The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ครัวไฟล้านนา

ครัวไฟล้านนา

ครวั ไฟลานนา

โดย
นายศิรพิ ล แสนจันทร

วทิ ยานิพนธน เี้ ปน สว นหนง่ึ ของการศกึ ษาตามหลักสตู รปรญิ ญาศลิ ปมหาบณั ฑติ
สาขาวิชาศลิ ปไทย
ภาควชิ าศลิ ปไทย

บัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร
ปก ารศึกษา 2548

ISBN 974 – 464 – 286 – 6
ลิขสิทธิ์ของบณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร

THE LAN – NA HEARTH

By
Siripon Sanjan

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree
MASTER OF FINE ARTS
Department of Thai Art
Graduate School
SILPAKORN UNIVERSITY
2005
ISBN 974 – 464 – 286 – 6

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหวิทยานิพนธเรื่อง “ครัวไฟ ลานนา”
เสนอโดย นายศริ พิ ล แสนจันทร เปนสว นหนงึ่ ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต
สาขาวิชาศลิ ปไทย

..................................................................
( รองศาสตราจารย ดร. วิสาข จัติวตั ร )
รองอธกิ ารบดีฝา ยวชิ าการ รกั ษาราชการแทน

คณบดบี ณั ฑติ วทิ ยาลยั
วนั ท่.ี ..........เดอื น......................พ.ศ. ...........

ผคู วบคุมวิทยานิพนธ
1. ศาสตราจารย ชลูด นิ่มเสมอ
2. อาจารย ปญ ญา วจิ นิ ธนสาร

คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ

......................................................... ประธานกรรมการ
( อาจารย สาครินทร เครือออน )
............./................. /..............

......................................................... กรรมการ ............................................ กรรมการ
( ศาสตราจารย ชลดู น่ิมเสมอ ) ( อาจารย ธงชยั ศรสี ขุ ประเสริฐ )
............./................. /.............. ............./................. /..............

........................................................ กรรมการ ........................................... กรรมการ
( อาจารย ปญ ญา วจิ ินธนสาร ) ( อาจารย อภชิ ัย ภิรมยร กั ษ )
............./................. /.............. ............./................. /..............

K 44004203 : สาขาวชิ าศลิ ปไทย
คาํ สาํ คญั : งานสรางสรรคจิตรกรรมไทยรว มสมยั / ครวั ไฟลา นนา

ศิริพล แสนจันทร : ครัวไฟลานนา (THE LAN - NA HEARTH) อาจารยผูควบคุม
วทิ ยานิพนธ : ศ. ชลูด นิม่ เสมอ และ อ. ปญญา วิจนิ ธนสาร. 78 หนา . ISBN 974 - 464- 286- 6

วิทยานิพนธตามหัวขอเร่ือง “ครัวไฟลานนา” ชุดนี้ เปนการสรางสรรคผลงาน
จิตรกรรม 2 มิติ ดวยรูปแบบของจิตรกรรมไทยแนวประเพณี โดยอาศัยสิ่งของเคร่ืองใชภายในครัว
เปนสื่อในการแสดงออก ซึ่งไดรับอิทธิพลและแรงบันดาลใจจากวิถีชีวิตและจิตรกรรมฝาผนัง
โดยใชเทคนิคสีอะคลิริค เสนอตามแนวความคิดและเรื่องราวการดําเนินชีวิตภายในครัวของ
ชาวลานนาในอดีต เพื่อสะทอนความสุขสงบและความอบอุน ผานบรรยากาศของแสงในความ
มดื สลัวยามเชา ผสมผสานกบั แนวความคิดและความรูสกึ สวนตวั

______________________________________________________________________________

ภาควิชาศิลปไทย บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ปก ารศกึ ษา 2548

ลายมือช่อื นกั ศกึ ษา..........................................................

ลายมอื ช่ืออาจารยผคู วบคมุ วทิ ยานิพนธ 1. ..................................... 2. ..............................................



K 44004203 : MAJOR : THAI ART
KEYWORD : CREATIVE CONTEMPORARY THAI ART PAINTING / THE LAN – NA

HEARTH
SIRIPON SANJAN : THE LAN - NA HEARTH. THESIS ADVISORS : PROF.
CHALOOD NIMSAMER AND PANYA VIJINTHANASARN. 78 pp. ISBN 974 - 464 - 286 - 6
The thesis entitled “The Lan – na Hearth” is a series of creative two – dimensional,
acrylic technique paintings, in the traditional Thai Art concept. The expression is made
through the authentic Lan – na kitchen, where in the Lan – na life style and mural paintings are
the sources of inspiration. The paintings present the concept and life style in the kitchen of the
old time Lan – na. They also reflect happiness and warmth through the gleam of light in early
dawn as well as the artist ’s personal impression.

Department of Thai Art Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2005
Student’s signature……………………………………………..

Thesis Advisors’ signature 1. ……………………………..… 2. ………………………………



กติ ติกรรมประกาศ
ขอบพระคุณดินแดนลานนาที่มอบความรัก ความอบอุนและความผูกพันในดาน
ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม เปนที่หลอหลอมจิตใจใหรูจักหวงแหนศิลปวัฒนธรรมของชาติ
ท่ีทรงคณุ คา ดว ยจิตวิญญาณท่เี ปย มลนดวยศิลปะ
ขอกราบขอบพระคุณศาสตราจารย ชลูด นิ่มเสมอ อาจารย ปญญา วิจินธนสาร
ผูเปนแรงบันดาลใจและคอยเปนที่ปรึกษา ควบคุมในการรังสรรคผลงานวิทยานิพนธ คณาจารย
ทุกทานในภาควิชาศิลปไทย และสถาบันการศึกษาตลอดจนครูอาจารยทุกทานที่มีสวน
ชว ยประสทิ ธิ์ประสาทวชิ าความรู
ขาพเจาขอนอมระลกึ ถึงพระคุณของปู ยา ตา ยาย บิดามารดาและบุพการีทุกทานท่ีคอย
ใหค วามรู อบรมสง่ั สอนใหเ ปน คนดี
ขอขอบคุณเพื่อนรวมงานรวมท้ังบุคคลอ่ืนๆ ท่ีมีสวนชวยใหวิทยานิพนธนี้สําเร็จลุลวง
ไปไดด วยดี
ขาพเจาหวังเปนอยางยิ่งวา การสรางสรรควิทยานิพนธเลมนี้ จะมีสวนชวยในการ
อนุรักษคุณคาวัฒนธรรมทองถ่ินลานนามิใหเสื่อมสลาย และเปนประโยชนแกผูที่สนใจศึกษาหา
ความรตู อไป



สารบัญ

บทคัดยอ ภาษาไทย ............................................................................................................... หนา
บทคัดยอ ภาษาองั กฤษ .......................................................................................................... ง
กติ ติกรรมประกาศ ............................................................................................................... จ
สารบัญภาพ ......................................................................................................................... ฉ
บทที่ ฌ

1 บทนาํ ..................................................................................................................... 1
ความเปน มาและความสําคญั ของปญ หา ...................................................... 2
ความมุง หมายและวตั ถปุ ระสงคข องการศกึ ษา ............................................ 2
สมมติฐานของการศกึ ษา………………………………………………….. 2
ขอบเขตของการศึกษา ................................................................................. 2
ขัน้ ตอนการศกึ ษา ........................................................................................ 3
วิธีการศึกษา ................................................................................................ 3
แหลงขอ มูล ................................................................................................. 4
5
2 ขอมลู ทเ่ี กยี่ วขอ งกับการสรา งสรรค ...................................................................... 5
ทศั นคตทิ ่เี กย่ี วขอ งกับการสรา งสรรค ......................................................... 5
อิทธพิ ลและแรงบันดาลใจทไี่ ดรบั จากครอบครวั ........................................ 6
อิทธิพลและแรงบันดาลใจจากสภาพสงั คม ................................................. 6
อิทธพิ ลและแรงบนั ดาลใจจากศลิ ปะประเพณี ............................................ 6
อทิ ธิพลจากผลงานศลิ ปะประเพณขี องไทย ................................................ 12
12
3 การดําเนนิ การสรา งสรรค ...................................................................................... 12
วธิ ีการสรางสรรคผ ลงานวทิ ยานพิ นธ .......................................................... 12
วธิ กี ารสรางภาพรา ง .................................................................................... 13
การสรางสรรคผลงานจรงิ ........................................................................... 14
ทศั นธาตทุ ี่ใชใ นการสรางสรรค .................................................................. 14
15
4 การดําเนนิ งานและพฒั นาผลงานวิทยานิพนธ .......................................................
ผลงานกอนวทิ ยานิพนธชว งแรก .................................................................
สรุปในสวนของผลงานกอ นวิทยานพิ นธใ นชว งแรก .........................



บทท่ี หนา
ผลงานกอนวทิ ยานิพนธช ว งทีส่ อง ............................................................... 15
ผลงานกอ นวทิ ยานิพนธช วงท่ีสองชิน้ ที่ 1 ........................................... 15
ผลงานกอ นวทิ ยานิพนธช วงท่สี องช้นิ ท่ี 2 ........................................... 15
ผลงานกอนวิทยานพิ นธช วงทส่ี องชิ้นที่ 3 ........................................... 15
ผลงานกอนวิทยานพิ นธช ว งท่ีสองช้ินท่ี 4 ........................................... 15
สรุปผลงานกอ นวทิ ยานพิ นธช ว งทีส่ อง ..................................... 16
ผลงานวิทยานพิ นธ ....................................................................................... 16
ผลงานวทิ ยานิพนธชน้ิ ที่ 1 ................................................................... 16
ผลงานวทิ ยานพิ นธชนิ้ ที่ 2 ................................................................... 16
ผลงานวทิ ยานพิ นธช น้ิ ท่ี 3 ................................................................... 16
ผลงานวิทยานิพนธชนิ้ ท่ี 4 ................................................................... 16
ผลงานวิทยานิพนธชน้ิ ที่ 5 ................................................................... 16
71
5 บทสรุป ....................................................................................................................

บรรณานุกรม ..................................................................................................................... 72

ภาคผนวก ........................................................................................................................... 73
รายละเอยี ดของผลงาน ................................................................................... 74

ประวัติผวู จิ ยั ....................................................................................................................... 76



สารบญั ภาพ

ภาพที่ หนา
1 ครัวลานนาดั้งเดมิ ………………………………………………………………….. 9
2 ครัวปจ จุบนั ………………………………………………………………………… 9
3 วถิ ีชวี ติ ในชนบท…………………………………………………………………… 10
4 ภาพแสดงส่งิ ของเคร่อื งใชในชวี ิตประจาํ วนั ……………………………………….. 10
5 วิถชี ีวิตจากจิตรกรรมฝาผนังวัดบวกครกหลวง.......................................................... 11
6 วถิ ชี ีวิตจากจติ รกรรมฝาผนงั วดั พระสงิ ห................................................................... 11
7 ภาพแสดงผลงานกอ นวทิ ยานพิ นธช ้ินที่ 1………………………………………….. 17
8 รายละเอียดของผลงานกอ นวทิ ยานพิ นธชนิ้ ท่ี 1.......................................................... 18
9 รายละเอยี ดของผลงานกอนวทิ ยานิพนธช้ินท่ี 1.......................................................... 19
10 ภาพแสดงผลงานกอนวิทยานิพนธชนิ้ ที่ 2................................................................... 20
11 รายละเอยี ดของผลงานกอ นวทิ ยานพิ นธช ้ินท่ี 2.......................................................... 21
12 รายละเอยี ดของผลงานกอ นวทิ ยานพิ นธช น้ิ ท่ี 2.......................................................... 22
13 ภาพแสดงผลงานกอนวทิ ยานพิ นธช น้ิ ท่ี 3.................................................................. 23
14 รายละเอยี ดของผลงานกอ นวทิ ยานิพนธช ิ้นที่ 3.......................................................... 24
15 รายละเอยี ดของผลงานกอ นวทิ ยานิพนธช นิ้ ที่ 3.......................................................... 25
16 ภาพแสดงผลงานกอนวทิ ยานิพนธช น้ิ ที่ 4................................................................... 26
17 รายละเอยี ดของผลงานกอ นวทิ ยานิพนธชิ้นท่ี 4.......................................................... 27
18 รายละเอยี ดของผลงานกอนวทิ ยานพิ นธชิน้ ท่ี 4.......................................................... 28
19 ภาพแสดงผลงานกอนวิทยานพิ นธช วงท่สี องชิ้นที่ 1................................................... 29
20 รายละเอยี ดของผลงานกอ นวทิ ยานิพนธช ว งทส่ี องช้ินท่ี 1.......................................... 30
21 รายละเอยี ดของผลงานกอนวทิ ยานพิ นธชว งทสี่ องช้ินที่ 1.......................................... 31
22 ภาพแสดงผลงานกอนวิทยานพิ นธชวงท่สี องชิน้ ที่ 2................................................... 32
23 รายละเอยี ดของผลงานกอ นวทิ ยานพิ นธช ว งทส่ี องชน้ิ ท่ี 2.......................................... 33
24 รายละเอียดของผลงานกอ นวทิ ยานพิ นธช วงที่สองช้นิ ที่ 2.......................................... 34
25 ภาพแสดงผลงานกอ นวทิ ยานิพนธช วงที่สองชิน้ ท่ี 3................................................... 35
26 รายละเอยี ดของผลงานกอ นวทิ ยานพิ นธช วงที่สองช้ินท่ี 3.......................................... 36



ภาพที่ หนา
27 รายละเอยี ดของผลงานกอนวทิ ยานิพนชว งทส่ี องช้ินท่ี 3.......................................... 37
28 ภาพแสดงผลงานกอนวิทยานิพนธชว งทสี่ องชน้ิ ท่ี 4................................................... 38
29 รายละเอียดของผลงานกอ นวทิ ยานิพนธช ว งท่ีสองช้ินท่ี 4.......................................... 39
30 รายละเอยี ดของผลงานกอนวทิ ยานิพนธชวงที่สองชิน้ ท่ี 4.......................................... 40
31 ภาพรา งตนแบบผลงานวิทยานพิ นธช น้ิ ท่ี 1.................................................................. 41
32 ผลงานวิทยานพิ นธช ้ินที่ 1............................................................................................ 42
33 รายละเอยี ดของผลงานวิทยานพิ นธช ิ้นท่ี 1................................................................... 43
34 รายละเอียดของผลงานวิทยานิพนธช น้ิ ที่ 1................................................................... 44
35 รายละเอียดของผลงานวิทยานพิ นธช น้ิ ที่ 1................................................................... 45
36 รายละเอียดของผลงานวทิ ยานิพนธช ้ินท่ี 1................................................................... 46
37 ภาพรางตนแบบผลงานวทิ ยานิพนธช้ินท่ี 2................................................................... 47
38 ผลงานวทิ ยานพิ นธช น้ิ ท่ี 2............................................................................................ 48
39 รายละเอียดของผลงานวิทยานิพนธช น้ิ ท่ี 2................................................................... 49
40 รายละเอยี ดของผลงานวทิ ยานพิ นธช ิ้นที่ 2................................................................... 50
41 รายละเอยี ดของผลงานวิทยานิพนธช้นิ ที่ 2................................................................... 51
42 รายละเอยี ดของผลงานวิทยานพิ นธช ้ินท่ี 2................................................................... 52
43 ภาพรา งตน แบบผลงานวทิ ยานิพนธชิ้นท่ี 3.................................................................. 53
44 ผลงานวทิ ยานพิ นธช ้นิ ท่ี 3............................................................................................ 54
45 รายละเอียดของผลงานวทิ ยานพิ นธช้นิ ที่ 3................................................................... 55
46 รายละเอียดของผลงานวทิ ยานพิ นธช ิ้นที่ 3................................................................... 56
47 รายละเอียดของผลงานวิทยานิพนธชน้ิ ที่ 3................................................................... 57
48 รายละเอยี ดของผลงานวทิ ยานิพนธช ้ินที่ 3................................................................... 58
49 ภาพรา งตน แบบผลงานวทิ ยานิพนธช น้ิ ท่ี 4.................................................................. 59
50 ผลงานวทิ ยานพิ นธชิน้ ท่ี 4............................................................................................ 60
51 รายละเอยี ดของผลงานวิทยานิพนธช ิน้ ท่ี 4................................................................... 61
52 รายละเอียดของผลงานวทิ ยานิพนธช ้ินท่ี 4................................................................... 62
53 รายละเอียดของผลงานวทิ ยานิพนธช ิน้ ที่ 4................................................................... 63
54 รายละเอียดของผลงานวทิ ยานพิ นธช้ินที่ 4................................................................... 64
55 ภาพรางตนแบบผลงานวิทยานพิ นธชน้ิ ที่ 5.................................................................. 65



ภาพท่ี หนา
56 ผลงานวทิ ยานพิ นธชน้ิ ที่ 5............................................................................................ 66
57 รายละเอยี ดของผลงานวิทยานิพนธช้ินที่ 5................................................................... 67
58 รายละเอียดของผลงานวิทยานิพนธช น้ิ ท่ี 5................................................................... 68
59 รายละเอียดของผลงานวทิ ยานพิ นธชน้ิ ที่ 5................................................................... 69
60 รายละเอียดของผลงานวทิ ยานพิ นธช น้ิ ที่ 5................................................................... 70



บทท่ี 1

บทนํา

คุณคาทางวัฒนธรรมที่ดีจะมีอยูในสังคมไทยก็ตอเมื่อชุมชนนั้นจะมีการอนุรักษ รักษา
คุณคาของวิถีชีวิตและวัฒนธรรมที่ประเพณีที่ดีงามใหคงอยูไมสูญสลายไป ตองอาศัยปจจัยหลายๆ
ส่ิงรวมกัน ในสังคมชนบทท่ีมีการดํารงชีวิตเปนไปในลักษณะเรียบงาย สมถะและใกลชิดกับ
ธรรมชาติ สังคม ชาวบานที่รูจักมักคุน สนิทสนม มีความสัมพันธฉันพ่ีนองแลว เอื้อเฟอเผื่อแผ
จริงใจตอกัน มีฐานะความเปนอยูที่คลายคลึงกัน อีกท้ังยังยึดถือขนบธรรมเนียมประเพณีเปน
พืน้ ฐานสาํ คัญในการดาํ เนินชีวติ จึงจะสามารถทํานบุ ํารงุ วัฒนธรรมท่ีเปน รากฐานของไทยไวไ ด

สถาบันครอบครัวก็เปนสิ่งสําคัญในการถายทอดเร่ืองคานิยม วิธีประพฤติ ปฏิบัติตน
และถอื เปนสถาบนั สงั คมทีเ่ กาแก ทยี่ ังคงความสมั พันธกันในสายเลือด ซึ่งกอใหเกิดความผูกพันกัน
ในเครอื ญาติ การสรางบรรทัดฐานของสังคมทั้งในดานการทํามาหาเลี้ยงชีพ การอาศัยอยูรวมกันใน
ครอบครัว ยอมเปนสวนชวยในการอบรมสั่งสอนจริยธรรม วัฒนธรรมและประเพณีอันดีงามให
ยงั คงอยใู นสงั คมชนบท ดังนั้น ครัวไฟของแตละครอบครัวในชนบทลานนาจึงเปนหัวใจหลักของ
บาน “ครัวไฟเปนสวนที่มีความสําคัญ เน่ืองจากของใชในชีวิตประจําวันมักมีอยูรวมกันหนาแนน
ในครัวไฟ เหตเุ พราะถอื เปนคลังอาหารของครัวเรอื นและมกี ิจกรรมทต่ี องประกอบอยทู กุ เม่ือเชื่อวัน
คือการปรงุ อาหารดวยวธิ ีกรรมตา งๆ 1”

เนื้อหาความสําคัญท่ีถายทอดผานกิจกรรมที่เกิดขึ้นในครัวไฟ เปนส่ือแสดงออกถึง
ภูมิปญญาและวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามท่ีมีคุณประโยชนตอวิถีชีวิตของคนในชนบทพื้นถิ่น
ลานนามาตั้งแตบรรพบุรุษ เพื่อใหคนรุนหลังไดตระหนักถึงคุณคาของวัฒนธรรมโบราณไวให
สืบสานตอไป โดยมีเน้ือหาเร่ืองราวของเคร่ืองมือเคร่ืองใชในครัวไฟเปนตัวถายทอดอารมณ
ความรูสึกที่น่ิงสงบมีความอบอุนในบรรยากาศของแสงในความมืดสลัวของชวงเวลาที่มีกิจกรรม
การดําเนินชีวิตออกมาเปนผลงานจิตรกรรม แนวประเพณีไทยที่ผสมผสานความเปนศิลปรวมสมัย
ไวเขาดวยกัน เพ่ือบงบอกส่ิงที่มีอยูในอดีตกับการสรางสรรคของคนปจจุบันท่ีมีความสัมผัสลึกซ้ึง
ตอ คุณคา ทางวัฒนธรรม

1 สํานกั พิมพเ มอื งโบราณ, พิพิธภัณฑวฒั นธรรมพ้ืนบา น (กรงุ เทพฯ : โรงพิมพอกั ษร

สมั พนั ธ, 2531), 36. 1

2

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

ความเปนอยูของสังคมท่ีมีการดํารงชีวิตในสภาพแวดลอมที่แตกตางกันจะสงผลให
รูปแบบวฒั นธรรมการกินอยูของแตละทองถน่ิ น้ันแตกตา งกันออกไปดวย นอกจากน้สี ถาปตยกรรม
ภายในครัวไฟโดยเฉพาะแมเตาไฟ ภาชนะ เครื่องมือเครื่องใช รวมท้ังวิธีการหุงตมอาหารตลอดจน
การเก็บรักษา สามารถบง บอกถงึ วถิ ีชีวิตของชุมชนในทอ งถิ่นน้นั ไดเ ชนกนั

ดังนั้นจึงอาจกลาวไดวา ครัวไฟเปนแหลงรวมความสุข ความอบอุนของครอบครัว
ขาพเจาจึงตองการถายทอดความรูสึกเกี่ยวกับความเรียบงาย ความอบอุนในครอบครัวของชาว
ลานนา โดยผานเคร่ืองมือเครื่องใชในครัวไฟ และการสรางสรรคผลงานจิตรกรรมท่ีมีบรรยากาศ
ของแสงในความมดื สลัว เพือ่ เนน กลิน่ อายของความเปนชนบทลานนาไทย

ความมงุ หมายและวัตถุประสงคข องการศกึ ษา

1. เพือ่ แสดงออกถงึ ความสุขสงบและความอบอนุ ภายในครอบครวั (ภาคเหนือ) ดว ย
รปู แบบและบรรยากาศของครัวไฟลานนา

2. เพื่ออนุรักษร ูปแบบการดําเนนิ ชวี ิตของชาวลา นนาในอดตี ผา นงานจติ รกรรมไทย
2 มิติ

สมมตฐิ านของการศกึ ษา

วัฒนธรรมการใชครัวไฟแบบดั้งเดิม ซ่ึงไดรับการถายทอดจากบรรพบุรุษ คือ ลักษณะ
เฉพาะที่ยังดําเนินอยูในชนบท รูปแบบความเปนพื้นถ่ิน (ลานนา) สามารถสะทอนเอกลักษณของ
ทองถิ่นไดอยางชัดเจน การศึกษาคนควาและนํามาถายทอดเปนงานศิลปะจะทําใหเกิดความเขาใจ
ในรูปแบบการดําเนินชีวิตอันเรียบงาย อบอุนของคนในภาคเหนือท่ีมีวัฒนธรรมสืบสานกันมาแต
ชานาน

ขอบเขตของการศกึ ษา

การสรางสรรควิทยานิพนธชุดน้ี ขาพเจาไดกําหนดขอบเขตของงานเพ่ือความชัดเจน
ไวดังนี้

1. ขอบเขตดานเน้ือหา เพ่ือแสดงออกถึงความสุขสงบ เรียบงายและความอบอุนใน
ครอบครัว

3

2. ขอบเขตดานรูปแบบ สรางสรรคเปนผลงานจิตรกรรมไทย 2 มิติ (วางจังหวะทับ
ซอนกนั ของรปู ทรงท่ีตางกนั ) ดว ยบรรยากาศของแสงในความมืดสลัว

ข้ันตอนการศึกษา

วธิ กี ารสรางสรรคของวิทยานพิ นธช ดุ น้ี ไดปฏบิ ัติงานอยา งเปน ขน้ั ตอน สรปุ โดยสังเขป
ดังน้ี

การศึกษาดา นขอ มลู แบง เปน 2 สว น คือ
1. การศึกษาขอมูลจากสถานที่จริง เปนการศึกษาลักษณะเฉพาะของรูปแบบความ
เปนอยูและวัฒนธรรมการกินอยูของชนพื้นถ่ินลานนาตอนบน เชน จังหวัดเชียงใหม จังหวัดลําพูน
จังหวดั ลาํ ปางและจงั หวัดแพร เปน ตน
2. การศึกษาขอมูลจากเ อกสารและตําราตา งๆทเ่ี กยี่ วของ

- ประมวลลําดับขอมูล วิเคราะหและสรุปผลท่ีไดจากการศึกษาเพื่อสรางสรรค
เปนผลงานจติ รกรรม

- วิธีการปฏิบัติ โดยการสรางสรรคผลงานจริงในแตละชิ้นเพ่ือทดลองคนหา
องคป ระกอบและความสมบรู ณข องผลงาน

- ปฏิบัติการสรางสรรคผลงานจากชิ้นงานที่สมบูรณท่ีสุด นําเสนอผลงานเพ่ือ
วิเคราะห วิจารณและสัมมนาปรับเปล่ียนแกไขปญหา พรอมท้ังพัฒนาเนื้อหาสาระและรูปแบบการ
สรา งสรรคตอ ไป

- บันทึกขอมูลปญหา การแกไขและพัฒนาผลงานเพ่ือใหเกิดความสมบูรณของ
วทิ ยานิพนธ

วิธกี ารศึกษา

วธิ ีการศกึ ษาของวทิ ยานพิ นธช ดุ น้ีแบง ไวด งั นี้คือ
1. ศกึ ษารูปแบบของงานจิตรกรรมไทย
2. ศึกษาความเปน อยู ลกั ษณะเฉพาะของพืน้ ถิน่ ลานนา
3. ศึกษาสงิ่ ทีม่ คี วามหมายตอการดํารงชวี ติ ในครอบครัว
4. ศกึ ษาเน้อื หาของสอื่ ที่มเี อกลกั ษณเ ฉพาะทางวฒั นธรรม การกนิ อยูของคนใน
ภาคเหนอื

4

แหลงขอมูล

ไดศ ึกษาตามแหลงขอ มลู ดงั น้ี
1. ศึกษารูปแบบการดําเนินชีวิตท่ีมีการกินอยูแบบโบราณและลักษณะเฉพาะทางของ
วัฒนธรรมทอ งถิน่ ลานนา
2. ศึกษาการใชเ ครือ่ งไมเครอื่ งมือตางๆในการประกอบอาหาร
3. ศึกษาขอมลู จากบคุ คล เชน ผสู งู อายุ ผรู ู คนในทองถนิ่ เปน ตน
4. ศึกษาขอ มลู ภาคเอกสารจากหองสมุดและพพิ ิธภณั ฑทองถนิ่ ภาคเหนอื

บทท่ี 2

ขอมูลทเ่ี กยี่ วขอ งกับการสรา งสรรค

ประเพณีและวัฒนธรรมอันดีงามของชาวลานนา เปนสมบัติอันล้ําคาท่ีเราไดรับ
เปนมรดกตกทอดมา ประเพณีและวัฒนธรรมตางๆเหลาน้ีไดแก ประเพณีสงกรานต ประเพณี
อินทขิล ประเพณีลอยกระทง การฟอนรําและการละเลนตางๆ อาหารแบบขันโตก ศิลปหัตถกรรม
ทําเครื่องเขิน ทําถวยชามและทําหมอไห ฯลฯ1 ลวนมีจุดกําเนิดมาจากชุมชนในชนบทท่ีมี
วัฒนธรรมของทองถิ่นนั้นๆ ซ่ึงการไดสัมผัสซึมซับเรียนรูวัฒนธรรมทองถ่ินของตน ชวยเปน
แรงผลักดันใหเกิดจินตนาการในการสรางสรรคศิลปกรรมท่ีมาจากภายในจิตอันเปนสิ่งจรรโลงใจ
ในความถวิลหา ความสุข ความอบอุนที่พรอมมูลภายใตชายเรือน วิถีและการดําเนินชีวิตในครัวไฟ
ทสี่ รางความสุข ความผกู พันและความประทบั ใจผา นผลงานจิตรกรรมไทยแบบแนวประเพณี

ทศั นคตทิ ่เี กีย่ วของกับการสรา งสรรค

การส่ังสมประสบการณและการศึกษาภาพลักษณความเปนอยูกับการดําเนินชีวิต
เปนส่ิงผลักดันใหขาพเจาสามารถถายทอดวิถีชีวิตสูผลงานจิตรกรรมที่มีเอกลักษณของชนบททาง
ภาคเหนือ สะทอนความเปนอยูอันเรียบงายและอบอุนผานลักษณะของครัวไฟลานนา นอกจากนี้
กิจกรรมในครัวไฟยังกอใหเกิดความประทับใจและสงเสริมใหขาพเจาถายทอดผลงานดวยวิธีการ
แบบโบราณประเพณี ผสมผสานรปู แบบความเหมอื นจรงิ ในปจจุบนั ใหสอดคลอ งลงตวั มากทีส่ ดุ

อิทธิพลและแรงบนั ดาลใจท่ีไดร บั จากครอบครวั

ชนบทท่ีขาพเจาอาศัยอยูเปนแรงบันดาลใจในการสรางสรรค การไดเกิดและเติบโต
ทามกลางส่ิงแวดลอมอันอุดมสมบูรณ การดําเนินชีวิตท่ีพึ่งพาธรรมชาติในการเล้ียงตนและ
ครอบครัว เปนส่ิงท่ีชวยสอนใหขาพเจาไดเรียนรูที่จะปรับตัวใหเขากับธรรมชาติและส่ิงแวดลอม
กระท่ังการไดเรียนรูจากผูเฒาผูแกถึงการใชงานและหนาที่ของเครื่องมือเครื่องใชในครัวไฟและ

1 มณี พยอมยงค, ประเพณีสบิ สองเดือนลา นนาไทย (เชยี งใหม: สาํ นกั พมิ พทรพั ย
การพมิ พ, 2543), ไมป รากฎเลขหนา.

5

6

วิธกี ารหุงตมอาหารตลอดจนการเก็บรักษาเคร่ืองครัวใหเหมาะสมเปน สว นชวยผลักดนั ความคดิ และ
ความบันดาลใหสมั ฤทธ์ผิ ลในการสรางสรรคผ ลงานจิตรกรรมของตนไดด ยี ง่ิ ขึน้

อิทธิพลและแรงบันดาลใจจากสภาพสงั คม

สภาพสังคมในปจจุบันไดเปลี่ยนแปลงชีวิต ความเปนอยูของผูคนใหเปนไปตาม
กระแสของวัฒนธรรมตะวันตก หันไปยึดถือวัตถุนิยมจนลืมขนบธรรมเนียมประเพณีลานนาอันดี
งามที่เปนมรดกอันล้ําคาของไทย จากสิ่งท่ีกลาวมาขางตนเปนเหตุใหขาพเจาตองการแสดงทัศนคติ
เพื่อสะทอนคุณคาและความดีงามผานวัตถุภายในครัวที่มีเครื่องมือเคร่ืองใชตางๆตามคุณสมบัติใช
สอยเปนไปตามวิถีการดําเนินชีวิตและสภาพแวดลอมของชนบทลานนา โดยไดรับแรงบันดาลใจ
จากส่ิงของเคร่ืองใชภายในครัวและกิจกรรมที่ปฏิบัติอยูเปนปจจัยสําคัญอันมีความผูกพันเช่ือมโยง
กับวถิ ีธรรมชาติ สภาพของสังคมและทองถิ่น

สวนสําคัญที่เปนตัวบงช้ีถึงความเรียบงายของวิถีชีวิตในผลงาน ความน่ิงสงบท่ีเกิดขึ้น
บงบอกถึงความเปนอยูท่ีสมถะและยังสามารถบอกเปนนัยถึงสภาพของสังคม เศรษฐกิจภายใน
ครอบครัวนัน้ ไดเ ปนอยางดี

อิทธิพลและแรงบนั ดาลใจจากศลิ ปะประเพณี

ศิลปวัฒนธรรมในแตละทองถ่ินยอมมีผลตอความคิดสรางสรรคและแรงบันดาลใจที่
สําคัญในการประพฤติปฏิบัติ สังคมชนบทมีความเชื่อ มีประเพณีวัฒนธรรมที่สืบทอดกันมาชานาน
ประเพณีและพิธีกรรมอันเกิดจากสภาพของสังคม ธรรมชาติ สิ่งแวดลอม เอกลักษณ ความเช่ือ
คานิยมและเจตคติของคนในสังคมชนบทน้ัน เปนปจจัยสงเสริมใหขาพเจาสรางสรรคเปนผลงาน
ทัศนศิลปโดยแสดงถึงเรื่องราวการกินอยูของชาวชนบท ท่ีแสดงถึงความเรียบงาย ความอบอุนใน
ครอบครัวของชาวลานนา โดยผานเครื่องมือเคร่ืองใชในครัวไฟซ่ึงสอดคลองกับบุคลิกภาพของตน
และเอกลกั ษณท างวฒั นธรรมกบั สภาพสังคมแบบประเพณี

อทิ ธพิ ลจากผลงานศลิ ปะประเพณขี องไทย

ความมุงหมายที่จะแสดงผลงานสรางสรรคในลักษณะเฉพาะตัวใหเช่ือมโยงกับศิลปะ
ประเพณีของไทย อิทธิพลท่ไี ดร ับคอื ทัศนธาตตุ า งๆท่ปี รากฏในงานศิลปะประเพณขี องไทย ดังน้ี

เสน เปนหัวใจของภาพจิตรกรรมไทยประเพณี การใชเสนเปนไปตามอุดมคติ เปน
พื้นฐานของโครงสรางของทุกส่ิง สามารถแสดงความรูสึกไดดวยตัวเอง และเปนตัวกําหนดทิศทาง

7

ขอบเขต อีกท้ังยังสรางความเคลื่อนไหวตามเร่ืองราวและการแสดงออกใหมีความกลมกลืนตาม
อารมณความรูสึกของรปู ทรงนนั้ ๆ

รูปทรง รูปทรงตางๆในงานศิลปไทยจะมีโครงสรางสวนใหญมาจากธรรมชาติ โดย
นาํ มาคลคี่ ลายเปนรูปทรงอุดมคติ รปู ทรงท่ีนํามาสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธชุดนี้คือ รูปทรงของ
สิ่งของเคร่ืองใชภายในครัวไฟ ซึ่งประกอบดวยรูปทรงหลักคือ วงกลม รูปทรงส่ีเหล่ียม รูปทรง
สามเหล่ยี ม

นํ้าหนัก มีบทบาทสําคัญ ทําใหภาพเกิดบรรยากาศมีชีวิตชีวาเปนพิเศษ นํ้าหนักยังให
ความรูสึกและอารมณดวยการประสานความออนแกในตัวของมันเอง กอใหเกิดผลทางสายตา เชน
นา้ํ หนักมดื ทบึ ของโขดหนิ ตน ไม สรางความรูส กึ หนักแนนขึน้ ในภาพหรือน้ําหนักของพื้นที่มีสีทึบ
ทัว่ ท้งั ภาพกส็ รางความนา สนใจไดดี

สี ในงานจิตรกกรรมไทยแบบประพณี จะใชโครงสรางของสีท่ีมาจากธรรมชาติและ
จากความจริง สีสามารถใหอารมณความรูสึกดวยตนเอง ผลงานวิทยานิพนธชุดน้ี มีการใชสีที่อยูใน
โทนสเี ดยี วกัน เหมอื นจริงในบรรยากาศความเปนจริง แตก็มีการปรับโทนสีใหมีความกลมกลืนกัน
มากขนึ้

ที่วาง พลังความเคล่ือนไหวของภาพจิตรกรรมไทยโบราณเปนไปตามทิศทางของ
รปู ทรงกับที่วา งจากจดุ หนึง่ ไปยงั จุดหนึง่ มกั สงผลตอ รูปทรงตางๆ กอ ใหเกิดความเคลือ่ นไหวข้ึน

เม่ือมีความเคล่ือนไหวเกิดขึ้น ไมวาจะเปนความเคลื่อนไหวของวัตถุ รางกายหรือ
สายตาก็ตาม จะมีเรื่องของกาลเวลาเขามาเก่ียวของดวยทันที เพราะความเคล่ือนไหวน้ันตองอาศัย
ทงั้ ท่ีวาง (Space) และเวลา (Time) ความเคล่อื นไหวและเวลาจงึ เปน อีกมิติหนึ่งของงานศิลปะน่ันคือ
มติ ทิ ี่ 4 2

องคป ระกอบของภาพ การเขยี นภาพจติ รกรรมฝาผนงั มลี ักษณะเปนภาพ 2 มติ ิ มรี ูปราง
ที่ประกอบเปนรูปทรงขนาดใกลเคียงกัน มีการเนนสวนสําคัญใหแตกตางจากสวนอื่น เชน เสน
สินเทา สิ่งของ หมูโขดหินหรือสถาปตยกรรม สิ่งเหลานี้อาจจะมีการเขียนใหมีขนาดใหญกวาหรือ
ใชนํ้าหนักสีออนแกและลวดลายใหแตกตางกัน การจัดวางภาพแบบวิว ตานกหรือการวางภาพใน
ระดับสายตามอง เพ่ือใหการมองภาพมีความแตกตางกันในมุมมองที่ใหความตางเกิดข้ึนของภาพ
จิตรกรรมฝาผนัง ภาพแตละภาพจะบอกเลาเร่ืองราวไดหลายเร่ือง แตมีเนื้อหาเดียวกัน ชวยเสริมให
เนือ้ หามีความชดั เจนมากย่ิงข้นึ

2 ชลูด นิ่มเสมอ, องคป ระกอบศิลปะ (กรงุ เทพฯ : ไทยวฒั นาพานชิ , 2531), 79.

8

ขาพเจาเกิดแรงบันดาลใจและความคิดท่ีไดรับจากทัศนธาตุในงานศิลปไทยโบราณ
เหลาน้ี นําเอาเอกลักษณที่มีเฉพาะของงานจิตรกรรมไทยมาประยุกตใชในงานของตน เพ่ือแสดง
อารมณความรูสึกแบบไทยโดยใชเรื่องราวของกิจกรรมที่เกิดขึ้นในครัวไฟถายทอดผานเครื่องมือ
เคร่อื งใชท ่ีเปนเอกลกั ษณข องครัวไฟลา นนา

9

ภาพท่ี 1 ครวั ลานนาดง้ั เดมิ

ที่มา : จากการสาํ รวจของผูว จิ ยั

ภาพที่ 2 ครวั ปจ จุบัน

ทม่ี า : จากการสํารวจของผวู จิ ยั

10

ภาพที่ 3 ชีวติ ในชนบท

ท่มี า : จากการสาํ รวจของผูวจิ ัย

ภาพที่ 4 ภาพแสดงสงิ่ ของเครือ่ งใชในชวี ติ ประจําวนั
ทมี่ า : จากการสํารวจของผูวจิ ัย

11

ภาพที่ 5 วถิ ชี วี ิตจากจิตรกรรมฝาผนงั วดั บวกครกหลวง
ทม่ี า : จากการสํารวจของผูวจิ ยั

ภาพท่ี 6 วิถชี วี ิตจากจิตรกรรมฝาผนังวดั พระสงิ ห
ท่มี า : จากการสาํ รวจของผูวจิ ัย

บทที่ 3

การดาํ เนินการสรางสรรค

ในการศึกษาคนควาเพ่ือสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธชุดนี้ ขาพเจาไดนําขอมูลจาก
ชนบทภาคเหนือและประสบการณสวนตนมาจากวิถีชีวิตครอบครัวพื้นถ่ินลานนา โดยเนนในสวน
ของเคร่ืองมือเครื่องใชในครัวไฟผานมุมมองชีวิตท่ีเกี่ยวเน่ืองกับเน้ือหาสาระของวัตถุท่ีมี
ความหมายตอกิจกรรมการทําอาหารมาถายทอดโดยมุงเนนการแสดงออกทางอารมณ ความรูสึก
และความคิด ดว ยเทคนคิ วิธกี ารสรางสรรคในรปู แบบกึ่งเหมือนจริงตามลักษณะจิตรกรรมไทยแนว
ประเพณีไทย

วธิ ีการสรางสรรคผลงานวทิ ยานพิ นธ

1. ศึกษาจากสถานทจ่ี ริง เกีย่ วกบั การดําเนนิ ชวี ติ ในชนบท ท้ังการกนิ การอยู การทาํ มา
หากิน และการเก็บรกั ษาเครอื่ งมอื เคร่อื งใช รวมถึงประสบการณต รงในวัยเดก็ อกี ทง้ั การศึกษาจาก
เอกสารตําราทางวชิ าการท่เี กย่ี วขอ งแลว นาํ มาผสมผสานกันกับสิ่งของในอดตี และปจ จุบัน

2. ศึกษาจากสภาพเคร่ืองมือเคร่ืองใชที่มีอยูในครัวเรือน ถึงหนาท่ี ประโยชนใชสอย
แลว นาํ มาแสดงออกถงึ วฒั นธรรมในการดําเนินชีวิตของผูอยูอาศัยที่มีการใชงานมาตั้งแตอดีตจนถึง
ปจ จบุ ัน

วธิ กี ารสรางภาพรา ง

กาํ หนดโครงสรางทเี่ ปนจรงิ ตามสภาพแวดลอ ม สรางสรรคภาพรางดวยสีที่เหมือนจริง
ของวัตถุท่ีมีอยูภายในครัว จัดวางองคประกอบขึ้นใหมใหมีความเหมาะสมกับแนวความคิดในการ
สรางสรรคผลงาน วางจังหวะของเครื่องมือเครื่องใชที่มีความหมายและการใชงานที่แตกตางกัน
ซ่ึงอาจมีการลด เพิ่มหรือตัดทอนบางสวนเพ่ือใหเกิดผลงานสรางสรรคที่สมบูรณตามความรูสึกท่ี
ตอ งการแสดงออกในสดั สวนทท่ี ําใหเ กดิ ความรูสึกของการมองวัตถทุ ี่สมจรงิ

การสรางสรรคผ ลงานจริง

สรางผลงานจริงในสัดสวนท่ีมีขนาดเทาจริง จากน้ันหาความสมบูรณของการวาง
องคประกอบและความลงตัวของภาพแลวจึงกําหนดนํ้าหนักออนแกในสวนท่ีเปนแสงและเงาของ

12

13

ภาพใหมีความมืดสลัวเหมือนจริง ภายในครัวที่มีกิจกรรมและบรรยากาศที่ตองการถายทอด
ความรูสึกอบอนุ ความสุข ความผกู พนั และความประทับใจท่เี กิดข้ึนภายในครอบครวั

ทศั นธาตทุ ่ีใชใ นการสรางสรรค

ในการสรางสรรคผลงานทัศนศิลปชุด “ครัวไฟลานนา” นี้ ขาพเจาไดศึกษาจาก
แหลงขอมูลจริงในสังคมชนบท รวมทั้งเอกสารตําราทางวิชาการท่ีเกี่ยวเน่ืองกับสังคม วิถีชีวิต
ครอบครัวในชนบทลานนา เพ่ือนําเน้ือหาสาระดังกลาวมาผนวกเปนความคิดรวบยอด ผสมผสาน
กับการแสดงออกเฉพาะตน ออกมาเปนผลงานจิตรกรรมไทยแนวประเพณีโดยกําหนด
องคประกอบดวยทศั นธาตตุ า งๆ ดงั นี้

1. รูปทรง (Form) เปนรูปทรงที่มีลักษณะ ขนาดแตกตางกันออกไป มีสภาพความเปน
จริงจากสิ่งของเคร่ืองใชตางๆ การวางจังหวะของรูปทรงที่ทับซอนกันภายในผลงานน้ันเพื่อใหเกิด
จงั หวะและความกลมกลนื ภายผลงาน

2. เสน (Line) ลักษณะของเสนท่ีนํามาใชในการสรางสรรคผลงานสวนใหญจะใชเสน
ตง้ั และเสน นอนเปนหลกั เปนการเช่ือมโยงความสัมผัสของรูปทรงใหภาพมีความกลมกลืนและเกิด
ความสงบนงิ่

3. สีและนํ้าหนัก (Colour and Tone) บรรยากาศโดยรวมของผลงานจะใชสีน้ําตาลเปน
สีหลักโดยมีสีดําเปนนํ้าหนักคลุมบรรยากาศ สรางบรรยากาศใหรูสึกอบอุนแบบเหมือนจริง สราง
ความกลมกลืนของสีเพ่อื เนน ใหงานมีความเปนเอกภาพ

4. พื้นผิว (Texture) เกิดจากการซอนกันของน้ําหนักสี การสรางพื้นผิวที่มีลักษณะ
เหมอื นจรงิ ของวัตถุส่ิงของ เครอ่ื งใชท ่มี ลี ักษณะเฉพาะของวตั ถนุ ้นั ๆ จะทําใหเ กิดเสนห มากขึ้น เปน
การเพิ่มความนา สนใจใหกบั ผลงาน

5. ที่วาง (Space) ที่วางท่ีเกิดข้ึนภายในภาพเปนท่ีวางท่ีสรางสรรคบรรยากาศและเนน
รูปทรงใหโดดเดนข้ึน ชวยใหเกิดการลวงตาเห็นเสมือนเปนจริง ดวยวิธีประกอบกันของทัศนธาตุ
ตา งๆ ทาํ ใหผ ลงานสรา งสรรคชดุ นี้มีความกลมกลนื และรูส ึกไดถ งึ รปู แบบของวถิ ชี ีวติ ชนบทลา นนา
มากยิ่งข้นึ

บทที่ 4

การดําเนินงานและพฒั นาผลงานวทิ ยานพิ นธ

ผลงานการสรางสรรคในจิตรกรรมไทยแนวประเพณีชุด “ครัวไฟลานนา” เปนการ
ถายทอดวิถีชีวิตในแงมุมหนึ่งท่ีมีความสําคัญตอคนในครอบครัวชนบทลานนาในอดีต ผาน
เครื่องมือเคร่ืองใชภายในครัว และกิจกรรมท่ีเกิดขึ้นของชวงเวลาใดเวลาหนึ่ง รวมถึงการสราง
บรรยากาศโดยรวม เพือ่ ใหเ กิดความรูสกึ อบอนุ สงบ และเรียบงา ยของครอบครวั ชนบทลา นนา

จากการศึกษาคนควาและพัฒนา ปรับปรุงผลงานใหตรงตามความรูสึกท่ีตองการ
ถา ยทอด จึงไดมกี ารสรา งสรรคผลงานที่เปน 2 ระยะดังน้ี

ผลงานกอนวทิ ยานิพนธช ว งแรก

การสรางสรรคผลงานในระยะแรก เปนการนําเสนอเร่ืองราวท่ีเปนลักษณะการแสดง
กิจกรรมการทําอาหาร การเตรียมเครื่องปรุงอาหาร ตลอดจนการหุงตมบนเตาไฟ เพื่อถายทอด
คุณคาความหมายของอาหารท่ีกําลังทําอยู และคุณคาของเคร่ืองมือเคร่ืองใชในการประกอบอาหาร
ในทองถิ่น สาระทั้งหมดท่ีมีอยูในครัวไฟ เปนตัวถายทอดอารมณความรูสึก โดยการใชแสงเปนตัว
ชว ยเนนความหมายของคุณคาภายในครัวไฟ ซึ่งผลงานกอนวิทยานิพนธนี้ จะมีลักษณะเปนครัวไฟ
ในปจจบุ นั เปนสือ่ ในการนําเสนอ โดยจะแยกเปนลําดบั การสรางสรรคผ ลงานดังน้ี

ผลงานกอนวิทยานิพนธชิ้นที่ 1 แสดงบอกเลาเร่ืองราวท่ีเกิดข้ึนทั้งหมดภายในครัวไฟ
เก่ียวกับการทําอาหาร ตั้งแตการเตรียมอาหาร การต้ังหมอกอไฟ กระท่ังอาหารท่ีสุกแลว จนถึงการ
ต้งั สาํ รับกบั ขา ว อารมณค วามรสู ึกของภาพ เนน กิจกรรมทกี่ ําลงั กระทํา เพ่อื ถา ยทอดชวี ิตผา นสิง่ ของ
ตางๆ ภายในครัวไฟ

ผลงานกอนวิทยานิพนธชิ้นท่ี 2 มีการแกไขโดยเนนสาระใหแคบลง บอกถึงกรรมวิธี
การทาํ อาหาร ผลงานเปนแบบ 3 มิติ พื้นผวิ และรูปแบบมีความเหมือนจริง ลกั ษณะการวางเคร่ืองมือ
เครอื่ งใชสามารถบง บอกพฤติกรรม ความมีระเบยี บและกิจวตั รประจาํ วนั ของชาวบาน

ผลงานกอนวิทยานิพนธช้ินท่ี 3 ผลงานมีการใชแสงไฟท่ีมาจากตะเกียง แสงที่มาจาก
เตาไฟเปนสื่อถายทอดอารมณความรูสึก มุงเนนใหภาพมีความนาสนใจมากข้ึน แตผลงานไม
สามารถถายทอดความหมายที่ตองการได เน่ืองจากแสงไฟที่ใชในผลงานดึงความนาสนใจของ
สาระทแี่ สดงออก

14

15

ผลงานกอนวิทยานิพนธชิ้นที่4 การนําเสนอรูปแบบท่ีนาสนใจ การจัดวาง
องคประกอบของภาพลงตัว และลักษณะการมองในเสนระดับสายตา เปนจุดเร่ิมในการสรางสรรค
วิทยานิพนธชุดนี้ เพราะการทดลองการจัดวางในหลายๆรูปแบบท่ีผา นมายังคงขาดความลงตวั

สรุปในสวนของผลงานกอนวิทยานิพนธในชวงแรก การแสดงออกนั้นยังคงไมตรง
ตามความหมายท่ีตองการ เพราะสื่อท่ีใชถายทอดมีอิทธิพลของเคร่ืองใชสมัยใหมเขามามีผลตอการ
แสดงออกมากเกินไป ทําใหสาระสําคัญของงานแสดงไมตรงตามความคิด และความรูสึก ผลงาน
ดงั กลา วจงึ เปนเพยี งการเร่ิมตนศึกษาเพ่อื ปรับปรุงพัฒนาแกไขในชดุ ตอไป

ผลงานกอนวทิ ยานิพนธช วงที่สอง

การปรับปรุงแกไขรูปแบบที่เก่ียวกับสื่อท่ีใชแสดงออกในผลงานตามความคิดที่
ตอ งการถา ยทอด จึงไดคนควาขอมลู เพม่ิ เตมิ จากเอกสาร และพพิ ธิ ภณั ฑทอ งถ่ินภาคเหนอื ในอดีตถงึ
เอกลักษณเกี่ยวกับเครื่องมือเครื่องใชในการประกอบอาหาร เชน หมอที่ทําจากดินเผา ลักษณะของ
กอนเสา อยูบนแมเตาไฟสามารถบอกความเปนเฉพาะตัวของทองถิ่นลานนา จึงสรางสรรคผลงาน
เปนไปตามแนวความคิดของผลงานชุด “ครัวไฟลานนา” ใหมีความสมบูรณมากขึ้นถึงวิถีชีวิตของ
ชนบทลานนา

ขาพเจา ไดส รา งสรรคเ ปน ผลงานกอนวทิ ยานพิ นธชว งท่ีสอง
ผลงานกอนวิทยานิพนธชวงที่สองช้ินที่1 ลักษณะผลงานท่ีสรางสรรคมีการจัดวาง
องคประกอบที่ใชส่ือความหมาย วางทับซอนของจังหวะคอนขางมากจนเกินไป ทําใหสาระท่ี
ตองการจะแสดงออกหายไป ทําใหการพัฒนามีการปรับเปลี่ยนวิธีการวางจังหวะรูปทรงใหมี
ระเบยี บมากขึน้ เพอื่ แสดงอารมณภายในครัวไฟท่ีมีบรรยากาศสงบนง่ิ
ผลงานกอนวิทยานิพนธชวงที่สองช้ินที่ 2 ผลงานชิ้นน้ีไดวางจังหวะส่ิงของเคร่ืองใชที่
คอนขางเปนสัดสวน และเปนระเบียบ แตผลงานมีการแสดงออกในเร่ืองของควันไฟ และที่วาง
หมอที่มีผลตอสาระสําคัญเก่ียวกับความรูสึกที่ตองการถายทอด ผลงานชิ้นนี้จึงตองพัฒนาดาน
ความหมายใหชดั เจนยิง่ ขน้ึ
ผลงานกอนวิทยานิพนธชวงท่ีสองชิ้นที่ 3 ผลงานมีการวางองคประกอบท่ีเทากันท้ัง
สองขาง แตมีรูปทรงท่ีตางกัน โดยเนนสาระสําคัญใหอยูกลางภาพ เพ่ือถายทอดคุณคาความหมาย
และคณุ ประโยชนของขา วเหนยี วผา นวิธีการนึ่ง ในชีวติ ประจาํ วันของคนลานนา
ผลงานกอนวิทยานิพนธชวงท่ีสองชิ้นท่ี 4 ผลงานมีการแสดงใหแสงอยูสองจุดใน
บรรยากาศตอนเชามืด แสงที่เกิดจากตะเกียง และแสงท่ีเกิดขึ้นในเตา ทําใหภาพเกิดความรูสึก
อบอุน การจัดวางองคประกอบท่ีกระจายท้ังภาพของเคร่ืองมือเคร่ืองใช เพื่อใหเห็นโดยรวมภายใน

16

ครัวไฟ ปญหาท่ีเกิดข้ึนเกิดจากไมไผสานดานหลังมีผลรบกวนสาระสําคัญของภาพมากเกินไป
ผลงานจงึ แสดงผลทางความรสู กึ ไดไ มดเี ทาท่ีควร

สรุปผลงานกอนวิทยานิพนธชวงท่ีสอง เปนการคนหาความลงตัวเกี่ยวกับคุณคาตางๆ
ภายในครัวไฟ ที่มีความสัมพันธกัน สะทอนความหมายในตัวของวัตถุแตละช้ิน ทําใหเน้ือหาของ
ภาพมีความสมบูรณมากขึน้ เพอื่ นําไปสกู ารพฒั นาผลงานวิทยานพิ นธต อ ไป

ผลงานวิทยานพิ นธ

ผลงานวิทยานิพนธที่ขาพเจาสรางสรรคชุด “ครัวไฟลานนา” เปนการถายทอด
ความหมาย และคุณคาที่มีบทบาทตอสังคมชนบทลานนา เปนท่ีกอกําเนิดวัฒนธรรมการกินอยูท่ี
เปนแบบแผนชัดเจนมาในอดีต และยังคงคุณคาเหลานั้นสืบทอดกันมายังลูกหลานในปจจุบัน
เปนแหลงอาหารที่สําคัญ เปนหัวใจหลักของบาน และเปนศูนยรวมความรักความอบอุนของ
ครอบครัว ขาพเจาศึกษาพัฒนารูปแบบมาอยางตอเนื่อง เพ่ือใหผลงานถายทอดอารมณความรูสึกที่
ตองการออกมาไดตรงตามความคิดสรางสรรค และเกิดความสมบูรณท่ีสุด จึงไดสรางสรรคผลงาน
วิทยานพิ นธจํานวนทงั้ 5 ช้นิ

ผลงานวิทยานิพนธชิ้นท่ี 1 ผลงานแสดงอารมณความรูสึกสงบนิ่งในบรรยากาศท่ีมืด
สลัวของชวงเวลาเชาตรู เกี่ยวกับการหุงหาอาหาร การคลุมบรรยากาศดวยนํ้าหนักสีดําแทนคราบ
เขมาควัน เพ่ือใหภาพมคี วามเหมือนจริง และถายทอดความรูสกึ ไดด ียงิ่ ข้ึน

ผลงานวิทยานิพนธช้ินที่ 2 เปนการถายทอดความหมายของการคอยขาวคอยแกง เปน
ความสุขภายในจิตที่รับรูไดจากความรูสึก การต้ังหมอพรอมกันทั้งสองเตา เพ่ือแสดงสาระสําคัญ
ของภาพในเวลาเดยี วกนั

ผลงานวิทยานิพนธช้ินที่ 3 ผลงานมีการใชบรรยากาศที่มืดสลัว เนนแสงท่ีเกิดจากเตา
ไฟและแสงจากตะเกียงเพอ่ื สง เสรมิ เน้อื หาสาระ ความหมายที่ตอ งการถายทอดภายในผลงาน

ผลงานวิทยานิพนธชิ้นท่ี 4 ผลงานมุงเนนในเร่ืองของบรรยากาศภายในครัวไฟท่ี
มืดสลัว ไมมีกิจกรรมใดๆ เกิดขึ้น แตจะเปนการถายทอดสาระสําคัญของเคร่ืองมือเคร่ืองใชท่ีมีอยู
ในครัว ผลงานจึงแสดงความหมายของสิ่งของในตัวของมันเอง โดยไมมีแสงท่ีเปนจุดเดนมาดึง
ความสนใจในภาพโดยรวม

ผลงานวิทยานพิ นธชนิ้ ท่ี 5 ผลงานถา ยทอดมมุ มองเก่ียวกับการเก็บภาชนะของใชตางๆ
ภายในครัว ลักษณะการจัดวางตําแหนง ความเหมาะสมของแตละหนาท่ีการใชงาน เพื่อมุงเนน
สาระสาํ คัญทม่ี คี วามหมายเช่ือมโยงกบั การดําเนนิ ชีวติ ในแตละวันภายในครวั ไฟ

17
ภาพที่ 7 ภาพแสดงผลงานกอ นวทิ ยานพิ นธช้ินท่ี 1

18
ภาพที่ 8 รายละเอยี ดของผลงานกอนวิทยานิพนธชน้ิ ท่ี 1

19
ภาพที่ 9 รายละเอยี ดของผลงานกอนวิทยานิพนธชน้ิ ท่ี 1

20
ภาพที่ 10 ภาพแสดงผลงานกอนวทิ ยานพิ นธช น้ิ ท่ี 2

21
ภาพที่ 11 รายละเอียดของผลงานกอ นวิทยานิพนธชน้ิ ท่ี 2

22
ภาพที่ 12 รายละเอียดของผลงานกอ นวิทยานิพนธชน้ิ ท่ี 2

23
ภาพที่ 13 ภาพแสดงผลงานกอนวทิ ยานพิ นธช น้ิ ท่ี 3

24
ภาพที่ 14 รายละเอียดของผลงานกอ นวิทยานิพนธชน้ิ ท่ี 3

25
ภาพที่ 15 รายละเอียดของผลงานกอ นวิทยานิพนธชน้ิ ท่ี 3

26
ภาพที่ 16 ภาพแสดงผลงานกอนวทิ ยานพิ นธช น้ิ ท่ี 4

27
ภาพที่ 17 รายละเอียดของผลงานกอ นวิทยานิพนธชน้ิ ท่ี 4

28
ภาพที่ 18 รายละเอียดของผลงานกอ นวทิ ยานิพนธช น้ิ ท่ี 4

29
ภาพท่ี 19 ภาพแสดงผลงานกอ นวทิ ยานพิ นธชว งท่ีสองช้ินท่ี 1

30
ภาพท่ี 20 รายละเอยี ดของผลงานกอ นวทิ ยานิพนธช ว งท่สี องชนิ้ ท่ี 1

31
ภาพท่ี 21 รายละเอยี ดของผลงานกอ นวทิ ยานิพนธช ว งท่สี องชน้ิ ท่ี 1

32
ภาพท่ี 22 ภาพแสดงผลงานกอ นวทิ ยานิพนธชว งท่ีสองช้ินท่ี 2

33
ภาพท่ี 23 รายละเอยี ดของผลงานกอ นวทิ ยานิพนธช ว งท่สี องชนิ้ ท่ี 2

34
ภาพท่ี 24 รายละเอยี ดของผลงานกอ นวทิ ยานิพนธช ว งท่สี องชน้ิ ท่ี 2

35
ภาพท่ี 25 ภาพแสดงผลงานกอ นวทิ ยานพิ นธชว งท่ีสองช้ินท่ี 3

36
ภาพท่ี 26 รายละเอยี ดของผลงานกอ นวทิ ยานิพนธช ว งท่สี องชน้ิ ท่ี 3

37
ภาพท่ี 27 รายละเอยี ดของผลงานกอ นวทิ ยานิพนธช ว งท่สี องชนิ้ ท่ี 3

38
ภาพท่ี 28 ภาพแสดงผลงานกอ นวทิ ยานพิ นธชว งท่ีสองช้ินท่ี 4

39
ภาพท่ี 29 รายละเอยี ดของผลงานกอ นวทิ ยานิพนธช ว งท่สี องชนิ้ ท่ี 4


Click to View FlipBook Version