The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jessadar, 2022-09-04 00:53:02

วิจัย64รวมเล่ม

วิจัย64รวมเล่ม

1

บทที่ 1
บทนำ
ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ
วิสัยทัศน์ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน 2551 คือ มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน
ซ่ึงเป็นกาลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลท้ังด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีความรู้และ
ทักษะพื้นฐานรวมทั้งเจตคติที่จาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต
โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพื้นฐานความเช่ือว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็ม
ตามศกั ยภาพ (กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2551 : 4)
จากการท่ีผู้วิจัยมีประสบการณ์ในการสอนรายวิชาวิทยาการคานวณ3 ชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 3 พบว่า ผู้เรียนบางส่วนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่าซ่ึงสภาพปัญหาที่เกิดข้ึนน้ีอาจมีสาเหตุมา
จากเทคนิคการสอนของครูยังไม่หลากหลาย กิจกรรมการเรียนการสอนเป็นรูปแบบเดิมๆ ขาดสื่อการ
สอนทท่ี ันสมัยและมีประสทิ ธภิ าพ ผู้เรยี นมคี วามรู้พ้นื ฐานไม่เพียงพอทาใหเ้ บอ่ื หนา่ ยในการเรยี น
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์เป็นสื่อท่ีมีบทบาทสาคัญ บทเรียนท่ีใช้กันมากคือ บทเรียน
คอมพิวเตอร์ท่ีจากเดิมมีการนาเสนอการเรียนแบบเดียวกับการใช้สไลด์ และมีส่วนประกอบสาคัญ
เพียงอักขระกับภาพนิ่ง แต่ในปัจจุบันมีการนาเสนอในรูปแบบมัลติมีเดีย (Multimedia) มี
ส่วนประกอบท่ีสาคัญคือตัวอักษร เสียง ภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหว ภาพวีดีทัศน์ และมีการปฏิสัมพันธ์
น่ันคือมีการโต้ตอบกันระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ ทั้งน้ีในการออกแบบบทเรียนการจัดการเรียนรู้ท่ี
เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญนั้นจาเป็นต้องเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถควบคุมลาดับอัตราการเรียนด้วย
ตนเองจะชว่ ยใหผ้ ู้เรียนลดความวติ กกังวล เพราะผเู้ รียนสามารถทจ่ี ะเลอื กเรยี นเน้อื หาตามความสนใจ
และความต้องการ ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่สร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม
Google Sites เพ่ือแก้ปัญหาเร่ืองผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โดยใช้สร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่าน
เว็บไซต์ ดว้ ยโปรแกรม Google Sites เรื่อง การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภยั

ควำมมงุ่ หมำยของกำรวิจัย
1. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่จัดการเรียนรู้ด้วย

บทเรียนคอมพิวเตอรผ์ ่านเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sites
2. เพอ่ื ศกึ ษาความพึงพอใจของนกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 หลงั ได้รบั การจดั การเรยี นรู้ด้วย

บทเรียนคอมพิวเตอรผ์ า่ นเว็บไซต์ ดว้ ยโปรแกรม Google Sites

ควำมสำคญั ของกำรวิจัย
ผลการศกึ ษาคน้ ควา้ ทาใหท้ ราบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของนกั เรียน ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3 ท่ี

จดั การเรียนรู้ด้วยบทเรยี นคอมพิวเตอร์ผา่ นเว็บไซต์ ดว้ ยโปรแกรม Google Sites

2

ขอบเขตของกำรวิจัย
ประชำกรทีใ่ ช้ในกำรวจิ ยั

ประชากรท่ีใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
2564 โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศจงั หวดั เพชรบุรี จานวน 275 คน

กลมุ่ ตวั อย่ำงทีใ่ ชใ้ นกำรวจิ ยั
กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศจังหวัดเพชรบุรี

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จานวน 1 ห้องเรียน จานวนนักเรียนท้ังหมด 39 คน ซึ่งได้จากการ
เลือกแบบเจาะจง

เนอื้ หำท่ใี ช้ในกำรวิจัย
การกาหนดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยการวิเคราะห์สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระ

การเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิชาวิทยาการคานวณ3 เรื่อง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
อย่างปลอดภัย

ระยะเวลำในกำรศกึ ษำวิจยั
การวจิ ัยครั้งน้ีดาเนนิ การในภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 ใช้ระยะเวลาในการทดลอง

รวม 4 ช่ัวโมง

ตัวแปรที่ศึกษำ
1. ตวั แปรอิสระไดแ้ ก่ การจัดการเรียนรูด้ ว้ ยบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเวบ็ ไซต์ ด้วยโปรแกรม

Google Sites
2. ตัวแปรตาม
2.1 ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน
2.2 ความพงึ พอใจของนักเรยี น

นิยำมศพั ทเ์ ฉพำะ
1. Google sites หมายถึง คือโปรแกรมของ Google ที่ให้บริการสร้างเว็บไซต์ฟรี สามารถ

สร้าง เว็บไซต์ได้ง่าย ปรับแต่งรูปลักษณ์ได้อย่างอิสระ และสามารถรวบรวมความหลากหลายของ
ข้อมูลไว้ในที่เดียว เช่น วิดีโอ, ปฏิทิน, เอกสาร อ่ืนๆ สามารถนามาแทรกในหน้าเว็บเพจได้ เป็นการ
เพ่มิ ลูกเล่น ใชง้ านไดง้ ่าย ทาให้ช่วยอานวยความสะดวกไดเ้ ปน็ อยา่ งมาก

2. กำรจัดกำรเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพวิ เตอร์ผ่ำนเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sites
หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google
Sites เรือ่ ง การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภัย ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 โดยเมื่อนักเรียนเรียนกับ
ครูเรยี บรอ้ ยแล้ว นักเรียนจะต้องกลบั ไปทบทวนความรู้ผ่านทางโปรแกรม Google Sites

3

3. ผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียน หมายถึง ผลของคะแนนจากการประเมินผู้เรียนหลังจากศึกษาจาก
บทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sites จบแล้วโดยพิจารณาพัฒนาการด้าน
ความรู้ของผู้เรียนจากคะแนนความสามารถของนักเรียนท่ีได้จากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ท้ัง
ก่อนเรยี นและหลงั เรียน โดยใช้แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนแบบปรนยั จานวน 10 ข้อ

4. ควำมพึงพอใจ หมายถึง ระดับความรู้สึกของนักเรียนท่ีเป็นกลุ่มตัวอย่างต่อบทเรียน
คอมพิวเตอร์ผ่านเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sites เรื่อง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง
ปลอดภัย หลังจากที่ได้รับการจัดการเรียนการสอน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บไซต์ ด้วย
โปรแกรม Google Sites ท่ีผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น โดยวัดค่าเป็นคะแนนจากการทาแบบประเมิน
ความพงึ พอใจทางการเรียนรู้ ทผ่ี ูว้ ิจัยได้พฒั นาขึน้

สมมติฐำนในกำรวิจยั
1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่จัดการเรียนรู้ ด้วยบทเรียน

คอมพิวเตอรผ์ า่ นเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sites หลังเรยี นสงู กว่ากอ่ นเรยี น
2. ความพึงพอใจของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้

ดว้ ยบทเรยี นคอมพวิ เตอร์ผ่านเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sites อยู่ในระดับมากทีส่ ุด

4

บทท่ี 2
เอกสำรและงำนวิจยั ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง

ในการวิจยั ครัง้ นีผ้ ้วู จิ ัยไดศ้ ึกษาเอกสารและงานวจิ ัยท่เี ก่ยี วขอ้ ง และได้นาเสนอตามหัวขอ้
ตอ่ ไปน้ี
1. เอกสำร และงำนวิจัยท่ีเกี่ยวกับบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่ำนเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google
Sites

1.1 เอกสำรท่เี กี่ยวกับบทเรียนคอมพวิ เตอรผ์ ำ่ นเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sites
Google sites หมายถึง คือโปรแกรมของ Google ท่ีให้บริการสร้างเว็บไซต์ฟรี สามารถ
สร้าง เว็บไซต์ได้ง่าย ปรับแต่งรูปลักษณ์ได้อย่างอิสระ และสามารถรวบรวมความหลากหลายของ
ข้อมูลไว้ในท่ีเดียว เช่น วิดีโอ, ปฏิทิน, เอกสาร อ่ืนๆ สามารถนามาแทรกในหน้าเว็บเพจได้ เป็นการ
เพิ่มลกู เลน่ ใชง้ านไดง้ า่ ย ทาให้ช่วยอานวยความสะดวกได้เป็นอยา่ งมาก
กระบวนกำรจัดทำและพัฒนำบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่ำนเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google
Sites

ก่อนท่ีจะลงมือจัดทา หรือพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม
Google Sitesนน้ั ควรคานงึ ขั้นตอนและกระบวนการจัดทาทถี่ กู ต้องและเหมาะสม โดยศกึ ษาให้เข้าใจ
ถึงขั้นตอน และกระบวนการจัดทาบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sitesท่ี
ถูกต้องว่ามีขั้นตอนการดาเนินงานอย่างไร จากน้ันจึงนาไปใช้เพือ่ เป็นแนวทางในการลงมือปฏิบัตจิ ริง
เม่ือเราตอ้ งการจัดทาบทเรียนคอมพวิ เตอร์ผ่านเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sites สาหรบั บทเรยี น
ใดบทเรียนหนึ่ง จะมีกระบวนการจดั ทาและพฒั นาดงั โครงสร้างพอสงั เขปตอ่ ไปนี้

5

ภาพประกอบ 1 กระบวนการจัดทาและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม
Google Sites

6

1.2 งำนวิจัยท่ีเก่ียวกับกำรสร้ำงบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่ำนเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม
Google Sites

อัปสร แสงทิพย์ (2556) เรื่อง การพัฒนารูปแบบการสอนภาษาอังกฤษโดยใช้สื่อออนไลน์
Google Sites ผสมผสานกับการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
วิชาภาษาอังกฤษใน ชีวิตจริง 2 ผลการวิจัยพบว่า 1. การสร้างและการหาประสิทธิภาพของบทเรียน
ออนไลนผ์ า่ น Google Sites เรอ่ื ง Greeting: Opening and Closing วิชาภาษาองั กฤษในชวี ิตจริง 2
พบวา่ มีความเหมาะสม ซึ่งมีค่าดัชนี ความสอดคล้อง (IOC) อยู่ระหวา่ ง 0.60 - 1.00 และจากการนา
บทเรียนออนไลน์ผ่าน Google Sites ไป ทดลองใช้กับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีท่ี 1
จานวน 52 คน พบว่า บทเรียนออนไลน์ผ่าน Google Sites มีประสิทธิภาพเท่ากับ 80.72/87.84 ซึ่ง
สูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนด 80/802. การทดลองสอนโดย ใช้บทเรียนออนไลน์ Google Site ผสมผสาน
กับการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism) พบว่า นักศึกษามีคะแนน
เฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 5.66 มีคะแนนเฉล่ียหลังเรียนเท่ากับ 13.09 และเมื่อทดสอบความแตกต่าง
ของค่าเฉล่ีย พบวา่ นักศกึ ษามีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นหลังเรยี นสงู กวา่ ก่อนเรยี นอยา่ งมนี ัยสาคัญทาง
สถิติทีร่ ะดบั .05

ลัดดาวรรณ ศรีฉิม บัญชา สารวยร่ืน (2557) ได้ศึกษาเรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์
ผา่ นเวบ็ ผา่ นโปรแกรม Google Site ตามแนวทฤษฎสี รา้ งสรรคค์ วามรู้ เป็นรูปแบบหน่ึงในการจัดการ
เรยี นการสอนท่ีกระตนุ้ ให้เกดิ กระบวนการเรียนรู้อย่างมเี ปา้ หมายและมปี ระสิทธิภาพ โดยการวิจัยครั้ง
นี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) สร้างและหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บ ด้วยโปรแกรม
Google Site ตามแนวทฤษฎี สร้างสรรค์ความรู้ เร่ือง หลักการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ 2)
เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียน หลังการเรียนรู้จากบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บกับ
เกณฑ์ร้อยละ 70 และ 3) ศึกษาความพึงพอใจต่อการ จัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่าน
เว็บของนักเรียน กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนนครไทย
อาเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก จานวน 40 คน ท่ีกาลังศึกษาในหัวข้อ หลักการทาโครงงาน
คอมพิวเตอร์ในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2557 โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ ใช้ในการ
วิจัย ได้แก่ บทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บ ด้วยโปรแกรม Google Site ตามแนวทฤษฎีสร้างสรรค์
ความรู้ เรื่อง หลักการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ จานวน 6 บทเรียน แผนการจัดการเรียนรู้ แบบ
ประเมินผลงาน นักเรียนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน จานวน 30 ข้อ และแบบประเมิน
ความพึงพอใจต่อการ 1. นักศึกษาสาขาวิชาหลักสูตรและการสอน หลักสูตรครุศาสตร์มหาบัณฑิต
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พิบูลสงคราม e-mail: kru.laddawananakhonthai.ac.th 2
ว่าท่ีเรืออากาศตรี ดร. ประจาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จัดการเรียนรู้โดยใช้
บทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (x) ค่าเบ่ียงเบน
มาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบสมมติฐาน โดยใชส้ ถิตทิ ดสอบที่ กรณี กลมุ่ ตัวอย่างเดียว (t-test for
one sample) ผลการวจิ ัยพบว่า 1. บทเรียนคอมพิวเตอร์ผา่ นเวบ็ ด้วย โปรแกรม Google Site ตาม
แนวทฤษฎีสร้างสรรค์ความรู้ สาหรับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 86.13/87.83 2.
นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นหลงั เรยี นสูงกวา่ เกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสาคัญทางสถติ ิ ท่ีระดบั
.05 3. นักเรียนที่เรียนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บ ด้วยโปรแกรม Google Site ตามแนว

7

ทฤษฎสี ร้างสรรคค์ วามรู้ มีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนคอมพวิ เตอร์ผ่านเว็บ อยู่
ในระดบั มากทีส่ ดุ

เทวญั ภูพานทอง (2558: บทคัดย่อ) การวจิ ัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์ 1) เพอ่ื พฒั นาสื่อการสอน
และ บทเรียนออนไลน์โดยประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีสาสรสนเทศ (DLIT) รายวิชา สื่อสังคมออนไลน์ รหัส
ง30249 ชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 5 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อส่ือการสอนและ
บทเรียนออนไลน์โดยใช้โดย ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสาสารสนเทศ (DLIT) รายวิชา สื่อสังคมออนไลน์
รหัส ง30249 ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนนามน
พทิ ยาคม จังหวัดกาฬสนิ ธ์ุสานกั งานเขตพืน้ ที่ การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 24 จานวน 45 คน เครอื่ งมอื
ที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) บทเรียนออนไลน์โดย ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT) รายวิชา สื่อ
สังคมออนไลน์ 2) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนท่ีมีต่อ ส่ือการสอนและบทเรียนแบบเปิด
ผลการวจิ ัย พบว่า 1) ส่ือการสอนและบทเรยี นออนไลน์โดยประยุกตใ์ ช้ เทคโนโลยสี าสรสนเทศ (DLIT)
รายวิชา สื่อสังคมออนไลน์ รหัส ง30249 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จานวน 5 หน่วยการเรียน มีผลการ
ประเมินจากผู้เช่ียวชาญอยู่ในระดับ เหมาะสมมาก 2) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อส่ือ การสอนและ
บทเรียนออนไลน์โดยใช้โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสาสรสนเทศ (DLIT) รายวิชา สื่อสังคมออนไลน์
รหสั ง30249 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 ในระดับมาก

อัญชลี โอ่งเจริญ (2558) การพัฒนาบทเรียนบนเครือข่าย เรื่อง การสร้างเว็บไซต์ด้วย
Google Sites กล่มุ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 2 มวี ตั ถุประสงค์
เพ่ือ 1) เพื่อพัฒนา บทเรียนบนเครือข่าย เร่ือง การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google Sites กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ การงานอาชีพและ เทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2)
เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนรู้ของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ด้วยบทเรียนบน
เครือข่าย เร่ือง การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google Sites กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี ชั้นมัธยม ศึกษาปีท่ี 2 3) เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของ นักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วย
บทเรียนบนเครือข่าย เรื่อง การสร้างเว็บไซตด์ ้วย Google Sites กลุ่มสาระการ เรียนรู้การงานอาชีพ
และเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2/1 โรงเรียน
เบญจมราชรังสฤษฎี 3 ชนะสงสารวิทยา อาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ภาคเรียนที่ 2 ปี
การศึกษา 2558 จานวน 31 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Sampling) เครื่องมือท่ีใช้ใน
การวิจยั ได้แก่ 1) บทเรียนบนเครือขา่ ย เร่อื ง การสร้างเวบ็ ไซต์ดว้ ย Google Sites 2) แผนการจัดการ
เรียนรู้ที่จัด กระบวนการเรียนรู้ด้วยบทเรียนบนเครือข่าย 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
4) แบบประเมิน ความ พึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อบทเรียนบนเครือข่าย เวลาท่ีใช้ในการทดลอง 20
ชั่วโมง สถิติท่ีใช้ในการ วิเคราะห์ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และสถิติท่ีใช้
ทดสอบสมมติฐานคือ t-test แบบ Dependent ผลการวิจัยพบว่า 1. ประสิทธิภาพของบทเรียนบน
เครือข่าย เร่ือง การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google Sites กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนด 80/80 โดยมีค่าเท่ากับ 88.17/88.06 2.
นักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนบนเครือข่าย เรื่อง การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google Sites กลุ่มสาระการ
เรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 หลังเรียนสูงกวา่ ก่อน เรียนอย่างมีนัยสาคญั
ทางสถิติที่ระดับ .053. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้ด้วยบทเรียนบน เครือข่าย เร่ือง

8

การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google Sites กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ัน
มัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับ มากที่สุด มีค่าเฉล่ียของระดับความพึงพอใจ
เทา่ กบั 4.92

จากการศึกษางานวิจัยดังกล่าวข้างต้นพบว่า การเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์
ผา่ น เวบ็ ไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sites จะทาให้ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของนกั เรียนสูงขน้ึ อย่างมี
นัยสาคัญ ทางสถิติ นอกจากน้ียังพบว่านักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอรผ์ ่าน
เวบ็ ไซต์ ด้วย โปรแกรม Google Sites และมผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรียนท่ีสูงขึน้

2. เอกสำรและงำนวจิ ัยท่เี ก่ียวขอ้ งกบั ผลสมั ฤทธ์ทิ ำงกำรเรยี น

2.1 ควำมหมำยของผลสัมฤทธท์ิ ำงกำรเรยี น

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นความสามารถของนักเรียนในด้านต่างๆ ซ่ึงเกิดจากนักเรียน
ได้รับประสบการณ์จากกระบวนการเรียนการสอนของครู โดยครูต้องศึกษาแนวทางในการวัดและ
ประเมินผล การสร้างเครื่องมือวัดให้มีคุณภาพนั้นได้มีผู้ให้ความหมายของผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นไว้ ดังนี้

สมพร เช้ือพันธ์ (2547 : 53) สรุปว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ หมายถึง
ความสามารถ ความสาเร็จและสมรรถภาพด้านต่างๆของผู้เรียนท่ีได้จากการเรียนรู้อันเป็นผลมาจาก
การเรียนการสอน การฝึกฝนหรือประสบการณ์ของแต่ละบุคคลซึ่งสามารถวัดได้จากการทดสอบดว้ ย
วิธีการต่างๆ

พิมพันธ์เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข (2548 : 125) กล่าวว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
หมายถงึ ขนาดของความสาเร็จที่ได้จากกระบวนการเรยี นการสอน

ปราณี กองจินดา (2549 : 42) กล่าวว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง ความสามารถ
หรือผลสาเร็จที่ไดร้ ับจากกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นการเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมและประสบการณ์
เรียนรู้ทางด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัยและทักษะพิสัย และยังได้จาแนกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไว้
ตามลกั ษณะของวัตถปุ ระสงคข์ องการเรยี นการสอนท่แี ตกตา่ งกัน

จากท่ีกล่าวมาสรุปได้ว่าผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง ความรู้ความสามารถของ
นักเรียนหลังได้รับการเรียนมาแล้วประสบความสาเร็จสมหวังในด้านความรู้ความเข้าใจ
ความสามารถทางวชิ าการของแต่ละบุคคลตามแบบทดสอบหรือการทางานทไี่ ด้รบั มอบหมาย

2.2 ควำมหมำยของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิ

ได้มีนักการศกึ ษาหลายทา่ นได้ให้ความหมายของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ ไว้ดังน้ี

สมพร เชอื้ พันธ์ (2547 : 59) กล่าววา่ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน หมายถึง
แบบทดสอบหรือชุดของข้อสอบท่ีใช้วัดความสาเร็จหรือความสามารถในการทากิจกรรมการเรียนรู้

9

ของนักเรียนที่เป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูผู้สอนว่าผ่านจุดประสงค์การ
เรยี นรู้ทตี่ ้ังไว้เพยี งใด

ยุทธ ไกยวรรณ์ (2550 : 8) กล่าวถึงแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิว่า เป็นแบบทดสอบ
ที่สร้างขึ้นเพื่อวัดผลสาเร็จของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เนื้อหาใดเนื้อหาหนึ่งว่าผู้ที่ถูกวัด
มีความรู้ความสามารถเกยี่ วกบั เนื้อหานน้ั มากนอ้ ยเพยี งใด

พิสณุ ฟองศรี (2551 : 138) กล่าวถึงแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนว่า เป็น
แบบทดสอบที่นิยมใช้กันมากในการวิจัยในชั้นเรียนเป็นชุดของข้อคาถามที่กระตุ้นหรือชักนาให้
ผู้เข้าสอบแสดงพฤติกรรมที่ตอบสนองซึ่งส่วนใหญ่เป็นความรู้ด้านสมอง(Cognitive) ใช้กันมาก
ในการประเมินผลการเรียนรู้ด้านพุทธพิสัยคะแนนจากการสอบเป็นตัวสะท้อนถึงความสาเร็จของ
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

จากความหมายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิที่กล่าวมาสรุปได้ว่า แบบทดสอบ
วัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้วัดความรู้ ทักษะและความสามารถ
ทางวิชาการของผู้เรียนหลังจากเรียนมาแล้วว่าบรรลุจุดประสงค์ที่กาหนดมากน้อยเพียงใด
แ บ บ ท ด ส อ บ วัด ผ ล สัม ฤ ท ธิ์จึง เ ป็น เ ค รื่อ ง ม ือ ข อ ง ส ถ า น ศึก ษ า ใ น ก า ร วัด ผ ล สา เ ร็จ ข อ ง ก า ร จัด
กิจกรรมการสอนเพ่ือประเมินผลสาเร็จในการเรียนของนกั เรียน

3. เอกสำรและงำนวจิ ยั ทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั ควำมพงึ พอใจ

3.1 ควำมหมำยของควำมพงึ พอใจ

ความพึงพอใจเป็นปัจจัยสาคัญประการหนึ่งที่มีผลต่อการเรียน การรับรู้และ
ความสาเร็จของการศกึ ษา มนี กั การศึกษาหลายทา่ นได้ให้ความหมายของความพึงพอใจไว้ ดังน้ี

ชนิตรา ศรลัมพ์ (2547 : 26) ไดก้ ล่าววา่ ความพงึ พอใจหมายถึง ความรู้สึกของบุคคล
ที่ไดร้ ับการตอบสนองความต้องการของตนจึงทาให้เกิดความรู้สึกท่ีดี ทาให้ปฏบิ ัติงานหรือกระทาส่ิงตา่ งๆ
ได้บรรลผุ ลสาเรจ็

พัลลภ คงนรุ ตั น์ (2547 : 34) ได้กล่าววา่ ความพงึ พอใจหมายถงึ ความร้สู กึ ความนึกคิด
ความเชื่อที่มีแนวโน้มที่แสดงออกของพฤติกรรมต่อการปฏิบัติกิจกรรมที่ทาให้เกิดความเจริญ
งอกงามในทกุ ด้านของแตล่ ะบคุ คล อาจเป็นทางดา้ นบวกหรือทางดา้ นลบของพฤติกรรมนน้ั ๆ

รัชวลี วรวุฒิ (2548 : 15) กลา่ ววา่ ความพึงพอใจเป็นความร้สู ึกของบคุ คลทีม่ ีต่อเร่ือง
ใดเรื่องหนึ่งในเชิงการประเมนิ คา่ ซงึ่ จะเห็นว่าเกีย่ วขอ้ งสัมพนั ธก์ ับทัศนคตอิ ยา่ งแยกไมอ่ อก

วนิชา ศรีตะปัญญะ (2551:15) กล่าวว่าความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกหรือ
ทัศนคติของบุคคลท่ีมีต่อส่ิงใดสิ่งหน่ึงอันเกิดจากพ้ืนฐานของการรับรู้ ค่านิยมและประสบการณ์
ท่ีแต่ละบุคคลได้รับ และจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อสิ่งนั้นสามารถตอบสนองความต้องการให้แก่บุคคล
นั้นได้ ซึ่งระดับความพึงพอใจของแตล่ ะบุคคลย่อมมีความแตกตา่ งกนั ไป

10

จากความหมายของความพึงพอใจดังกล่าวพอสรุปได้ว่า ความพึงพอใจ หมายถึง
ความรู้สึกชอบ พอใจ ประทับใจท่ีเกิดจากการตอบสนองตามความต้องการของตนจากการได้ร่วม
กิจกรรมการเรียนการสอนหรือกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง ความพึงพอใจเป็นบันไดขั้นแรก
ท่ีนาไปสู่ความสาเร็จบรรลุถงึ จุดหมาย

3.2 ทฤษฎที ่ีเกีย่ วข้องกับควำมพงึ พอใจ

ความพึงพอใจเป็นความรู้สึกชอบ พอใจหรือประทับใจของบุคคลต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
ที่ได้รับซ่ึงในการจัดการเรียนรู้ใดๆ ที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดความพึงพอใจ การเรียนรู้น้ันจะต้องสนอง
ความต้องการของผเู้ รียน ทฤษฎที ่เี กีย่ วข้องกบั ความพงึ พอใจพอสรปุ ไดด้ ังน้ี

ทฤษฎีลาดับขั้นของความต้องการของ Maslow (Needs - Herarchy Theory) เป็น
ทฤษฎีหนึ่งที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางโดยตั้งอยู่บนสมมติฐานเกี่ยวกับพฤติกรรม
ของมนุษย์ มาสโลว์ (Maslow.1970 : 69 – 80) ไดก้ ล่าวถงึ ทฤษฎลี าดบั ขนั้ ความตอ้ งการ ไว้ดงั นี้

1. ลกั ษณะความต้องการของมนษุ ย์ ไดแ้ ก่
1.1 ความต้องการของมนุษย์เป็นไปตามลาดับข้ันความสาคัญโดยเริ่มจากระดับ

ความต้องการขั้นสูงสดุ
1.2 มนุษย์มีความต้องการอยู่เสมอเม่ือความต้องการอย่างหนึ่งได้รับการตอบสนอง

แล้วกม็ ีความตอ้ งการสงิ่ ใหมเ่ ข้ามาแทนที่
1.3 เมื่อความต้องการในระดับหนึ่งได้รับการตอบสนอง แล้วจะไม่จูงให้เกิด

พฤติกรรมต่อส่งิ น้ัน แต่จะมีความต้องการในระดับสูงเขา้ มาแทนและเปน็ แรงจงู ใจให้เกิดพฤติกรรมนนั้

2. ลาดับขนั้ ความต้องการของมนุษย์ มี 5 ระดบั ได้แก่

2.1 ความต้องการพ้ืนฐานทางด้านร่างกาย (Physiological Needs) เป็น
ความต้องการเบื้องตนเพื่อความอย่รู อดของชวี ิต เชน่ ความต้องการอาหาร นา้ อากาศ เคร่อื งนุ่งห่ม
ยารักษาโรค ที่อยู่อาศัยและความต้องการทางเพศ ความต้องการทางด้านร่างกายจะมีอิทธิพลต่อ
พฤติกรรมของคนก็ต่อเมื่อความต้องการของคนยังไม่ไดร้ บั การตอบสนอง

2.2 ความต้องการความม่ันคงความปลอดภัย (Security Needs) เป็นความรู้สึกท่ี
ตอ้ งการความมน่ั คงความปลอดภยั ในปจั จุบันและอนาคต ซ่ึงรวมถงึ ความกา้ วหน้าและความอบอนุ่ ใจ

2.3 ความต้องการทางสังคม (Social or Belonging Needs)ได้แก่ความต้องการ
ที่จะ เขา้ รว่ มและไดร้ บั การยอมรบั ในสังคมความเป็นมิตรและความรกั จากเพอื่ น

2.4 ความต้องการท่ีจะได้รับการยกย่องหรือมีช่ือเสียง (Esteem Needs) เป็น
ความต้องการระดับสูง ได้แก่ ความต้องการอยากเด่นในสังคมรวมถึงความสาเร็จ ความรู้
ความสามารถความเป็นอิสรภาพและเสรีภาพและการเปน็ ทย่ี อมรบั นบั ถือของคนทง้ั หลาย

2.5 ความต้องการที่จะได้รับความสาเร็จในชีวิต (Self Actualization Needs)
เป็นความต้องการระดับสูงของมนุษย์ ส่วนมากจะเป็นการนึกอยากจะเป็น อยากจะได้
ตามความคดิ เหน็ ของตวั เองแต่ไม่สามารถแสวงหาได้

11

บทท่ี 3
วิธีดำเนินกำรวิจัย
ผู้วิจัยศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียน
เบญจมเทพอุทิศจังหวัดเพชรบุรี อาเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี ท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียน
คอมพิวเตอร์ผ่านเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sites เพ่ือให้การวิจัยบรรลุผลตามจุดมุ่งหมายที่
กาหนด ผู้วิจัยไดด้ าเนนิ การตามขัน้ ตอนดงั นี้
1. การกาหนดประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง
2. การกาหนดเนื้อหาทใี่ ช้ในการศกึ ษาคน้ คว้า
3. ระยะเวลาทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษาคน้ ควา้
4. แบบแผนการทดลอง
5. การสร้างเคร่ืองมอื ทีใ่ ชใ้ นการทดลอง
6. วธิ ีดาเนินการศกึ ษาค้นคว้า
7. การวเิ คราะห์ขอ้ มูลและสถิติทใี่ ช้
1. กำรกำหนดประชำกรและเลือกกล่มุ ตวั อย่ำง
ประชำกรท่ใี ช้ในกำรศึกษำคน้ คว้ำ
ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ
จงั หวดั เพชรบุรี ในภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 จานวน 275 คน
กลุม่ ตัวอย่ำงทใ่ี ชใ้ นกำรศึกษำคน้ ควำ้
กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศจังหวัดเพชรบุรี
ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 จานวน 1 ห้องเรียน จานวนนักเรียนท้ังหมด 39 คน ซ่ึงได้จากการ
เลอื กแบบเจาะจง

2. กำรกำหนดเนื้อหำทใ่ี ชใ้ นกำรศกึ ษำค้นคว้ำ
เนอื้ หาที่ใชใ้ นการจัดการเรยี นรู้ผา่ นบทเรียนคอมพิวเตอรผ์ ่านเวบ็ ไซต์ ดว้ ยโปรแกรม Google

Sitesในคร้ังนี้ เป็นเนื้อหารายวิชา วิทยาการคานวณ3 ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง การใช้
เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั

3. ระยะเวลำท่ใี ชใ้ นกำรศกึ ษำค้นควำ้
การวิจัยครั้งน้ดี าเนินการทดลองในภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 โดยใชเ้ วลาทดลอง

4 ชว่ั โมง

12

4. แบบแผนในกำรทดลอง
ในการวจิ ยั ครง้ั นเี้ ป็นการวจิ ยั เชงิ ทดลองโดยใชแ้ บบแผนการวจิ ยั แบบ One – Group

Pretest – posttest Design มแี บบแผนการทดลองดงั นี้

กลมุ่ ตัวอย่าง ทดสอบสอบกอ่ นเรียน ทดลอง ทดสอบหลังเรียน
(R) E T1 X T2

ตำรำงที่ 1 แสดงแบบแผนการทดลอง One – Group Pretest – Posttest Design

สัญลักษณท์ ่ใี ชใ้ นแบบแผนกำรทดลอง
(R) E แทน กลุ่มตัวอย่างทเี่ ป็นกลุม่ ทดลองซงึ่ ไดม้ าด้วยการส่มุ
X แทน การเรียนผา่ นบทเรยี นคอมพิวเตอรผ์ า่ นเวบ็ ไซต์ ดว้ ยโปรแกรม Google

Sites
T1 แทน การทดสอบก่อนเรยี น (Pretest)
T2 แทน การทดสอบกอ่ นเรียน (Posttest)

5. กำรสรำ้ งเคร่ืองมือทใี่ ชใ้ นกำรทดลอง
เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการวิจยั คร้ังน้ี ประกอบดว้ ย
1. บทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sites เรื่อง การใช้เทคโนโลยี

สารสนเทศอย่างปลอดภัย
2. แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน เรอื่ ง การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภัย

1. ขน้ั ตอนในกำรสรำ้ งบทเรียนคอมพวิ เตอรผ์ ำ่ นเวบ็ ไซต์ ดว้ ยโปรแกรม Google Sites
มขี ้นั ตอนการสร้าง ดังน้ี
การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sites เรื่อง การใช้

เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ท่ีใช้ทดลองน้ันผู้วิจัยได้ดาเนินการสร้าง
ตามขนั้ ตอนดงั นี้

1. ศึกษาสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ มาตรฐานการเรยี นรชู้ ่วงชนั้ ตวั ชว้ี ัด คาอธบิ ายรายวิชา
และหน่วยการเรยี นรู้จากหลักสูตรการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551

2. ศกึ ษาสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ มาตรฐานการเรียนรชู้ ่วงชั้น ตัวช้วี ดั คาอธิบายรายวิชา
และหน่วยการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์จากหลักสตู รสถานศกึ ษา

3. กาหนดนิยามของบทเรยี นคอมพวิ เตอรผ์ า่ นเวบ็ ไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sites
4. กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ กระบวนการจัดการเรีย นรู้ การวัดผลและ
การประเมินผลการเรยี นรู้ สอ่ื และแหล่งเรยี นรู้
5. สร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google เร่ือง การใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศอย่างปลอดภยั จานวน 4 ช่วั โมง

13

กำรหำคุณภำพของบทเรยี นคอมพิวเตอร์ผ่ำนเวบ็ ไซต์ ดว้ ยโปรแกรม Google Sites
ในการหาคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sites

ดาเนินการตามชัน้ ตอนดงั น้ี
1. นาบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sites ท่ีสร้างไปให้

ผู้เชี่ยวชาญทางการจัดการเรียนรู้ จานวน 3 ท่าน เพื่อพิจารณาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) โดย
พิจารณาเรื่องความเหมาะสมของเนื้อหา ความสอดคล้องกับจุดประสงค์กับกระบวนการเรียนรู้และ
ภาษาทีใ่ ชแ้ ละ ปรบั ปรงุ แกไ้ ข ตามคาแนะนาของผเู้ ชยี่ วชาญ

2. นาบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sites ไปทดลองใช้กับกลุ่ม
ตัวอย่างจรงิ

2. ขัน้ ตอนในกำรสร้ำงแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธทิ์ ำงกำรเรียน
การสรา้ งแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ดาเนนิ การดังน้ี
1. ศึกษาวิธีการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากเอกสารการวัดและ

ประเมินผลการเรยี นรู้
2. ศึกษาสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น ตัวชี้วัด คาอธิบายรายวิชา และ

หนว่ ยการเรยี นรู้ วิชาวิทยาศาสตร์ จากหลักสูตรสถานศึกษา
3. สรา้ งแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน แบบปรนยั แบบเลือกตอบ จานวน 10 ข้อ
4. กาหนดเกณฑ์การประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน แบ่งระดับคุณภาพออกเป็น 5 ระดับ

คือ 4, 3, 2, 1 และ 0 ซึง่ หมายถึง ดมี าก, ด,ี พอใช,้ ควรปรับปรงุ และตา่ กวา่ เกณฑ์

กำรหำคุณภำพของแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ ำงกำรเรยี น
1. นาแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น ไปให้ผู้เช่ียวชาญทางการสอนวทิ ยาศาสตร์และ

การวัดผลทางการศึกษาจานวน 3 ท่านตรวจสอบความเท่ียงตรงตามเนื้อหา การใช้คาถาม ตัวเลือก
ภาษาท่ีใช้ โดยพิจารณาจากข้อสอบทม่ี คี า่ ความเท่ียง (IOC) ตั้งแต่ 0.80 ขึ้นไป

2. นาแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน ไปเก็บขอ้ มูลกับกลุ่มตวั อย่างจริงต่อไป

6. วิธีดำเนนิ กำรศึกษำค้นควำ้
ในการศกึ ษาวจิ ยั ครั้งน้ีผู้วิจัยไดก้ าหนดขัน้ ตอนการดาเนินการทดลองดังน้ี
6.1 เลอื กนกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 โดยเลอื กแบบเจาะจง จานวน 1 ห้องเรียน ซึ่งมี

นกั เรยี นจานวน 39 คน จากนกั เรียนท้ังหมด จานวน 275 คน
6.2 ก่อนการทดลอง ทดสอบก่อนเรียนโดยใชแ้ บบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน

เร่ือง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภัย
6.3 ดาเนินการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google

Sites ระยะเวลาในการสอน 4 ชว่ั โมง
6.4 หลังการทดลอง ทดสอบหลงั เรยี น โดยใชแ้ บบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น

กบั กลุ่มทดลอง

14

6.5 ตรวจผลการทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นวชิ า วิทยาการคานวณ3 แล้วให้คะแนนท่ี
ได้จากการสอบกอ่ นและหลังเรยี นมาวิเคราะห์ขอ้ มลู ทางสถิติ

7. กำรวิเครำะห์ข้อมลู และสถิติท่ใี ช้
สถติ ทิ ใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูล
1.สถิตพิ ้นื ฐำน

สถิตทิ ีใ่ ช้ในกำรวิเครำะหข์ ้อมูล

1. สถติ ิพ้นื ฐำนทใ่ี ชใ้ นกำรวิเครำะหข์ อ้ มลู

1.1 ค่ำเฉลี่ยเลขคณิต (Mean) (กาญจนา วัฒายุ, 2550 : 106) โดยมีสูตรที่ใช้
ในการคานวณ คอื

เมื่อ x x  x

x n

n แทน คา่ เฉล่ียเลขคณิต
แทน ผลรวมของคะแนนท้ังหมด

แทน จานวนนักเรยี นในกลุ่มตวั อย่าง

ตามปกติคะแนนสอบหลังเรียนจะสูงกว่าคะแนนทดสอบก่อนเรียน ดังน้ันคะแนนเฉลี่ย
อย่างเดียวไม่สามารถบอกได้ว่าครูจัดการเรียนการสอนอย่างมีระบบหรือไม่ จึงต้องหา
ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานเพือ่ หาค่าการกระจายของคะแนนสอบด้วย

1.2 ค่ำควำมเบย่ี งเบนมำตรฐำน (Standard Deviation) (กาญจนา วฒั ายุ, 2550
: 107) โดยมสี ูตรท่ใี ชใ้ นการคานวณ คอื

S.D.  N x2   x2
NN 1

เม่อื S.D. แทน คา่ ความเบีย่ งเบนมาตรฐาน

 x2 แทน ผลรวมท้ังหมดของคะแนนแต่ละคนยกกาลงั สอง

 x แทน ผลรวมของคะแนนทง้ั หมด

N แทน จานวนนักเรยี นในกลุ่มตัวอย่าง

ถ้ า ค่ า ค ว า ม เ บ่ี ย ง เ บ น ม า ต ร ฐ า น ข อ ง ค ะ แ น น มี ค่ า ม า ก แ ส ด ง ว่ า นั ก เ รี ย น ก ลุ่ ม น้ั น
มีความสามารถต่างกันมาก คือ นักเรียนที่เรียนดีจะได้คะแนนสูงมาก ส่วนนักเรียนที่เรียนอ่อนจะได้
คะแนนต่ามาก แต่ถ้าค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนมีค่าน้อยแสดงว่านักเรียนกลุ่มนั้นมีความรู้
ความสามารถใกล้เคยี งกัน

15

2. สถิติทใี่ ช้ตรวจสอบคณุ ภำพเครื่องมือทใ่ี ชใ้ นกำรทดลอง
2.1 กำรหำค่ำควำมเท่ียงตรงของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

ใช้ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์ (กาญจนา วัฒายุ, 2550: 187-188) โดยมี
สูตรที่ใชใ้ นการคานวณ คือ

IOC   R

N

เมอ่ื IOC หมายถึง ดชั นคี วามสอดคลอ้ งระหว่างข้อสอบกบั จดุ ประสงค์
 R แทน ผลรวมของคะแนนความคดิ เหน็ ของผู้เชย่ี วชาญทง้ั หมด
N แทน จานวนผู้เชยี่ วชาญ

16

บทที่ 4

ผลกำรวเิ ครำะหข์ อ้ มูล

สญั ลักษณ์ท่ใี ชใ้ นกำรวิเครำะห์ขอ้ มลู

ในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ผู้วจิ ัยไดใ้ ช้สัญลักษณ์ในการวเิ คราะหข์ อ้ มูลดังนี้

N แทน จานวนนกั เรยี นในกลมุ่ ตวั อยา่ ง
x แทน คา่ คะแนนเฉลีย่
S.D. แทน ค่าความเบ่ียงเบนมาตรฐาน

ΣD แทน ผลรวมของคะแนนผลต่างแตล่ ะตวั

(ΣD)2 แทน ผลรวมของคะแนนผลตา่ งแต่ละตวั มายกกาลงั สอง

t แทน คา่ ที่ใช้ในการพิจารณาของการแจกแจงแบบ t

ผลกำรวเิ ครำะหข์ อ้ มูล

1. ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียของคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน ที่ได้รับการ

จัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพวิ เตอร์ผ่านเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sites ก่อนเรียนและหลัง

เรียนโดยใช้ t-test for dependent sample ดังตาราง 2

ตำรำงท่ี 2 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ได้รับ

การจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sitesก่อนเรียนและ

หลงั เรียนของนกั เรียน

ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ปรากฏผลดงั นี้

จานวน คะแนนเฉลีย่ (X ) ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (SD)

นกั เรยี น (คะแนนเตม็ 10คะแนน) t

(คน) ก่อนเรยี น หลัง เรยี น ก่อนเรยี น หลังเรียน

39 4.56 8.36 0.82 0.58 57.93

** นัยสาคญั ทางสถิตทิ รี่ ะดบั .01

จากตารางท่ี 2 พบว่าคะแนนทดสอบเฉล่ียก่อนเรียนและหลังเรียนเม่ือนาไปเปรียบเทียบ
ความแตกต่างทางสถิติโดยใช้ค่าที (t-test) มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .01
โดยมีคะแนนทดสอบเฉล่ียหลังเรียนสูงกว่าคะแนนทดสอบเฉลี่ยก่อนเรียน แสดงให้เห็นว่า นักเรียนท่ี
เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sites เร่ือง การใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศอย่างปลอดภยั ไดร้ ับความรเู้ พ่มิ ขึน้ จริง

2. ผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 หลังได้รับการจัดการ

เรียนรดู้ ้วยบทเรยี นคอมพวิ เตอรผ์ า่ นเวบ็ ไซต์ ดว้ ยโปรแกรม Google Sites ปรากฏผลดงั นี้

17

ตำรำงท่ี 3 ความพงึ พอใจของนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้ดว้ ย
บทเรยี นคอมพวิ เตอรผ์ ่านเวบ็ ไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sites

รำยกำร X S.D. ระดบั ควำมพึง
พอใจ

1. ด้ำนกำรเรยี นเนอ้ื หำจำกบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่ำนเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sites

1.1 ความน่าสนใจในการดาเนนิ เร่อื ง 4.36 0.58 มาก

1.2 เน้ือหาเหมาะสมกับผู้เรยี น 4.56 0.71 มากท่สี ดุ

1.3 ลาดับขนั้ ในการนาเสนอเนอ้ื หา 4.59 0.59 มากทสี่ ดุ

1.4 ความชัดเจนในการอธบิ ายเน้อื หา 4.59 0.54 มากที่สดุ

2. ด้ำนองค์ประกอบของบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่ำนเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sites

2.1 ความตรงตามเนอื้ หาของภาพที่นาเสนอ 4.59 0.54 มากทสี่ ดุ

2.2 ภาพกราฟิก ภาพเคลื่อนไหว ทีใ่ ช้ประกอบ 4.44 0.55 มาก

2.3 ความถูกตอ้ งของภาษาท่ีใช้ 4.44 0.59 มาก

3. ด้ำนกำรเรียนร้จู ำกบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่ำนเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sites

3.1 เรียนรู้ได้เรว็ และชดั เจน 4.74 0.54 มากทสี่ ุด

3.2 ความเขา้ ใจในเน้อื หา 4.44 0.63 มาก

3.3 กระตุ้นความสนใจในการเรียนรู้ 4.59 0.54 มากทสี่ ดุ

เฉล่ยี รวม 4.53 0.59 มากท่ีสดุ

จากตารางที่ 3 พบว่า ผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
หลังได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sites โดย
ภาพรวมเฉล่ียทั้ง 3 ด้าน พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ มากท่ีสุด ( X
เท่ากบั 4.53, S.D. เท่ากับ 0.59)

18

บทท่ี 5
สรุปผล อภิปรำย และขอ้ เสนอแนะ
การวิจัยครั้งน้ีเป็นการวิจัยเชิงทดลองเพื่อศึกษาผลของการจัดการเรียนรู้ด้วย บทเรียน
คอมพิวเตอร์ผ่านเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sites ท่ีมีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซึ่งสรุป
สาระสาคัญได้ดงั นี้
ควำมมงุ่ หมำยของกำรวิจัย
1. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ที่จัดการเรียนรู้ด้วย
บทเรียนคอมพวิ เตอรผ์ า่ นเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sites
2. เพอื่ ศึกษาความพงึ พอใจของนักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 หลังไดร้ บั การจดั การเรียนรู้ด้วย
บทเรียนคอมพิวเตอร์ผา่ นเวบ็ ไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sites

สมมติฐำนในกำรวิจัย
1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ท่ีจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียน

คอมพิวเตอรผ์ ่านเวบ็ ไซต์ ดว้ ยโปรแกรม Google Sites หลงั เรียนสงู กวา่ กอ่ นเรียน
2. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้

ดว้ ยบทเรยี นคอมพิวเตอร์ผ่านเวบ็ ไซต์ ดว้ ยโปรแกรม Google Sites อยู่ในระดับมากทส่ี ุด

วิธีดำเนินกำรวิจัย
ประชำกรที่ใช้ในกำรวิจัย

ประชากรทใ่ี ช้ในการวิจัยครง้ั นีเ้ ป็นนักเรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา
2564 โรงเรียนเบญจมเทพอทุ ิศจังหวัดเพชรบุรี จานวน 275 คน
กลุ่มตวั อยำ่ งทใี่ ชใ้ นกำรวจิ ยั

กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศจังหวัดเพชรบุรี
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จานวน 1 ห้องเรียน จานวนนักเรียนทั้งหมด 39 คน ซ่ึงได้จากการ
เลือกแบบเจาะจง

เน้ือหำท่ีใชใ้ นกำรวจิ ัย
การกาหนดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยการวิเคราะห์สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระ

การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เร่ือง การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย

ระยะเวลำในกำรศึกษำวิจัย
การวจิ ยั คร้งั น้ีดาเนินการในภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ใชร้ ะยะเวลาในการทดลอง

รวม 4 ช่ัวโมง

19

เครือ่ งมือทใี่ ช้ในกำรวิจยั
เครือ่ งมือท่ใี ช้ในการวจิ ัยครัง้ นี้ ประกอบดว้ ย
1. บทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sites เรื่อง การใช้เทคโนโลยี

สารสนเทศอยา่ งปลอดภยั
2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา วิทยาการคานวณ3 เร่ือง การใช้เทคโนโลยี

สารสนเทศอยา่ งปลอดภยั จานวน 10 ข้อ
วิธดี ำเนินกำรทดลอง

ในการวิจยั ครง้ั น้ี ดาเนินการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ตามลาดบั ดงั น้ี
1. เลือกนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 เป็นกลุ่มทดลองโดยการเลือกแบบเจาะจง
1 ห้อง จานวน 39 คน จากนกั เรยี นทงั้ หมด จานวน 275 คน
2. แนะนาขั้นตอนการทากจิ กรรมและบทบาทของนกั เรียนในกิจกรรมการเรยี นรู้
3. ทดสอบก่อนเรียนโดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรื่อง การใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศอยา่ งปลอดภัย
4. ดาเนินการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google
Sites กับกลุ่มตัวอย่าง ใชเ้ วลา 4 ชั่วโมง
5. เมื่อเสร็จสิ้นการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม
Google Sites แล้วทาการทดสอบหลงั เรยี น โดยใชแ้ บบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น
6. นาผลคะแนนจากการตรวจแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมาวิเคราะห์โดยใช้
วิธกี ารทางสถติ เิ พ่อื ตรวจสอบสมมตุ ฐิ านต่อไป

กำรวิเครำะห์ข้อมลู
ในการวจิ ัยครัง้ น้ี ผวู้ ิจัยได้ทาการวิเคราะหข์ อ้ มลู โดยเปรยี บเทียบความแตกตา่ งของคะแนน

เฉล่ียของผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของนักเรียนท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้ดว้ ยบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่าน
เว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sites ก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้ t-test for dependent
sample

สรปุ ผลกำรวิจยั
1.นักเรียนท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม

Google Sites มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ
.01

2. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่าน
เว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sites อยใู่ นระดบั มากที่สุด

20

อภิปรำยผลกำรวิจยั
จากการศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอรผ์ ่านเวบ็ ไซต์ ดว้ ย

โปรแกรม Google Sites เรื่อง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศจังหวัดเพชรบุรี ผลการศึกษาเป็นไปตาม
สมมติฐานที่กาหนดไว้ทั้ง 2 ข้อ เนื่องจากผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสาร หลักการ แนวคิดและทฤษฎี
เกี่ยวกับบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sites รวมทั้งการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนที่เหมาะสม หาขอ้ มูลพื้นฐานของนกั เรียนและนาบทเรียนคอมพิวเตอรผ์ ่านเวบ็ ไซต์
ด้วยโปรแกรม Google Sites ที่ได้ผ่านการตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือจากผู้เชี่ยวชาญแล้ว ดังน้ันจึง
สามารถอภปิ รายผลได้ ดังน้ี

1. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของ
นักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sites มีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน เร่ือง การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังเรียนสงู กวา่
ก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เป็นไปตามสมมุติฐานข้อท่ี 1 ที่ตงั้ ไว้ ซึ่งสอดคล้องกับ
บัญชา เกษรัตน์ (2552 : บทคัดย่อ) ได้พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม
Google Sites เรื่อง ปริมาตรและพื้นท่ีผิว กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สาหรับนักเรียนช้ัน
มัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนกุดจับประชาสรรค์ จังหวัดอุดรธานี พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
นักเรียนหลังจากเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sites เรื่อง
ปริมาตรและพ้ืนท่ีผิว กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่
ระดับ .05 และสุวัฒน์ มะเดช (2554 : บทคัดย่อ) ได้พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บไซต์ ด้วย
โปรแกรม Google Sites เรื่อง Global สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของ โรงเรียนพรหมคีรี
พิทยาคม จังหวัดนครศรีธรรมราช พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังจากเรียนด้วย
บทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บไซต์ ดว้ ยโปรแกรม Google Sites เร่ือง Global สูงกว่าก่อนเรียนอย่าง
มีนยั สาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .05

2. ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่าน
เว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sites เร่ือง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปรากฏว่านักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ( X เท่ากับ 4.53)
ซ่ึงสอดคล้องกับสุภารัตน์ ตั๋นแก้ว (2556 : บทคัดย่อ) ได้พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บไซต์
ด้วยโปรแกรม Google Sites เร่ือง สมการเชงิ เส้นตัวแปรเดยี ว กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ช้นั
มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านหนองแห้ง จังหวัดแม่ฮ่องสอน พบว่า มีความพึงพอใจต่อบทเรียน
คอมพิวเตอร์ผ่านเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sitesโดยรวมอยู่ในระดับ มากท่ีสุด และพัชรี สุข
สบาย (2557 : บทคัดย่อ) ได้พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Google Sites
เร่ือง ภูมิปัญญาไทยคนชัยนาท สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียน ราชประชานุเคราะห์
46 จังหวัดชัยนาท พบวา่ นกั เรยี นมคี วามพงึ พอใจต่อบทเรยี นคอมพิวเตอรผ์ ่านเว็บไซต์ ดว้ ยโปรแกรม
Google Sitesโดยรวมอยูใ่ นระดบั มากทีส่ ุด

21

ข้อเสนอแนะ
ข้อเสนอแนะท่วั ไป
1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บ ด้วยโปรแกรม Google

Site วิชาวทิ ยาการคานวณ3 เป็นรูปแบบการจัดการเรียนรูท้ ่ีทาให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น ของผู้เรียน
สูงขึ้น รวมถึงทาให้ผู้เรียนมีเจตคติท่ีดีต่อการเรียน เน้นให้ผู้เรียนได้ทบทวนความรู้เดิม เช่ือมโยงกับ
ความรใู้ หมโ่ ดยการ ค้นหาคาตอบด้วยตนเอง

2. ครูผู้สอนควรช้ีแนะ ดูแล ให้คาแนะนา ติดตามสังเกตการณ์นักเรียนที่มีปัญหาในการ
เรยี นร้อู ย่าง ใกล้ชดิ เน่อื งจากนกั เรียนอาจจะยังไมเ่ ข้าใจในการใช้บทเรยี นคอมพวิ เตอร์ผ่านเวบ็

3. ครูผู้สอนควรกระตุ้นให้ผู้เรียนช่วยกันตัง้ คาถามเพื่อนาไปสู่การหาคาตอบและเรยี นรู้ใน สิ่ง
ใหม่ ควบคู่กับการทบทวนความรู้เดิม คอยชี้แนะแนวทางการเรียนรู้ของผู้เรียน รวมถึงการส่งเสริม
ความคิดนอก กรอบของผ้เู รียนทน่ี ่าทาไดจ้ รงิ เพ่ือให้ผเู้ รยี นประสบความสาเร็จในการเรียนรู้

4. ครูผู้สอนช้ีแนะนักเรียนในขั้นตอนการนางานออกมาจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บ
เพื่อให้ นักเรียนปรับแก้ไข เพ่ิมคาตอบของใบงาน แบบฝึกหัด และสามารถส่งคาตอบทางอีเมล์
ยอ้ นกลบั ใหก้ ับ ครูผูส้ อนได้อยา่ งถกู ต้อง

ผลกระทบที่เกิดขึ้น
1. นักเรียนบางคนยังไม่มี Gmail ทาให้เข้าสู่สื่อการสอนทางอินเตอร์เน็ต Google Sites
ไมไ่ ด้ ดังน้ัน ครูผสู้ อนจึงให้นักเรยี นสมคั ร Gmail เพ่อื ท่จี ะสามรถเข้าสรู่ ะบบการสอนได้
2. นักเรียนยังไม่รู้จักวิธีการใช้งานของ Google Sites ครูจึงได้อธิบายหลักการใช้เพ่ือให้
นกั เรยี น เขา้ ใจในระบบการใชง้ าน
3. ยงั ต้องมีการพฒั นาสื่อการสอนทางอนิ เตอรเ์ น็ต Google Sites อยา่ งต่อเนอ่ื ง

22

บรรณำนกุ รม

กาญจนา วฒั ายุ. (2550). กำรวจิ ยั เพ่ือพฒั นำคณุ ภำพกำรศกึ ษำ. กรงุ เทพฯ : ธนพรการพิมพ.์
ชนิตรา ศรลัมพ.์ (2547). กำรศึกษำควำมพงึ พอใจในกำรเรียนกลุ่มกำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี

ของนักเรียนช้ันประถมศึกษำปที ่ี 4 โรงเรียนในสงั กดั สำนกั งำนคณะกรรมกำร
กำรศึกษำเอกชนเขตคลองสำน กรุงเทพมหำนคร. สารนพิ นธ์การศึกษามหาบัณฑติ
(การประถมศึกษา) บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ.
บญุ ชม ศรสี ะอาด และคณะ. (2551). พืน้ ฐำนกำรวิจัยกำรศึกษำ. ภาควิชาวจิ ัยและพัฒนา
การศกึ ษา. คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. พิมพค์ ร้ังที่ 4.
กาฬสินธุ์ : ประสานการพมิ พ์.
ปราณี กองจินดา. (2549). กำรเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนคณิตศำสตร์และทักษะ
กำรคดิ เลขในใจของนักเรยี นทไ่ี ดร้ บั กำรสอนตำมรูปแบบซิปปำโดยใชแ้ บบฝกึ หัด
ท่ีเน้นทักษะกำรคิดเลขในใจกับนักเรียนท่ีได้รับกำรสอนโดยใช้คู่มือครู .
วทิ ยานพิ นธค์ รุศาสตรมหาบัณฑติ (หลักสตู ร และการสอน). บัณฑติ วทิ ยาลยั
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
พัลลภ คงนรุ ัตน.์ (2547). กำรศึกษำผลสัมฤทธทิ์ ำงกำรเรยี นและควำมพึงพอใจ
ในวชิ ำคณิตศำสตรข์ องนกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษำปที ี่ 4 ท่ีได้รบั กำรสอนโดย
บทเรียนคอมพวิ เตอรม์ ัลตมิ ีเดีย เร่อื งโจทย์ปญั หำกำรบวก ลบ. ปรญิ ญานพิ นธ์
การศกึ ษามหาบณั ฑติ (การประถมศกึ ษา). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั
ศรนี ครินทรวโิ รฒ.
พิมพันธ์ เตชะคุปต์. (2548). กำรเรียนกำรสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลำง. กรุงเทพฯ :
เดอะมาสเตอรก์ รุป๊ แมเนจเมน็ ท.์
รัชวลี วรวุฒิ. (2548). ควำมพึงพอใจในกำรปฏบิ ัติงำนของข้ำรำชกำรสำนกั งำน
คณะกรรมกำรอุดมศกึ ษำ. วทิ ยานพิ นธก์ ารศึกษามหาบณั ฑติ . ภาควิชาการศึกษา
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร.์
วนิชา ศรตี ะปัญญา. (2551). ควำมพงึ พอใจของนักเรียนกฬี ำต่อพฤติกรรมกำรสอนของ
ผฝู้ ึกสอนกีฬำ. วทิ ยานพิ นธ์การศกึ ษามหาบัณฑิต. วิทยาศาสตร์การออกกาลังกาย
และการกฬี า. บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลัยบูรพา.
ล้วน สายยศ และองั คณา สายยศ. (2550). เทคนคิ กำรวิจัยทำงกำรศึกษำ. กรงุ เทพฯ :
ศนู ย์ส่งเสรมิ วิชาการ.
พสิ ณุ ฟองศรี. (2551). วิจยั ในชั้นเรียน : หลักกำรและเทคนิคปฏิบัต.ิ พิมพ์คร้ังท่ี 5. กรุงเทพฯ :
พรอพเพอรต์ ี้พริน้ ท์.
ยุทธ ไกยวรรณ์. (2550). กำรสรำ้ งเครื่องมือวิจัย. กรุงเทพฯ : ศนู ย์สื่อกรุงเทพ.

23

สมพร เชื้อพนั ธ์. (2547). การเปรยี บเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นคณิตศาสตร์ของนกั เรยี น
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3 โดยใช้วิธีกำรจัดกำรเรียนกำรสอนแบบสร้ำงองค์ควำมรู้
ด้วยตนเองกับกำรจัดกำรเรียนกำรสอนตำมปกติ. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต
(หลักสูตรและการสอน). พระนครศรีอยุธยา : บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันราชภัฏ
พระนครศรีอยธุ ยา.


Click to View FlipBook Version