ งเก�ียวกบั การสรา้ งผลกระทบ
ต่อส�ิงแวดลอ้ ม และไม่เคยไดร้ บั การตกั เตือนหรือการปรบั จากหน่วยงานของรฐั ตามกฎหมายท�ีบรษิ ัทตอ้ งปฏิบัติตามอัน
ไดแ้ ก่ พระราชบญั ญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และพระราชบญั ญตั ิสง่ เสรมิ และรกั ษาส�งิ แวดลอ้ ม พ.ศ. 2535

รายงานประจําปี 2563 7

ปัจจัยความเสี�ยง

1) ความเสีย� งจากการผนั ผวนของราคาวตั ถุดบิ
บรษิ ทั ไดส้ �งั ซือ� เหล็กแผน่ รีดรอ้ นชนิดมว้ น ซ�งึ เป็นวตั ถดุ ิบหลกั ของการผลิตผลติ ภณั ฑอ์ �ืนๆ ของบรษิ ทั สดั ส่วนการ

ส�ังซื�ออยู่ท�ีระดับ รอ้ ยละ 43.67 ของยอดซือ� ท�ังหมดในปี 2562 และร้อยละ 35.95 ของยอดซื�อท�ังหมดในปี 2563
ซ�งึ บริษัทส�งั ซือ� เหล็กแผ่นรีดรอ้ นชนิดมว้ นหนา้ กวา้ งทั�งหมดจากผผู้ ลิตภายในประเทศ ดงั นน�ั การเปล�ียนแปลงของราคา
เหล็กแผ่นรีดรอ้ นชนิดมว้ นจะส่งผลกระทบต่อตน้ ทุน และราคาขายผลิตภณั ฑข์ องบริษัท อย่างไรก็ตาม สาํ หรบั สินคา้ ท�ี
บรษิ ทั ใหบ้ รกิ ารจดั หาผลติ ภณั ฑบ์ รษิ ัทจะส�งั ซือ� สนิ คา้ แตล่ ะครงั� ตามคาํ ส�งั ซือ� ของลกู คา้ และสาํ รองสินคา้ บางประเภทท�เี ป็น
ท�นี ยิ มของลกู คา้ ทาํ ใหบ้ รษิ ัทสามารถใชน้ โยบายตน้ ทนุ บวกกาํ ไรในการกาํ หนดราคาขายสนิ คา้ ของบรษิ ัท กล่าวคอื การนาํ
ตน้ ทนุ วตั ถดุ ิบ รวมค่าใชจ้ า่ ยตา่ ง ๆ ท�เี กิดขนึ� รวมกบั กาํ ไรมากาํ หนดราคาขาย ทาํ ใหบ้ รษิ ัทสามารถรกั ษาส่วนต่างของกาํ ไร
ได้ เน�อื งจากบรษิ ทั จะทาํ การปรบั ราคาขายสินคา้ เป็นระยะ ๆ ตามราคาวตั ถดุ บิ ท�มี ีการปรบั ราคา อย่างไรกต็ าม หากราคา
ผลิตภณั ฑเ์ หล็กทรงตวั หรือมีแนวโนม้ ปรบั เพิ�มขึน� บรษิ ัทจะใชน้ โยบายตน้ ทนุ บวกกาํ ไรในการกาํ หนดราคาขายสินค้าของ
บรษิ ัททง�ั สินคา้ ท�ีบริษัทใหบ้ ริการจดั หาผลิตภณั ฑแ์ ละสินคา้ ท�ีบริษัทเป็นผูแ้ ปรรูป นอกจากนีก� ารปรบั ราคาแต่ละครงั� นน�ั
บรษิ ัทจะเทียบเคียงราคาขายสินคา้ ของบรษิ ัทกับราคาตลาด ณ ขณะนนั� และหากราคาผลิตภณั ฑเ์ หล็กมีแนวโนม้ ลดลง
บริษัทจะเรง่ จาํ หน่ายสินคา้ ทง�ั สินคา้ ท�ีบริษัทใหบ้ ริการจดั หาผลิตภัณฑ์และสินคา้ ท�ีบริษัทเป็นผูแ้ ปรรูป และหากลูกคา้
ตอ้ งการส�งั สนิ คา้ ลว่ งหนา้ บรษิ ัทจะเรยี กเกบ็ เงนิ ค่ามดั จาํ สินคา้ บางส่วนจากลกู คา้ ทนั ที และทาํ การส�งั ซือ� จากผผู้ ลิต ทาํ ให้
บรษิ ทั สามารถลดความเส�ียงจากความผนั ผวนของราคาเหล็กแผน่ รีดรอ้ น

นอกจากนี� บรษิ ัทยงั ตดิ ตามการเปลีย� นแปลงของราคาวตั ถดุ บิ อย่างใกลช้ ดิ เพ�อื นาํ มาประกอบการตดั สินใจใน
การส�งั ซือ� และบรหิ ารจดั การปรมิ าณวตั ถดุ ิบคงคลงั ใหเ้ หมาะสม ทงั� นี� ในสถานการณท์ �รี าคาเหล็กปกตบิ รษิ ัทมนี โยบาย
สาํ รองสนิ คา้ คงคลงั ประมาณ 45 วนั จากทงั� สองนโยบายดงั กล่าวทาํ ใหก้ ารเปลย�ี นแปลงดา้ นราคาวตั ถดุ ิบจะไมส่ ง่ ผล
กระทบต่อผลการดาํ เนินงานของบรษิ ทั อย่างมนี ยั สาํ คญั
2) ความเส�ยี งจากการพ�ึงพงิ ผผู้ ลติ เหลก็ แผน่ รดี ร้อนชนดิ มว้ นรายใหญ่

ปัจจบุ นั ผผู้ ลติ เหลก็ แผ่นรีดรอ้ นชนดิ มว้ นในประเทศมีเพียง 3 รายใหญ่ การท�มี ีผผู้ ลิตเหล็กแผน่ รดี รอ้ นชนิดมว้ น
ในประเทศเพยี ง 3 รายใหญ่ ทาํ ใหบ้ รษิ ทั มคี วามเสีย� งจากการขาดแคลนวตั ถดุ บิ ในกรณีท�ผี ผู้ ลติ ทงั� 3 รายไม่สามารถจดั ส่ง
วตั ถดุ ิบใหก้ บั บรษิ ทั ไดต้ ามกาํ หนดพรอ้ มกนั ทงั� 3 รายและบรษิ ทั ไมส่ ามารถจดั หาวตั ถดุ ิบจากแหล่งอื�นเขา้ มาทดแทนไดท้ นั
แผนการผลิตสนิ คา้ ตามท�ีไดร้ บั คาํ ส�ังซือ� สินคา้ จากลกู คา้ อย่างไรกต็ าม จากการท�บี ริษทั ส�งั ซือ� เหล็กแผ่นรีดรอ้ นจากผผู้ ลิต
ทัง� สองกล่มุ เป็นเวลานานและไม่เคยมีการคา้ งชาํ ระค่าสินคา้ ทาํ ให้บริษัทมีความสัมพันธท์ �ีดีกับกลุ่มบริษัทผูผ้ ลิตเหล็ก
ทั�งหมดประกอบกับบริษัทมีการวางแผนการผลิต และแจ้งปริมาณการส�ังซือ� วัตถุดิบให้แก่ผูผ้ ลิตล่วงหนา้ รวมท�ังใช้
นโยบายจองสินคา้ ล่วงหนา้ ทาํ ใหบ้ ริษัทยงั ไม่เคยประสบปัญหาขาดแคลนวตั ถุดิบ และปัจจุบนั นี� บรษิ ัทมีแหล่งวตั ถดุ ิบ
เหล็กมว้ นหนา้ แคบจากบรษิ ัท ไพรม์ สตีล มิลล์ จาํ กัด อีกหน�ึงแห่ง ซ�งึ เป็นบรษิ ัทรว่ มท�ีปัจจบุ นั บรษิ ัทมีสดั ส่วนการถือหุน้
รอ้ ยละ 50 ซ�งึ จะทาํ ใหก้ ลมุ่ บรษิ ทั มีอาํ นาจไปควบคมุ การบรหิ าร และไดส้ ่วนแบง่ วตั ถดุ บิ เป็นเหล็กมว้ นหนา้ แคบเพ�ิมขึน� ใน
อนาคต

8 บริษัท เดอะ สตีล จํากัด (มหาชน)

3) ความเสีย� งเก�ยี วกบั การเปลี�ยนแปลงกฎหมายด้านการแขง่ ขนั
1) การเปิดเขตการคา้ เสรี (Free Trade Area)
ปัจจุบนั ประเทศไทยไดเ้ ปิดเขตการคา้ เสรีกับกล่มุ ประเทศอาเซียน และไดท้ าํ ขอ้ ตกลงว่าดว้ ยการใชม้ าตรการ

กําหนดอัตราอากรร่วมเพ�ือการค้าเสรีอาเซียน (Agreement on the Common Effective Preferential Tariff (CEPT)
Scheme for ASEAN Free Trade Area (AFTA)) ซ�ึงเหล็กแผ่นรีดรอ้ น และท่อเหล็กเป็นสินคา้ ท�ีอยู่รายการลดภาษีปกติ
(Normal Track) คือ ตอ้ งลดอัตราภาษีศลุ กากรของสินคา้ ดงั กล่าวใหเ้ หลือรอ้ ยละ 0 แต่ยงั ไม่มีการประกาศอย่างจรงิ จัง
ทงั� นี� ในปัจจบุ นั อตั ราภาษีศลุ กากรท�ปี ระเทศไทยเรยี กเก็บกบั ประเทศในกลมุ่ อาเซียนสาํ หรบั แผ่นเหลก็ รีดรอ้ น คือ รอ้ ยละ
2-5 ซง�ึ ขนึ� กบั ประเภทและขนาด และสาํ หรบั ท่อเหล็ก คือ รอ้ ยละ 5 อีกทงั� การท�ปี ระเทศไทยเปิดเขตการคา้ เสรีกบั ประชาคม
อาเซียน (AEC) ทาํ ใหใ้ นอนาคตอาจมเี หล็กแผน่ รีดรอ้ น และท่อเหล็กนาํ เขา้ ราคาถกู มาเป็นค่แู ข่งจากต่างประเทศมากขึน�

อย่างไรก็ตาม สมาคมผคู้ า้ เหล็กก็มีการรวมตวั กนั และขอใหร้ ฐั บาลคอยดแู ลพิจารณาออกกฎหมายป้องกนั การ
นาํ เขา้ (SAFE GUARD) เป็นระยะๆ เพ�อื ชว่ ยใหผ้ ปู้ ระกอบการในประเทศไมถ่ กู กระทบกระเทอื นมากไป
4) ความเส�ยี งเกยี� วกบั ผลกระทบจากภาวะการเมอื งทย�ี งั ไร้เสถียรภาพและภัยธรรมชาติ

ตงั� แตป่ ลายปี 2554 เป็นตน้ มา ปัญหาภยั ธรรมชาตทิ �มี คี วามรุนแรงและไม่แนน่ อนมากขึน� ก็มผี ลกระทบตอ่ ภาวะ
การคา้ ในบางฤดูกาล โดยเฉพาะช่วงไตรมาส 3 ของทุกปี จะเกิดภาวะฝนตก นาํ� ท่วมเป็นพืน� ท�ีกวา้ ง และปรากฎการณ์
เอลนีโญ ทาํ ใหใ้ นระยะหลายปีมานี� ประเทศไทยประสบปัญหาภยั แลง้ มากขนึ� และในวงกวา้ ง รวมทง�ั ปัญหาการเมอื งท�ไี ม่
เสถียรภาพ ทาํ ใหธ้ ุรกจิ อสงั หารมิ ทรพั ยช์ ะลอตวั ส่งผลใหก้ ารคา้ เหลก็ ชะลอตวั ลงไปดว้ ยในช่วงดงั กล่าว
5) ความเสีย� งจากความไมแ่ น่นอนดา้ นการเมืองไทย

แมว้ ่าประเทศไทยจะมีการเลือกตงั� แลว้ ตงั� แต่ตน้ ปี 2562 แต่เป็นรฐั บาลท�ีเกิดจากการรวมพรรคการเมืองหลาย
พรรค ประจวบกบั ยงั มีปัญหาความขดั แยง้ ทงั� ในพรรครฐั บาลและพรรคฝ่ายคา้ น ทาํ ใหก้ ารจดั สรรงบประมาณแผ่นดนิ เพ�ือ
ออกมากระตุ้นระบบเศรษฐกิจ ในประเทศล่าช้า ส่งผลให้เกิดความไม่แน่ใจในหมู่นักลงทุน จึงมีผลให้ธุรกิจวงการ
อสงั หารมิ ทรพั ยช์ ะลอตวั ตงั� แต่ปลายปี 2562 เป็นตน้ มา ซ�งึ กระทบต่อเน�อื งตอ่ อตุ สาหกรรมเหล็ก
6) ความเสี�ยงจากโรคไวรัสโคโรนา 2019

ตงั� แต่ปลายปี 2562 โรคระบาดใหม่โควิด-19 เร�มิ ระบาดและส่งผลกระทบในวงกว้างของระบบเศรษฐกิจ ทงั� ใน
ประเทศและต่างประเทศ เกิดผลกระทบจนธุรกิจหลายประเภทปิดตัวลง ทาํ ให้ประชาชนขาดกาํ ลังซือ� ส่งผลกระทบ
ต่อเน�ืองต่อธุรกิจอสงั หารมิ ทรพั ยแ์ ละอุตสาหกรรมเหล็ก ผลกระทบจากโควิด-19 นีย� ังยืดเยือ� ต่อเน�ืองถึงปี 2564 และไม่
สามารถคาดการณไ์ ดว้ ่าจะยตุ ิเม�ือไร

รายงานประจําปี 2563 9

ขอ้ มลู เก�ยี วกบั บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย

บรษิ ัท

ช�ือบรษิ ัท : บรษิ ทั เดอะ สตีล จาํ กดั (มหาชน)
สถานท�ตี งั� สาํ นกั งานใหญ่ : 1401 ถนนเอกชยั แขวงบางบอนใต้ เขตบางบอน จงั หวดั กรุงเทพฯ 10150
สถานท�ตี งั� สาขา 1 : 7/4 7/6 หมู่ 1 ตาํ บลแคราย อาํ เภอกระท่มุ แบน จงั หวดั สมทุ รสาคร 74110
สถานท�ตี งั� สาขา 2 : 99/5 หมู่ 1 ตาํ บลบางนา�ํ จืด อาํ เภอเมืองสมทุ รสาคร จงั หวดั สมทุ รสาคร 74000
สถานท�ตี งั� สาขา 3 : 99/16, 99/57, 99/61 หมู่ 3 ตาํ บลนาดี อาํ เภอเมอื งสมทุ รสาคร จงั หวดั สมทุ รสาคร 74000
สถานท�ตี งั� สาขา 4 : 196 หมู่ 1 ตาํ บลแคราย อาํ เภอกระทมุ่ แบน จงั หวดั สมทุ รสาคร 74110

Homepage : http://www.thesteel.co.th
เลขทะเบยี นบรษิ ัท : 0107549000106
ลกั ษณะการประกอบธุรกิจ : ประกอบธุรกิจจดั จาํ หน่ายผลิตภณั ฑเ์ หล็กท�ีหลากหลายทงั� ในรูปแบบวตั ถุดิบท�ียงั
มิไดแ้ ปรรูป ไดแ้ ก่ เหล็กแผ่นรีดรอ้ นชนิดมว้ น (Hot Rolled Coil) และท�ีแปรรูปแลว้
ทง�ั เหล็กมว้ นสลติ เหล็กแผ่น เหล็กรูปพรรณประเภทขนึ� รูปรอ้ น และเหล็กรูปพรรณ
ประเภทขึน� รูปเย็น รวมทัง� ผลิตภณั ฑ์เหล็กอ�ืนๆ นอกจากนีบ� ริษัทยังเป็นผูแ้ ปรรูป
ผลิตภณั ฑเ์ หล็กบางประเภท ไดแ้ ก่ เหล็กแผน่ เหล็กมว้ นสลติ เหล็กแบน เหล็กฉาก
พบั เหลก็ รางพบั ท่อเหล็ก และเหล็กโครงสรา้ งรูปตวั ซี
โทรศพั ท์ : 66 (0) 2894-8889-90
โทรสาร : 66 (0) 2408-0272-4
ทนุ จดทะเบียน : 825,007,620 บาท
แบง่ เป็นหนุ้ สามญั : 1,102,061,385 หนุ้
มลู ค่าท�ตี ราไว้ : หนุ้ ละ 0.50 บาท
ทนุ เรยี กชาํ ระแลว้ : 551,030,692.50 บาท

10 บริษัท เดอะ สตีล จํากัด (มหาชน)

ข้อมูลท�ัวไปของบริษทั ฯ บรษิ ทั ย่อย ณ 31 ธันวาคม 2563

ชือ� บรษิ ัท ทีอ� ยู่ ลกั ษณะธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ทุนชาํ ระแลว้ สัดสว่ น
(ทะเบยี นบริษทั ) สาํ นกั งานใหญ่ 1401 ถนนเอกชยั แขวงบางบอนใต้ ผลติ และจาํ หนา่ ย (บาท) (บาท) การลงทุน
1) บรษิ ทั เดอะ สตลี เขตบางบอน กรุงเทพมหานคร 10150 เหลก็ ทกุ ชนิด
สาขาที� 1 7/4,7/6 หมทู่ �ี 1 ตาํ บลแคราย 825,007,620 551,030,692.50 -
จาํ กดั (มหาชน) อาํ เภอกระทมุ่ แบน สมทุ รสาคร 74110 66 (0) 2651 9614
(0107549000106) สาขาที� 2 99/5 หมู่ 1 ตาํ บลบางนาํ� จดื
อาํ เภอเมอื งสมทุ รสาคร สมทุ รสาคร 74000
สาขาที� 3 99/16,99/57,99/61 หมู่ 3 ตาํ บลนาดี
อาํ เภอเมืองสมทุ รสาคร สมทุ รสาคร 74000
สาขาที� 4 196 หมู่ 1 ตาํ บลแคราย
อาํ เภอกระท่มุ แบน จงั หวดั สมทุ รสาคร 74110
โทรศพั ท:์ 66 (0) 2894-8889-90
โทรสาร: 66 (0) 2408-0272-4
E-mail: [email protected]
Website: www.thesteel.co.th

บรษิ ทั ย่อย 7/8 หมู่ 1 ถนนเอกชยั ตาํ บลแคราย รบั จา้ งขนสง่ 10,000,000 10,000,000 59.995%
1) บรษิ ทั เดอะ สตีล อาํ เภอกระท่มุ แบน สมทุ รสาคร 74110 สินคา้
โทรศพั ท:์ 66 (0) 2894-8889-90 รบั จา้ งผลิตท่อ 50,000,000 50,000,000 99.9998%
โลจสิ ตกิ ส์ จาํ กดั เหล็กดาํ
(0745551000218) 196 หมทู่ ี� 1 ตาํ บลแคราย
2) บริษทั เดอะ สตลี อาํ เภอกระทมุ่ แบน สมทุ รสาคร 74110 จาํ หน่าย 450,000,000 450,000,000 99.99998%
อินดสั ทรี จาํ กดั โทรศพั ท:์ 66 (0) 2894-8889-90 เหลก็ เสน้ เหลก็
(0745552002940) โทรสาร: 66 (0) 24080272-4 มว้ น และเศษ
1401 ถนนเอกชยั แขวงบางบอนใต้ เหลก็ ในการแปร
3) บริษัท ลิเบอรต์ ี� สตลี เขตบางบอน กรุงเทพ 10150 รูปเหล็กมว้ นและ
สยาม จาํ กดั โทรศพั ท:์ 66 (0) 2894-8889-90 บิลเลต
(0105554023044) โทรสาร: 66 (0) 2408-0272-4

บรษิ ทั รว่ ม

1) บรษิ ทั ไพรม์ สตีล 1011 อาคารศภุ าลยั แกรนด์ ทาวเวอร์ จาํ หนา่ ยเหลก็ 1,000,000,000 1,000,000,000 50.00%
มิลล์ จาํ กดั หอ้ งเลขท�ี 1202 ชน�ั ท�ี 12 ถนนพระราม 3 มว้ นหนา้ แคบ 10,000,000 10,000,000 20.00%
(0745557000163) แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร ผลติ และจาํ หนา่ ย
สาขาท�ี 1 7/447 หม่ทู ี� 6 ตาํ บลมาบยางพร บา้ นสาํ เร็จรูป
2) บรษิ ัท บลอ็ กซ์ จาํ กดั อาํ เภอปลวกแดง จงั หวดั ระยอง
(0105562031336) โทรศพั ท:์ 66 (0) 2107-9117
โทรสาร: 66 (0) 2107-9119
297/28 ซอยลาดพรา้ ว 94 (ปัญจมติ ร) ถนน
ลาดพรา้ ว แขวงพลบั พลา เขตวงั ทองหลาง
กรุงเทพมหานคร

รายงานประจําปี 2563 11

ขอ้ มูลอา้ งองิ
นายทะเบยี นหลกั ทรัพย์
บรษิ ทั : ศนู ยร์ บั ฝากหลกั ทรพั ย์ (ประเทศไทย) จาํ กดั
สถานท�ที �ตี งั� : ชน�ั 14 อาคารตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย
เลขท�ี 93 ถนนรชั ดาภเิ ษก
แขวงดินแดง เขตดนิ แดง
กรุงเทพฯ 10400
โทรศพั ท์ : 66 (0) 2009-9999

ผู้สอบบญั ชี : บรษิ ัท ซี ดบั เบลิ� ยู ดบั เบลิ� ยู พี จาํ กดั

128/180-181 อาคารพญาไทพลาซา่ ชนั� 31
ถนนพญาไท แขวงทงุ่ พญาไท
เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทรศพั ท์ 66 (0) 2216-2265 , 66 (0) 2216-2268-9
โทรสาร 66 (0) 2216-2286
โดย นางสาววรรญา พทุ ธเสถียร ผสู้ อบบญั ชีรบั อนญุ าตเลขท�ี 4387 และ/หรือ
นางสาววราภรณ์ อินทรประสทิ ธิ� ผสู้ อบบญั ชรี บั อนญุ าตเลขท�ี 7881 และ/หรือ
นางสาวชลทิชา เลิศวิไล ผสู้ อบบญั ชีรบั อนญุ าตเลขท�ี 12258 และ/หรือ
นางสาววราภรณ์ พนั ธภ์ กั ดนี พุ งษ์ ผสู้ อบบญั ชีรบั อนญุ าตเลขท�ี 12261

12 บริษัท เดอะ สตีล จํากัด (มหาชน)

โครงสร้างเงนิ ทนุ

จาํ นวนทนุ จดทะเบียนและทนุ ชาํ ระแลว้

(ก) ห้นุ สามญั

ทนุ จดทะเบียนและทนุ ชาํ ระแลว้ ของบรษิ ัท ดงั นี�
ทนุ จดทะเบยี น จาํ นวน 825,007,620 บาท
ทนุ ท�เี รียกชาํ ระแลว้ จาํ นวน 551,030,692.50 บาท
แบ่งเป็นหนุ้ สามญั จาํ นวน 1,102,061,385 หนุ้
มลู คา่ ท�ตี ราไว้ หนุ้ ละ บาท
0.50

ผู้ถือหุน้
รายช�ือผถู้ ือหนุ้ รายใหญ่ 10 รายแรก ณ วนั ท�ี 10 มนี าคม 2564 ดงั นี�

รายช�ือ จาํ นวนหนุ้ รอ้ ยละ

1 นายบญุ ชยั จิระพงษต์ ระกลู 188,000,000 17.06
2 นายนริ ุตต์ งามชาํ นญั ฤทธิ� 160,000,000 14.52
3 นายสรุ ช จิระพงษ์ตระกลู 150,810,000 13.68
4 นางสาวรตั นา จริ ะพงษต์ ระกลู 117,800,000 10.69
5 UOB KAY HIAN PRIVATE LIMITED 83,004,000 7.53
6 นางวรรณา สทิ ธิศริ นิ กุ ลู 79,000,000 7.17
7 นายภาณุ จารุพริ ุฬห์ 60,000,000 5.44
8 นายสวุ ทิ ย์ จิระพงษต์ ระกลู 55,004,900 4.99
9 นายจมุ ภฎ ชวู งษ์ 54,000,000 4.90
10 นางสาวสวุ รรณี จิระพงษ์ตระกลู 34,990,000 3.17

นโยบายการจา่ ยเงนิ ปันผล
(ก) นโยบายการจา่ ยเงนิ ปนั ผลของบริษัท
บรษิ ัทมีนโยบายการจ่ายเงินปันผลใหแ้ ก่ผถู้ ือหนุ้ ในอตั ราไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 50 ของกาํ ไรสทุ ธิหลงั หกั ภาษี เวน้

แต่ในกรณีท�บี รษิ ัทมีโครงการจะลงทนุ ในโครงการอื�น

รายงานประจําปี 2563 13

การจา่ ยเงนิ ปันผลในช่วง 5 ปีท�ผี ่านมาของบรษิ ทั ดงั นี�

ปี อัตราเงนิ ปันผล/หุน้ อตั รากาํ ไรสทุ ธติ อ่ ห้นุ อตั ราการจา่ ยเงนิ ปันผลต่อกาํ ไรสุทธิ
(บาท) (บาท) (%)
29.17
2563 0.03 (0.14) 46.39
65.92
2562 0.03 0.002 59.03
59.82
2561 0.05 0.08

2560 0.10 0.18

2559 0.50 0.88

ในปี 2563 ท�ีประชมุ คณะกรรมการบริษัท ครงั� ท�ี 5/2563 เม�ือวนั ท�ี 14 สิงหาคม 2563 มีมติอนุมตั ิใหจ้ ่ายเงินปัน
ผลระหว่างกาล จากกาํ ไรสะสม ณ วนั ท�ี 30 มิถนุ ายน 2563 ซ�ึงมียอดคงเหลอื 113,350,000.00 บาท ในอตั รา 0.03 บาท
ตอ่ หนุ้ รวมเป็นเงินจ่ายปันผลทง�ั สนิ� 33,061,842.00 บาท และจ่ายเงนิ ปันผลเม�ือวนั ท�ี 11 กนั ยายน 2563 ท�ผี ่านมา

(ข) นโยบายการจา่ ยเงนิ ปันผลของบรษิ ัทยอ่ ย

สาํ หรบั บริษัทย่อย บริษัทฯ มิไดก้ าํ หนดอัตราส่วนในการจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อยไว้แต่อย่างใด ดังน�ัน
นโยบายเก�ียวกับการจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อยให้กับบริษัท ให้เป็นไปตามขอ้ บังคับของบริษัทย่อยนั�นๆ เรื�องการ
จ่ายเงินปันผล ซ�ึงจะตอ้ งไดร้ บั มติจากท�ีประชุมใหญ่ผูถ้ ือหุ้น โดยการจ่ายเงินปันผลบริษัทย่อยจะพิจารณาจากผลการ
ดาํ เนนิ งานของปีท�บี รษิ ัทมีกาํ ไรสะสม ทง�ั นีข� นึ� อย่กู บั ผลการดาํ เนนิ งานของบริษทั และภาวะเศรษฐกจิ เป็นหลกั

นอกจากนี� การจา่ ยเงินปันผลบรษิ ทั ย่อย จะตอ้ งมกี ารกนั สาํ รองไวอ้ ยา่ งนอ้ ยหนึ�งในย�ีสิบ (1/20) ของกาํ ไรจนกว่า
ทนุ สาํ รองจะมีจาํ นวนหนงึ� ในสบิ (1/10) ของจาํ นวนทนุ ของบรษิ ทั ยอ่ ยนน�ั ๆ

14 บริษัท เดอะ สตีล จํากัด (มหาชน)

การจดั การ

โครงสรา้ งการจัดการของบริษัท ประกอบด้วย คณะกรรมการบริษัท และคณะอนุกรรมการ 3 คณะ คือ
คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบรหิ าร และคณะกรรมการสรรหาและกาํ หนดค่าตอบแทน โดยคณะกรรมการ
บรษิ ัท และผบู้ รหิ ารของบริษัท ประกอบดว้ ยผทู้ รงคณุ วฒุ ิท�ีมคี ณุ สมบตั ิ ตามมาตรา 68 แหง่ พระราชบญั ญตั ิบรษิ ทั มหาชน
จาํ กัด พ.ศ. 2535 และตามประกาศคณะกรรมการกาํ กบั หลกั ทรพั ยแ์ ละตลาดหลกั ทรพั ยว์ า่ ดว้ ยเรื�องการขออนญุ าตและ
การอนุญาตให้เสนอขายหุ้นท�ีออกใหม่ และข้อกําหนดเก�ียวกับผู้บริหารของบริษัทท�ีออกหลักทรัพย์ทุกประการ
คณะกรรมการต่างๆของบรษิ ัทมีดงั ต่อไปนี�
คณะกรรมการบริษัท

รายช�ือกรรมการ ตาํ แหนง่ การประชมุ คณะกรรมการ
จาํ นวนครงั� การ จาํ นวนครงั� ท�เี ขา้ รว่ ม
นายมนู เลยี วไพโรจน์ ประธานกรรมการบรษิ ัท
(ดาํ รงตาํ แหนง่ เม�ือวนั ท�ี 13 พฤษภาคม 2563) กรรมการอสิ ระ ประชมุ ประชมุ
นายบญุ ชยั จริ ะพงษ์ตระกลู กรรมการ 63
นายสรุ ช จิระพงษ์ตระกลู กรรมการ
นายนิรุตต์ งามชาํ นญั ฤทธิ� กรรมการ 66
นายรุจริ ะ จิระพงษ์ตระกลู กรรมการ 66
(ดาํ รงตาํ แหนง่ เม�ือวนั ท�ี 13 พฤษภาคม 2563) 66
นางสนี วล ทศั นพ์ นั ธุ์ กรรมการอิสระ 63
นายธีระพงษ์ ธนารกั ษว์ ฒุ ิกร กรรมการอิสระ
66
66

คณะกรรมการตรวจสอบ : ณ วนั ท�ี 31 ธนั วาคม 2563 คณะกรรมการตรวจสอบมีจาํ นวนทง�ั สนิ� 3 ท่าน มีรายนาม
ดงั ตอ่ ไปน.ี� -

1. นายมนู เลยี วไพโรจน์ ประธานกรรมการตรวจสอบ
2. นางสนี วล ทศั นพ์ นั ธุ์ กรรมการตรวจสอบ
3. นายธีระพงษ์ ธนารกั ษ์วฒุ กิ ร กรรมการตรวจสอบ

กรรมการตรวจสอบลาํ ดับท�ี 2 มีความรูแ้ ละประสบการณ์เพียงพอท�ีจะสามารถทาํ หน้าท�ีสอบทานความ
นา่ เช�ือถือของงบการเงนิ โดยมี นางสาวฐิติมา นนทเวชช์ ทาํ หนา้ ท�เี ป็นเลขานกุ ารคณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการบรหิ าร : ณ วนั ท�ี 31 ธนั วาคม 2563 คณะกรรมการบรหิ ารมจี าํ นวนทง�ั สนิ� 5 ทา่ น มรี ายนามดงั ตอ่ ไปนี.� -
1. นายบญุ ชยั จิระพงษ์ตระกลู ประธานกรรมการบรหิ าร
2. นายสรุ ช จิระพงษต์ ระกลู กรรมการบรหิ าร
3. นายนิรุตต์ งามชาํ นญั ฤทธิ� กรรมการบรหิ าร
4. นายศลิ า หวงั พรพระ กรรมการบรหิ าร/ ผจู้ ดั การฝ่ายการผลิต
5. นายประเสรฐิ สขุ นดั ไธสง กรรมการบรหิ าร/ ผจู้ ดั การฝ่ายจดั ซือ�

รายงานประจําปี 2563 15

คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน : ณ วันท�ี 31 ธันวาคม 2563 คณะกรรมการสรรหาและกาํ หนด
คา่ ตอบแทน มจี าํ นวนทงั� สนิ� 3 ทา่ น มรี ายนามดงั ต่อไปนี.� -
1. นางสนี วล ทศั นพ์ นั ธุ์ ประธานกรรมการสรรหาและกาํ หนดคา่ ตอบแทน
2. นางนาถสินี สารวานิชพทิ กั ษ์ กรรมการสรรหาและกาํ หนดค่าตอบแทน
3. นางสาวพราวพลิน วชั ระเบญจพฒั น์ กรรมการสรรหาและกาํ หนดคา่ ตอบแทน

โดยมี นางสาวฐิติมา นนทเวชช์ ทาํ หนา้ ท�เี ป็นเลขานกุ ารคณะกรรมการสรรหาและกาํ หนดค่าตอบแทน

ผู้บริหาร : ณ วันท�ี 31 ธันวาคม 2563 รายช�ือผู้บริหาร (1) ตามนิยามของคณะกรรมการกาํ กับหลักทรพั ย์และตลาด
หลกั ทรพั ย์ (ก.ล.ต.) มจี าํ นวนทง�ั สนิ� 4 ท่าน มรี ายนามดงั ตอ่ ไปน.ี� -
1. นายบญุ ชยั จิระพงษ์ตระกลู ประธานเจา้ หนา้ ท�บี รหิ าร
2. นายสรุ ช จิระพงษ์ตระกลู ประธานเจา้ หนา้ ท�ปี ฏิบตั กิ าร
3. นายนริ ุตต์ งามชาํ นญั ฤทธิ� ประธานเจา้ หนา้ ท�บี รหิ ารต่างประเทศ
4. นายพรเทพ ไพรไพศาลกิจ ประธานเจา้ หนา้ ท�บี รหิ ารการเงนิ
หมายเหตุ

(1) ”ผูบ้ ริหาร” หมายความว่า กรรมการ ผูจ้ ดั การ หรือผูด้ าํ รงตาํ แหน่งระดบั บริหารสี�รายแรกนบั ต่อจาก
ผจู้ ดั การลงมา (ผดู้ าํ รงตาํ แหนง่ สงู สดุ ของบรษิ ัท) ผซู้ �งึ ดาํ รงตาํ แหนง่ เทียบเท่ากบั ผดู้ าํ รงตาํ แหน่งระดบั
บรหิ ารรายท�ีส�ีทุกรายและใหห้ มายความรวมถึงผดู้ าํ รงตาํ แหน่งระดบั บรหิ ารในสายบญั ชีและการเงิน
เป็นระดบั ผจู้ ดั การฝ่ายขึน� ไปหรือเทียบเท่า

16 บริษัท เดอะ สตีล จํากัด (มหาชน)

โครงสรา้ งการจดั การของบรษิ ทั ณ วนั ท�ี 31 ธนั วาคม 2563

คณะกรรมการบรษิ ัท

คณะกรรมการสรรหาและ คณะกรรมการบรหิ าร คณะกรรมการตรวจสอบ
กาํ หนดค่าตอบแทน ประธานเจา้ หนา้ ท�บี รหิ าร
หน่วยกาํ กบั และตรวจสอบภายใน
ฝ่ายเลขานกุ ารบรษิ ทั

รายงานประจําปี 2563 ประธานเจา้ หนา้ ท�ี ประธานเจา้ หนา้ ท�ี ผจู้ ดั การ ประธานเจา้ หนา้ ท�บี รหิ าร
ปฏิบตั ิการ บรหิ ารการเงนิ ฝ่ายบคุ คล ตา่ งประเทศ
ผจู้ ดั การ ผจู้ ดั การ
ผจู้ ดั การ ผจู้ ดั การ ฝ่ ายโรงงาน ฝ่ ายต่างประเทศ
ฝ่ ายการตลาด ฝ่ายจดั ซือ�

17

เลขานุการบรษิ ัท
คณะกรรมการบริษัทไดม้ ีมติแต่งตงั� ให้ นางสาวฐิติมา นนทเวชช์ ดาํ รงตาํ แหน่งเลขานุการบริษัท ตั�งแต่วันท�ี

11พฤศจิกายน 2559

ค่าตอบแทนกรรมการและผ้บู ริหาร
ก. คา่ ตอบแทนทเ�ี ป็ นตวั เงนิ สาํ หรบั ปีสนิ� สดุ วนั ท�ี 31 ธันวาคม 2563

- ค่าตอบแทนในฐานะกรรมการ ในรูปของคา่ เบยี� ประชมุ และค่าตอบแทนจากผลการดาํ เนนิ งาน (โบนสั )
หนว่ ย : บาท

ชือ� -นามสกุล ค่าเบีย� ประชุม โบนัส รวม

คณะกรรม คณะกรรม คณะกรรมการสรรหา กรรมการ
การบรษิ ทั การ และกาํ หนด
ตรวจสอบ คา่ ตอบแทน

1. นายบญุ ชยั จริ ะพงษ์ตระกลู 132,000 - - - 132,000

2. นายสรุ ช จิระพงษ์ตระกลู 132,000 - - - 132,000
3. นายนริ ุตต์ งามชาํ นญั ฤทธิ�
132,000 - - - 132,000

4. นายมนู เลยี วไพโรจน์ 99,000 66,000 - - 165,000

5. นางสนี วล ทศั นพ์ นั ธุ์ 132,000 88,000 - - 220,000

6. นายธีระพงษ์ ธนารกั ษว์ ฒุ ิกร 132,000 88,000 - - 220,000

7. นายรุจริ ะ จริ ะพงษ์ตระกลู 66,000 - - - 66,000

8. นางนาถสินี สารวานชิ พทิ กั ษ์ -- ---

ค่าตอบแทนรวม 1,067,000

- คา่ ตอบแทนผ้บู รหิ าร จาํ นวนราย หนว่ ย : บาท
3 เงนิ เดือน โบนัส และอนื� ๆ *
ค่าตอบแทนในฐานะ 3
กรรมการท�เี ป็นผบู้ รหิ าร รวม 12,240,000
ผบู้ รหิ าร
5,010,906

17,250,906

หมายเหตุ *อ�นื ๆ ไดแ้ ก่ เงินประกนั สงั คม คา่ รกั ษาพยาบาล เงนิ สมทบกองทนุ สาํ รองเลยี� งชพี และค่าใชจ้ ่ายอื�นๆ

18 บริษัท เดอะ สตีล จํากัด (มหาชน)

ข. คา่ ตอบแทนอน�ื
ในปี 2563 กรรมการและผบู้ รหิ าร ไมไ่ ดร้ บั ค่าตอบแทนอ�นื นอกจากค่าตอบแทนท�เี ป็นตวั เงิน

บคุ ลากร

(1) จาํ นวนพนกั งานทงั� หมดของบรษิ ัท ณ 31 ธันวาคม 2563 (ไมร่ วมผบู้ รหิ าร) ตามลาํ ดบั ดงั นี�

ฝ่ าย จาํ นวนพนกั งานประจาํ (คน)
ปี 2563
1. ฝ่ายสาํ นกั งาน 147
2. ฝ่ายโรงงาน 315
462
รวม

ทงั� นใี� นระยะเวลา 3 ปีท�ผี า่ นมา บรษิ ทั ไม่มขี อ้ พพิ าทดา้ นแรงงานใดๆ
(2) คา่ ตอบแทนพนกั งาน

ค่าตอบแทนรวมของพนกั งานปี 2563 จาํ นวน 615 คน (รวมเขา้ ออกระหวา่ งปี) เทา่ กบั 175.45 ลา้ นบาท
โดยเป็นคา่ ตอบแทนในรูปเงนิ เดอื น โบนสั ค่าแรง คา่ คอมมชิ ช�นั คา่ ล่วงเวลา ค่าครองชพี และเงินสมทบกองทนุ สาํ รองเลยี� ง
ชพี

นโยบายฝ่ ายทรัพยากรบคุ คล

ฝ่ายทรพั ยากรบคุ คล ไดก้ าํ หนดนโยบายของฝ่ายงานไว้ ดงั นี�

1. บรษิ ทั ฯ จดั บรหิ ารทรพั ยากรบคุ คลใหส้ อดคลอ้ งและสนบั สนนุ นโยบาย เป้าหมายธุรกิจ และกลยทุ ธข์ องบรษิ ทั ฯ
2. บรษิ ัทฯ จะจดั วางระบบและกระบวนการบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล ใหม้ คี วามชดั เจน ความโปรง่ ใส ความยตุ ิธรรม

และความเป็นไปในแนวทางเดียวกนั ทง�ั บรษิ ัทฯ
3. บริษัทฯ ยึดถือระบบคุณธรรมท�ีพิจารณาถึงความรู้ ความสามารถของพนกั งานเป็นสาํ คญั ดงั นน�ั ความกา้ วหนา้

ในสายอาชีพ ผลตอบแทนและแรงจงู ใจต่างๆ จะขึน� อย่กู บั คุณภาพและผลสาํ เร็จของงาน ความรูค้ วามสามารถ
ทศั นคติและศกั ยภาพของพนกั งาน สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของบรษิ ทั ฯ
4. บริษัทฯ จะส่งเสรมิ การพฒั นาทรพั ยากรบคุ คล เพ�ือใหพ้ นกั งานมีความรูค้ วามสามารถและประสิทธิภาพต่อการ
ทาํ งานในหนา้ ท�คี วามรบั ผดิ ชอบอยา่ งตอ่ เน�อื ง

รายงานประจําปี 2563 19

การกาํ กับดูแลกิจการ

คณะกรรมการบริษัทใหค้ วามสาํ คญั ต่อการดาํ เนินงานตามหลักการกาํ กับดูแลกิจการท�ีดี บริษัทจึงไดก้ าํ หนด
นโยบายเกี�ยวกับการกาํ กับดูแลกิจการ และไดน้ าํ หลักการกาํ กับดูแลกิจการสาํ หรบั บริษัทจดทะเบียน ปี 2560 (Good
Corporate Governance) ของตลาดหลักทรพั ยฯ์ เป็นแนวทางในการดาํ เนินงานของบรษิ ัท เพ�ือประโยชนต์ ่อการดาํ เนิน
ธุรกิจของบรษิ ัท และเป็นการเสรมิ สรา้ งความโปรง่ ใส ความมีประสิทธิภาพของฝ่ายจดั การ อนั จะทาํ ใหเ้ กิดความเช�ือม�นั
ขนึ� ในกล่มุ ผถู้ ือหนุ้ ผลู้ งทนุ และผทู้ �เี กี�ยวขอ้ งทกุ ฝ่าย ดงั นี�
นโยบายการกาํ กับดแู ลกจิ การ

1. ดาํ เนนิ กจิ การดว้ ยความโปรง่ ใสสามารถตรวจสอบได้ และเปิดเผยขอ้ มลู อย่างเพียงพอแก่ผทู้ �เี ก�ียวขอ้ งทกุ ฝ่าย
2. บรหิ ารงานอย่างเตม็ ความสามารถดว้ ยความระมดั ระวงั เพ�อื ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ ตอ่ ผถู้ ือหนุ้
3. บรษิ ัทจะจดั ใหม้ ีแนวทางในการดาํ เนินธุรกิจท�ีชดั เจนโดยคาํ นึงถึงการปฏิบตั ิต่อผูถ้ ือหนุ้ และผมู้ ีส่วนไดเ้ สีย
อยา่ งเท่าเทยี มกนั
4. จดั ใหม้ รี ะบบการควบคุมและบรหิ ารความเส�ียงท�ีเหมาะสมและเพยี งพอต่อการตดั สินใจในการดาํ เนินธรุ กิจ
ความเสี�ยง รวมทงั� วางกลยทุ ธ์ แกไ้ ข และตดิ ตามการบรหิ ารความเส�ยี งอย่สู ม�าํ เสมอ
5. จะยึดถือและปฏิบัติหน้าท�ีด้วยการคาํ นึงถึงจริยธรรมในการดาํ เนินธุรกิจเป็นสาํ คัญเพ�ือไม่ใหเ้ กิดความ
เสยี หายต่อผมู้ สี ่วนไดเ้ สียกล่มุ ตา่ งๆ
คณะกรรมการชุดย่อย
คณะกรรมการบรษิ ทั ไดแ้ ตง่ ตงั� คณะอนกุ รรมการท�สี าํ คญั ซ�งึ เป็นผมู้ ีความรู้ ความชาํ นาญท�เี หมาะสมชว่ ยศกึ ษา
กล�นั กรองในเรอ�ื งต่างๆ ท�ีไดร้ บั มอบหมายใหม้ ีความถกู ตอ้ ง ชดั เจน และสมบรู ณเ์ บือ� งตน้ ก่อนนาํ เสนอใหค้ ณะกรรมการ
บรษิ ทั เป็นผพู้ ิจารณาอนมุ ตั เิ หน็ ชอบ หรือรบั รองแลว้ แตก่ รณี เพ�อื สนบั สนนุ การบรหิ ารงานของคณะกรรมการบรษิ ัท มดี งั นี�
- คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดว้ ย กรรมการอิสระ 3 คน และมีกรรมการ 1 คน เป็นผูท้ �ีมีความรู้ ความ
เขา้ ใจ และมีประสบการณด์ า้ นบญั ชีการเงนิ เป็นอย่างดี มวี าระการดาํ รงตาํ แหนง่ 3 ปี
- คณะกรรมการสรรหาและกาํ หนดค่าตอบแทน ประกอบดว้ ย กรรมการบริษัท จาํ นวน 2 คน และ 1 คนเป็น
บคุ คลภายนอก โดยประธานคณะกรรมการสรรหาและกาํ หนดคา่ ตอบแทนไมใ่ ชป่ ระธานกรรมการบรษิ ัท
- คณะกรรมการบริหาร ประกอบดว้ ย กรรมการท�ีเป็นผู้บริหาร 3 คน และผูบ้ ริหาร 2 คน รวมเป็น 5 คน โดย
กรรมการบรหิ ารมอี าํ นาจในการบรหิ ารงานบรษิ ทั
นิยามกรรมการอสิ ระ
 กรรมการอิสระ หมายถึง กรรมการท�ีเป็นบุคคลภายนอกบรษิ ัท ซ�ึงไม่ไดด้ าํ รงตาํ แหน่งเป็นผูบ้ ริหารหรือ
พนกั งานประจาํ ของบรษิ ทั ไมไ่ ดเ้ ป็นกรรมการบรหิ ารหรือกรรมการผมู้ ีอาํ นาจลงนามผกู พนั บรษิ ัทฯ และเป็นอสิ ระจากผถู้ ือ
หนุ้ รายใหญ่ ผบู้ รหิ าร และผทู้ �ีเกี�ยวขอ้ งสามารถทาํ หนา้ ท�ีคมุ้ ครองผลประโยชนข์ องผถู้ ือหนุ้ ทุกรายอย่างเท่าเทียมกนั และ
สามารถช่วยดแู ลไม่ใหเ้ กดิ รายการท�มี ีความขดั แยง้ ทางผลประโยชนร์ ะหว่างบริษัทฯ กับบคุ คลท�ีเก�ียวขอ้ งกนั ซ�งึ คาํ นิยาม
เทา่ กบั เกณฑข์ องสาํ นกั งาน ก.ล.ต. และตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย ดงั นี�
1. ถือหนุ้ ไม่เกินรอ้ ยละ 1 ของจาํ นวนหุน้ ท�ีมีสิทธิออกเสียงทง�ั หมดของบริษัท บรษิ ัทใหญ่ บริษัทย่อย บรษิ ัทรว่ ม
หรือนิติบคุ คลท�อี าจมคี วามขดั แยง้ โดยนบั รวมหนุ้ ท�ถี ือโดยผทู้ �ีเกี�ยวขอ้ งตามมาตรา 258 แห่ง พ.ร.บ.หลกั ทรพั ยแ์ ละตลาด
หลกั ทรพั ย์

20 บริษัท เดอะ สตีล จํากัด (มหาชน)

2. ไม่เป็นกรรมการท�ีมีส่วนร่วมบรหิ ารงาน/พนักงาน/ลูกจา้ ง/ท�ีปรกึ ษาท�ีรบั เงินเดือนประจาํ /ผมู้ ีอาํ นาจควบคุม
ของบรษิ ัท บรษิ ัทใหญ่ บรษิ ัทย่อย บริษัทร่วม บรษิ ัท ย่อยลาํ ดบั เดียวกนั หรือนิติบคุ คลท�ีอาจมีความขดั แยง้ (ปัจจุบนั และ
2 ปีก่อนไดร้ บั การแตง่ ตงั� )

3. ไม่มีความสมั พนั ธท์ างสายโลหิต หรอื โดยการจดทะเบียนในลกั ษณะท�เี ป็นบดิ ามารดา คสู่ มรส พ�นี อ้ ง และบตุ ร
รวมทงั� คสู่ มรสของบุตรกบั ผบู้ ริหาร ผถู้ ือหนุ้ รายใหญ่ ผมู้ อี าํ นาจควบคมุ หรือบคุ คลท�จี ะไดร้ บั การเสนอใหเ้ ป็นผบู้ รหิ าร หรือ
ผมู้ อี าํ นาจควบคมุ บรษิ ทั หรอื บรษิ ัทย่อย

4. ความสมั พนั ธท์ างธุรกจิ กบั บรษิ ัท
4.1 ไมเ่ ป็นผสู้ อบบญั ชีของบรษิ ทั
4.2 ไม่เป็นผใู้ หบ้ รกิ ารทางวชิ าชพี อ�นื ๆ เชน่ ท�ปี รกึ ษากฎหมาย ทป�ี รกึ ษาทางการเงนิ ผปู้ ระเมนิ ราคาทรพั ยส์ นิ

เป็นตน้ ท�มี มี ลู คา่ รายการ > 2 ลา้ นบาทต่อปี
4.3 ไม่มีรายการเกี�ยวโยงกันท�ีเป็นธุรกรรมปกติ รายการเช่า/ให้เช่าอสังหาริมทรพั ย์ รายการเก�ียวกับ

สินทรพั ย/์ บริการ และรายการใหห้ รือรบั ความช่วยเหลือทางการเงิน ท�ีมีมูลค่ารายการ > 20 ลา้ นบาท หรือ > 3% ของ
NTA แลว้ แตจ่ าํ นวนใดจะต�าํ กว่า ทง�ั นี� ในการพิจารณามลู ค่ารายการใหร้ วมรายการท�เี กิดขนึ� ในระหวา่ ง 6 เดือนก่อนวนั ท�ีมี
การทาํ รายการดว้ ย

ทง�ั นตี� อ้ งไม่มีความสมั พนั ธท์ างธุรกจิ ตามขอ้ 4.1-4.3 ในปัจจบุ นั และ 2 ปีก่อนไดร้ บั การแต่งตงั� เวน้ แต่กรณีมี
เหตุจาํ เป็นและสมควร ซ�งึ มิไดเ้ กดิ ขนึ� อย่างสม�าํ เสมอและต่อเน�ือง กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบอาจมีความสมั พนั ธ์
เกินระดับนยั สาํ คญั ท�ีกาํ หนดในระหว่างดาํ รงตาํ แหน่งก็ได้ แต่ตอ้ งไดร้ บั มติอนุมตั ิเป็นเอกฉันทจ์ ากคณะกรรมการบรษิ ัท
กอ่ น และบรษิ ัทตอ้ งเปิดเผยความสมั พนั ธด์ งั กล่าวของกรรมการรายนน�ั ไวใ้ นแบบ Filing แบบ 56-1 รายงานประจาํ ปี และ
หนงั สอื นดั ประชมุ ผถู้ ือหนุ้ ในกรณีจะเสนอผถู้ ือหนุ้ เพ�อื ต่อวาระแกก่ รรมการอสิ ระ/กรรมการตรวจสอบรายนนั� อีก

5. ไม่เป็นกรรมการท�ไี ดร้ บั แต่งตงั� ขนึ� เพ�อื เป็นตวั แทนของกรรมการของบรษิ ัท ผถู้ ือหนุ้ รายใหญ่ หรอื ผถู้ ือหนุ้ ซง�ึ
เป็นผเู้ ก�ียวขอ้ งกบั ผถู้ ือหนุ้ รายใหญ่

6. ไมม่ ีลกั ษณะอน�ื ใดท�ที าํ ใหไ้ ม่สามารถใหค้ วามเห็นอยา่ งเป็นอสิ ระเก�ียวกบั การดาํ เนนิ งานของบรษิ ัท
7. กรรมการอสิ ระท�มี คี ณุ สมบตั ติ ามขอ้ 1-6 ขา้ งตน้ อาจไดร้ บั มอบหมายจากคณะกรรมการบรษิ ัทใหต้ ดั สนิ ใจใน
การดาํ เนนิ กจิ การของบรษิ ัท บรษิ ทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บรษิ ัทรว่ ม บรษิ ทั ยอ่ ยลาํ ดบั เดียวกนั หรอื นติ ิบคุ คลท�อี าจมคี วาม
ขดั แยง้ โดยมกี ารตดั สินใจในรูปแบบองคค์ ณะ (Collective decision) ได้

ขอบเขตอาํ นาจหน้าทข�ี องคณะกรรมการบริษทั
1. อาํ นาจหนา้ ท�ีตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ รวมถึงกฎหมายอื�นใดท�ีกาํ หนดใหเ้ ป็นอาํ นาจหน้าท�ี
ของกรรมการหรือคณะกรรมในบรษิ ัท(มหาชน) จาํ กดั
2. อาํ นาจหนา้ ท�ตี ามขอ้ บงั คบั ของบรษิ ัทท�กี าํ หนดใหเ้ ป็นของคณะกรรมการ
3. พิจารณาอนมุ ตั แิ ผนงานระยะยาว แผนงานงบประมาณและงบลงทนุ ประจาํ ปี
4. ดาํ เนนิ กิจการคา้ ของบรษิ ัทใหเ้ ป็นไปตามกฎหมาย วตั ถปุ ระสงคแ์ ละขอ้ บงั คบั ของบรษิ ทั ตลอดจนมติของท�ี
ประชมุ ผถู้ ือหนุ้
5. วางแผนและนโยบาย การบรหิ ารงานของบรษิ ทั ตลอดจนตรวจสอบผลการดาํ เนินงานของบรษิ ัท
6. กาํ หนดระเบยี บต่างๆของบรษิ ทั

รายงานประจําปี 2563 21

7. แต่งตงั� คณะกรรมการบริหาร หรือมอบหมายใหก้ รรมการคนใดคนหนึ�งหรือหลายคน หรือบุคคลอ�ืนกระทาํ
การอยา่ งหนึง� อย่างใดแทนคณะกรรมการ และภายในขอบเขตท�คี ณะกรรมการพึงมี และมสี ิทธิท�จี ะยกเลกิ เพิกถอน แกไ้ ข
หรือ เปลย�ี นแปลงอาํ นาจดงั กลา่ วได้

8. พิจารณา และอนมุ ตั ิกิจการอน�ื ๆ ท�ีสาํ คญั อนั เกี�ยวกบั บรษิ ัทหรอื ท�ีเห็นสมควรจะดาํ เนินกจิ การนนั� ๆ เพ�ือให้
เกดิ ประโยชนแ์ ก่บรษิ ทั

เว้นแต่เรื�องดังต่อไปนี� จะกระทาํ ไดต้ ่อเม�ือได้รับอนุมัติจากท�ีประชุมผู้ถือหุ้นก่อน ทั�งนี�กาํ หนดให้รายการท�ี
กรรมการหรอื บุคคลท�ีอาจมีความขดั แยง้ มีสว่ นไดเ้ สยี หรืออาจมีความขดั แยง้ ทางผลประโยชนอ์ �ืนใดกบั บรษิ ทั หรอื บรษิ ัท
ย่อย ใหก้ รรมการซ�งึ มีส่วนไดเ้ สียในเร�อื งนน�ั ไมม่ ีสทิ ธิออกเสยี งลงคะแนนในเรอื� งนนั�

 เรอื� งท�กี ฎหมายกาํ หนดใหต้ อ้ งไดม้ ตทิ �ปี ระชมุ ผถู้ ือหนุ้
 การทาํ รายการท�กี รรมการมสี ว่ นไดเ้ สยี และอยใู่ นขา่ ยท�กี ฎหมาย หรอื ขอ้ กาํ หนดของตลาดหลกั ทรพั ยร์ ะบใุ ห้
ตอ้ งไดร้ บั อนมุ ตั จิ ากท�ีประชมุ ผถู้ ือหนุ้
 นอกจากนนั� ในกรณีดงั ต่อไปนีจ� ะตอ้ งไดร้ บั ความเห็นชอบจากท�ีประชมุ คณะกรรมการและท�ปี ระชุมผถู้ ือหนุ้
ดว้ ยคะแนนเสยี งไมน่ อ้ ยกว่า 3 ใน 4 ของจาํ นวนเสียงทงั� หมดของผถู้ ือหนุ้ ท�เี ขา้ ประชมุ และมสี ทิ ธิออกเสียงลงคะแนน

- การขายหรือโอนกจิ การของบรษิ ัททงั� หมดหรือบางส่วนท�สี าํ คญั
- การซอื� หรอื รบั โอนกจิ การของบรษิ ัทอนื� หรือบรษิ ทั เอกชนมาเป็นของบรษิ ทั
- การทาํ แกไ้ ข หรือเลิกสญั ญา เก�ียวกบั การใหเ้ ช่ากิจการของบรษิ ัทท�ังหมดหรือบางส่วนท�ีสาํ คญั การ

มอบหมายใหบ้ คุ คลอ�นื เขา้ จดั การธุรกจิ ของบรษิ ทั หรือการรวมกจิ การกบั บคุ คลอนื� โดยมวี ตั ถปุ ระสงคจ์ ะ
แบง่ กาํ ไรขาดทนุ กนั
- การแกไ้ ขหนงั สอื บรคิ ณหส์ นธิหรอื ขอ้ บงั คบั ของบรษิ ัท
- การเพิม� ทนุ การลดทนุ การออกหนุ้ กู้ การควบหรือเลิกบรษิ ทั
- เร�อื งอน�ื ใดตามท�กี ฎหมายกาํ หนด
ขอบเขตอาํ นาจหน้าทขี� องคณะกรรมการตรวจสอบ
1. สอบทานใหบ้ รษิ ัทมีการรายงานทางการเงินอยา่ งถกู ตอ้ งและเพียงพอ
2. สอบทานใหบ้ รษิ ัทมีระบบการควบคมุ ภายใน (internal control) และระบบการตรวจสอบภายใน (internal
audit) ท�ีมีความเหมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้
ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตั�ง โยกย้าย เลิกจ้างหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน หรือหน่วยงานอื�นใดท�ี
รบั ผิดชอบเกี�ยวกบั การตรวจสอบภายใน
3. สอบทานให้บริษัทปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรพั ย์ ข้อกาํ หนดของตลาด
หลกั ทรพั ย์ หรือกฎหมายท�ีเก�ียวขอ้ งกบั ธุรกิจของบรษิ ทั
4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตงั� บุคคลซ�ึงมีความเป็นอิสระเพ�ือทาํ หนา้ ท�ีเป็นผูส้ อบบญั ชีของบริษัท และ
เสนอค่าตอบแทนของบุคคลดงั กล่าว รวมทงั� เขา้ ร่วมประชมุ กับผสู้ อบบญั ชี โดยไม่มีฝ่ายจดั การเขา้ รว่ มประชุมดว้ ยอย่าง
นอ้ ยปีละ 1 ครงั�
5. พิจารณารายการท�ีเก�ียวโยงกันหรือรายการท�ีอาจมีความขดั แยง้ ทางผลประโยชน์ ใหเ้ ป็นไปตามกฎหมาย
และขอ้ กาํ หนดของตลาดหลกั ทรพั ย์ ทง�ั นี� เพ�อื ใหม้ �นั ใจวา่ รายการดงั กล่าวสมเหตสุ มผลและเป็นประโยชนส์ งู สดุ ตอ่ บรษิ ัท

22 บริษัท เดอะ สตีล จํากัด (มหาชน)

6. จดั ทาํ รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิดเผยไวใ้ นรายงานประจาํ ปีของบรษิ ัท ซ�งึ รายงานดงั กลา่ ว
ตอ้ งลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และตอ้ งประกอบดว้ ยขอ้ มลู อย่างนอ้ ยดงั ตอ่ ไปนี�

(ก) ความเห็นเก�ียวกบั ความถกู ตอ้ ง ครบถว้ น เป็นท�เี ช�ือถือไดข้ องรายงานทางการเงินของบรษิ ทั
(ข) ความเห็นเก�ียวกบั ความเพียงพอของระบบควบคมุ ภายในของบรษิ ทั
(ค) ความเห็นเก�ียวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าดว้ ยหลกั ทรพั ยแ์ ละตลาดหลกั ทรพั ย์ ขอ้ กาํ หนดของตลาด
หลกั ทรพั ย์ หรือกฎหมายท�เี กี�ยวขอ้ งกบั ธุรกิจของบรษิ ทั
(ง) ความเหน็ เกี�ยวกบั ความเหมาะสมของผสู้ อบบัญชี
(จ) ความเห็นเกี�ยวกบั รายการท�อี าจมคี วามขดั แยง้ ทางผลประโยชน์
(ฉ) จาํ นวนการประชมุ คณะกรรมการตรวจสอบ และการเขา้ รว่ มประชมุ ของกรรมการตรวจสอบแตล่ ะทา่ น
(ช) ความเห็นหรือขอ้ สงั เกตโดยรวมท�คี ณะกรรมการตรวจสอบไดร้ บั จากการปฏบิ ตั หิ นา้ ท�ตี ามกฎบตั ร (Charter)
(ซ) รายงานอื�นใดท�ีเห็นว่าผู้ถือหุน้ และผลู้ งทุนท�วั ไปควรทราบ ภายใตข้ อบเขตหนา้ ท�ีและความรบั ผิดชอบท�ี
ไดร้ บั มอบหมายจากคณะกรรมการบรษิ ทั
7. ปฏิบตั กิ ารอน�ื ใดตามท�คี ณะกรรมการบรษิ ัทมอบหมายดว้ ยความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ

ขอบเขตอาํ นาจหน้าทขี� องคณะกรรมการบริหาร
1. ใหม้ ีอาํ นาจตดั สินใจในเรื�องการดาํ เนินงานท�สี าํ คญั ของบริษทั โดยกาํ หนดขอบเขตประเภท หรอื ขนาดของ
ภารกจิ วตั ถปุ ระสงค์ แนวทางและนโยบายของบรษิ ัท รวมถึงการกาํ กบั ดแู ลการดาํ เนนิ งานโดยรวม ผลผลติ ความสมั พนั ธ์
กบั ลกู คา้ ภายในขอบเขตของแผนงานและงบประมาณท�ไี ดร้ บั มอบหมายจากคณะกรรมการ
2. พิจารณาและอนุมตั ิการจดั ซือ� จัดจา้ ง ตลอดจนเรื�องการลงทุนขยายงาน รวมถึงการซือ� ขายสินทรพั ยถ์ าวร
ของบรษิ ัท และจะพิจารณาเสนอต่อคณะกรรมการบรษิ ัทหากการจดั ซือ� จดั จา้ ง ตลอดจนเรื�องการลงทนุ ขยายงาน รวมถึง
การซือ� ขายสนิ ทรพั ยถ์ าวรของบรษิ ทั นน�ั อยนู่ อกเหนือขอบเขตและงบประมาณท�ไี ดร้ บั มอบหมายจากคณะกรรมการ
3. มอี าํ นาจในการจดั ซอื� วตั ถดุ ิบในการผลิตครงั� ละนา�ํ หนกั ไมเ่ กิน 20,000 ตนั
4. มีอาํ นาจกระทาํ การและแสดงตนเป็นตัวแทนของบริษัทต่อบุคคลภายนอกในกิจการท�ีเกี�ยวขอ้ งและเป็น
ประโยชนต์ ่อกจิ การ
5. พจิ ารณาเร�อื งการระดมทนุ ของบรษิ ทั เพ�อื นาํ เสนอตอ่ คณะกรรมการบรษิ ัท
6. อนมุ ตั กิ ารแต่งตงั� ท�ปี รกึ ษาดา้ นตา่ ง ๆ ท�จี าํ เป็นตอ่ การดาํ เนินงานของบรษิ ทั
7. ดาํ เนนิ กิจการท�เี ก�ียวขอ้ งกบั การบรหิ ารงานโดยท�วั ไปของบรษิ ทั
8. พิจารณาและอนมุ ตั ิแผนการปฏิบตั ิของแต่ละฝ่ายงานของบริษัท และพิจารณาอนมุ ตั ิคาํ ขอจากฝ่ายงาน
ต่าง ๆ ของบรษิ ัทท�เี กินอาํ นาจส�งั การของฝ่ายงานนน�ั
9. หากการดาํ เนินงานตามแผนงานท�ีได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท ใช้งบประมาณสูงเกินกว่า
งบประมาณท�ไี ดร้ บั อนมุ ตั ริ อ้ ยละ 10 จะตอ้ งนาํ เสนอขออนมุ ตั จิ ากคณะกรรมการบรษิ ัท
ทงั� นี� การมอบอาํ นาจดงั กลา่ วขา้ งตน้ คณะกรรมการบรหิ ารจะตอ้ งปฏิบตั ติ ามขอ้ กาํ หนดและระเบยี บวาระตา่ ง ๆ
ท�ีไดร้ บั อนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท และตอ้ งไม่อนุมัติรายการใด ๆ ท�ีตนเองหรือบุคคลท�ีอาจมีความขัดแยง้ ทาง
ผลประโยชน์ มีสว่ นไดเ้ สีย หรืออาจมคี วามขดั แยง้ ทางผลประโยชนใ์ นลกั ษณะอ�ืนใดกับบรษิ ัทและบริษัทย่อย และจะตอ้ ง
เปิดเผยรายการดงั กลา่ วตอ่ คณะกรรมการบรษิ ทั เพ�อื ใหค้ ณะกรรมการบรษิ ัทพิจารณา

รายงานประจําปี 2563 23

การอน�ื ใดนอกเหนือจากท�กี ล่าวมาขา้ งตน้ คณะกรรมการบรหิ ารไม่สามารถกระทาํ ได้ เวน้ แต่จะไดร้ บั มอบหมาย
จากท�ีประชมุ คณะกรรมการบรษิ ทั เป็นคราว ๆ ไป

ขอบเขตอาํ นาจหน้าทข�ี องคณะกรรมการสรรหาและกาํ หนดค่าตอบแทน
1. กาํ หนดหลกั เกณฑ์ และวิธีการ ในการสรรหากรรมการ และผู้บรหิ ารระดบั สงู และคณะกรรมการชดุ ต่างๆ
เม�ือครบวาระ หรือมีตาํ แหน่งว่าง เพ�ือให้มีองคป์ ระกอบและคุณสมบตั ิตามกฎหมาย/ระเบียบท�ีเก�ียวขอ้ ง เพ�ือนาํ เสนอ
ความเห็นตอ่ คณะกรรมการบรษิ ทั พิจารณาอนมุ ตั ิ และ/หรือเสนอท�ปี ระชมุ ผถู้ ือหนุ้ เพ�อื พจิ ารณาอนมุ ตั แิ ลว้ แตก่ รณี
2. กาํ หนดหลกั เกณฑ์ และวิธีการจ่ายคา่ ตอบแทนสาํ หรบั กรรมการบรษิ ทั ผบู้ รหิ ารระดบั สงู และคณะกรรมการ
ชุดต่างๆ ท�ีคณะกรรมการบริษัทฯ แต่งตั�ง โดยให้สอดคลอ้ งกับผลการดาํ เนินงานของบริษัทฯ อย่างเป็นธรรมและ
สมเหตุสมผล โดยเปรียบเทียบไดก้ ับระดับค่าตอบแทนของบริษัทฯอื�นๆ ในอตุ สาหกรรมเดียวกัน หรืออุตสาหกรรมท�ีมี
ขนาดใกลเ้ คียงกัน เพ�ือนาํ เสนอต่อคณะกรรมการบรษิ ัทฯ พิจารณาอนุมัติ และ/หรือเสนอท�ีประชุมผถู้ ือหนุ้ เพ�ือพิจารณา
อนมุ ตั แิ ลว้ แตก่ รณี
3. คณะกรรมการสรรหาและกาํ หนดค่าตอบแทนต้องรายงานผลการประชุม หรือรายงานอื�นใดท�ีเห็นว่า
คณะกรรมการบรษิ ทั ฯ ควรรบั ทราบต่อคณะกรรมการบรษิ ทั
4. ปฏบิ ตั ิหนา้ ท�ใี นเรื�องอื�นใดตามท�คี ณะกรรมการบรษิ ทั มอบหมาย

การสรรหากรรมการ และผ้บู ริหาร
การสรรหากรรมการ
ตามขอ้ บังคบั ของบริษัท กาํ หนดว่าในการประชุมสามญั ประจาํ ปีทกุ ครงั� ใหก้ รรมการออกจากตาํ แหน่ง 1 ใน 3
ถา้ จาํ นวนกรรมการท�จี ะแบง่ ออกใหต้ รงเป็นสามส่วนไม่ได้ ใหอ้ อกจาํ นวนใกลท้ �สี ดุ กบั สว่ น 1 ใน 3 โดยใหก้ รรมการคนท�อี ยู่
ในตาํ แหน่งนานท�ีสุดน�ัน เป็นผูอ้ อกจากตาํ แหน่ง และกรรมการท�ีออกจากตาํ แหน่งมีสิทธิไดร้ ับเลือกตัง� กลับมาดาํ รง
ตาํ แหนง่ ใหม่ได้
ทงั� นี� ในการสรรหากรรมการบรษิ ัทเป็นหนา้ ท�ีความรบั ผิดชอบของคณะกรรมการสรรหาและกาํ หนดค่าตอบแทน
ในการพิจารณาคดั เลือกและกล�นั กรองบุคคลท�ีมีคณุ สมบตั ิเหมาะสม ตามขอ้ บงั คบั ของบริษัท และตามเกณฑค์ ณุ สมบตั ิ
ตามมาตรา 68 แห่งพระราชบญั ญัติบรษิ ัทมหาชนจาํ กดั พ.ศ. 2535 และตามประกาศคณะกรรมการกาํ กบั หลกั ทรพั ยแ์ ละ
ตลาดหลักทรพั ยท์ �ีเกี�ยวข้อง และนาํ เสนอขอความเห็นชอบจากกรรมการ จากนั�นนาํ เสนอต่อท�ีประชุมผูถ้ ือหุ้นเป็นผู้
เลอื กตงั� กรรมการตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการ ดงั ตอ่ ไปนี�
1. ผถู้ ือหนุ้ คนหนึ�งมีคะแนนเสยี งเทา่ กบั หน�ึงหนุ้ ต่อหนง�ึ เสยี ง
2. การเลอื กตงั� กรรมการจะลงคะแนนเสียงเลอื กตงั� เป็นรายบคุ คลหรอื หลายคนเป็นกรรมการก็ได้ ทง�ั นี� ตามแต่
ท�ปี ระชมุ ผถู้ ือหนุ้ จะเห็นควร โดยในการออกเสียงลงคะแนน ไมว่ า่ จะเป็นการเลือกตงั� เป็นรายบคุ คลหรือหลายคน บคุ คลแต่
ละคนท�ผี ถู้ ือหนุ้ ออกเสียงเลือกตงั� จะไดร้ บั คะแนนเสยี งจากผถู้ ือหนุ้ ตามจาํ นวนหนุ้ ท�ผี ถู้ ือหนุ้ นนั� มอี ยทู่ งั� หมดตามขอ้ 1 โดยผู้
ถือหนุ้ ดงั กลา่ วจะแบง่ คะแนนเสียงแกผ่ หู้ น�งึ ผใู้ ดมากหรือนอ้ ยเพียงใดไม่ได้
3. บคุ คลซง�ึ ไดร้ บั คะแนนเสยี งสงู สดุ ตามลาํ ดบั ลงมาเป็นผไู้ ดร้ บั การเลือกตงั� เป็นกรรมการเทา่ จาํ นวนกรรมการ
ท�ีจะพึงมีหรือจะพึงเลือกตัง� ในครงั� นน�ั ในกรณีท�ีบุคคลซ�ึงไดร้ บั การเลือกตงั� ในลาํ ดบั ถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกิน
จาํ นวนกรรมการท�จี ะพึงเลือกตงั� ในครงั� นน�ั ใหผ้ เู้ ป็นประธานเป็นผอู้ อกเสยี งชีข� าด

24 บริษัท เดอะ สตีล จํากัด (มหาชน)

ตงั� แต่วันท�ี 7 ตุลาคม 2562 – 15 มกราคม 2563 เป็นตน้ มา บรษิ ัทเปิดโอกาสใหผ้ ูถ้ ือหุน้ สามารถมีส่วนรว่ มใน
การเสนอช�ือบคุ คลเพ�อื รบั การพิจารณาเลือกตงั� เป็นกรรมการไดล้ ว่ งหนา้ โดยบรษิ ทั ไดเ้ ผยแพรว่ ธิ ีการเสนอ และขน�ั ตอนการ
พิจารณาไวบ้ นเว็บไซต์ www.thesteel.co.th และไดแ้ จ้งให้ผู้ลงทุนทราบผ่านช่องทางการแจ้งสารสนเทศของตลาด
หลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย ซ�งึ ในปี 2563 ไมม่ ีผถู้ ือหนุ้ รายใดเสนอช�อื บคุ คลเพ�อื รบั การพิจารณาเลือกตงั� เป็นกรรมการ

การสรรหาผู้บรหิ าร
- การสรรหากรรมการผูจ้ ัดการ : ทางคณะกรรมการบรหิ ารจะเป็นผพู้ ิจารณาเบอื� งตน้ ในการกล�นั กรอง

สรรหาบคุ คลท�มี ีคณุ สมบตั คิ รบถว้ น เหมาะสม มคี วามรูค้ วามสามารถ และประสบการณท์ �เี ป็นประโยชนต์ อ่ การดาํ เนนิ งาน
ของบรษิ ัท และนาํ เสนอต่อคณะกรรมการสรรหาและกาํ หนดค่าตอบแทนเป็นผพู้ ิจารณาใหค้ วามเห็นชอบ เพ�อื นาํ เสนอต่อ
คณะกรรมการบรษิ ัทพิจารณาอนมุ ตั ติ ่อไป

- การสรรหาผู้บริหาร : กรรมการผู้จัดการ เป็นผู้พิจารณาสรรหา และแต่งตั�งบุคคลท�ีมีคุณสมบัติ
เหมาะสมกบั ตาํ แหนง่ และหนา้ ท�คี วามรบั ผิดชอบ รวมถึงมีความรูค้ วามสามารถ และประสบการณ์ ท�เี ป็นประโยชนต์ อ่ การ
ดาํ เนินงานของบรษิ ทั โดยการคดั เลอื กเป็นไปตามระเบียบในการสรรหาบคุ คลของฝ่ายทรพั ยากรมนษุ ย์

การกาํ กบั ดแู ลการดาํ เนินงานของบริษทั ยอ่ ยและบริษัทรว่ ม
บริษัทฯ มีนโยบายกาํ กับดูแลการดาํ เนินงานของบริษัทย่อย โดยทุกปีจะให้แต่ละบริษัทจัดทาํ งบประมาณ

ประจาํ ปีเพ�ือนาํ เสนอทางกรรมการ และใชง้ บประมาณในการควบคุมการดาํ เนินงาน นอกจากนี� การกาํ กับดูแลดา้ น
การเงิน การจ่ายเงินทกุ ครงั� จะอนญุ าตใหผ้ บู้ รหิ ารบรษิ ทั ยอ่ ยเซ็นอนมุ ตั ิจา่ ยรว่ มกบั ผบู้ รหิ ารของบริษัทใหญ่

การดูแลเรอื� งการใชข้ ้อมลู ภายใน
รายละเอยี ดการดแู ลและป้องกนั การใชข้ อ้ มลู ภายใน อยใู่ นหมวดท�ี 2 การปฏบิ ตั ิตอ่ ผถู้ ือหนุ้ อยา่ งเทา่ เทยี มกนั

ค่าตอบแทนของผสู้ อบบัญชี
สาํ นักงานสอบบัญชี คือ บริษัท ซี ดบั เบิล� ยู ดบั เบิล� ยู พี จาํ กดั ไม่เป็นบุคคลหรือกิจการท�ีเก�ียวขอ้ งกับบรษิ ัท โดย

บรษิ ทั จ่ายค่าตอบแทนผสู้ อบบญั ชี (Audit fee) ในปี 2563 ภายในวงเงนิ ไม่เกิน 3,580,000 บาท สาํ หรบั เป็นค่าตรวจสอบงบ
การเงินของบริษัทและบริษัทย่อย และบริษัทไม่ไดจ้ ่ายค่าตอบแทนอื�น (Non-audit fee) ให้ผูส้ อบบัญชี หรือ บุคคลหรือ
กจิ การท�เี กี�ยวขอ้ งกบั ผสู้ อบบญั ชีและสาํ นกั งานสอบบญั ชี

ค่าสอบบัญชี 2,700,000 บาท
- บรษิ ทั เดอะ สตีล จาํ กดั (มหาชน) 370,000 บาท
- บรษิ ัท ลิเบอรต์ ี� สตีล สยาม จาํ กดั 310,000 บาท
- บรษิ ัท เดอะ สตีล โลจิสติกส์ จาํ กดั 200,000 บาท
- บรษิ ทั เดอะ สตีล อนิ ดสั ทรี จาํ กดั บาท
3,580,000
รวม

คา่ บริการอนื� ๆ
- ไมม่ ี

รายงานประจําปี 2563 25

การปฏบิ ัตติ ามหลกั การกาํ กบั ดแู ลกิจการทด�ี ี
ในรอบปี 2563 บรษิ ัทฯ ยึดถือปฏิบตั ิตามหลกั การกาํ กับดูแลกิจการท�ีดีสาํ หรบั บริษัทจดทะเบียน ปี 2549 ของ

ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย ทงั� 5 หมวดหลกั ดงั นี�
หมวดที� 1 สทิ ธขิ องผู้ถือหนุ้

บรษิ ัทฯ ใหค้ วามสาํ คญั ถึงสิทธิของผถู้ ือหนุ้ โดยไม่กระทาํ การใดๆ ท�ีจะเป็นการละเมิดหรอื ลิดรอนสิทธิของผถู้ ือ
หนุ้ ดงั นี�

1. สิทธิพืน� ฐานตามกฎหมาย : ดูแลใหผ้ ถู้ ือหนุ้ ไดใ้ ชส้ ิทธิในการซือ� ขายหรือโอนหุน้ ไดร้ บั การจดั การโดยนาย
ทะเบียนหนุ้ ท�มี ีมาตรฐาน เช�ือถือได้

2. สิทธใิ นการได้รับข้อมูลข่าวสารที�สําคัญ : เปิดเผยขอ้ มลู ท�ีเป็นปัจจบุ นั ผ่านเว็บไซตข์ องบริษทั เพ�ือใหผ้ ถู้ ือ
หนุ้ ไดร้ บั ทราบขอ้ มูลข่าวสารสาํ คัญของบริษัทฯ ท�ีมีการเปล�ียนแปลง รวมถึงสารสนเทศท�ีบรษิ ัทเปิดเผยตามขอ้ กาํ หนด
ตา่ งๆ โดยภายหลงั จากการเปิดเผยตอ่ ตลาดหลกั ทรพั ยฯ์ แลว้ ไดน้ าํ ขอ้ มลู เผยแพรใ่ นเวบ็ ไซตข์ องบรษิ ทั

3. สิทธิในการเข้าประชุมและออกเสยี งลงคะแนน : อาํ นวยความสะดวกและเปิดโอกาสใหผ้ ถู้ ือหนุ้ ทกุ รายได้
เขา้ ร่วมประชุมและใชส้ ิทธิออกเสียงในการประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจาํ ปี โดยจัดใหม้ ีระบบการจัดการท�ีส่งเสริมและ
สนบั สนุนการใชส้ ิทธิของผถู้ ือหุน้ ตงั� แต่ก่อนวนั ประชุม วนั ประชุม และภายหลงั การประชมุ โดยไดย้ ึดถือและปฏิบตั ิตาม
แนวทางการจัดประชุม AGM Checklist ของสาํ นักงาน ก.ล.ต. นอกจากนี� คณะกรรมการไดน้ าํ ผลการประเมินการจัด
ประชมุ ตามแนวทางดงั กล่าว มาพจิ ารณาปรบั ปรุงและพฒั นาเพ�อื เพ�มิ ประสิทธิภาพการจดั ประชมุ ผถู้ ือหนุ้ ใหด้ ีย�ิงขนึ� ตอ่ ไป

หมวดท�ี 2 การปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ ือหุน้ อย่างเทา่ เทยี มกัน
บรษิ ัทฯ คาํ นงึ ถึงความเท่าเทียมกนั ของผถู้ ือหนุ้ ทกุ ราย โดยปฏิบตั เิ กี�ยวกับเร�ืองดงั กลา่ วเพ�ือส่งเสรมิ ใหเ้ กิดความ
เท่าเทยี มกนั อยา่ งแทจ้ รงิ ดงั นี�
1. การใช้สิทธิของผู้ถือหนุ้ อยา่ งเท่าเทยี มกนั ในการประชุมผถู้ อื หนุ้
ก่อนการประชุม
- เปิดโอกาสใหผ้ ถู้ ือหนุ้ ท�ปี ระสงคจ์ ะเสนอเร�อื งเพ�อื บรรจุในวาระการประชุมผถู้ ือหนุ้ และเสนอช�ือบคุ คลเพ�อื รบั
การพิจารณาเลือกตงั� เป็นกรรมการไดล้ ่วงหนา้ รวมถึงการใหส้ ิทธิผถู้ ือหุน้ สามารถส่งคาํ ถามเกี�ยวกับวาระการประชมุ ได้
ลว่ งหนา้ ก่อนถึงวนั ประชมุ โดยสง่ เอกสารถึงเลขานกุ ารบรษิ ัท ทงั� นรี� ายละเอยี ดเกี�ยวกบั หลกั เกณฑก์ ารพิจารณาสามารถดู
ไดจ้ าก website ของบรษิ ัท โดยในปีนไี� ม่มผี ถู้ ือหนุ้ ทา่ นใดเสนอวาระการประชมุ และเสนอช�อื บคุ คลเพ�อื เขา้ มาเป็นกรรมการ
แต่อย่างใด
- บรษิ ัทฯ ไดม้ อบใหบ้ รษิ ัท ศนู ยร์ บั ฝากหลกั ทรพั ย์ (ประเทศไทย) จาํ กัด ซ�ึงเป็นนายทะเบียนหุน้ ของบริษัท
เป็นผจู้ ดั สง่ หนงั สอื เชิญประชมุ ใหแ้ ก่ผถู้ ือหนุ้ ลว่ งหนา้ กอ่ นวนั ประชมุ ไมน่ อ้ ยกวา่ 7 วนั ซ�งึ ประกอบดว้ ย หนงั สือเชิญประชมุ
รายงานการประชุมครงั� ก่อน รายงานประจาํ ปี เอกสารประกอบการพิจารณาแต่ละวาระ คาํ ชีแ� จงวิธีการต่างๆ ขอ้ มูล
กรรมการอิสระ ขน�ั ตอนการเขา้ รว่ มประชุม ขอ้ บงั คบั บริษัทเฉพาะท�ีเก�ียวกับการประชุมผถู้ ือหนุ้ แผนท�ีสถานท�ีจดั ประชุม
และหนงั สือมอบฉันทะ พรอ้ มทงั� เผยแพรข่ อ้ มลู ดงั กลา่ วผ่านเวบ็ ไซตข์ องบรษิ ัท www.thesteel.co.th และไดป้ ระกาศลงใน
หนงั สอื พมิ พร์ ายวนั ตดิ ตอ่ กนั 3 วนั กอ่ นวนั ประชมุ ไมน่ อ้ ยกวา่ 3 วนั เพ�อื บอกกล่าวผถู้ ือหนุ้ ล่วงหนา้

26 บริษัท เดอะ สตีล จํากัด (มหาชน)

- แจง้ หลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการเขา้ รว่ มประชมุ ใหผ้ ถู้ ือหนุ้ ทราบในหนงั สือเชญิ ประชมุ เสนอช�ือกรรมการอสิ ระของ
บริษัทใหเ้ ป็นผูร้ บั มอบฉันทะจากผู้ถือหุน้ พรอ้ มท�ังแนบหนังสือมอบฉันทะตามแบบท�ีกระทรวงพาณิชยก์ าํ หนด รวมถึง
หนงั สอื มอบฉนั ทะในรูปแบบท�ผี ถู้ ือหนุ้ สามารถระบคุ วามเหน็ ในการลงคะแนนเสยี งไดด้ ว้ ย

วันประชุม
- บริษัทฯ ไดก้ ําหนดให้มีระยะเวลาการลงทะเบียนล่วงหน้าก่อนการประชุม 2 ช�ัวโมง และถึงแม้จะพ้น
ระยะเวลารบั ลงทะเบียนแลว้ ยังไดเ้ ปิดโอกาสใหผ้ ู้ถือหุ้นท�ีประสงคจ์ ะเขา้ ร่วมประชุม สามารถลงทะเบียนและเขา้ ร่วม
ประชมุ ผถู้ ือหนุ้ ได้ โดยไม่เสยี สทิ ธิ โดยมีสทิ ธิออกเสียงลงคะแนนในระเบียบวาระท�ยี งั ไมไ่ ดพ้ ิจารณาลงมติได้ รวมถึงการจดั
ของท�ีระลกึ และการเลยี� งรบั รองท�เี หมาะสมแกผ่ ถู้ ือหนุ้ ท�เี ขา้ รว่ มประชมุ ในการประชมุ ผถู้ ือหนุ้ ทกุ ครงั�
- เลขานุการบริษัท ไดแ้ จ้งหลกั เกณฑ์ท�ีใชใ้ นการประชุม ข�ันตอนและวิธีการกาํ หนดให้สิทธิออกเสียงในท�ี
ประชมุ เป็นไปตามจาํ นวนหนุ้ ท�ผี ถู้ ือหนุ้ ถืออยู่ โดยหน�งึ หนุ้ มีสิทธิเท่ากบั หน�งึ เสยี ง
- บริษัทฯ สนบั สนุนใหม้ ีการใชบ้ ตั รลงคะแนนเสียง และเปิดโอกาสใหผ้ ูถ้ ือหุน้ ใชส้ ิทธิในการเลือกกรรมการ
แยกเป็นรายบุคคล โดยสนับสนุนใหม้ ีการใช้บัตรลงคะแนนเสียงแยกกรรมการเป็นรายบุคคล และแจกใหก้ ับผูถ้ ือหุ้น
ในขณะลงทะเบียนก่อนเร�มิ การประชมุ รายละเอียดการแยกนบั คะแนนเสียงกรรมการเป็นรายบุคคลไดม้ ีการบนั ทึกลงใน
รายงานการประชุมผูถ้ ือหุน้ ประจาํ ปี 2563 ทั�งนี� บัตรลงคะแนนตลอดจนเอกสารหลกั ฐานอ�ืนๆ มีระบบการจัดเก็บท�ีดี
สามารถตรวจสอบได้
- บรษิ ัทฯ ใหส้ ิทธิผถู้ ือหนุ้ เปิดโอกาสแสดงความคิดเห็นและซกั ถามอย่างเต็มท�ี โดยมปี ระธานกรรมการบริษัท
ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานเจา้ หนา้ ท�บี รหิ าร และผบู้ รหิ ารเขา้ รว่ มประชมุ เพ�ือตอบขอ้ ซกั ถามในทกุ ประเด็นอยา่ ง
ชดั เจน
หลังการประชุม
- เลขานุการบริษัทบนั ทึกขอ้ มลู ท�ีเป็นสาระสาํ คญั ในรายงานการประชุม มีรายละเอียดสาระสาํ คญั ครบถว้ น
เช่น กรรมการท�ีเขา้ ประชมุ คาํ ชีแ� จงของประธานกรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ และ กรรมการผจู้ ดั การ ตลอดจน
ขอ้ ซกั ถาม และแสดงความเห็นของผถู้ ือหุน้ วิธีการลงคะแนนเสียง และวิธีการนับคะแนน จาํ นวนคะแนนเสียง แยกเป็น
เหน็ ดว้ ย ไม่เห็นดว้ ย หรืองดออกเสียง และขอ้ มลู อนื� ๆ ท�เี ก�ียวขอ้ ง
- จดั ส่งรายงานการประชุมใหต้ ลาดหลักทรพั ยภ์ ายใน 14 วนั และมีการเผยแพร่ผ่าน website ของบริษัทฯ
เพ�อื ใหผ้ ถู้ ือหนุ้ สามารถตรวจดคู วามถกู ตอ้ งของมติ และใหค้ าํ แนะนาํ เพิม� เตมิ เก�ียวกบั เร�อื งท�ีควรบนั ทกึ เพมิ� เตมิ หรือแกไ้ ขได้
ก่อนท�บี รษิ ทั จะนาํ รายงานการประชมุ ดงั กลา่ วเสนอเพ�อื รบั รองในการประชมุ ผถู้ ือหนุ้ ครัง� ต่อไป
2. การดแู ลและป้องกันการใช้ขอ้ มูลภายใน
- บรษิ ัทกาํ หนดใหม้ ีการป้องกนั การนาํ ขอ้ มลู ของบรษิ ัทไปใช้ โดยกาํ หนดใหห้ น่วยงานท�ีรูข้ อ้ มลู หา้ มนาํ ขอ้ มลู
ไปเปิดเผยยงั หนว่ ยงานหรอื บคุ คลท�ไี ม่เก�ียวขอ้ ง
- ผูบ้ ริหารของบริษัทท�ีไดร้ บั ข้อมูลทางการเงินของบริษัทตอ้ งไม่ใช้ประโยชนจ์ ากข้อมูลดังกล่าวก่อนท�ีจะ
เปิดเผยส่สู าธารณชน โดยการกาํ หนดหา้ มผบู้ ริหารทาํ การซือ� ขายหลกั ทรพั ยข์ องบรษิ ัทเป็นระยะเวลา 1 เดือน ก่อนท�ีงบ
การเงนิ จะเปิดเผยสสู่ าธารณชน

รายงานประจําปี 2563 27

- เม�ือหลกั ทรพั ยข์ องบรษิ ัทเขา้ จดทะเบียนในตลาดหลกั ทรพั ยแ์ ห่งประเทศไทย บรษิ ัทไดก้ าํ หนดให้กรรมการ
และผูบ้ ริหารมีหนา้ ท�ีในการรายงานการถือหลักทรพั ยข์ องบริษัทตามมาตรา 59 เพ�ือให้เป็นไปตามประกาศสาํ นักงาน
คณะกรรมการ ก.ล.ต. ว่าด้วยเรื�องการจัดทําและเปิ ดเผยรายงานการถือหลักทรัพย์ และได้กําหนดโทษตาม
พระราชบัญญัติหลักทรพั ยแ์ ละตลาดหลักทรพั ย์ พ.ศ. 2535 และตามกฎเกณฑ์ข้อกาํ หนดของตลาดหลักทรัพยแ์ ห่ง
ประเทศไทย รวมถึงไดก้ าํ หนดโทษทางวินยั สาํ หรบั ผแู้ สวงหาผลประโยชนจ์ ากการนาํ ขอ้ มลู ภายในบริษัทไปใช้ หรือนาํ ไป
เปิดเผยจนอาจทาํ ใหบ้ ริษัทไดร้ บั ความเสียหาย โดยพิจารณาลงโทษตามควรแก่กรณี ไดแ้ ก่ การตักเตือนดว้ ยวาจา การ
ตกั เตือนเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร การภาคทณั ฑ์ ตลอดจนการเลิกจา้ ง พน้ สภาพการเป็นพนกั งานดว้ ยเหตไุ ล่ออก ปลดออก
หรือใหอ้ อก ทงั� นี� การลงโทษจะพิจารณาจากเจตนาของการกระทาํ และความรา้ ยแรงของความผดิ นน�ั ๆ

- ในการทาํ รายการท�ีเกี�ยวโยงกันมีการกาํ กบั ดูแลใหป้ ฏิบตั ิตามขน�ั ตอนการอนุมตั ิอย่างเครง่ ครดั และมีการ
พิจารณาถึงประโยชนส์ ูงสุดของบริษัทเป็นสาํ คัญ โดยจะนาํ เสนอรายการท�ีอาจเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชนใ์ ห้
คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาใหค้ วามเห็น ก่อนนาํ เสนอขออนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท และผูถ้ ือหุน้ (กรณีถึง
เกณฑ)์ ทกุ ครงั� และมีการเปิดเผยสารสนเทศท�สี าํ คญั อย่างครบถว้ นและเป็นไปตามกฎระเบยี บขอ้ บงั คบั ท�กี าํ หนด

หมวดที� 3 บทบาทของผู้มสี ว่ นไดส้ ่วนเสยี
บรษิ ัทฯไดใ้ หค้ วามสาํ คญั ต่อสิทธิของผมู้ ีส่วนไดเ้ สียทกุ กล่มุ ไม่ว่าจะเป็นผมู้ ีส่วนไดเ้ สียภายในหรอื ผมู้ ีส่วนไดเ้ สีย
ภายนอก เน�ืองจากบริษัทตระหนักถึงแรงสนับสนุนจากผมู้ ีส่วนไดเ้ สียต่างๆ ซ�งึ จะสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั และ
สรา้ งกาํ ไรใหก้ บั บรษิ ทั ซง�ึ ถือว่าเป็นการสรา้ งความสาํ เรจ็ ในระยะยาวของบรษิ ทั ไดโ้ ดยมรี ายละเอียดท�สี าํ คญั ไดแ้ ก่
- พนกั งาน : บรษิ ทั ไดป้ ฏบิ ตั กิ บั พนกั งานอยา่ งเท่าเทยี มกนั และใหผ้ ลตอบแทนท�เี ป็นธรรมและเหมาะสม
- คคู่ า้ และเจา้ หนี� : บรษิ ัทปฏบิ ตั ิตอ่ คคู่ า้ และเจา้ หนอี� ย่างเป็นธรรม และเป็นไปตามเง�อื นไขทางการคา้ ตาม
สญั ญาท�ตี กลงทาํ รว่ มกนั
- ลกู คา้ : บรษิ ัทเอาใจใสแ่ ละรบั ผิดชอบต่อลกู คา้ โดยผลติ สินคา้ ท�มี ีคณุ ภาพและมาตรฐานและ
สามารถตอบสนองความตอ้ งการลกู คา้ ไดเ้ ป็นอย่างดี โดยเนน้ ใหค้ วามสาํ คญั ถงึ คณุ ภาพ
สนิ คา้ การบรกิ าร และราคาท�เี หมาะสม
- คแู่ ขง่ ขนั : บรษิ ทั ปฏิบตั ติ ามกรอบกตกิ าการแข่งขนั ท�ดี เี พ�อื รกั ษาบรรทดั ฐานของขอ้ พงึ ปฏิบตั ใิ น
การแข่งขนั
- ชมุ ชน : บรษิ ัทใหค้ วามใสใ่ จเป็นอย่างมากกบั การรกั ษาส�ิงแวดลอ้ ม โดยรบั ผิดชอบและดแู ลมิ
ใหม้ ผี ลกระทบตอ่ ส�งิ แวดลอ้ มของชมุ ชนและสงั คม

นอกจากนี� บริษัทฯ จดั ใหม้ ีช่องทางต่างๆ ท�ีผูม้ ีส่วนไดเ้ สียกล่มุ ต่างๆ สามารถติดต่อส�ือสารกับคณะกรรมการ
บรษิ ัท เพ�อื รอ้ งเรยี น หรอื ใหข้ อ้ เสนอแนะอนั เป็นประโยชนใ์ หก้ บั บรษิ ทั ผา่ นทางตูแ้ สดงความคิดเห็นซง�ึ ติดตงั� อยดู่ า้ นหนา้
สาํ นกั งาน หรือทางเว็บไซตข์ องบรษิ ัท หรือท�ี E-mail : [email protected] เลขานกุ ารบรษิ ัทจะเป็นผรู้ บั เอกสารและ
สรุปประเด็นต่างๆ ทัง� หมดเสนอใหค้ ณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัท พิจารณาต่อไป และบริษัทฯ ให้
ความสาํ คญั กับการเก็บข้อมลู รอ้ งเรียนเป็นความลบั เพ�ือสรา้ งความม�นั ใจใหแ้ ก่ผรู้ อ้ งเรียน และเร�ืองรอ้ งเรียนดงั กล่าวจะ
รบั รูเ้ ฉพาะในกล่มุ บคุ คลท�ไี ดร้ บั มอบหมายและเก�ียวขอ้ งดว้ ยเทา่ นนั�

28 บริษัท เดอะ สตีล จํากัด (มหาชน)

หมวดท�ี 4 การเปิ ดเผยข้อมลู และความโปร่งใส
บริษัทฯ ใหค้ วามสาํ คัญต่อการเปิดเผยขอ้ มลู ทางการเงิน และท�ีไม่ใช่การเงินอย่างถูกตอ้ ง ครบถว้ น ทันเวลา
โปรง่ ใส เพ�ือใหผ้ ูถ้ ือหนุ้ นกั ลงทุน ตลอดจนผมู้ ีส่วนไดเ้ สียไดเ้ ขา้ ถึงขอ้ มูลไดอ้ ย่างเท่าเทียมกัน และมีความน่าเช�ือถือ ซ�ึง
ฝ่ายบรหิ ารไดย้ ดึ ถือปฏบิ ตั ิมาโดยตลอด ดงั นี�
- เปิดเผยขอ้ มูลท�ีสาํ คญั ต่างๆ ไดแ้ ก่ ขอ้ มูลทางการเงิน โครงสรา้ งการถือหุน้ การกาํ กับดูแลกิจการ ขอ้ มูล
เกี�ยวกบั การประกอบธุรกิจของบรษิ ทั รายงานประจาํ ปี รายงานแบบ 56-1 หนงั สือเชญิ ประชมุ ผถู้ ือหนุ้ รายงานการประชมุ
ผูถ้ ือหุ้น สารสนเทศต่างๆ ท�ีแจง้ ต่อตลาดหลักทรพั ย์ (ELCID) ซ�ึงไดจ้ ัดทาํ ทั�งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ และมีการ
ปรบั ปรุงขอ้ มลู ใหท้ นั ต่อเหตกุ ารณอ์ ยเู่ สมอ บนเว็บไซตข์ องบรษิ ทั ฯ (www.thesteel.co.th)
- ในส่วนงานด้านผู้ลงทุนสัมพันธ์ บริษัทยังไม่มีแผนท�ีจะจัดตั�งหน่วยงานนี� และได้มอบหมายให้
นางสาวฐิตมิ า นนทเวชช์ เป็นผทู้ าํ หนา้ ท�ีติดต่อสอื� สารกบั ผถู้ ือหนุ้ นกั วเิ คราะห์ และหน่วยงานท�เี ก�ียวขอ้ ง

หมวดที� 5 ความรับผดิ ชอบของคณะกรรมการ
บรษิ ัทมีบทบาทหนา้ ท�ี รวมท�ังภาวะผูน้ าํ และวิสยั ทศั น์ เพ�ือใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานการกาํ กับดูแลกิจการท�ีดี
ดงั นี�
1. โครงสร้างคณะกรรมการ
- คณะกรรมการบรษิ ัทมีจาํ นวน 7 ท่าน ประกอบดว้ ย กรรมการท�ีไม่เป็นผบู้ รหิ าร 1 ท่าน และกรรมการท�ีเป็น
ผบู้ รหิ าร 3 ท่าน กรรมการอิสระ 3 ทา่ น โดยเปิดเผยขอ้ มลู การดาํ รงตาํ แหน่งของกรรมการแต่ละทา่ นไวใ้ นรายงานประจาํ ปี
และแบบ 56-1
- บริษัทมีประธานกรรมการบริษัทและกรรมการผูจ้ ดั การเป็นคนละบุคคล และไม่มีความสมั พันธเ์ ป็นเครือ
ญาติกนั ซ�งึ ประสบการณข์ องแตล่ ะทา่ นท�แี ตกต่างกนั จะเป็นประโยชนต์ อ่ บรษิ ัทเฉพาะดา้ นนนั� ๆ อย่างไรก็ตาม บรษิ ัทยงั ได้
มีการแบ่งแยกอาํ นาจหนา้ ท�ีของคณะกรรมการบริษัทและคณะผูบ้ รหิ ารไวอ้ ย่างชัดเจน รวมท�ังบริษัทมีกรรมการท�ีมิใช่
ผบู้ รหิ ารและพนกั งานจาํ นวน 3 ท่าน เพ�อื ใหเ้ กิดการถว่ งดลุ และการสอบทานการบรหิ ารงานของทางบรษิ ัท
- คณะกรรมการไดก้ าํ หนดวิธีการสรรหากรรมการท�เี ป็นทางการและโปรง่ ใส โดยไดแ้ ต่งตงั� คณะกรรมการสรร
หาและกาํ หนดค่าตอบแทนเพ�อื ทาํ หนา้ ท�ีดงั กล่าว อกี ทงั� ยงั เปิดโอกาสใหผ้ ถู้ ือหนุ้ เสนอช�ือบคุ คลท�ีเห็นว่าเหมาะสมเพ�อื เขา้
รบั การพิจารณาคดั เลือกเป็นกรรมการบรษิ ัทดว้ ย
- วาระการดาํ รงตาํ แหน่งของกรรมการ

คณะกรรมการกาํ หนดวาระการดาํ รงตาํ แหน่งของกรรมการอย่างชัดเจน โดยกาํ หนดจาํ นวนปีท�ีดาํ รง
ตาํ แหนง่ ในแต่ละวาระ คราวละ 3 ปี ตาม พ.ร.บ. บรษิ ทั มหาชนจาํ กดั

- เลขานกุ ารบรษิ ทั
บรษิ ัทไดม้ อบหมายใหน้ างสาวฐิติมา นนทเวชช์ ทาํ หนา้ ท�ีเลขานุการบรษิ ัท และเป็นพนกั งานประจาํ ของ

บรษิ ทั นอกจากนี� บรษิ ัทฯ ไดจ้ ดั ช่องทางใหผ้ ถู้ ือหนุ้ สามารถติดต่อเลขานกุ ารบรษิ ัท ไดท้ �ี E-mail: [email protected]

รายงานประจําปี 2563 29

ตารางแสดงรายละเอียดจาํ นวนครงั� ท�เี ขา้ ประชมุ ของคณะกรรมการ ปี 2563

การเข้าร่วมประชุม/การประชมุ ทัง� หมด (ครั�ง)

รายชอ�ื กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการสรรหา วาระการดาํ รง
กตราํ รแมหกนา่งร
บรษิ ัท ตรวจสอบ และกาํ หนด
คา่ ตอ-บแทน เม.ย. 2562-2565
1.นายบญุ ชยั จิระพงษต์ ระกลู 6/6 -

2.นายสรุ ช จริ ะพงษ์ตระกลู 6/6 - - เม.ย. 2562-2565
3. นายนิรุตต์ งามชาํ นญั ฤทธิ�
6/6 - - เม.ย. 2563-2566

4. นายมนู เลยี วไพโรจน์ 3/6 2/4 - เม.ย. 2562-2565

5. นายธีระพงษ์ ธนารกั ษว์ ฒุ กิ ร 6/6 4/4 - เม.ย. 2563-2566

6. นางสนี วล ทศั นพ์ นั ธุ์ 6/6 4/4 - เม.ย. 2563-2566

7. นายรุจริ ะ จิระพงษ์ตระกลู 3/6 - - เม.ย. 2561-2564

8. นางนาถสินี สารวานิชพิทกั ษ์ - - - -

หมายเหตุ - ลาํ ดบั ท�ี 8 เป็นกรรมการสรรหาและกาํ หนดคา่ ตอบแทนท�มี าจากบคุ คลภายนอก

30 บริษัท เดอะ สตีล จํากัด (มหาชน)

ความรับผดิ ชอบต่อสงั คม

บรษิ ัทฯ ใหค้ วามสาํ คญั ต่อความรบั ผิดชอบต่อสงั คม โดยมนี โยบายดงั นี�
บริษัท เดอะ สตีล จาํ กัด (มหาชน) ดาํ เนินธุรกิจมาเป็นเวลายาวนานกว่า 25 ปี ยึดม�นั ในคณุ ธรรมการคา้ และ
ดาํ เนนิ งานดว้ ยความซอ�ื สตั ยม์ าโดยตลอด โดยมีนโยบายของกล่มุ ดงั นี�
1. บริษัท เดอะ สตีล จาํ กัด (มหาชน) คือหนึ�งในศนู ยบ์ ริการเหล็กท�ีมีช�ือเสียงระดบั ประเทศ ซ�งึ มีนโยบายการ

ดาํ เนินธุรกิจแบบ One Stop Service หรือการบรกิ ารอย่างครบวงจร โดยบริษัททาํ หนา้ ท�ีเป็นผผู้ ลติ แปรรูป
และจดั จาํ หน่ายเหลก็ รูปพรรณทกุ ประเภท โดยบรษิ ัทมผี ลติ ภณั ฑท์ �ีมคี วามหลากหลายมากท�ีสดุ แหง่ หนงึ� ใน
ประเทศไทย และจาํ หน่ายแตส่ นิ คา้ ท�มี ีคณุ ภาพในราคายตุ ธิ รรมและถกู ตอ้ งตามกฎหมาย
2. บรษิ ัทยงั มีบริการหลงั การขายท�ีสมบูรณแ์ บบในดา้ นการจดั ส่งสินคา้ ท�ีสะดวกรวดเร็วและตรงต่อเวลาเพ�ือ
สรา้ งความพึงพอใจใหก้ บั ลกู คา้ อยา่ งสงู สดุ
3. เปา้ หมายการดาํ เนินธุรกิจของบรษิ ัท คือสามารถทาํ ใหล้ กู คา้ ประหยดั เวลา และตน้ ทนุ ค่าใชจ้ ่ายในการสรร
หาผลิตภณั ฑ์ โดยท�ลี กู คา้ สามารถส�งั ซือ� ผลิตภณั ฑเ์ หล็กทุกประเภทตามความตอ้ งการไดจ้ ากสถานท�ีเดียว
ในราคาท�พี ึงพอใจจากบรษิ ัท
4. บรษิ ัทมีการปรบั ปรุงขน�ั ตอนการผลิต และควบคุมคุณภาพอย่างสม�าํ เสมอ จนทาํ ใหส้ ินคา้ ส่วนใหญ่ของ
บริษัทได้รับมาตรฐานอุตสาหกรรม และบริษัทยังมุ่งม�ันต่อไปท�ีจะปรับปรุงระบบการทํางานและ
ประสทิ ธิภาพการผลิตอยา่ งตอ่ เน�อื ง เพ�อื สรา้ งความไวว้ างใจใหก้ บั ลกู คา้ และกระบวนการผลิตของบรษิ ัทไม่
สรา้ งปัญหามลภาวะใดๆ แก่สงั คมรอบขา้ ง
5. ทกุ ครงั� ท�ีมีโอกาส บรษิ ัทจะรว่ มกิจกรรมสาธารณกศุ ลของชมุ ชนใกลเ้ คียงบริษัทเสมอ เช่น ใหท้ ุนการศึกษา
แกโ่ รงเรยี นในบรเิ วณใกลเ้ คยี ง รว่ มกิจกรรมรณรงคท์ าํ ความสะอาดใหช้ มุ ชนน่าอย่อู าศยั ไมส่ รา้ งมลพษิ เป็น
ตน้
6. คณะกรรมการของบรษิ ัทไดป้ ระกาศเจตนารมณ์ และใหค้ วามร่วมมือแก่หน่วยงานราชการ หรือหน่วยงาน
ต่อตา้ นทุจริตคอรร์ ปั ช�ัน และบริษัทจะไม่ทาํ การคา้ และไม่สนับสนุนการคา้ ท�ีเก�ียวพันกับการคอรร์ ปั ช�ัน
เดด็ ขาด
7. บริษัทไดส้ ื�อสารไปท�ังระดับกรรมการ ผูบ้ ริหารและพนักงานให้ดาํ เนินธุรกิจการคา้ ท�ีอยู่ในขอบเขตของ
กฎหมายอย่างเคร่งครดั หากมีการคา้ ใดท�ีไม่ม�นั ใจว่าจะเกี�ยวพนั กบั เร�อื งคอรร์ ปั ช�นั ตอ้ งรีบรายงานผบู้ งั คบ
บญั ชาตามลาํ ดบั ชน�ั ทนั ที เพ�อื พจิ ารณาและหาแนวทางแกไ้ ข

รายงานประจําปี 2563 31

การควบคุมภายในและการบรหิ ารจัดการความเสย�ี ง

ในการประชมุ คณะกรรมการของบรษิ ทั เดอะ สตลี จาํ กดั (มหาชน) ครงั� ท�ี 1/2564 เม�ือวนั ท�ี 24 กมุ ภาพนั ธ์ 2564
โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบไดเ้ ขา้ ร่วมประชมุ ดว้ ย คณะกรรมการบรษิ ัทไดป้ ระเมินระบบการควบคมุ ภายในของบริษัท
โดยการซกั ถามขอ้ มูลจากฝ่ายบรหิ ารสรุปไดว้ ่า จากการประเมินระบบการควบคมุ ภายในของบริษัทในดา้ นต่างๆ 5 ดา้ น
คอื

1. การควบคมุ ภายในองคก์ ร
2. การประเมนิ ความเสยี� ง
3. การควบคมุ การปฏบิ ตั ิงาน
4. ระบบสารสนเทศและการสอ�ื สารขอ้ มลู
5. ระบบการตดิ ตาม

คณะกรรมการเห็นว่า ระบบการควบคุมภายในของบริษัทมีความเพียงพอและเหมาะสม โดยบริษัทไดจ้ ัดใหม้ ี
บคุ ลากรอยา่ งเพียงพอท�จี ะดาํ เนินการตามระบบไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ รวมทง�ั มีระบบควบคมุ ภายในในเรอ�ื งการติดตาม
ควบคมุ ดแู ลการดาํ เนินงานของบรษิ ทั ใหส้ ามารถป้องกนั ทรพั ยส์ นิ ของบรษิ ัทจากการท�กี รรมการหรอื ผบู้ รหิ ารนาํ ไปใชโ้ ดยมิ
ชอบหรือโดยไมม่ ีอาํ นาจ รวมถึงการทาํ ธุรกรรมกบั บคุ คลท�ีอาจมีความขดั แยง้ และบุคคลท�ีเกี�ยวโยงกนั อยา่ งเพียงพอแลว้
สาํ หรบั การควบคมุ ภายในในหวั ขอ้ อื�น คณะกรรมการเห็นวา่ บรษิ ัทมกี ารควบคมุ ภายในท�เี พียงพอแลว้ เช่นกนั

สาํ หรบั ปี 2563 ตามแบบประเมินของสาํ นกั งานคณะกรรมการกาํ กบั หลกั ทรพั ยแ์ ละตลาดหลกั ทรพั ย์ ปรากฏผล
อยู่ในเกณฑด์ ี และบรษิ ัทสามารถปฏิบตั ิไดอ้ ย่างครบถว้ นตามหลกั เกณฑใ์ นแบบประเมินความเพียงพอของระบบการ
ควบคุมภายในของผสู้ อบบญั ชี คณะกรรมการตรวจสอบจึงมีความเห็นว่าบริษทั มีระบบการควบคมุ ภายในท�ีเหมาะสมใน
การจดั ทาํ รายงานทางการเงินของบรษิ ัทท�ถี กู ตอ้ ง

ภายหลังการประเมินแลว้ คณะกรรมการมีความเห็นว่า บริษัทมีระบบการควบคุมภายในอย่างเพียงพอแลว้
รวมทงั� ในเร�ืองการทาํ ธุรกรรมกับผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ กรรมการ ผูบ้ รหิ าร หรือผูท้ �ีเกี�ยวขอ้ งกับบุคคลดงั กล่าวขา้ งตน้ อย่าง
เพียงพอแลว้ และมีระบบควบคมุ ภายในในดา้ นต่างๆ ทง�ั 5 ส่วนท�ีมีความเหมาะสมและเพียงพอในการป้องกันทรพั ยส์ ิน
อนั เกดิ จากการท�ผี บู้ รหิ ารนาํ ไปใชโ้ ดยมชิ อบหรือโดยไม่มีอาํ นาจ รวมถึงการตรวจสอบภายในท�มี ีความอสิ ระในการติดตาม
และประเมนิ ผลการควบคมุ ภายใน นอกจากนี� บรษิ ัทยงั มีระบบจดั เก็บเอกสารสาํ คญั ท�ที าํ ใหก้ รรมการ ผสู้ อบบญั ชี และผมู้ ี
อาํ นาจตามกฎหมายสามารถตรวจสอบไดภ้ ายในระยะเวลาอนั ควร

หัวหน้างานตรวจสอบภายในของบรษิ ทั
ในการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบเม�ือวนั ท�ี 14 พฤศจกิ ายน 2555 ครงั� ท�ี 4/2555 ไดแ้ ต่งตงั� นายวิสตู ร เจรญิ
ศิลาวาทย์ ใหด้ าํ รงตาํ แหน่งผูต้ รวจสอบภายในของบริษัทตัง� แต่วันท�ี 16 พฤศจิกายน 2555 จนถึงปัจจุบัน เน�ืองจากมี
ประสบการณใ์ นการปฏิบตั ิงานดา้ นการตรวจสอบภายใน มาเป็นระยะเวลามากกว่า 10 ปี และมีความเขา้ ใจในกิจกรรม
และการดาํ เนนิ งานของบรษิ ทั จงึ เห็นวา่ มีความเหมาะสมท�จี ะปฏิบตั หิ นา้ ท�ดี งั กล่าวไดอ้ ยา่ งเหมาะสมเพียงพอ
ทง�ั นี� การพิจารณาและอนุมตั ิ แต่งตั�ง ถอดถอน โยกยา้ ยผูด้ าํ รงตาํ แหน่งผูต้ รวจสอบภายในของบริษัทจะตอ้ ง
ไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ

32 บริษัท เดอะ สตีล จํากัด (มหาชน)

รายการระหว่างกนั

ความจาํ เป็ นและความสมเหตสุ มผลของรายการ
ในปีท�ีผ่านมาบริษัทมีการทาํ รายการระหว่างกนั กับบริษัทหรือบุคคลท�ีอาจมีความขดั แยง้ ในผลประโยชน์ โดย

รายการดงั กล่าวเป็นการคา้ ตามปกติและเป็นราคาตลาดหรือตามสญั ญา เช่น การซือ� สินคา้ การจาํ หน่ายสินคา้ บรษิ ัทมี
นโยบายใหค้ ณะกรรมการตรวจสอบของบรษิ ัทเป็นผพู้ ิจารณาและใหค้ วามเห็นต่อรายการดงั กล่าว โดยจะนาํ ราคาตลาด
ของผอู้ ื�นมาเปรียบเทียบกบั ราคาของราคาระหว่างกนั เพ�ือประกอบการพิจารณาสอบทานเป็นรายไตรมาส และบรษิ ัทได้
เปิดเผยขอ้ มลู รายการไวแ้ ลว้ ในหมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ ของทกุ ปี

นโยบายหรอื แนวโน้มการทาํ รายการระหว่างกนั
ในอนาคตหากบรษิ ทั มีความจาํ เป็นตอ้ งทาํ รายการระหว่างกนั กบั บุคคลท�อี าจมีความขดั แยง้ ทางผลประโยชนก์ ับ

บริษัท บริษัทมีนโยบายท�ีจะกาํ หนดเง�ือนไขต่างๆให้เป็นไปตามลักษณะการดาํ เนินการคา้ ปกติและเป็นราคาตลาดซ�ึง
สามารถเปรียบเทียบไดก้ ับราคาตลาดท�ีเกิดขึน� กับบุคคลภายนอก ทงั� นีบ� รษิ ัทจะไดใ้ หค้ ณะกรรมการตรวจสอบพิจารณา
และใหค้ วามเห็นถึงความเหมาะสมของราคาและความสมเหตสุ มผลของการทาํ รายการดว้ ย

รายการระหว่างกันท�ีอาจเกิดขึน� ในอนาคตนั�น กรรมการจะตอ้ งปฏิบตั ิตามระเบียบต่างๆท�ีไดก้ าํ หนดขึน� และ
กรรมการจะตอ้ งไม่อนมุ ตั ิรายการใดๆท�ตี นหรือบคุ คลท�อี าจมคี วามขดั แยง้ ทางผลประโยชนใ์ นลกั ษณะ อน�ื ใดกบั บริษัทและ
จะตอ้ งเปิดเผยรายการดงั กล่าวต่อคณะกรรมการบริษัทเพ�ือใหค้ ณะกรรมการบริษัทพิจารณา ซ�ึงบริษัทจะตอ้ งปฏิบัติให้
เป็นไปตามกฎหมายว่าดว้ ยหลักทรพั ยแ์ ละตลาดหลักทรพั ยแ์ ละขอ้ บังคับ ประกาศ คาํ ส�งั หรือขอ้ กาํ หนดของตลาด
หลกั ทรพั ยแ์ ห่งประเทศไทยรวมตลอดถึงการปฏิบตั ิตามข้อกาํ หนดเกี�ยวกบั การเปิดเผยขอ้ มลู การทาํ รายการเกี�ยวโยงกัน
และการไดม้ าหรือจาํ หนา่ ยไปซ�งึ ทรพั ยส์ ินของบรษิ ทั

ทงั� นีห� ากมีรายการระหวา่ งกนั ของบรษิ ัท เดอะ สตีล จาํ กัด (มหาชน) เกิดขึน� กับบคุ คลท�ีอาจมีความขดั แยง้ ทาง
ผลประโยชนห์ รือมสี ่วนไดเ้ สีย หรืออาจมีความขดั แยง้ ทางผลประโยชน์ ท�ไี ม่ใชก่ รณีการคา้ ปกติ บรษิ ัทจะใหค้ ณะกรรมการ
ตรวจสอบ เป็นผใู้ หค้ วามเห็นเกี�ยวกบั ราคา อตั ราค่าตอบแทน รวมทง�ั ความจาํ เป็นและความเหมาะสมของรายการนน�ั ใน
กรณีท�ีคณะกรรมการตรวจสอบไม่มคี วามชาํ นาญในการพิจารณารายการระหว่างกนั ท�ีอาจเกดิ ขึน� บรษิ ัทจะใหผ้ ปู้ ระเมิน
ราคาอิสระ หรือผู้เช�ียวชาญเฉพาะด้านนั�นๆเป็นผู้ให้ความเห็นเก�ียวกับรายการระหว่างกันดังกล่าว เพ�ือนํามาใช้
ประกอบการตดั สนิ ใจของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ หรือผถู้ ือหนุ้ ตามแต่กรณี ทงั� นบี� ริษัทจะเปิดเผยรายการ
ระหว่างกันไวใ้ นหมายเหตุประกอบงบการเงนิ แบบแสดงรายการขอ้ มลู ประจาํ ปี (แบบ 56-1) และรายงานประจาํ ปีของ
บรษิ ทั (แบบ 56-2)

รายงานประจําปี 2563 33

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ ประจาํ ปี 2563
คณะกรรมการตรวจสอบของบรษิ ัท เดอะ สตีล จาํ กดั (มหาชน) ประกอบดว้ ยกรรมการอิสระ จาํ นวน 3

ท่าน ไดแ้ ก่ นายมนู เลียวไพโรจน์ เป็นประธานคณะกรรมการตรวจสอบ นางสีนวล ทศั นพ์ นั ธุ์ และนายธีระพงษ์
ธนารกั ษ์วฒุ กิ ร เป็นกรรมการตรวจสอบ ซ�งึ มีคณุ สมบตั คิ รบถว้ นตามขอ้ กาํ หนด และมกี รรมการ 1 ทา่ นมีความรูแ้ ละ
ประสบการณเ์ พียงพอท�ีจะสามารถทาํ หนา้ ที�สอบทานความน่าเช�ือถือของงบการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบ ได้
ปฏิบตั ิหนา้ ท�ีตามขอบเขต หนา้ ท�ีและความรบั ผิดชอบท�ีไดร้ บั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ไดแ้ ก่ การสอบ
ทานใหบ้ ริษัทมีการรายงานทางการเงินอย่างถูกตอ้ งและเพียงพอ รวมทั�งสอบทานใหบ้ ริษัทมีระบบการควบคุม
ภายในและระบบการตรวจสอบภายในท�เี หมาะสมและมีประสิทธิภาพ รวมทงั� ดแู ลใหบ้ ริษัทปฏิบตั ิตามขอ้ กาํ หนด
ของตลาดหลกั ทรพั ยแ์ ห่งประเทศไทย

ในปี 2563 คณะกรรมการตรวจสอบ ไดจ้ ัดใหม้ ีการประชุมทง�ั สิน� 4 ครงั� ทง�ั นีไ� ดป้ ระชมุ รว่ มกบั ผบู้ ริหาร
ระดบั สงู ผสู้ อบบญั ชี และผตู้ รวจสอบภายใน ตามวาระอนั สมควร ซง�ึ การประชมุ ทกุ ครงั� คณะกรรมการตรวจสอบได้
รายงาน แสดงความเหน็ และใหข้ อ้ เสนอแนะอย่างอสิ ระสรุปสาระสาํ คญั สรุปไดด้ งั นี�

 สอบทานงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจําปี 2563 ไดพ้ ิจารณาสอบทานงบการเงินรายไตรมาส และงบการเงินประจาํ ปี 2563 โดยได้
สอบถามและรบั ฟังคาํ ชีแ� จงจากผบู้ ริหารและผสู้ อบบญั ชี เพ�ือใหม้ �นั ใจว่ารายงานการเงินของบริษัทและบริษัทย่อย ไดจ้ ดั ทาํ ขึน� อย่างถกู ตอ้ งตามท�ีควรใน
สาระสาํ คญั ตามหลกั การบญั ชที �รี บั รองท�วั ไปและกฎระเบียบทเ�ี ก�ยี วขอ้ ง รวมทง�ั ไดร้ ว่ มพิจารณาและใหใ้ นการตดั สนิ ใจการเขา้ ทาํ รายการไดม้ าและจาํ หนา่ ย
ไปซ�งึ ทรพั ยส์ ินในระหวา่ งปี และดแู ลการเปิดเผยขอ้ มลู ในงบการเงนิ อยา่ งเพยี งพอและทนั เวลา เพอ�ื เป็นโยชนต์ อ่ นกั ลงทนุ และผใู้ ชง้ บการเงนิ ในการตดั สินใจ
ลงทนุ

 สอบทานระบบควบคมุ ภายในและระบบการตรวจสอบภายใน สอบทานผลการปฏิบตั ิงาน ผลการตรวจสอบ ขอ้ เสนอแนะ และความคืบหนา้ ของการ
ดาํ เนินการเป็นประจาํ ทุกไตรมาส เพื�อใหผ้ ลการดาํ เนินงานของบริษัทฯ บรรลุวตั ถุประสงคข์ องการควบคุมภายในอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ซง�ึ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า บริษัทฯ มีระบบควบคมุ ภายในอย่างเพยี งพอและเหมาะสม

 การปฏิบัติตามข้อกาํ หนดและกฎหมายทเ�ี ก�ยี วข้อง เพอ�ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั หลกั การกาํ กบั ดแู ลกิจการท�ดี ี คณะกรรมการตรวจอบไดส้ อบทานกระบวนการ
จดั การเพ�อื ใหเ้ ป็นไปตามกฎหมายและกฎระเบียบขอ้ บงั คบั ตา่ งๆ ทีเ� ก�ยี วขอ้ งกบั ธุรกจิ ของบรษิ ทั ฯ เพอื� ก่อใหเ้ กิดความเช�ือม�นั แก่ผถู้ อื หนุ้ และนกั ลงทนุ

 พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งต�ังและสอบทานค่าตอบแทนผู้สอบบัญชีของบริษัท ประจําปี 2563 คณะกรรมการตรวจสอบไดพ้ ิจารณาความเป็น
อสิ ระ ผลงานและประสบการณข์ องผเู้ สนอตวั เป็นผสู้ อบบญั ชี และความเหมาะสมของค่าตอบแทน จึงมีมติเสนอตอ่ คณะกรรมการบริษัทเพื�อพิจารณาให้
ความเห็นชอบและเพื�อขออนุมตั ิจากท�ีประชุมผถู้ ือหุ้น เพ�ือพิจารณาแต่งตั�ง นางสาววรรญา พุทธเสถียร ผสู้ อบบัญชีรบั อนุญาตเลขทะเบียน 4387 หรือ
นายเชิดสกุล อน้ มงคล ผสู้ อบบญั ชีรบั อนญุ าตเลขทะเบียน 7195 หรือนางสาววราภรณ์ อินทรประสิทธิ� ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตเลขทะเบียน 7881 หรือ
นางสาวจนั ทรา วอ่ งศรีอดุ มพร ผสู้ อบบญั ชีรบั อนุญาตเลขทะเบียน 4996 หรือ นางสาวชลทิชา เลิศวไิ ล ผสู้ อบบญั ชีรบั อนญุ าตเลขทะเบียน 12258 หรือ
นางสาววราภรณ์ พันธภ์ ักดีนุพงษ์ ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตเลขทะเบียน 12261 แห่งบริษัท ซี ดับเบิล� ยู ดับเบิล� ยู พี จาํ กัด คนใดคนหน�ึงเป็นผูท้ าํ การ
ตรวจสอบและแสดงความเห็นต่องบการเงินของบริษัท และบริษัทย่อย พรอ้ มกําหนดอัตราค่าสอบบัญชีของบริษัท และบริษัทย่อย ภายในวงเงิน
3,580,000 บาท

 สอบทานรายการทม�ี ีความเกี�ยวโยงกนั หรือรายการทอ�ี าจมีความขดั แยง้ ทางผลประโยชน์ คณะกรรมการตรวจสอบไดส้ อบทานใหค้ วามเหน็ ชอบการ
จดั ทาํ รายการทีอ� าจทาํ ใหเ้ กิดความขดั แยง้ ทางผลประโยชน์ และเพ�อื ใหม้ �นั ใจวา่ บรษิ ทั ฯ ไดด้ าํ เนนิ การตามเง�อื นไขธรุ กจิ ปกติ และเห็นวา่ มรี ายการดงั กล่าวมี
ความสมเหตสุ มผล และกอ่ ใหเ้ กิดประโยชนส์ งู สดุ ตามนโยบายบรษิ ัท

โดยสรุปภาพรวมแลว้ คณะกรรมการตรวจสอบ ไดป้ ฏิบตั ิหนา้ ที�ครบถว้ นตามระบไุ วใ้ นกฎบตั รคณะกรรมการตรวจสอบที�ไดร้ บั อนมุ ตั ิจากคณะกรรมการบริษัท
และไดใ้ หข้ อ้ เสนอแนะต่างๆ แก่ทุกฝ่ ายอย่างตรงไปตรงมา และใหค้ วามสาํ คญั กับการบริหารงานตามหลักการบรรษัทภิบาลที�ดี มีการปฏิบตั ิตามกฎหมาย
ขอ้ กาํ หนดและขอ้ ผกู พนั ตา่ งๆ อย่างเหมาะสมเพอ�ื ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายขององคก์ ร

ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ

นายมนู เลียวไพโรจน์
ประธานกรรมการตรวจสอบ

34 บริษัท เดอะ สตีล จํากัด (มหาชน)

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการตอ่ รายงานทางการเงนิ

คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินของบริษัท เดอะ สตีล จํากัด (มหาชน) รวมถึงข้อมูล
สารสนเทศทางการเงินท�ีปรากฏในรายงานประจาํ ปี งบการเงินดงั กลา่ วจดั ทาํ ขนึ� ตามมาตรฐานการทาํ บญั ชที �ีรบั รองท�วั ไป
โดยเลือกใชน้ โยบายบญั ชีท�ีเหมาะสมและถือปฏิบตั ิอย่างสม�าํ เสมอ และใชด้ ลุ ยพินิจอย่างระมดั ระวงั ในการจดั ทาํ รวมทงั�
ใหม้ กี ารเปิดเผยขอ้ มลู ท�สี าํ คญั อย่างเพียงพอในหมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน เพ�อื ใหเ้ ป็นประโยชนต์ อ่ ผถู้ ือหนุ้ และนกั ลงทนุ
อยา่ งโปรง่ ใส

คณะกรรมการบรษิ ัทไดจ้ ดั ใหม้ ีระบบบริหารความเสี�ยงและระบบควบคมุ ภายในท�ีเหมาะสมและมีปะสิทธิภาพ
เพ�ือใหไ้ ดค้ วามม�นั ใจอย่างมีเหตุผลว่าขอ้ มูลของบริษัทมีความถูกตอ้ งครบถว้ นเพียงพอท�ีจะดาํ รงรกั ษาไวซ้ �ึงทรพั ยส์ ิน
ตลอดจนเพ�อื ไม่ใหเ้ กิดการทจุ รติ หรือการดาํ เนนิ งานท�ผี ิดปกติอย่างมีสาระสาํ คญั

คณะกรรมการบริษัทไดแ้ ต่งตัง� คณะกรรมการตรวจสอบเพ�ือทาํ หนา้ ท�ีสอบทานนโยบายการบัญชีและความ
ถกู ตอ้ งของรายงานทางการเงิน สอบทานระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน ตลอดจนระบบการบรหิ าร
ความเส�ยี ง โดยเร�ืองนปี� รากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบซ�งึ แสดงไวใ้ นรายงานประจาํ ปีแลว้

งบการเงินของบรษิ ทั ไดร้ บั การตรวจสอบโดยผสู้ อบบญั ชีรบั อนญุ าตของบรษิ ัท ซี ดบั เบิล� ยู ดบั เบลิ� ยู พี จาํ กดั ใน
การตรวจสอบนน�ั ทางคณะกรรมการบรษิ ัทไดใ้ หค้ วามรว่ มมือและสนบั สนนุ ขอ้ มลู เอกสารตา่ งๆ เพ�อื ใหผ้ สู้ อบบญั ชสี ามารถ
ตรวจสอบและแสดงความเหน็ ไดอ้ ยา่ งอสิ ระและเป็นไปตามมาตรฐานการสอบบญั ชีท�วั ไป โดยความเห็นของผสู้ อบบญั ชีได้
ปรากฏในรายงานของผสู้ อบบญั ชซี ง�ึ แสดงไวใ้ นรายงานประจาํ ปีแลว้

คณะกรรมการมีความเห็นว่าระบบควบคุมภายในของบริษัทโดยรวมอย่ใู นระดับท�ีน่าพอใจ และสามารถสรา้ ง
ความเช�ือม�ันอย่างมีเหตุผลไดว้ ่างบการเงินของบริษัท เดอะ สตีล จาํ กัด (มหาชน) สาํ หรบั ปีสิน� สดุ 31 ธันวาคม 2563
มคี วามน่าเช�ือถือ โดยปฏบิ ตั ถิ กู ตอ้ งตามกฎหมายและกฎระเบียบท�เี ก�ียวขอ้ ง

นายมนู เลยี วไพโรจน์ นายบญุ ชยั จริ ะพงษต์ ระกลู
ประธานกรรมการ ประธานเจา้ หนา้ ท�บี รหิ าร

รายงานประจําปี 2563 35

การวเิ คราะหฐ์ านะการเงนิ และผลการดาํ เนินงาน

ตารางอัตราสว่ นทางการเงนิ ทส�ี าํ คญั งบการเงนิ รวม งบการเงนิ เฉพาะกจิ การ
2563 2562 2561 2563 2562 2561

อตั ราสว่ นสภาพคล่อง (เท่า) 1.00 1.00 0.98 1.09 1.07 1.09
อตั ราสว่ นสภาพคลอ่ ง (เท่า)
อตั ราสว่ นสภาพคลอ่ งหมนุ เร็ว (เทา่ ) 0.63 0.60 0.59 0.62 0.60 0.58
อตั ราสว่ นสภาพคลอ่ งกระแสเงินสด (เทา่ )
อตั ราสว่ นหมนุ เวียนลกู หนีก� ารคา้ (วัน) 0.32 0.06 (0.06) 0.32 0.002 (0.04)
ระยะเวลาเกบ็ หนีเ� ฉลยี� (เท่า)
อตั ราสว่ นหมนุ เวียนสนิ คา้ คงเหลอื (วัน) 4.00 4.96 6.84 3.98 4.68 6.97
ระยะเวลาขายสนิ คา้ เฉลยี� (เท่า)
อตั ราสว่ นหมนุ เวียนเจา้ หนี� (วัน) 89.97 72.56 52.63 90.45 76.92 51.67
ระยะเวลาชาํ ระหนี� (วัน)
Cash Cycle 6.24 7.75 6.38 6.20 7.28 6.44
(%)
อตั ราสว่ นแสดงความสามารถในการหากาํ ไร (%) 57.66 46.45 56.44 58.05 49.43 55.87
(%)
อตั รากาํ ไรขัน� ตน้ (%) 27.05 39.12 17.10 27.30 37.91 16.03
อตั รากาํ ไรจากการดาํ เนินงาน (%)
อตั รากาํ ไรอ�นื (%) 13.31 9.20 21.05 13.19 9.50 22.46
อตั ราสว่ นเงินสดต่อการทาํ กาํ ไร
อตั รากาํ ไร (ขาดทนุ ) สทุ ธิ (%) 134.32 109.80 88.02 135.31 116.85 85.08
อตั ราผลตอบแทนผถู้ อื หุน้ (%)
(เท่า) 3.97 2.79 2.80 3.38 1.50 1.74
อตั ราสว่ นแสดงประสทิ ธิภาพในการดาํ เนินงาน 1.10 0.99 (0.62) (1.31) (0.07) 0.92
(เทา่ ) 0.19 2.07 0.50 0.41 0.86 0.81
อตั ราผลตอบแทนจากสนิ ทรพั ย์ (เท่า) 1,218.32 192.79 292.62 (1,014.89) (127.19) (131.42)
อตั ราผลตอบแทนจากสนิ ทรพั ยถ์ าวร (เท่า) (1.77) 2.02 (0.89) (2.03) 0.02 0.77
อตั ราการหมนุ ของสนิ ทรพั ย์ (%) (7.77) 12.32 (5.73) (8.83) 0.12 4.66
อตั ราส่วนวิเคราะหน์ โยบายทางการเงนิ (บาท)
อตั ราสว่ นหนีส� นิ ต่อสว่ นของผถู้ อื หุน้ (บาท) (2.73) 4.07 (1.86) (3.12) 0.04 1.59
อตั ราสว่ นความสามารถชาํ ระดอกเบยี�
(%) (3.50) 25.77 (0.42) (7.86) 7.43 16.25
อัตราส่วนความสามารถชาํ ระภาระผกู พัน (Cash Basis) (%)
(%) 1.55 2.01 2.09 1.54 1.83 2.05
อตั ราการจา่ ยเงินปันผล (%)
กาํ ไร (ขาดทนุ ) ต่อหุน้ (%) 1.68 1.98 2.06 1.70 1.95 1.78
มลู ค่าตามบญั ชีสทุ ธิต่อหุน้
อตั ราสว่ นการเจริญเตบิ โต 15.17 1.21 (2.98) 15.40 (0.91) (2.77)
สนิ ทรพั ย์
หนีส� นิ รวม 23.05 1.80 (1.17) 22.50 0.07 (0.89)
รายไดร้ วม
ค่าใชจ้ า่ ยดาํ เนินงาน 29.17 46.39 65.92
กาํ ไร(ขาดทนุ ) สทุ ธิ
(0.11) 0.20 (0.09) (0.13) 0.002 0.08

1.46 1.63 1.52 1.45 1.63 1.71

(18.76) 4.39 (11.26) (18.35) 0.99 (10.18)
(23.36) 2.93 (11.45) (22.28) 4.20 (14.71)
(28.93) (7.44) (17.80) (23.25) (15.41) (11.72)
(27.84) (10.35) (16.19) (21.94) (14.61) (12.10)
162.26 310.47 (147.41) 7,140.19 97.58 (54.60)

36 บริษัท เดอะ สตีล จํากัด (มหาชน)

คาํ อธิบายและการวเิ คราะหผ์ ลการดาํ เนนิ งานและฐานะทางการเงนิ
ผลการดาํ เนินงานและฐานะทางการเงนิ ของบรษิ ทั เดอะ สตีล จาํ กดั (มหาชน) ในปี 2563 เทยี บกบั ปี 2562 เป็น

ดงั นี�
งบกาํ ไรขาดทนุ เบด็ เสรจ็
ผลการดาํ เนินงานสาํ หรบั ปี 2563 กลุ่มบริษัทฯ มีรายไดร้ วมทั�งสิน� 7,445.91 ลา้ นบาท เทียบกับปี 2562 ท�ีมี

รายไดร้ วม 10,280.69 ลา้ นบาท รายไดร้ วมลดลง 2,834.78 ลา้ นบาท หรือลดลงรอ้ ยละ 27.57 มูลค่าขายท�ีลดลงอย่าง
มาก มาจากปรมิ าณการขายเหล็กท�ีลดลงประมาณรอ้ ยละ 26.28 ซ�งึ ไดร้ บั ผลกระทบจาก COVID-19 และราคาขายลดลง
ประมาณรอ้ ยละ 1.29 แต่เน�ืองจากราคาตน้ ทนุ สินคา้ ท�ีบรษิ ัทมีอย่กู ็ลดลงมากเช่นกนั ทาํ ใหย้ งั มีกาํ ไรขนั� ตน้ 295.25 ลา้ น
บาท เพ�มิ ขึน� จากปี 2562 ประมาณ 35.43 ลา้ นบาท

ในดา้ นค่าใชจ้ า่ ยขายและบรหิ าร ในปี 2563 มีจาํ นวนทง�ั สนิ� 192.59 ลา้ นบาท เทยี บกบั ปี 2562 ท�มี ียอดรวม
195.20 ลา้ นบาท ลดลง 2.61 ลา้ นบาท เน�ืองจากค่านายหนา้ ลดลงจากปรมิ าณการขายท�ีลดลง สาํ หรบั ตน้ ทุนการเงินมี
ยอดลดลงจากปี 2562 ท�ีมียอด 74.16 ลา้ นบาท เป็น 57.98 ลา้ นบาท ลดลง 16.18 ลา้ นบาท เน�ืองจากมีการใชส้ ินเช�ือ
ระยะสนั� ลดลงในระหวา่ งปี รวมทงั� อตั ราดอกเบยี� ลดลงมาในชว่ งไตรมาส 3 และ 4 ของปี และในปีนมี� รี ายการพเิ ศษ คอื ตงั�
สาํ รองดอ้ ยค่าลกู หนีเ� พิ�มขึน� ตามเกณฑ์มาตรฐานรายงานทางการเงินใหม่ TFRS-9 จาํ นวน 20.60 ลา้ นบาท ในขณะท�ีปี
2562 เป็นการกลบั รายการโอนกลับจาํ นวน 37.62 ลา้ นบาท การรบั รูผ้ ลกาํ ไร (ขาดทุน) จากบรษิ ัทรว่ มเป็นยอดขาดทุน
89.30 ลา้ นบาท ในปี 2563 ในขณะท�ปี ี 2562 เป็นการรบั รูก้ าํ ไรจาํ นวน 154.86 ลา้ นบาท

หลังจากหักค่าใชจ้ ่ายทุกประเภทและภาษีเงินไดแ้ ล้ว บริษัทฯ มียอดผลการดาํ เนินงานประจาํ ปี 2563 เป็น
ขาดทนุ สว่ นท�ีเป็นของบรษิ ัทใหญ่จาํ นวน 130.57 ลา้ นบาท เทียบกบั กาํ ไรสทุ ธิในปี 2562 จาํ นวน 215.51 ลา้ นบาท คิดเป็น
กาํ ไรลดลง 346.08 ลา้ นบาท หรอื ลดลงรอ้ ยละ 160.59

งบแสดงฐานะการเงนิ
ณ วนั ท�ี 31 ธันวาคม 2563 กล่มุ บริษัทฯ มีฐานะการเงินประกอบดว้ ย สินทรพั ย์รวม มียอด 4,325.47 ลา้ นบาท
เทยี บกับ ณ เวลาเดียวกันของปี 2562 ซ�งึ มียอด 5,324.63 ลา้ นบาท สินทรพั ยล์ ดลงประมาณ 999.16 ลา้ นบาท เน�ืองจาก
ขายลดลงมาก ทาํ ใหล้ ดการส�งั ซือ� ส่งผลใหส้ ินคา้ คงคลงั ลดลงประมาณ 350 ลา้ นบาท การเก็บเงินยงั เก็บไดส้ ม�าํ เสมอ
ส่งผลใหย้ อดลกู หนลี� ดลงประมาณ 520 ลา้ นบาท และเกิดมลู คา่ เงนิ ลงทนุ ในบริษัทรว่ มดอ้ ยค่าลดลงประมาณเกือบ 100
ลา้ นบาท
ดา้ นหนีส� ินรวมมีสัดส่วนลดลงจาก 3,533.68 ลา้ นบาท ในปี 2562 เป็นยอด 2,708.14 ลา้ นบาท ในปี 2563
ลดลง 825.54 ลา้ นบาท เน�ืองจากการใชส้ ินเช�ือระยะสนั� ลดลงมาก ส่งผลใหอ้ ตั ราส่วนหนีส� ินต่อส่วนของผูถ้ ือหุน้ ลดจาก
1.98 เทา่ ณ 31 ธันวาคม 2562 เป็น 1.68 เท่า ณ 31 ธันวาคม 2563

รายงานประจําปี 2563 37

รายงานของผ้สู อบบัญชีรับอนุญาต

เสนอต่อผถู้ ือหุน้ และคณะกรรมการของบริษทั เดอะ สตีล จาํ กดั (มหาชน)

ความเหน็
ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมของบริษทั เดอะ สตีล จาํ กัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย

( “กลุ่มบริษทั ” ) และงบการเงินเฉพาะกิจการของเฉพาะบริษทั เดอะ สตีล จาํ กัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ”)
ตามลาํ ดับ ซ�ึงประกอบดว้ ย งบแสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วนั ท�ี 31
ธันวาคม 2563 งบกาํ ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมและงบกาํ ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเฉพาะกิจการ งบแสดงการ
เปล�ียนแปลงส่วนของผูถ้ ือหุ้นรวม และงบแสดงการเปล�ียนแปลงส่วนของผูถ้ ือหุ้นเฉพาะกิจการ และงบ
กระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการสําหรับปี สิ�นสุดวนั เดียวกนั และหมายเหตุประกอบงบ
การเงินรวมและหมายเหตุประกอบ งบการเงินเฉพาะกิจการ รวมถึงหมายเหตุสรุปนโยบายการบญั ชีท�ีสาํ คญั

ขา้ พเจา้ เห็นวา่ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการขา้ งตน้ น�ีแสดงฐานะการเงินรวมของ
บริษทั เดอะ สตีล จาํ กดั (มหาชน) และบริษทั ยอ่ ย และฐานะการเงินเฉพาะกิจการของเฉพาะบริษทั เดอะ สตีล
จาํ กดั (มหาชน) ตามลาํ ดบั ณ วนั ท�ี 31 ธนั วาคม 2563 และผลการดาํ เนินงานรวมและผลการดาํ เนินงานเฉพาะ
กิจการ และกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สาํ หรับปี สิ�นสุดวนั เดียวกนั โดยถูกตอ้ งตามท�ี
ควรในสาระสาํ คญั ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

เกณฑ์ในการแสดงความเห็น
ขา้ พเจา้ ไดป้ ฏิบตั ิงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบญั ชี ความรับผิดชอบของขา้ พเจา้ ได้

กล่าวไวใ้ นวรรคความรับผิดชอบของผูส้ อบบญั ชีต่อการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ
กิจการในรายงานของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามีความเป็ นอิสระจากกลุ่มบริษทั และบริษทั ฯ ตามข้อกําหนด
จรรยาบรรณของ ผูป้ ระกอบวิชาชีพบัญชีที�กาํ หนดโดยสภาวิชาชีพบัญชีในส่วนท�ีเกี�ยวกับการ
ตรวจสอบงบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ และขา้ พเจา้ ไดป้ ฏิบตั ิตามความรับผิดชอบดา้ น
จรรยาบรรณอื�น ๆ ซ�ึงเป็ นไปตามขอ้ กาํ หนดเหล่าน�ี ขา้ พเจ้าเช�ือว่าหลกั ฐานการสอบบญั ชีที�ขา้ พเจ้าไดร้ ับ
เพียงพอและเหมาะสมเพอ�ื ใชเ้ ป็นเกณฑใ์ นการแสดงความเห็นของขา้ พเจา้

38 บริษัท เดอะ สตีล จํากัด (มหาชน)

เร�ืองสําคญั ในการตรวจสอบ
เร�ืองสําคญั ในการตรวจสอบคือเร�ืองต่าง ๆ ที�มีนัยสําคญั ท�ีสุดตามดุลยพินิจเยี�ยงผูป้ ระกอบ

วิชาชีพ ของขา้ พเจา้ ในการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการสําหรับงวดปัจจุบนั

ขา้ พเจา้ ไดน้ าํ เรื�องเหลา่ น�ีมาพิจารณาในบริบทของการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
โดยรวมและ ในการแสดงความเห็นของขา้ พเจา้ ท�งั น�ี ขา้ พเจา้ ไม่ไดแ้ สดงความเห็นแยกต่างหาก

สาํ หรับเรื�องเหล่าน�ี
รายไดจ้ ากการขาย

กลุ่มบริษทั รับรู้รายไดจ้ ากการขายตามนโยบายการบญั ชีที�เปิ ดเผยไวใ้ นหมายเหตุประกอบ

งบการเงินขอ้ 5.17 เน�ืองจากรายไดจ้ ากการขายเป็ นรายการบญั ชีท�ีมีมูลค่าที�เป็ นสาระสําคญั ต่องบการเงิน

อย่างมาก และเป็ นรายการท�ีส่งผลกระทบต่อผลการดาํ เนินงานของกลุ่มบริษทั โดยตรง นอกจากน�ี กลุ่ม
บริษทั มีรายการขายท�งั ในประเทศและต่างประเทศ โดยมีเงื�อนไขทางการคา้ ที�แตกต่างกนั ดงั น�นั ขา้ พเจา้ จึง
ใหค้ วามสาํ คญั ตอ่ การรับรู้รายไดจ้ ากการขายของกลมุ่ บริษทั โดยเฉพาะเร�ืองงวดเวลาการรับรู้รายได้

ขา้ พเจา้ ไดป้ ระเมินและทดสอบระบบการควบคุมภายในของกลุ่มบริษทั ที�เก�ียวขอ้ งกบั วงจร

รายได้ โดยสอบถามผรู้ ับผิดชอบ ทาํ ความเขา้ ใจและเลือกตวั อยา่ งมาสุ่มทดสอบการปฏิบตั ิตามการควบคุม

สําคญั ท�ีกลุ่มบริษทั ออกแบบไว้ ขา้ พเจา้ ไดส้ ุ่มตรวจสอบเอกสารประกอบรายการขายที�เกิดข�ึนในระหว่างปี
และในช่วงใกลส้ ิ�นรอบระยะเวลาบญั ชี สอบทานใบลดหน�ีที�กลุ่มบริษทั ออกภายหลงั วนั สิ�นรอบระยะเวลา
บญั ชี และวิเคราะห์เปรียบเทียบขอ้ มูลบญั ชีรายไดจ้ ากการขายสินคา้

ข้อมูลอ�ืน
ผูบ้ ริหารเป็ นผูร้ ับผิดชอบต่อข้อมูลอื�น ขอ้ มูลอื�นประกอบด้วย ข้อมูลซ�ึงรวมอยู่ในรายงาน

ประจาํ ปี แต่ไม่รวมถึงงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการและรายงานของผูส้ อบบัญชีท�ีอยู่ใน

รายงานประจาํ ปี น�นั ซ�ึงคาดว่ารายงานประจาํ ปี จะถูกจดั เตรียมให้ขา้ พเจา้ ภายหลงั วนั ท�ีในรายงานของผสู้ อบ
บญั ชีน�ี

ความเห็นของขา้ พเจา้ ต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการไม่ครอบคลุมถึงขอ้ มูลอ�ืน
และขา้ พเจา้ ไม่ไดใ้ หค้ วามเชื�อมน�ั ตอ่ ขอ้ มูลอื�น

ความรับผิดชอบของขา้ พเจา้ ที�เกี�ยวเนื�องกบั การตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ
กิจการ คือ การอ่านและพิจารณาว่าขอ้ มูลอื�นมีความขดั แยง้ ที�มีสาระสําคญั กบั งบการเงินรวมและงบการเงิน
เฉพาะกิจการหรือกบั ความรู้ที�ไดร้ ับจากการตรวจสอบของขา้ พเจา้ หรือปรากฏวา่ ขอ้ มลู อ�ืนมีการแสดงขอ้ มูล
ที�ขดั ต่อขอ้ เทจ็ จริงอนั เป็นสาระสาํ คญั หรือไม่

เมื�อขา้ พเจา้ ไดอ้ ่านรายงานประจาํ ปี หากขา้ พเจา้ สรุปไดว้ ่ามีการแสดงขอ้ มูลที�ขดั ต่อขอ้ เทจ็ จริง
อนั เป็นสาระสาํ คญั ขา้ พเจา้ ตอ้ งส�ือสารเร�ืองดงั กลา่ วกบั ผมู้ ีหนา้ ท�ีในการกาํ กบั ดูแลและขอใหท้ าํ การแกไ้ ข

รายงานประจําปี 2563 39

ความรับผิดชอบของผ้บู ริหารและผ้มู หี น้าท�ีในการกาํ กบั ดูแลต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกจิ การ
ผูบ้ ริหารมีหน้าท�ีรับผิดชอบในการจดั ทาํ และนําเสนองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ

กิจการเหลา่ น�ีโดยถกู ตอ้ งตามท�ีควรตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และรับผดิ ชอบเกี�ยวกบั การควบคุม
ภายใน ที�ผูบ้ ริหารพิจารณาว่าจาํ เป็ นเพ�ือให้สามารถจดั ทาํ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการท�ี
ปราศจาก การแสดงข้อมูลท�ีขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็ นสาระสําคัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือ
ขอ้ ผิดพลาด

ในการจดั ทาํ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ผูบ้ ริหารรับผิดชอบในการประเมิน
ความสามารถของกลุ่มบริษทั และบริษทั ฯ ในการดาํ เนินงานต่อเน�ือง เปิ ดเผยเรื�องที�เกี�ยวกบั การดาํ เนินงาน
ต่อเนื�อง (ตามความเหมาะสม) และการใชเ้ กณฑก์ ารบญั ชีสําหรับการดาํ เนินงานต่อเนื�องเวน้ แต่ผูบ้ ริหารมี
ความต�งั ใจท�ีจะเลิกกลุ่มบริษทั และบริษทั ฯ หรือหยดุ ดาํ เนินงานหรือไม่สามารถดาํ เนินงานต่อเน�ืองต่อไปได้

ผมู้ ีหนา้ ที�ในการกาํ กบั ดูแลมีหนา้ ท�ีในการกาํ กบั ดูแลกระบวนการในการจดั ทาํ รายงานทางการเงิน
ของกลุ่มบริษทั และบริษทั ฯ

ความรับผดิ ชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกจิ การ
การตรวจสอบของขา้ พเจา้ มีวตั ถุประสงคเ์ พ�ือใหไ้ ดค้ วามเช�ือมนั� อยา่ งสมเหตสุ มผลวา่ งบการเงิน

รวมและงบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวมปราศจากการแสดงขอ้ มูลที�ขดั ต่อขอ้ เท็จจริงอนั เป็ นสาระสําคญั
หรือไม่ ไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริตหรือขอ้ ผิดพลาด และเสนอรายงานของผสู้ อบบญั ชีซ�ึงรวมความเห็นของ
ขา้ พเจา้ อยดู่ ว้ ย ความเช�ือมนั� อยา่ งสมเหตุสมผลคอื ความเชื�อมนั� ในระดบั สูงแต่ไมไ่ ดเ้ ป็นการรับประกนั ว่าการ
ปฏิบตั ิงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบญั ชีจะสามารถตรวจพบขอ้ มูลที�ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็ น
สาระสําคญั ที�มีอยู่ไดเ้ สมอไป ขอ้ มูลท�ีขดั ต่อขอ้ เท็จจริงอาจเกิดจากการทุจริตหรือขอ้ ผิดพลาดและถือว่ามี
สาระสําคญั เม�ือคาดการณ์ไดอ้ ย่างสมเหตุสมผลว่ารายการที�ขดั ต่อขอ้ เท็จจริงแต่ละรายการหรือทุกรายการ
รวมกนั จะมีผลต่อการตดั สินใจทางเศรษฐกิจของผใู้ ชง้ บการเงินรวและงบการเงินเฉพาะกิจการจากการใชง้ บ
การเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเหล่าน�ี

ในการตรวจสอบของขา้ พเจา้ ตามมาตรฐานการสอบบญั ชีขา้ พเจา้ ใช้ดุลยพินิจและการสังเกต
และสงสยั เยย�ี งผปู้ ระกอบวชิ าชีพตลอดการตรวจสอบ การปฏิบตั ิงานของขา้ พเจา้ รวมถึง

 ระบุและประเมินความเสี�ยงจากการแสดงขอ้ มูลท�ีขดั ต่อขอ้ เท็จจริงอนั เป็ นสาระสําคญั ในงบ
การเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริตหรือขอ้ ผิดพลาด ออกแบบและปฏิบตั ิงาน
ตามวิธีการตรวจสอบเพื�อตอบสนองต่อความเสี�ยงเหล่าน�ัน และได้หลกั ฐานการสอบบญั ชีที�เพียงพอและ
เหมาะสมเพ�ือเป็นเกณฑใ์ นการแสดงความเห็นของขา้ พเจา้ ความเสี�ยงที�ไม่พบขอ้ มูลท�ีขดั ต่อขอ้ เท็จจริงอนั
เป็นสาระสาํ คญั ซ�ึงเป็นผลมาจากการทุจริตจะสูงกวา่ ความเสี�ยงท�ีเกิดจากขอ้ ผดิ พลาด เน�ืองจากการทจุ ริตอาจ
เก�ียวกับการสมรู้ร่วมคิด การปลอมแปลงเอกสารหลกั ฐาน การต�งั ใจละเวน้ การบนั ทึกรายการหรือแสดง
ขอ้ มลู การแสดงขอ้ มลู ที�ไมต่ รงตามขอ้ เทจ็ จริงหรือการแทรกแซงการควบคมุ ภายใน

40 บริษัท เดอะ สตีล จํากัด (มหาชน)

 ทาํ ความเขา้ ใจในระบบการควบคุมภายในท�ีเก�ียวขอ้ งกบั การตรวจสอบ เพ�ือออกแบบวิธีการ
ตรวจสอบ ที� เหมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพ�ือวตั ถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อความมี
ประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกลุ่มบริษทั และบริษทั ฯ

 ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที�ผูบ้ ริหารใช้และความสมเหตุสมผลของ
ประมาณการทางบญั ชีและการเปิ ดเผยขอ้ มูลที�เก�ียวขอ้ งซ�ึงจดั ทาํ ข�นึ โดยผบู้ ริหาร

 สรุปเกี�ยวกับความเหมาะสมของการใช้เกณฑ์การบัญชีสําหรับการดาํ เนินงานต่อเนื�องของ
ผูบ้ ริหารและจากหลักฐานการสอบบัญชีที�ได้รับ สรุปว่ามีความไม่แน่นอนท�ีมีสาระสําคัญที�เกี�ยวกับ

เหตุการณ์หรือสถานการณ์ท�ีอาจเป็ นเหตุให้เกิดขอ้ สงสัยอย่างมีนัยสําคญั ต่อความสามารถของกลุ่มบริษทั
และบริษทั ฯ ในการดาํ เนินงานต่อเน�ืองหรือไม่ ถา้ ขา้ พเจา้ ไดข้ อ้ สรุปว่ามีความไม่แน่นอนที�มีสาระสําคัญ
ขา้ พเจ้าตอ้ งกล่าวไวใ้ นรายงานของผูส้ อบบัญชีของขา้ พเจ้าโดยให้ขอ้ สังเกตถึงการเปิ ดเผยข้อมูลในงบ
การเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการที�เกี�ยวขอ้ ง หรือถา้ การเปิ ดเผยขอ้ มูลดงั กล่าวไม่เพียงพอ ความเห็น
ของขา้ พเจา้ จะเปลี�ยนแปลงไป ขอ้ สรุปของขา้ พเจา้ ข�ึนอยู่กบั หลกั ฐานการสอบบญั ชีท�ีไดร้ ับจนถึงวนั ท�ีใน
รายงานของผสู้ อบบญั ชีของขา้ พเจา้ อยา่ งไรก็ตาม เหตุการณ์หรือสถานการณ์ในอนาคตอาจเป็ นเหตุให้กลุ่ม
บริษทั และบริษทั ฯ ตอ้ งหยดุ การดาํ เนินงานตอ่ เน�ือง

 ประเมินการนําเสนอโครงสร้างและเน�ือหาของงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
โดยรวม รวมถึงการเปิ ดเผยขอ้ มูลวา่ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงรายการและเหตุการณ์
ในรูปแบบที�ทาํ ใหม้ ีการนาํ เสนอขอ้ มลู โดยถูกตอ้ งตามท�ีควรหรือไม่

 ไดร้ ับหลกั ฐานการสอบบญั ชีที�เหมาะสมอย่างเพียงพอเกี�ยวกบั ขอ้ มูลทางการเงินของกิจการ
ภายในกลุ่มหรือกิจกรรมทางธุรกิจภายในกลุ่มบริษัทเพื�อแสดงความเห็นต่องบการเงิน รวม ข้าพเจ้า
รับผิดชอบต่อการกาํ หนดแนวทาง การควบคุมดูแล และการปฏิบตั ิงานตรวจสอบกลุ่มบริษทั ขา้ พเจา้ เป็ น
ผรู้ ับผิดชอบแต่ผเู้ ดียวตอ่ ความเห็นของขา้ พเจา้

ขา้ พเจา้ ไดส้ �ือสารกบั ผูม้ ีหนา้ ที�ในการกาํ กบั ดูแลในเรื�องต่างๆ ท�ีสาํ คญั ซ�ึงรวมถึงขอบเขตและ

ช่วงเวลาของการตรวจสอบตามที�ได้วางแผนไว้ ประเด็นที�มีนัยสําคัญที�พบจากการตรวจสอบ รวมถึง

ขอ้ บกพร่องที�มีนยั สาํ คญั ในระบบการควบคมุ ภายในหากขา้ พเจา้ พบในระหวา่ งการตรวจสอบของขา้ พเจา้
ข้าพเจ้าได้ให้คาํ รับรองแก่ผูม้ ีหน้าที�ในการกํากับดูแลว่าขา้ พเจ้าได้ปฏิบัติตามข้อกาํ หนด

จรรยาบรรณท�ีเก�ียวขอ้ งกบั ความเป็นอิสระและสื�อสารกบั ผมู้ ีหนา้ ท�ีในการกาํ กบั ดูแลเกี�ยวกบั ความสัมพนั ธ์
ท�งั หมด ตลอดจนเรื�องอ�ืนซ�ึงขา้ พเจา้ เช�ือว่ามีเหตุผลที�บุคคลภายนอกอาจพิจารณาว่ากระทบต่อความเป็ น
อิสระของขา้ พเจา้ และมาตรการท�ีขา้ พเจา้ ใชเ้ พอ�ื ป้องกนั ไมใ่ หข้ า้ พเจา้ ขาดความเป็นอิสระ

รายงานประจําปี 2563 41

จากเร�ืองที�สื�อสารกบั ผูม้ ีหนา้ ท�ีในการกาํ กบั ดูแล ขา้ พเจา้ ไดพ้ ิจารณาเรื�องต่าง ๆ ที�มีนัยสําคญั
ที�สุดในการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในงวดปัจจุบนั และกาํ หนดเป็นเรื�องสาํ คญั
ในการตรวจสอบขา้ พเจา้ ได้อธิบายเร�ืองเหล่าน�ีในรายงานของผูส้ อบบญั ชีเวน้ แต่กฎหมายหรือขอ้ บงั คบั
ไม่ใหเ้ ปิ ดเผยต่อสาธารณะเก�ียวกบั เร�ืองดงั กลา่ ว หรือในสถานการณ์ที�ยากท�ีจะเกิดข�ึน ขา้ พเจา้ พิจารณาวา่ ไม่
ควรสื�อสารเรื�องดังกล่าวในรายงานของข้าพเจ้าเพราะการกระทาํ ดังกล่าวสามารถคาดการณ์ได้อย่าง
สมเหตุสมผลว่าจะมีผลกระทบในทางลบมากกว่าผลประโยชน์ต่อส่วนได้เสียสาธารณะจากการสื�อสาร
ดงั กล่าว

(นางสาววรรญา พทุ ธเสถียร)
ผสู้ อบบญั ชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4387

บริษทั ซี ดบั เบิล� ยู ดบั เบิล� ยู พี จาํ กดั
กรุงเทพมหานคร
วนั ท�ี 24 กุมภาพนั ธ์ 2564

42 บริษัท เดอะ สตีล จํากัด (มหาชน)

สินทรัพย์ บริษทั เดอะ สตลี จาํ กดั (มหาชน) และบริษทั ย่อย งบการเงนิ เฉพาะกจิ การ
สินทรัพย์หมนุ เวยี น งบแสดงฐานะการเงนิ 31 ธันวาคม 2563 31 ธันวาคม 2562

เงินสดและรายการเทยี บเทา่ เงินสด ณ วนั ท�ี 31 ธนั วาคม 2563 บาท บาท
งบการเงนิ รวม
ลูกหน�ีการคา้ และลกู หน�ีหมนุ เวยี นอื�น
เงินใหก้ ยู้ มื ระยะส�นั แก่บริษทั ยอ่ ย หมายเหตุ 31 ธันวาคม 2563 31 ธนั วาคม 2562
สินคา้ คงเหลือ บาท บาท
เงินจา่ ยล่วงหนา้ คา่ สินคา้
6 199,383,747.95 136,673,501.41 191,915,941.08 127,018,254.21
สินทรัพยภ์ าษเี งินไดข้ องงวดปัจจบุ นั
รวมสินทรัพย์หมนุ เวยี น 7 1,496,976,527.13 2,015,037,187.02 1,476,356,644.90 1,980,464,707.41
สินทรัพย์ไม่หมุนเวยี น
เงินลงทนุ ในบริษทั ร่วม 29.2 - - 289,000,000.00 281,000,000.00
เงินลงทนุ ในบริษทั ยอ่ ย
8 978,420,371.81 1,312,025,185.46 978,420,371.81 1,312,025,185.46
อสงั หาริมทรัพยเ์ พ�ือการลงทนุ
8 733.26 842,192.00 733.26 842,192.00
ท�ีดิน อาคาร และอุปกรณ์
1,992,152.19 16,152,301.73 139,706.61 13,893,514.27
สินทรัพยส์ ิทธิการใช้ 2,676,773,532.34 3,480,730,367.62 2,935,833,397.66 3,715,243,853.35
สินทรัพยไ์ มม่ ตี วั ตนอ�ืน
9 407,768,314.88 497,070,966.14 410,930,321.90 412,000,000.00
สินทรัพยภ์ าษีเงินไดร้ อการตดั บญั ชี
สินทรัพยไ์ มห่ มนุ เวียนอ�ืน 10 - - 87,452,781.24 244,587,293.16
รวมสินทรัพย์ไม่หมนุ เวยี น
รวมสินทรัพย์ 11 132,803,287.53 136,372,158.18 132,803,287.53 136,372,158.18

12 944,519,690.94 1,089,897,174.83 669,836,321.11 708,186,138.15

13.1 84,318,307.16 - 10,061,813.31 -

14 9,045,621.38 1,226,646.85 9,010,897.08 1,161,962.95

15 35,875,026.46 98,803,906.01 34,203,444.59 57,354,074.31

34,367,544.63 20,528,262.54 30,016,059.64 16,304,282.37
1,648,697,792.98 1,843,899,114.55 1,384,314,926.40 1,575,965,909.12
4,325,471,325.32 5,324,629,482.17 4,320,148,324.06 5,291,209,762.47

หมายเหตปุ ระกอบงบการเงินเป็ นส่วนหน�ึงของงบการเงินน�ี

รายงานประจําปี 2563 43

บริษทั เดอะ สตลี จาํ กดั (มหาชน) และบริษทั ย่อย
งบแสดงฐานะการเงนิ
ณ วนั ที� 31 ธันวาคม 2563
งบการเงนิ รวม งบการเงนิ เฉพาะกจิ การ
หมายเหตุ 31 ธนั วาคม 2563 31 ธนั วาคม 2562 31 ธนั วาคม 2563 31 ธันวาคม 2562
บาท บาท
หนสี� ินและส่วนของผู้ถือหุ้น บาท บาท

หนสี� ินหมนุ เวยี น
เงินเบิกเกินบญั ชีและเงินกูย้ มื ระยะส�นั จากสถาบนั การเงิน
17 2,349,526,758.65 3,138,206,866.35 2,349,526,758.65 3,138,206,866.35
314,771,168.15 302,521,163.88
เจา้ หน�ีการคา้ และเจา้ หน�ีหมนุ เวยี นอ�ืน 18 312,820,365.10 309,086,477.02 22,401,579.03
5,046,199.53 -
เงินรับลว่ งหนา้ คา่ สินคา้ 5,046,199.53 22,401,579.03 10,449,019.68 17,500,000.00
19,640,000.00
ส่วนของหน�ีสินตามสญั ญาเช่าท�ีถึงกาํ หนดชาํ ระภายในหน�ึงปี 13.2 3,370,145.73 20,136,631.09 2,699,433,146.01 3,480,629,609.26

เงินกูย้ มื ระยะส�นั จากบริษทั ยอ่ ย 29.2 - - - -
รวมหนสี� ินหมนุ เวยี น 2,670,763,469.01 3,489,831,553.49 4,045,629.03 4,099,296.50
หนสี� ินไม่หมุนเวยี น 15,209,231.69 13,550,337.45
หน�ีสินตามสญั ญาเช่า
13.2 10,935,135.12 14,623,558.90 - -
19,254,860.72 17,649,633.95
หน�ีสินภาษเี งินไดร้ อการตดั บญั ชี 15 6,313,984.18 11,642,417.00 2,718,688,006.73 3,498,279,243.21

ประมาณการหน�ีสินไมห่ มนุ เวยี นสาํ หรับผลประโยชนพ์ นกั งาน 19 18,513,696.39 16,038,709.53

หน�ีสินไมห่ มนุ เวียนอื�น 1,617,257.00 1,546,175.00
รวมหนสี� ินไม่หมุนเวยี น 37,380,072.69 43,850,860.43
รวมหนีส� ิน 2,708,143,541.70 3,533,682,413.92
ส่วนของผู้ถือหุ้น

ทนุ เรือนหุน้ 20

ทนุ จดทะเบยี น

หุ้นสามญั 1,650,015,240 หุน้ มลู คา่ หุ้นละ 0.50 บาท 825,007,620.00 825,007,620.00 825,007,620.00 825,007,620.00

ทนุ ที�ออกและชาํ ระแลว้ 551,030,692.50 -
- 551,030,080.00
หุน้ สามญั 1,102,061,385 หุน้ มลู คา่ หุน้ ละ 0.50 บาท 551,030,692.50 - 947,941,495.95
947,945,170.95
หุ้นสามญั 1,102,060,160 หุ้น มลู คา่ หุน้ ละ 0.50 บาท - 551,030,080.00

ส่วนเกินมลู คา่ หุน้ สามญั 947,945,170.95 947,941,495.95

กาํ ไรสะสม

จดั สรรแลว้

ทนุ สาํ รองตามกฎหมาย 21 38,270,000.00 38,270,000.00 38,270,000.00 38,270,000.00

ยงั ไมไ่ ดจ้ ดั สรร 278,147,917.31 450,390,860.47 64,214,453.88 255,688,943.31

องคป์ ระกอบอ�ืนของส่วนของผถู้ ือหุ้น (203,824,430.79) (203,824,430.79) - -
รวมส่วนของผู้ถือหุ้นบริษทั ใหญ่ 1,611,569,349.97 1,783,808,005.63 1,601,460,317.33 1,792,930,519.26

ส่วนไดเ้ สียที�ไมม่ อี าํ นาจควบคมุ 5,758,433.65 7,139,062.62 - -
รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 1,617,327,783.62 1,790,947,068.25 1,601,460,317.33 1,792,930,519.26
รวมหนสี� ินและส่วนของผู้ถือหุ้น 4,325,471,325.32 5,324,629,482.17 4,320,148,324.06 5,291,209,762.47

หมายเหตปุ ระกอบงบการเงินเป็ นส่วนหน�ึงของงบการเงินน�ี

44 บริษัท เดอะ สตีล จํากัด (มหาชน)

บริษทั เดอะ สตลี จาํ กดั (มหาชน) และบริษทั ย่อย
งบกาํ ไรขาดทนุ เบด็ เสร็จ
สําหรับปี สิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม 2563
งบการเงนิ รวม งบการเงนิ เฉพาะกิจการ
หมายเหตุ 31 ธันวาคม 2563 31 ธันวาคม 2562 31 ธันวาคม 2563 31 ธันวาคม 2562
บาท บาท บาท บาท

รายไดจ้ ากการขายและบริการ 7,445,910,756.20 10,280,694,074.72 7,350,473,310.41 9,533,600,993.03

ตน้ ทนุ ขายและบริการ (7,150,655,769.77) (10,020,871,454.23) (7,102,228,361.90) (9,391,067,157.13)
กาํ ไรข�นั ต้น
รายไดด้ อกเบ�ยี 295,254,986.43 259,822,620.49 248,244,948.51 142,533,835.90
รายไดเ้ งินปันผลในบริษทั ยอ่ ย
86,975.59 196,027.72 14,902,919.56 20,497,630.63
รายไดอ้ ื�น
-- 19,999,920.00 -
กาํ ไร(ขาดทนุ )จากอตั ราแลกเปลี�ยน
14,260,790.38 9,070,633.94 13,722,496.84 8,878,642.72
ตน้ ทนุ ในการจดั จาํ หน่าย
(18,599,856.28) 52,861,190.17 (18,599,856.28) 52,861,190.17
ค่าใชจ้ ่ายในการบริหาร
(73,620,539.46) (74,729,643.18) (69,614,008.37) (69,356,935.60)
ขาดทนุ จากการดอ้ ยคา่ ในลูกหน�ีการคา้ และรายการโอนกลบั
ขาดทนุ จากการดอ้ ยค่าในเงินจ่ายล่วงหนา้ ค่าสินคา้ และรายการโอนกลบั (118,965,780.74) (120,469,547.68) (95,812,034.13) (87,787,922.76)

ขาดทนุ จากดอ้ ยค่าเงินลงทนุ ในบริษทั ร่วมและบริษทั ยอ่ ย (20,601,637.85) 8,332,206.47 (20,601,637.85) 8,332,206.47

ส่วนแบง่ กาํ ไร(ขาดทนุ )ในบริษทั ร่วม - 29,288,273.88 --

ตน้ ทนุ ทางการเงิน -- (158,204,190.02) -
กาํ ไร(ขาดทุน)ก่อนภาษเี งนิ ได้
(ค่าใชจ้ ่าย)รายไดภ้ าษีเงินได้ (89,302,651.26) 154,860,924.26 --
กาํ ไร(ขาดทนุ )สําหรับปี
กาํ ไร(ขาดทุน)เบด็ เสร็จอ�ืน (57,977,272.07) (74,164,284.29) (57,804,325.04) (72,465,804.24)

รายการทจ�ี ะไม่ถูกจัดประเภทใหม่ไว้ในกาํ ไรหรือขาดทนุ ในภายหลงั (69,464,985.26) 245,068,401.78 (123,765,766.78) 3,492,843.29
ส่วนแบง่ กาํ ไร(ขาดทนุ )เบด็ เสร็จอื�นในบริษทั ร่วม-สุทธิจากภาษี
24.1 (62,488,076.80) (33,116,260.83) (26,116,998.92) (1,363,885.62)
ผลกาํ ไร(ขาดทนุ )จากการวดั มูลคา่ ใหมข่ องผลประโยชนพ์ นกั งาน
(131,953,062.06) 211,952,140.95 (149,882,765.70) 2,128,957.67
ทีก� าํ หนดไว้ - สุทธิจากภาษี
รวมรายการทจี� ะไม่ถูกจดั ประเภทใหม่ไว้ในกาํ ไรหรือขาดทุน 24.2 - -
- 562,812.50 (72,841.79) (3,000,934.09)
ในภายหลัง - สุทธิจากภาษี (72,841.79) (3,000,934.09)
กาํ ไร(ขาดทนุ )เบ็ดเสร็จอ�ืนสําหรับปี - สุทธิจากภาษี (72,675.10) (1,077,887.00) (72,841.79) (3,000,934.09)
กาํ ไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี (149,955,607.49) (871,976.42)
(72,675.10) (515,074.50)
(72,675.10) (515,074.50)
(132,025,737.16) 211,437,066.45

การแบ่งปันกาํ ไร(ขาดทุน) (130,572,366.42) 215,505,487.72
ส่วนทเ�ี ป็นของบริษทั ใหญ่ (1,380,695.64) (3,553,346.77)
211,952,140.95
ส่วนที�เป็นของส่วนไดเ้ สียทไ�ี ม่มีอาํ นาจควบคุม (131,953,062.06)
กาํ ไร(ขาดทนุ )สําหรับปี

การแบ่งปันกาํ ไร(ขาดทนุ )เบ็ดเสร็จรวม (130,645,108.19) 214,543,388.62
ส่วนทเี� ป็นของบริษทั ใหญ่ (1,380,628.97) (3,106,322.17)
211,437,066.45
ส่วนทเ�ี ป็นของส่วนไดเ้ สียท�ไี มม่ ีอาํ นาจควบคุม (132,025,737.16)
กาํ ไร(ขาดทนุ )เบด็ เสร็จรวมสําหรับปี

กาํ ไร(ขาดทนุ )ต่อหุน้ ข�นั พ�นื ฐาน 25 (0.118) 0.196 (0.136) 0.002

หมายเหตปุ ระกอบงบการเงินเป็ นส่วนหน�ึงของงบการเงินน�ี

รายงานประจําปี 2563 45

46 บริษัท เดอะ สตีล จํากัด (มหาชน) บริษัท เดอะ สตลี จาํ กดั (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบแสดงการเปลี�ยนแปลงส่ วนของผู้ถือหุ้น
สําหรับปี สิ�นสุดวนั ที� 31 ธันวาคม 2563
งบการเงนิ รวม
ส่วนของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่
กาํ ไร(ขาดทุน)สะสม องค์ประกอบอ�ืนของส่ วนของผู้ถือหุ้น รวม ส่ วนได้เสีย รวม
ทุนทอ�ี อก ส่วนเกนิ จดั สรรแล้ว ยงั ไม่ได้จดั สรร ส่ วนตา�ํ ส่ วนของผู้ถือหุ้น ทไี� ม่มี
และชําระแล้ว มูลค่าหุ้น ทุนสํารอง จากการเปลี�ยนแปลง บาท
หมายเหตุ ตามกฎหมาย สัดส่วนในบริษทั ย่อย เฉพาะบริษทั อาํ นาจควบคมุ 1,790,947,068.25
บาท บาท บาท บาท บาท
551,030,080.00 บาท บาท
ยอดคงเหลือ ณ วนั ที� 1 มกราคม 2563 947,941,495.95 38,270,000.00 450,390,860.47 (203,824,430.79) 1,783,808,005.63 7,139,062.62

ผลสะสมจากการเปลี�ยนแปลงนโยบายการบญั ชีเน�ืองจากการนาํ 4- - - (8,536,887.42) - (8,536,887.42) - (8,536,887.42)
551,030,080.00 947,941,495.95 38,270,000.00 441,853,973.05 (203,824,430.79) 1,775,271,118.21 7,139,062.62 1,782,410,180.83
มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่มาถือปฏิบตั ิ
ยอดคงเหลือ ณ วนั ท�ี 1 มกราคม 2563 (ปรับปรุงใหม่) 20 612.50 3,675.00 - - - 4,287.50 - 4,287.50
รายการกบั ผู้เป็ นเจ้าของ 22 - (33,060,947.55)
- - (33,060,947.55) - (33,060,947.55) - (33,060,947.55)
เงนิ ทุนทไี� ด้รับและการจดั สรรส่วนทุน 612.50 3,675.00 - (33,060,947.55) - (33,056,660.05) - (33,056,660.05)
612.50 3,675.00 - - (33,056,660.05) - (33,056,660.05)
การเพ�ิม(ลด)หุน้ สามญั (130,572,366.42)
เงินปันผลจ่าย - - - (72,741.77) - (130,572,366.42) (1,380,695.64) (131,953,062.06)
รวมเงนิ ทุนทไี� ด้รับและการจดั สรรส่วนทุน -
รวมรายการกบั ผู้เป็ นเจ้าของ - - - (130,645,108.19) - (72,741.77) 66.67 (72,675.10)
กาํ ไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี 551,030,692.50 - - 278,147,917.31 - (130,645,108.19) (1,380,628.97) (132,025,737.16)
กาํ ไร(ขาดทุน)สาํ หรับปี 947,945,170.95 38,270,000.00 (203,824,430.79) 1,611,569,349.97 5,758,433.65 1,617,327,783.62

กาํ ไร(ขาดทุน)เบด็ เสร็จอื�นสาํ หรับปี
รวมกาํ ไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี
ยอดคงเหลือปลายปี ณ วนั ท�ี 31 ธนั วาคม 2563

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหน�ึงของงบการเงินน�ี

บริษทั เดอะ สตีล จาํ กดั (มหาชน) และบริษทั ย่อย
งบแสดงการเปล�ียนแปลงส่ วนของผู้ถือหุ้น
สําหรับปี สิ�นสุดวนั ท�ี 31 ธันวาคม 2563
งบการเงินรวม
ส่วนของผู้ถือหุ้นบริษทั ใหญ่
กาํ ไร(ขาดทุน)สะสม องค์ประกอบอ�ืนของส่ วนของผู้ถือหุ้น รวม ส่ วนได้เสีย รวม
ทุนท�ีออก ส่วนเกนิ จดั สรรแล้ว ยงั ไม่ได้จดั สรร ส่ วนตา�ํ ส่ วนของผู้ถือหุ้น ที�ไม่มี
และชําระแล้ว มูลค่าหุ้น ทุนสํารอง จากการเปล�ียนแปลง บาท
หมายเหตุ ตามกฎหมาย สัดส่วนในบริษทั ย่อย เฉพาะบริษัท อาํ นาจควบคุม 1,667,672,430.60
บาท บาท บาท บาท บาท
551,030,080.00 บาท บาท
ยอดคงเหลือต้นปี ณ วนั ท�ี 1 มกราคม 2562 947,941,495.95 38,160,000.00 324,119,900.65 (203,824,430.79) 1,657,427,045.81 10,245,384.79
รายการกบั ผู้เป็ นเจ้าของ
21 - - 110,000.00 (110,000.00) -- --
เงินทุนทไ�ี ด้รับและการจดั สรรส่วนทุน
22 - - - (88,162,428.80) - (88,162,428.80) - (88,162,428.80)
จดั สรรทุนสาํ รองตามกฎหมาย - - (88,162,428.80) - (88,162,428.80)
- - 110,000.00 (88,272,428.80) - (88,162,428.80) - (88,162,428.80)
เงินปันผลจา่ ย
รวมเงนิ ทุนทีไ� ด้รับและการจดั สรรส่วนทุน - 110,000.00 (88,272,428.80)
รวมรายการกบั ผู้เป็ นเจ้าของ
กาํ ไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี - - - 215,505,487.72 - 215,505,487.72 (3,553,346.77) 211,952,140.95
กาํ ไร(ขาดทุน)สาํ หรับปี
- - - (962,099.10) - (962,099.10) 447,024.60 (515,074.50)
กาํ ไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอื�นสาํ หรับปี - - - 214,543,388.62 - 214,543,388.62 (3,106,322.17) 211,437,066.45
รวมกาํ ไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี 551,030,080.00 947,941,495.95 38,270,000.00 450,390,860.47 (203,824,430.79) 1,783,808,005.63 7,139,062.62 1,790,947,068.25
ยอดคงเหลือปลายปี ณ วนั ที� 31 ธนั วาคม 2562

รายงานประจําปี 2563

47 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหน�ึงของงบการเงินน�ี

48 บริษัท เดอะ สตีล จํากัด (มหาชน) บริษทั เดอะ สตลี จาํ กดั (มหาชน) และบริษทั ย่อย
งบแสดงการเปลย�ี นแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น
สําหรับปี สิน� สุดวนั ท�ี 31 ธนั วาคม 2563
งบการเงนิ เฉพาะกจิ การ
ทุนทอ�ี อก ส่วนเกนิ กาํ ไรสะสม รวม
และชําระแล้ว มลู ค่าห้นุ จดั สรรแล้ว ยงั ไม่ได้จดั สรร
หมายเหตุ ทนุ สํารองตามกฎหมาย บาท
บาท บาท บาท บาท 1,792,930,519.26
ยอดคงเหลือต้นปี ณ วนั ท�ี 1 มกราคม 2563 551,030,080.00 947,941,495.95 38,270,000.00 255,688,943.31
ผลสะสมจากการเปล�ียนแปลงนโยบายการบญั ชีเน�ืองจากการนาํ มาตรฐาน (8,457,934.39)
4 - - - (8,457,934.39) 1,784,472,584.87
การรายงานทางการเงินใหมม่ าถือปฏิบตั ิ
ยอดคงเหลือ ณ วนั ที� 1 มกราคม 2563 (ปรับปรุงใหม่) 551,030,080.00 947,941,495.95 38,270,000.00 247,231,008.92 4,287.50
รายการกบั ผู้เป็ นเจ้าของ (33,060,947.55)
20 612.50 3,675.00 -- (33,056,660.05)
เงนิ ทุนทไ�ี ด้รับและการจดั สรรส่วนทนุ (33,056,660.05)
22 - - - (33,060,947.55)
การเพม�ิ (ลด)หุน้ สามญั - (33,060,947.55) (149,882,765.70)
612.50 3,675.00 - (33,060,947.55) (72,841.79)
เงินปันผลจ่าย 612.50 3,675.00
รวมเงนิ ทุนทไ�ี ด้รับและการจดั สรรส่วนทุน (149,955,607.49)
รวมรายการกบั ผ้เู ป็ นเจ้าของ - - - (149,882,765.70) 1,601,460,317.33
กาํ ไร(ขาดทุน)เบด็ เสร็จรวมสําหรับปี - - - (72,841.79)
กาํ ไรสาํ หรับปี - - -
กาํ ไร(ขาดทนุ )เบด็ เสร็จอื�นสาํ หรับปี 551,030,692.50 947,945,170.95 38,270,000.00 (149,955,607.49)
รวมกาํ ไร(ขาดทนุ )เบด็ เสร็จรวมสําหรับปี 64,214,453.88
ยอดคงเหลือปลายปี ณ วนั ท�ี 31 ธนั วาคม 2563

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหน�ึงของงบการเงินน�ี


Click to View FlipBook Version