The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by games.bunsri, 2021-11-09 02:32:39

คู่มือของกลาง

คู่มือของกลาง

1. วตั ถุประสงคของคูมือการปฏิบัตงิ าน
1.1 เพื่อใหด านศุลกากรแมสอด มคี ูมือการปฏิบัตงิ าน ที่ถูกตอง ชัดเจน ใชเ ปนแนวทางในการปฏบิ ัติงาน

ดา นคดีศลุ กากรและของกลาง ใหเ ปนไปในทศิ ทางเดียวกัน โดยถกู ตองตามระเบียบ กฎหมายทก่ี าํ หนด
1.2 เพ่ือเรงรัด การดําเนินการดานคดีและของกลางใหสําเร็จ เสร็จส้ินไปดวยความรวดเร็ว ทันเวลา

เพิ่มประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการดําเนนิ การดา นคดศี ลุ กากรและของกลาง
1.3 เพ่ือใชหรือเผยแพรใหกับผูรับบริการและผูมีสวนไดสวนเสียและบุคคลภายนอกไดรับรู

เขาใจกระบวนการปฏิบัติงานและใชประโยชนจากกระบวนการดังกลาวเพื่อขอการรับบริการหรือบูรณาการ
ท่ตี รงกับความตอ งการ
2. ขอบเขต

2.1 การรับแฟมคดี
2.2 พจิ ารณาแฟมคดี
2.3 การรับและนาํ สงของกลาง
2.4 การเกบ็ รักษาของกลาง
2.5 การประเมินราคาของกลาง
2.6 เกณฑการระงบั คดี
2.7 การคืนของกลาง
2.8 การจาํ หนายของกลาง
2.9 การปดแฟมคดี

3. คาํ จํากัดความ ความหมาย
คาํ จํากดั ความ อธิบดกี รมศลุ กากร หรอื ผซู งึ่ อธบิ ดกี รมศลุ กากรมอบหมาย
ผูที่อธิบดีกรมศุลกากรมอบหมาย ตามคําสั่งกรมศุลกากรที่
อธบิ ดี 472/2562 เรื่อง การมอบอํานาจใหปฏิบัติราชการแทนอธิบดี
ผูอาํ นวยการสํานกั งานศุลกากรภาคที่ 3 ลงวนั ที่ 7 ตลุ าคม 2562
ผูที่มีหนาท่ีอนุมัติการสั่งคดี และอนุมัติจําหนายของกลาง ตามคําส่ัง
นายดานศลุ กากรแมส อด, ผูอํานวยการ กรมศุลกากรที่ 472/2562 เรื่อง มอบอํานาจใหปฏิบัติราชการ
สวนบรกิ ารศุลกากร และหวั หนา ฝา ยฯ แทนอธิบดี กรมศุลกากร ลงวันที่ 7 ตลุ าคม 2562
ผูม หี นาท่รี บั ของกลาง ตรวจนับ และบนั ทกึ ขอ มลู การนาํ สงของกลาง
เจา พนกั งานศุลกากร ในระบบของกลาง
ผมู หี นา ท่ีประเมินราคาของกลางและคา ภาษีอากร
นกั วชิ าการศุลกากร ผูมีห นา ท่ีล งรั บ แล ะ ออ กเ ล ข แฟ มค ดีใน แฟ มส าร บบ คดี
เจาหนา ทธี่ รุ การ (แบบท่ี 487)
ผูมหี นาที่พจิ ารณาส่ังคดี
นิติกร
คณะกรรมการกําหนดราคาปนสว น ผูมีหนาที่กําหนดราคารับซ้ือ และราคาขายของกลางปนสวน
จาํ หนา ยของกลางตามทก่ี รมฯ มอบหมายเปน กรณพี เิ ศษ
คณะกรรมการขายทอดตลาด ผมู หี นา ท่ดี าํ เนนิ การจําหนายของกลางโดยวธิ ีขายทอดตลาด

2

คาํ จํากัดความ ความหมาย
คณะกรรมการทําลายของกลาง ผมู ีหนาที่ดาํ เนินการทําลายของกลาง

ของกลาง ทรัพยสินที่ถูกยึดหรืออายัดไวเพือ่ เปนพยานหลักฐานทางคดีหรือเพอื่ ให

ตกเปน ของแผนดิน

ของสดเสยี งา ย ของท่ีหากปลอยไวในสภาพธรรมชาติจะเส่ือมสภาพ หรือเสียหาย

ท้ังหมด หรือแตบางสวน หรือเส่ือมคุณสมบัติเดิมจนไมอาจใช

ประโยชนไ ดต ามปกติ เชน ผัก ผลไม เนือ้ สตั ว เปน ตน

ของซึ่งถา หนว งชาไวจะเปนการเส่ยี ง ของท่ีหากจําหนายลาชาจะเส่ียงความเสียหายตอประโยชนของทาง

ความเสยี หาย ราชการ เชน ของท่ีมีเวลาหมดอายุ เคร่ืองสําอาง หรือของประเภท

เครื่องใชไ ฟฟา หรอื อปุ กรณอิเล็กทรอนกิ ส เปน ตน

ของซ่ึงคาใชจายในการเก็บรักษาจะมาก ของที่มีคาใชจายในการเก็บรักษา หรือดูแลมากเกินราคาของกลาง

เกินสมควร รวมคา ภาษีอากรทกุ ประเภท

การจําหนายของกลางกอนตกเปนของ การจําหนายของกลางในคดีท่ียังไมมีผลคดีถึงท่ีสุด หรือยังไม

แผน ดิน ตกเปนของแผน ดินตามกฎหมาย

ของกลางทต่ี กเปน ของแผนดิน 1. ของหรือส่ิงที่ยึดไวโดยศาลมีคําพิพากษาถึงที่สุดที่ใหริบตาม

พ.ร.บ. ศุลกากร พ.ศ. 2560 หรือกฎหมายอน่ื ที่เก่ียวกบั ศุลกากร

2. ของหรือส่ิงท่ียึดไวตาม พ.ร.บ. ศุลกากรหรือกฎหมายอ่ืนท่ี

เกี่ยวกับศุลกากรและผูถูกจับกุมยินยอมทําความตกลงระงับคดีงด

การฟองรอง ตามความใน พ.ร.บ. ศุลกากร พ.ศ. 2560 มาตรา

256 หรอื มาตรา 257 โดยยินยอมยกของกลางใหเ ปน ของแผนดิน

4. ประวัติและเขตพนื้ ทใี่ นความรับผิดชอบของดานศลุ กากรแมสอด
4.1 ดานศุลกากรแมสอด ตั้งอยูเลขที่ 287 หมู 1 ถนนเอเชีย ตําบลทาสายลวด อําเภอแมสอด

จังหวัดตาก บนที่ดินราชพัสดุหมายเลขท่ี ตก. 146 เน้ือท่ี 3 ไร 1 งาน 50 ตารางวา เปนดานศุลกากรทางบกอยูติด
เขตแดนไทยกับเมียนมา ตั้งข้ึนตามกฎกระทรวงการคลัง (ฉบับที่ 3) ลงวันท่ี 28 มิถุนายน พ.ศ. 2463
ในอดตี เปน ดา นฝากอําเภอแมส อด มีนายอําเภอแมสอด ทาํ หนาท่ีนายดา นศุลกากรแมสอดโดยตําแหนง

จนกระท่ังป พ.ศ. 2498 กรมศุลกากรไดแตงตั้งเจาหนาท่ีศุลกากรไปปฏิบัติหนาที่ดานศุลกากร โดยปฏิบัติ
หนาท่ีที่ดานพรมแดนบานทาสายลวด ซ่ึงกอสรางข้ึนในป พ.ศ. 2493 - 2494 โดยในป พ.ศ. 2501 – 2502
ไดใชเปนท่ีทําการดานศุลกากรแมสอดเปนการชั่วคราว และเมื่อปพ.ศ. 2507 ดานฯ แมสอด ไดรับงบประมาณ
ใหกอสรางอาคารท่ีทําการดานศุลกากรใหม ณ สถานที่ปจจุบันเปนเรือนไมสองช้ัน และในป พ.ศ. 2537
ไดรับงบประมาณใหกอสรางอาคารท่ีทําการดานใหมอีกครั้งหน่ึง เปนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ช้ัน มีพื้นท่ีใช
สอยประมาณ 850 ตารางเมตร ทดแทนอาคารที่ทําการเดิม ซ่ึงไดใชมาจนถงึ ปจจุบัน มีบานพักขาราชการรวมทั้ง
คลังเก็บรักษาของกลางอยูในรั้วเดียวกัน ตั้งอยูเลขท่ี 287 หมู 1 ถนนเอเชีย 1 (สาย แมสอด - ตาก)
ตาํ บลทา สายลวด อาํ เภอแมส อด จังหวดั ตาก

3

๔.๒ ดานพรมแดนแมสอด แหงที่ 1 ดานพรมแดนแมสอด เปนดานที่อยูในความกํากับดูแลของ
ดานศุลกากรแมสอด เปดใหบริการประชาชนทุกวัน ตั้งแตเวลา 05.30 - 20.30 น. ไมเวนวันหยุดราชการ
นับเปน อาคารที่มั่นคงและทางออกที่สาํ คัญแหงหน่ึงของประเทศ สามารถสงเสริมการคาระหวางประเทศไดเปน
อยางดี มีสินคาและคนเดินทางผานเขาออกเปนจํานวนมาก ในชวงระยะเวลา 60 ปที่ผานมา มีการสรางและร้ือ
ถอนอาคารที่ทําการหลายครั้ง จนกระท่ังในปจจุบันไดกอสรางเปนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ทรงรูปตัวยูคว่ํา
ลักษณะคลายซุมประตู มีพื้นท่ีใชสอย 302 ตารางเมตร เพื่อใชเปนท่ีทําการของดานศุลกากร ดานตรวจคนเขา
เมอื ง ดานควบคมุ โรค และดานกักกนั พืชและสตั ว โดยชนั้ บนทาํ เปน หอ งประชุมขนาด 24 ท่ีนั่ง สามารถจผุ เู ขารวม
ประชุมไดประมาณ 50 คน เม่ือวันท่ี 30 มีนาคม 2543 เวลา 10.00 น. ฯพณฯ พิเชษฐ พันธุวิชาติกุล
รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง พรอมดวยนายสมใจนึก เองตระกูล อธิบดีกรมศุลกากรไดเดินทางมาทําพิธีเปด
อาคารดานพรมแดนแมสอด ซึ่งต้ังอยูเชิงสะพานมิตรภาพไทย - พมา (ฝงไทย) ริมแมน้ําเมย ตําบลทาสายลวด
อําเภอแมส อด จงั หวดั ตาก

๔.๓ โครงการกอสรางสะพานมิตรภาพไทย-เมียนมา แหง ท่ี 2 เม่อื วันท่ี 6 ตุลาคม 2552 คณะรัฐมนตรี
รัฐบาลไทยมีมติเห็นชอบในหลักการใหกอสรางสะพานมิตรภาพไทย - เมียนมา แหงท่ี 2 ที่อําเภอแมสอด จังหวัดตาก
และดาํ เนินโครงการกอสรางเขตเศรษฐกิจพิเศษ รวมท้ังศูนยบริการนําเขา - สงออก ศูนยโ ลจิสตกิ ส และคลังสินคา
โดยจัดหาพ้ืนที่ตามแนวเสนทางกอสรางสะพานมิตรภาพไทย - เมียนมา แหงท่ี 2 เพื่อรองรับปริมาณการขนสง
สินคาท่ีเพิ่มมากขึ้น และรองรับระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก - ตะวันตก หรือ East - West Economic Corridor
นอกจากน้ี รัฐบาลไทยและเมยี นมาไดร วมกันจัดทําความตกลงวา ดวยการขนสงขามแดน ภายใตกรอบความรว มมือ
อนุภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง หรือ GMS เพ่ือใหการพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานควบคูไปกับการพัฒนาดานกฎระเบียบ
อันเปนกญุ แจสําคัญไปสูการเช่ือมโยงในภูมิภาค ซงึ่ การกอสรางประกอบดว ยตัวสะพานขามแมน้ําเมย ถนนเชื่อมตอ
สะพานทั้ง 2 ฝง รวมท้ังอาคารดาน หรือ Border Control Facilities เพื่ออํานวยความสะดวกใหหนวยงานตาง ๆ
ท่ีมีภารกิจรับผิดชอบการตรวจผานแดนเขามาใชสถานที่ปฏิบัติงานใหบริการประชาชนรวมกัน เชน กรมศุลกากร
สาํ นกั งานตรวจคนเขาเมือง กรมปศสุ ัตว เปนตน และไดเปด ใชอยางเปนทางการเม่ือวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2562
มีนายศักดิ์สยาม ชิดชอบ รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม เปนประธานเปดรวมกับ นายอู ฮาน ซอ
รัฐมนตรีกระทรวงการกอสราง สาธารณรัฐแหงสหภาพพมา โดยจะใชสําหรับการขนสงสินคาระหวางประเทศ
แตสําหรบั การคา ขายเพียงเลก็ นอยและรถยนตส วนบุคคลยงั คงใชท ่ีสะพานมติ รภาพไทย-เมยี นมา แหง ที่ 1 เชนเดิม

กระท่ัง เมื่อวันท่ี 21 มี.ค. พ.ศ. 2563 สถานการณโรคระบาด ไวรัสโควิด 19 ท่ีแพรกระจายอยางมาก
เพ่ือปองกันการระบาดของไวรสั โควิด 19 โดยใหชาวไทย และชาวเมียนมา ท่ีเขา - ออกชายแดน ผูวา ราชการจังหวัดตาก
(นายอรรษิษฐ สัมพันธรัตน ) ภายหลังมีการประชุมคณะกรรมการศูนยส่ังการชายแดนไทย กับประเทศเพ่ือนบาน
ดานชายแดนเมียนมาเรียบรอยแลว จึงมีคําสั่งปดพรมแดนไทย-เมียนมา แหงที่ 1 เพ่ือใหเหลือเพียงชองทาง
เขา - ออก ชายแดน เพียงแหงเดียว โดยเปดใหใชสะพานมิตรภาพไทย-เมียนมา ขามแมนํ้าเมย แหงที่ 2
ที่บานวังตะเคยี นใต หมู 7 ต.ทาสายลวด อ.แมส อด เพยี งจุดเดียว

4.๔ พื้นที่รับผิดชอบของดานศุลกากรแมสอด ต้ังอยูในจังหวัดตาก มีเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบในเขตพื้นท่ี 5
จงั หวัด ไดแก จังหวดั ตาก จังหวดั กาํ แพงเพชร จังหวัดสุโขทยั จงั หวัดนครสวรรค และจงั หวัดอุทัยธานี พื้นที่รวมท้ังส้ิน
47,938.155 ตร.กม.

4.2.๑ บรเิ วณดานศุลกากรแมสอด ตาํ บลทาสายลวด อาํ เภอแมส อด จังหวัดตาก
4.2.๒ บรเิ วณตามลาํ น้าํ เมยตอนท่ีเปน เสน เขตแดนระหวา งราชอาณาจักรไทยกบั สาธารณรัฐแหง
สหภาพเมียนมา ในเขตระยะหา งจากสะพานมิตรภาพ ไทย – พมา ดา นละ ๕๐๐ เมตร

5. กระบวนการดําเนินการ (Work Flow)

4

ลําดับ ผงั กระบวนการ รายละเอียด ผรู ับผิดชอบ ระยะเวลา เอกสารทเี่ กีย่ วของ

1 รบั บันทึกการ เจา หนาท่ีฯ จะบันทึก เจาหนา ท่ี 1 วนั - บนั ทกึ การ
ตรวจคน -จบั กมุ , รายละเอียดของคดีและของ ศลุ กากร ตรวจคน - จบั กมุ
บญั ชีของกลาง กลางในสารบบคดี ประจาํ - บญั ชขี องกลาง
แนบทายและ (แบบ 487) และสารบบ งานคดี แนบทา ย
ของกลางในคดี บัญชขี องกลาง (แบบ 464) - แบบ 487
พรอ ม ออกเลขทีแ่ ฟมคดี - แบบ 464
และเลขท่บี ัญชขี องกลาง

2 ตรวจสอบของ เจา หนาทฯ่ี ตรวจสอบ เจาหนาท่ี 1 วนั บันทึกการรับ -
กลางและเก็บ นบั ของกลางใหถูกตอง ศลุ กากร สง ของกลาง
เขาคลังสินคา ตรงกบั รายละเอียดบัญชขี อง ประจํางาน
กลางแนบทาย แลวเกบ็ เขา คดี
คลงั สนิ คา
3 บนั ทกึ ขอมูล เจาหนาท่ีฯ บนั ทึกขอ มูลคดี เจาหนาที่ 1 วนั แบบรายงานการ
รายงานการ เพื่อรายงานการจบั กมุ เบ้อื งตน ศลุ กากร จับกุมเบ้ืองตน ตาม
จบั กุมเบ้ืองตน ในระบบงานปองกนั และปราม ประจํางาน ประมวลระเบียบ
และขอมูลของ ปรามและบนั ทกึ ขอมลู ของ คดี ปฏบิ ตั ศิ ลุ กากร
กลาง กลางลงในระบบงานของกลาง พ.ศ.2560
ขอ 7 02 02 21
4 ประเมนิ ราคา สงรายละเอยี ดขอมูลของ นกั วชิ าการ ข้ึนอยูก ับ แบบรายงานการ
และคา ภาษี ประเมินราคาและคา ภาษี ศลุ กากร ชนดิ และ ประเมินราคาของ
อากร อากร ผมู ีหนา ท่ี ปริมาณของ กลาง
ประเมนิ กลาง
ราคาและ
คา ภาษอี ากร
5 พิจารณาแฟม คดี พิจารณาขอเทจ็ จรงิ และ นิติกร ขนึ้ อยกู ับ ระเบยี บ ประกาศ
เสนอความเห็น ขอ กฎหมายทีเ่ กยี่ วของ ความ หรือกฎหมายท่ี
ดา นคดแี ละ - คดที ่มี ีตัวผูตองหา ซบั ซอ นของ เกี่ยวของ
ความเห็น จะตองพจิ ารณาสัง่ คดีไปกอน คดี และเกณฑการ
เกี่ยวกบั ของกลาง -คดีที่ไมปรากฎตัวผูต องหา เปรียบเทียบ
จะตอ งพิจารณาใหข องกลาง งดการฟองรอง
ตกเปน ของแผนดนิ ตามมาตรา
167 วรรคสาม แหง
พระราชบญั ญตั ิศลุ กากร
พ.ศ.2560

5

ลาํ ดับ ผังกระบวนการ รายละเอยี ด ผรู ับผดิ ชอบ ระยะเวลา เอกสารท่ีเกี่ยวของ

6 เสนอความเห็น กรณที ี่ของกลางเปนของสด นติ กิ ร 1 วัน ประมวลระเบียบ
จําหนา ยของ ของเสยี ได, ของซึ่งถาหนว งชา ปฏิบตั ศิ ลุ กากร
กลางไปกอ นตก ไวจะเปน การเสียหายและของ พ.ศ.2560
เปนของแผนดิน ซึ่งคา ใชจ า ยในการเกบ็ รักษา
มาตรา 171 มากเกินสมควรใหจาํ หนา ย
แหง ของกลางไปกอนตกเปน ของ
พระราชบัญญัติ แผนดิน
ศุลกากร
พ.ศ.2560
7 พิจารณาแฟม คดี เสนอเร่อื งใหหัวหนา หวั หนา ฝาย 1 วนั ระเบยี บ ประกาศ
สัง่ คดไี ปกอ น ฝา ยบรกิ ารศุลกากรท่ี 2 หรือ บรกิ าร หรอื กฎหมายที่
และพจิ ารณา ผูทไ่ี ดรับมอบหมาย ศุลกากรท่ี 2 เกย่ี วของ
เก่ียวกบั - พิจารณาส่งั คดีไปกอน และเกณฑการ
ของกลาง - พิจารณาใหของกลางตก เปรยี บเทียบงดการ
เปนของแผน ดนิ ฟองรอง
- พจิ ารณาใหของจาํ หนา ย
ของกลางไปกอ นตกเปน ของ
แผนดนิ
8 ดําเนินการดาน ใหผตู อ งหาทาํ ความ นติ กิ ร 1 วัน คาํ รอ งเปรยี บเทยี บ
คดตี ามท่ีไดส ง่ั คดี ตกลงระงับคดีในชั้นศุลกากร งดการฟองรองตาม
ไปกอน โดยย่ืนคาํ รองเปรียบเทียบงด พระราชบัญญัติ
การฟองรองตาม ศุลกากร
พระราชบญั ญตั ิศุลกากร
- ชําระคาปรับ
- ยกของกลางใหเปน
ของแผน
- ทั้งชําระคา ปรับและยกของ
กลางใหเปน ของแผน ดนิ

9 พิจารณาระงบั คดี เสนอเรอื่ ง ผอ. ศภ.3 ผอ.ศภ.3 1 วนั รายงานการส่ังคดี
เพ่ืออนุมตั ิตาม หรือกรณีที่ราคาของกลางรวม หรอื ไปกอน
มาตรา 256 คา ภาษอี ากรเกนิ กวาส่ีแสน คณะกรรมการ
หรือมาตรา 257 บาท ตองเสนอเรื่องให เปรยี บเทียบฯ
แหง คณะกรรมการเปรยี บเทยี บฯ
พระราชบญั ญตั ิ เพื่อพจิ ารณาอนมุ ัติระงับคดี
ศุลกากร เปรยี บเทยี บงดการฟองรอ ง
พ.ศ.2560

ลําดับ ผงั กระบวนการ รายละเอยี ด ผูรบั ลําดับ เอกสารเกีย่ วของ

6

10 เสนอความเหน็ พจิ ารณาจําหนายของกลาง นติ ิกร ขน้ึ อยูกับ ประมวลระเบยี บ
จําหนา ยของ ตามประเภทสนิ คา โดยวธิ กี าร ขอเท็จจรงิ ปฏิบตั ศิ ุลกากร
กลาง หรือ ตามประมวลระเบียบปฏิบตั ิ ในคดี และ พ.ศ.2560
จาํ หนา ยของ ศลุ กากร พ.ศ.2560 ดงั น้ี วนั ท่ีมผี ลคดี
กลางไปกอนตก 1.ขายทอดตลาด
เปนของแผนดิน 2.ขายคืนเจาของ
3.ขายปน สวน
4.สง มอบสว นราชการ
5.ทาํ ลาย
6.วธิ กี ารอ่นื ตามอนุมตั ิอธิบดี

11 พจิ ารณา เสนอเรื่องใหหวั หนา หัวหนา ฝา ย 1 วนั ประมวลระเบยี บ
จําหนายของ ฝายบริการศุลกากรที่ 2 หรอื บรกิ าร ปฏบิ ตั ศิ ลุ กากร
กลาง ผทู ่ไี ดรบั มอบหมาย ศลุ กากรที่ 2 พ.ศ.2560
พิจารณาจําหนา ย
ของกลาง

12 ดําเนินการ ดําเนนิ การจาํ หนายของกลาง นิติกร ข้นึ อยกู ับ ประมวลระเบียบ
จาํ หนายของ ตามที่ไดร ับอนุมตั ิ วิธีการ ปฏิบตั ิศลุ กากร
กลาง
จาํ หนา ยของ พ.ศ.2560
กลาง

กระบวนการดาํ เนนิ คดีลักลอบศุลกากรในกรณีที่ไมมตี ัวผูตองหา

7

รับบันทกึ ตรวจคนจบั กุม บญั ชขี องกลาง
และของกลางในคดี

ตรวจนบั ของกลางในคดแี ละจดั เกบ็ รกั ษาของกลางในคดี

จัดต้ังแฟม คดีและบนั ทึกขอ มลู คดลี งในสารบบคดี ของกลาง มลี ักษณะ
สงตัวอยางของกลาง ใหเจา หนาทศี่ ลุ กากรเพื่อตรวจสอบ - ของสดของเสยี ได
ประเภทพิกัด อตั ราศลุ กากร และประเมนิ ราคาคา ภาษีอากร - ของซึ่งถาหนวงชาไวจะเปนการ
เส่ียงความเสยี หาย
- ของซ่ึงคาใชจายในการเก็บรักษา
จะมากเกินสมควร

พจิ ารณาจําหนา ยของกลางไปกอ น
ตกเปนของแผน ดินตามระเบยี บ

มีเจาของหรือผูมีสิทธิแสดงตัวย่ืนคํารองขอคืน ไมมีเจาของหรือผูมีสิทธิแสดงตัวยื่นคํารองขอ
ตอ เจาหนาทีศ่ ุลกากรภายใน 30 วนั นบั แตวนั ที่ คืนตอเจาหนาท่ีศุลกากรภายใน 30 วัน นับแต
ยึด หรือภายใน 60 วัน นับแตวันท่ียึด สําหรับ วันที่ยึด หรือภายใน 60 วัน นับแตวันท่ียึด
ยานพาหนะที่ใชใ นการกระทําความผดิ สาํ หรบั ยานพาหนะทใี่ ชในการกระทาํ ความผิด

ตรวจสอบขอเท็จจรงิ เก่ียวกบั สทิ ธคิ วามเปนเจา ของ พิจารณาใหข องกลางตกเปนของแผนดนิ
และจําหนา ยของกลางตามระเบียบ

มสี ว นรเู หน็ หรอื เกยี่ วของ ไมมสี ว นรเู หน็ หรือ
กบั การกระทําความผดิ เกี่ยวของ

พิจารณาคืนของกลางในคดี

พจิ ารณาดาํ เนนิ คดี ขอติยตุ ิการดําเนินคดี
ในกรณีท่ีมผี ตู องหา ดําเนนิ คดี

กระบวนการดาํ เนินคดลี กั ลอบศลุ กากรในกรณที ่ีมตี วั ผูตองหา

8

รบั บนั ทึกตรวจคน จับกุม บัญชขี องกลาง
และของกลางในคดี

ตรวจนับของกลางในคดแี ละจดั เกบ็ รกั ษาของกลางในคดี

จดั ต้ังแฟม คดีและบันทึกขอมลู คดลี งในสารบบคดี ของกลาง มลี ักษณะ
สงตัวอยา งของกลางใหเจาหนาที่ศลุ กากรเพ่อื - ของสดของเสียได
ตรวจสอบประเภทพิกัด อตั ราศลุ กากร และ - ของซึ่งถาหนวงชาไวจะเปนการ
ประเมนิ ราคาคา ภาษีอากร เส่ยี งความเสยี หาย
- ของซึ่งคาใชจายในการเก็บ
รกั ษาจะมากเกินสมควร

พจิ ารณาจาํ หนา ยของกลางไปกอ น
ตกเปนของแผนดินตามระเบยี บ

ผูตองหายอมรับผิดตามขอ กลา วหาและขอทําความตกลงระงบั ผูตอ งหาไมยอมรับผิดตามขอกลา วหาและไมทาํ ความตกลง
คดีในช้ันศุลกากร โดยยื่นคํารองเปรียบเทียบงดการฟองรอง ระงับคดีในช้ันศุลกากร โดยยื่นคํารองเปรียบเทียบงดการ
ตามพระราชบัญญตั ศิ ุลกากร ฟองรอ งตามพระราชบญั ญตั ิศลุ กากร

พิจารณาสง่ั คดไี ปกอน ตามเกณฑก ารเปรยี บเทียบ สงเรื่องใหพนักงานสอบสวนเพ่ือดาํ เนินคดอี าญากับ
งดการฟอ งรองตามพระราชบญั ญตั ศิ ลุ กากร พ.ศ.2560 ผูตองหา

สง ใหเ รอ่ื งใหผ อู าํ นวยการสํานกั งานศลุ กากรภาคที่ 3 กรณีราคาของกลางรวมคาอากร รอทราบผลคดจี ากพนกั งานสอบสวน/
พิจารณาอนมุ ตั ิเปรียบเทยี บงดการฟองรอง 2560 เขา ดวยกันแลว เกินกวาสี่แสนบาท พนักงานอยั การ/ศาล

สงใหเ รอ่ื งใหค ณะกรรมการเปรียบเทยี บ
พจิ ารณาอนมุ ัติเปรยี บเทยี บงดการฟอ งรอง

พิจารณาจาํ หนา ยของกลางตามระเบียบ

๖. ข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิงาน

9
6.1 เจาหนาที่ฯ รับบันทึกการตรวจคน-จับกุม บัญชีของกลางแนบทาย และของกลางในคดี
จากเจาหนาที่ศลุ กากรชุดจับกุม แลวบนั ทึกขอ มลู รายละเอียดของคดแี ละของกลางลงในสารบบคดีตามแบบ 487
และแบบ 464 พรอ มตั้งแฟม คดี ออกเลขทแี่ ฟมคดี และออกเลขทบี่ ัญชขี องกลาง
6.2 เจาหนาที่ฯ ตรวจสอบ นับของกลางใหถูกตอง ตรงกับรายละเอียดบัญชีของกลางแนบทาย
แลวเก็บเขาคลังสินคา หากตรวจพบวาหีบหอมีสภาพชํารุดหรือไมเหมาะสม เจาหนาท่ีฯ จะถายรูปสภาพของ
และหบี หอเครื่องหมายเดมิ ไวและทําการเปลยี่ นภาชนะบรรจใุ หมใหเ หมาะสม
6.3 เจาหนาท่ีฯ บันทึกขอมูลคดี เพ่ือรายงานการจับกุมเบ้ืองตนในระบบงานปองกันและปรามปราม
และบันทึกขอมูลของกลางลงในระบบงานของกลาง และสงขอมูลของกลางในงานพิธีการฯ เพื่อประเมินราคา
และคา ภาษอี ากรของกลาง
6.4 นักวชิ าการศลุ กากร งานพิธีการฯ ดําเนินการประเมินราคาและคาภาษีอากรของกลางแลวนาํ ไป
ประกอบการพจิ ารณาความความผดิ
6.5 นติ กิ รพิจารณาแฟม คดี โดยจะพจิ ารณาขอเทจ็ จรงิ และขอกฎหมายท่เี ก่ียวของในคดี

- คดที ตี่ วั ผตู องหา นิติกรจะตองเสนอความเห็นดานคดีเพ่ือพจิ ารณาส่งั คดีไปกอ น
- คดี่ไมปรากฏตัวผูตองหา นิติกรจะเสนอความเห็นใหของกลางตกเปนของแผนดิน และ
เสนอความเหน็ วิธีการจาํ หนา ยของกลาง
หากของกลางในคดเี ปนของสดของเสยี ได, ของซ่ึงถาหนวงชาไวจ ะเปนการเสี่ยงความเสียหาย
และของซ่งึ คาใชจา ยในการเกบ็ รักษามากเกินสมควร นิตกิ รดาํ เนินการเสนอความเหน็ ใหจ ําหนา ยของกลางลักษณะ
ดงั กลาวไปกอนตกเปน ของแผนดิน ตามมาตรา 171 แหงพระราชบญั ญตั ิศลุ กากร พ.ศ.2560
6.6 เสนอแฟม คดีใหหวั หนา ฝายบริการศลุ กากรท่ี 2 พจิ ารณาอนุมตั ิส่งั คดีไปกอ น
6.7 เม่ือพิจารณาอนุมัติสั่งคดีไปกอน นิติกรดําเนินการใหผูตองหาทําความตกลงระงับคดี
ในชั้นศลุ กากร โดยย่ืนคํารองเปรียบเทียบงดการฟองรอ ง ยินยอมชําระคาปรบั หรือยกของกลางใหเปน ของแผนดิน
หรือทั้งชาํ ระคา ปรับและยกของกลางใหเปน ของแผนดิน
6.8 เสนอรายงานการส่ังคดีไปกอน ใหผูอํานวยการสํานักงานศุลกากรภาคที่ 3 หรือ ในคดีที่ราคา
ของกลางรวมคาภาษีอากรเกินกวาส่ีแสนบาท ใหคณะกรรมการเปรียบเทียบฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติระงับคดี
เปรียบเทียบงดการฟองรอ ง ตามมาตรา 256 หรอื มาตรา 257 แหง พระราชบญั ญัตศิ ุลกากร พ.ศ.2560
6.9 เมื่อคดมี ีผลคดีถึงที่สุด โดยคดีไดรับการพิจารณาเปรียบเทียบงดการฟองรองแลว และของกลาง
ตกเปนของแผนดินแลว นิติกรเสนอความเห็นจําหนายของกลางในคดี ตามมาตรา 170 แหงพระราชบัญญัติ
ศลุ กากร พ.ศ.2560 ประกอบประมวลระเบยี บปฏบิ ัตศิ ลุ กากร พ.ศ.2560 ขอ 7 05 06 01 โดยวธิ ีการ ดังนี้
6.9.1 ขายทอดตลาด
6.9.2 ขายคนื เจา ของ
6.9.3 ขายปนสวน
6.9.4 สงมอบสว นราชการ
6.9.5 ทาํ ลาย
6.9.6 วิธกี ารอื่นตามอนมุ ตั ิอธบิ ดี
6.10 เสนอแฟมคดใี หห วั หนา ฝายบริการศุลกากรที่ 2 พจิ ารณาอนุมตั จิ ําหนา ยของกลาง
6.11 นิติกรหรือเจาหนาท่ีฯ ดําเนินการจาํ หนายของกลาง ตามทไ่ี ดพ จิ ารณาอนมุ ตั ิ

7. มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน

10

7.1 ปฏบิ ตั ิงานดว ยความละเอียด รอบคอบ ดําเนนิ การตามข้ันตอนระเบียบ กฎหมาย ท่กี ําหนด
7.2 มีการติดตามผลการดําเนินการในแตละขั้นตอน อยางสมํ่าเสมอ ตามที่กําหนด เพื่อใหงานแลวเสร็จ
และมีประสทิ ธภิ าพ

๗.๒.1 กรณีคดีที่มีตัวผูตองหา และผูตองหาประสงคตอสูคดีในชั้นศาล เจาหนาที่คดีฯ (นิติกร)
จะทาํ หนงั สอื สอบถามผลคดีไปยงั เจาหนา ที่ตาํ รวจ ผรู ับผิดชอบคดนี ัน้ ฯ ทุก ๆ 3 เดอื น เพือ่ ตดิ ตามผลคดีและจะได
ดําเนนิ การกับของกลางตามระเบียบตอไป

๗.๒.2 กรณีหนวยงานอ่ืนเปนผูจับกุม และของกลางเปนรถยนตหรือรถจักรยานยนตและยังไมได
ตรวจสอบ จาก ๗ หนวยงาน หรือยังตรวจสอบไมครบถวน เจาหนาที่งานคดีฯ (นิติกร) จะทําหนังสือสอบถามผล
การตรวจสอบจากผูจบั กมุ ทุก ๆ 3 เดือน

7.3 ตองมีการจัดทําบัญชี รายละเอียด ใหครบถวน เพื่อการทบทวนและตรวจสอบยอนหลังได และ
จัดทาํ รายงานผลการดาํ เนินการเสนอผูบังคับบญั ชาตามลาํ ดับชั้น

8. กฎหมายที่เกี่ยวขอ ง
8.1 กฎหมายท่เี กยี่ วขอ งในขน้ั ตอนการพจิ ารณาแฟม คดี
พระราชบัญญตั ศิ ุลกากร พ.ศ. 2560
8.1.1 มาตรา 202 ผูใดยื่น จัดให หรือยอมใหผูอื่นย่ืนใบขนสินคา เอกสาร หรือขอมูล ซ่ึงเกย่ี วกับ

การเสียอากรหรือการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติน้ีไมถูกตองหรือไมบริบูรณ อันอาจกอใหเกิดความสําคัญผิด
ในรายการใด ๆ ที่ไดแสดงไวในใบขนสินคา เอกสาร หรือขอมูลดังกลาว ตอพนักงานศุลกากร ตองระวางโทษปรับ
ไมเกินหาแสนบาท

ตามเกณฑก ารเปรียบเทยี บงดการฟอ งรองประมวลฯ ขอ 7 04 02 01 (1) ขอ 1 – ขอ 16
8.1.2 มาตรา 208 ผูนําของเขาหรือผูสงของออกผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรา 51
ตองระวางโทษปรับไมเ กนิ หาหมื่นบาท
ตามเกณฑการเปรียบเทียบงดการฟอ งรองประมวลฯ ขอ 7 04 02 01 (7) ขอ 1 – ขอ 4

8.1.3 มาตรา 242 ผูใดนําเขามาในหรือสงออกไปนอกราชอาณาจักรซึ่งของท่ียังมิไดผานพิธีการ
ศุลกากร หรือเคล่ือนยายของออกไปจากยานพาหนะ คลังสินคาทัณฑบนโรงพักสินคา ที่มั่นคงทาเรือรับอนุญาต
หรือเขตปลอดอากร โดยไมไดรับอนุญาตจากพนักงานศุลกากร ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสิบป หรือปรับเปนเงินส่ีเทา
ของราคาของซ่ึงไดรวมคาอากรเขาดวยแลว หรือท้ังจําทั้งปรับ และใหริบของนั้น ไมวาจะมีผูถูกลงโทษตาม
คาํ พิพากษาหรอื ไม

ผูใดพยายามกระทําความผดิ ตามวรรคหน่งึ ตอ งระวางโทษเชนเดียวกัน
ตามเกณฑการเปรียบเทยี บงดการฟอ งรอ งประมวลฯ ขอ 7 04 02 01 (41) ขอ 1 – ขอ 8
8.1.4 มาตรา 243 ผูใดนําของที่ผานหรือกําลังผานพิธีการศุลกากรเขามาในราชอาณาจักรหรือ
สงของดังกลาวออกไปนอกราชอาณาจักร โดยหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสียอากรโดยเจตนาจะฉอ อากร
ท่ีตองเสียสําหรับของนั้น ๆ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสิบป หรือปรับเปนเงินตั้งแตคร่ึงเทาแตไมเกินส่ีเทาของ
คาอากรท่ตี องเสียเพม่ิ หรือทัง้ จาํ ท้ังปรับ และศาลสงั่ รบิ ของนัน้ ก็ได ไมวาจะมีผถู ูกลงโทษตามคําพิพากษาหรือไม

ผใู ดพยายามกระทําความผิดตามวรรคหนง่ึ ตองระวางโทษเชน เดยี วกัน
ตามเกณฑก ารเปรยี บเทียบงดการฟอ งรองประมวลฯ ขอ 7 04 02 01 (42) ขอ 1 – ขอ 3

11

8.1.5 มาตรา 244 ผูใดนําของท่ีผานหรือกําลังผานพิธีการศุลกากรเขามาในราชอาณาจักร
หรือสงของดังกลาวออไปนอกราชอาณาจักร หรือนําของเขาเพ่ือการผานแดนหรือการถายลําโดยหลีกเลี่ยง
ขอจํากัดหรือขอหามอันเก่ียวกับของน้ัน ตองระวางโทษ จําคุกไมเกินสิบป หรือปรับไมเกินหาแสนบาท
หรอื ท้งั จําทง้ั ปรับ และศาลอาจสงั่ ริบของนน้ั กไ็ ด ไมว าจะมีผถู ูกลงโทษตามคําพิพากษาหรือไม

ผใู ดพยายามกระทาํ ความผิดตามวรรคหน่ึง ตองระวางโทษเชนเดียวกนั
ตามเกณฑก ารเปรยี บเทยี บงดการฟอ งรอ งประมวลฯ ขอ 7 04 02 01 (43) ขอ 1 – ขอ 7
8.1.6 มาตรา 246 ผูใดชวยซอนเรน ชวยจําหนาย ชวยพาเอาไปเสีย ซ้ือ รับจํานํา หรือรับไว
โดยประการใดซ่ึงของอันตนพึงรูวาของอันเน่ืองดวยความผิดตามมาตรา 242 ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาป
หรือปรับเปนเงินสี่เทา ของราคาของซงึ่ ไดร วมคาอากรเขาดว ยแลว หรอื ทง้ั จําท้งั ปรบั
ตามเกณฑก ารเปรยี บเทยี บงดการฟอ งรองประมวลฯ ขอ 7 04 02 01 (45) ขอ 1 – ขอ 4

การกระทําความผิดตามวรรคหนึ่ง หากเปนการกระทําโดยรูวาเปนของอันเนื่องดวยความผิด
ตามมาตรา 243 ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาป หรือปรับเปนเงินตั้งแตคร่ึงเทาแตไมเกินส่ีเทาของคาอากรที่ตอง
เสยี เพม่ิ หรอื ทง้ั จําทงั้ ปรบั

ตามเกณฑการเปรยี บเทียบงดการฟอ งรอ งประมวลฯ ขอ 7 04 02 01 (45)
การกระทําความผิดตามวรรคหนึ่ง หากเปนการกระทําโดยรูวาเปนของอันเนื่องดวย ความผิด

ตามมาตรา 244 ตอ งระวางโทษจาํ คุกไมเกนิ หา ป หรอื ปรับไมเกินหา แสนบาท หรือทัง้ จําท้งั ปรับ
ตามเกณฑก ารเปรียบเทียบงดการฟอ งรอ งประมวลฯ ขอ 7 04 02 01 (45) ขอ 1 – ขอ 2
8.1.7 มาตรา 252 การกระทําความผิดตามมาตรา 202 มาตรา 242 หรือมาตรา 244

ใหกระทําตองรบั ผิดแมไดกระทําโดยไมม ีเจตนา
8.1.8 มาตรา ๒๕๕ ใหอธิบดีมีอํานาจสั่งจายเงินสินบนและรางวัลตามระเบียบท่ีอธิบดีกําหนด

โดยไดรับอนุมตั จิ ากรัฐมนตรี ในกรณีดังตอ ไปนี้
(๑) ความผิดตามมาตรา ๒๔๒ มาตรา ๒๔๔ เฉพาะกรณีความผิดฐานหลีกเล่ียงขอหาม

และมาตรา ๒๔๖ ใหหักจายเปนเงินสินบนและรางวัลรอยละสี่สิบจากเงินคาขายของกลาง โดยใหหักจาย เปนเงิน
สินบนรอยละยี่สิบ และเปนเงินรางวัลรอยละย่ีสิบ แตกรณีที่มิไดริบของกลางหรือของกลาง ไมอาจจําหนายได
ใหหกั จา ยจากเงินคา ปรับ

(๒) ความผิดตามมาตรา ๒๐๒ มาตรา ๒๔๓ และมาตรา ๒๔๔ เฉพาะกรณีความผิด
ฐานหลีกเล่ียงขอจํากัดใหหักจายเปนเงินรางวัลรอยละยี่สิบจากเงินคาขายของกลาง แตกรณีที่มิไดริบของกลาง
หรอื ของกลาง ไมอาจจาํ หนายไดใหห กั จายจากเงินคาปรับ

(๓) กรณีทมี่ ีการตรวจเก็บอากรขาด และเจา หนาท่ีผูสํารวจเงนิ อากรตรวจพบเปน ผลใหเรียก
อากรเพ่ิมเติมได ใหจา ยเงนิ รางวัลรอยละสบิ ของเงินอากรทกี่ รมศุลกากรเรียกเก็บเพิ่มเติมได เงินสินบนและรางวัล
ตาม (๑) และ (๒) ใหห กั จา ยเปนเงินสินบนไดไมเกินคดีละหาลานบาท และหกั จายเปน เงนิ รางวัลไดไ มเ กินคดีละหา
ลา นบาท และตาม (๓) ใหหกั จา ยเปนเงนิ รางวัลไดไมเ กนิ หาลานบาทตอการตรวจพบ

8.1.9 มาตรา ๒๕๖ ภายใตบังคับมาตรา ๒๕๗ บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตนิ ี้ ถาบคุ คลน้ัน
ยินยอมใชคาปรับ หรือไดทําความตกลง หรือทําทัณฑบน หรือใหประกันตามท่ีอธิบดีเห็นสมควรแลว อธิบดี
จะงดการฟอ งรองเสยี ก็ได และใหถือวา คดีเลิกกันตามบทบญั ญตั แิ หง ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญา

ในกรณีที่อธิบดีเห็นสมควรจะฟองบุคคลใดตามพระราชบัญญัตินี้ ใหบันทึกเหตุผล
ในการฟอ ง ผกู ระทําความผิดไวด ว ย

12

8.1.10 มาตรา ๒๕๗ ความผิดตามมาตรา ๒๒๗ มาตรา ๒๔๒ มาตรา ๒๔๓ มาตรา ๒๔๔
และ มาตรา ๒๔๗ ถาราคาของกลางรวมคาอากรเขาดวยแลวเกินกวาส่ีแสนบาท ใหคณะกรรมการ เปรียบเทียบ
มีอํานาจเปรียบเทยี บได

คณะกรรมการเปรียบเทียบตามวรรคหน่ึงประกอบดวยผูแทนกรมศุลกากร ผูแทน
กระทรวงการคลงั และผูแทนสาํ นักงานตาํ รวจแหงชาติ

เมื่อคณะกรรมการเปรียบเทียบไดทาํ การเปรียบเทียบกรณีใด และผูตองหาไดชําระเงิน
คาปรับ หรือไดทําความตกลง หรือทําทัณฑบน หรือใหประกัน ตามคําเปรียบเทียบภายในระยะเวลาที่
คณะกรรมการเปรียบเทียบกําหนดแลว ใหถือวาคดีเลิกกันตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณา
ความอาญา

8.2 กฎหมายที่เก่ียวขอ งในขั้นตอนการนําสงและรับของกลาง
8.2.1 พระราชบญั ญัติศลุ กากร พ.ศ. 2560
(1) มาตรา ๑๗๐ บรรดาของหรอื สงิ่ ทีย่ ึดไวตามพระราชบัญญัติน้หี รือกฎหมายอนื่ ท่ีเกี่ยวกับ

การศุลกากรตอ งสงมอบใหพนกั งานศุลกากรเพือ่ ดําเนนิ การตามกฎหมายตอไป
ของหรือสิ่งท่ียึดและตกเปนของแผนดินหรือท่ีศาลส่ังใหริบตามพระราชบัญญัติน้ี

หรือกฎหมายอ่ืน ท่ีเก่ียวกับการศลุ กากร ใหจําหนา ยตามระเบยี บท่ีอธิบดีกําหนด
(2) มาตรา ๑๗๑ ถาของที่ยึดไวเปนของสดของเสยี ได หรือถาหนวงชาไวจะเปนการเส่ียง

ความเสียหาย หรือคาใชจายในการเก็บรักษาจะมากเกินสมควร อธิบดีจะส่ังใหขายทอดตลาดหรือขาย โดยวิธีอื่น
กอนทข่ี องนนั้ จะตกเปน ของแผนดนิ กไ็ ดทงั้ นี้ ตามระเบยี บที่อธบิ ดกี ําหนด

เงินท่ีไดรับจากการขายของตามวรรคหน่ึง เมื่อไดหักคาใชจายและคาภาระติดพันแลว
ใหถอื ไวแทนของ

8.2.2 ประมวลระเบยี บปฏิบัตศิ ลุ กากร พ.ศ. 2560
(1) ประมวลระเบียบปฏิบัติฯ 7 0๕ 01 01 ความหมายของของกลาง หมายถึง ทรัพยสิน

ทถี่ ูกยดึ หรืออายดั ไว เพอ่ื เปนพยานหลักฐานทางคดี หรอื เพอ่ื ใหตกเปน ของแผน ดิน โดยมีรายละเอยี ด ดงั นี้
(1.1) ยึดหรืออายัดไวเพ่ือเปนหลักฐานทางคดี กลาวคือ พนักงานศุลกากร หรือ

เจาพนักงานตาม กฎหมายอ่ืน มีอํานาจยึดหรืออายัดทรัพยสินนั้นไวเพื่อใชเปนพยานหลักฐานประกอบ
การพจิ ารณาคดใี น ความผดิ เกย่ี วกบั พระราชบญั ญตั ิศลุ กากร พ.ศ. ๒๕๖๐ และกฎหมายท่ีเก่ยี วขอ ง

สําหรับอํานาจยึดหรืออายัดตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. ๒๕๖๐
คอื อํานาจตามมาตรา ๑๕๗ (๓) หรอื อาจอา งอํานาจตามประมวลกฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความอาญา กไ็ ด

ท้ังน้ี ไมจําเปนวาทรัพยสินท่ียึดมาเพ่ือวัตถุประสงคนี้จะตองเปนของแผนดิน
เสมอไป พนักงานศุลกากร หรือเจาพนักงานตามกฎหมายอื่นจึงตองใชความระมัดระวังในการดูแลรักษาของกลาง
ท่ยี ดึ ไวเพอื่ วัตถุประสงคน เ้ี พราะอาจตองคนื แกเ จาของหรือผมู สี ทิ ธใิ นภายหลัง

(1.2) ยึดหรืออายัดไวเพื่อใหตกเปนของแผนดิน กลาวคือ พนักงานศุลกากร
หรือเจาพนักงานตาม กฎหมายอื่น มีหนาท่ีตองยึดหรืออายัดทรัพยสินน้ันไว เนื่องจากทรัพยสินน้ันจะตองตก
เปนของแผนดินโดยผล ของกฎหมาย หรือโดยคําสั่งของศาลหรือผลคดีถึงท่ีสุดเนื่องจากเปนทรัพยท่ีใชในการ
กระทําความผิด ไดมาโดยกระทําความผิด หรือมีไวเปนความผิด เปนตน สําหรับอํานาจยึดหรืออายัดตาม
พระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. ๒๕๖๐ คือ อํานาจตามมาตรา ๑๖๗ หรืออาจอางอํานาจตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความอาญากไ็ ด

13

ท้ังนี้ ทรัพยสินที่ถูกยึดมาเพื่อวัตถุประสงคน้ีหากผลคดีถึงท่ีสุดวาตองตกเปน
ของแผนดินแลวจะตองมี การจําหนายตอไป พนักงานศุลกากรหรือเจาพนักงานตามกฎหมายอื่นจึงตองใชความ
ระมัดระวังในการดูแล รักษาของกลางท่ียึดไวเพ่ือวัตถุประสงคนี้เพื่อเปนการรักษาผลประโยชนของทางราชการท่ี
จะไดรับจากการ จาํ หนา ยของกลางในภายหลงั

(2) ประมวลระเบยี บปฏิบัตฯิ 7 05 02 01 การนําสง ของกลาง
(2.1) ของกลางท่ยี ึดหรอื รับไวตามกฎหมายศลุ กากร ใหมีหนว ยงานรับของกลาง ดงั น้ี
(2.1.1) หากนําสงกรมศุลกากรใหสวนของกลาง สํานักสืบสวนและปราบปราม

เปนหนวยงานรับ ของกลางและควบคมุ เก็บรักษาของ
(2.1.2) หากนําสงของกลางไปยังสํานักงานศุลกากรหรือดานศุลกากร

ใหหนวยงานคดีและของ กลางของสํานักงานศุลกากรหรือดานศุลกากรนั้น ๆ เปนหนวยงานรับของกลางและ
ควบคมุ เก็บรักษาของ

(2.2) ของกลางที่ไดทําการยึดโดยพนักงานศุลกากรในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบของ
สํานักงานศุลกากร หรือดานศุลกากรใด ใหนําสงของกลางไปยังสํานักงานศุลกากรหรือดานศุลกากรที่มีเขตพื้นท่ี
ความรับผิดชอบนั้น ไมวาผูยึดจะเปนพนักงานศุลกากรหนวยงานใดก็ตาม เวนแตมีเหตุจําเปนหรือความเหมาะสม
ผูย ดึ จะขอ อนมุ ัตผิ ูบังคับบญั ชานาํ สง กรมศุลกากร สาํ นักงานศุลกากร หรือดา นศุลกากรอ่ืนก็ได

(2.3) ของกลางที่ยึดหรือรับไวตามกฎหมายศุลกากรโดยเจาพนักงานของ
หนวยราชการอ่ืน ใหนําสงกรม ศุลกากร สํานักงานศุลกากรหรือดานศุลกากรที่ใกลท่ีสุด หากทองท่ีที่จับกุม
ไมมีสํานักงานศุลกากรหรือดาน ศุลกากร หรือมีแตอยูหางไกลมาก ไมสะดวกในดานการคมนาคมก็ใหนําสง
สํานกั งานศลุ กากรหรอื ดานศลุ กากร ทอ่ี ยูใ กลท ่สี ุด เกบ็ รักษาของกลาง

(2.4) ของกลางท่ียากลําบากตอการขนยาย หรอื เส่ียงตอความเสียหาย หรือคาใชจาย
ในการขนยายมาก เกินควร อธิบดีหรือผูซ่ึงอธิบดีมอบหมายมีอํานาจอนุมัติไมตองสงของกลางใหกรมศุลกากร
หรอื ดา นศลุ กากร เปน ผูดูแลรกั ษาของกลางกไ็ ดโดยใหถือหลักเกณฑด ังตอ ไปนี้

(2.4.1) ผูจับกมุ ขอเก็บรกั ษาของกลางเอง เพื่อประสงคใ นการดําเนินคดี
(2.4.2) ผูครอบครองของกลางหรือผูถูกจับกุมขอเก็บรักษาของกลางเอง
เม่ือผจู บั กมุ ใหค วาม ยินยอมโดยใหว างประกนั ตามทก่ี รมศลุ กากรกําหนด
(2.4.3) ถาไมสามารถจะปฏิบัติตามขอ (4.4.1) และ (4.4.2) ได จะใหเชาสถานที่
เกบ็ รักษาของกลาง หรือจัดคนเฝา ของกลางนั้นไวก็ได
(3) ประมวลระเบียบปฏิบัติฯ พ.ศ. 2560 หมวด 7 05 02 02 การรับของกลาง
(3.1) ใหเจาพนักงานผูจับกุมนําสงของกลางโดยทําหนังสือนําสงเปน 3 ชุด
มรี ายละเอียดเกี่ยวกับชนดิ ของ เครื่องหมายการคา เมืองกําเนดิ ปริมาณ และน้าํ หนักใหละเอียดชัดแจง กรณสี นิ คา
มีปญหาเร่ืองทรัพยสินทางปญญา ตองมีเอกสารการตรวจสอบสิทธิของตัวแทนประกอบ โดยกรณีนําสง
กรมศุลกากรใหยืน่ เอกสารทสี่ วนคดี สํานักกฎหมาย กรณนี ําสงสํานักงานศุลกากรหรือดานศลุ กากร ใหย ื่นเอกสาร
ตอหนวยงานทรี่ บั ผิดชอบดานคดี
(3.2) ใหพนักงานศุลกากรผูจับกุมบันทกึ ขอมลู การนําสงของกลางในระบบของกลาง
กรณีเจาพนักงาน ของหนว ยราชการอ่ืนเปน ผูจับกมุ ใหสวนคดี สํานักกฎหมาย หรือฝายคดีของสํานกั งานศุลกากร
หรอื หนวยงานคดขี องดา นศุลกากรทําหนา ท่ีบันทึกขอมูลการนาํ สงของกลางในระบบของกลาง
(3.3) ใหหนวยงานของกลาง ตรวจชั่ง และนับของใหถูกตองตรงกับรายละเอียดใน
หนังสือนําสงและขอมูลในระบบ หากไมครบถวนหรือมีของชํารุดแตกหักเสียหาย ก็ใหบันทึกไวในหนังสือนําสงให
ชัดแจง แลวแจงใหผูจับกุมบันทึกแกไขขอมูลในระบบของกลางใหถูกตองกอนออกเลขท่ีบัญชีคลังของกลางใน

14
ระบบของกลาง โดยใหผูนําสงของกลางและผูรับของกลางลงลายมือช่ือรับรองพรอมทั้ง ลงวัน เดือน ป กาํ กบั ไวใน
บันทกึ การรับ-สง ของกลาง เกบ็ ไวเ ปน หลักฐานประกอบบัญชี ณ หนว ยงานของกลาง

(3.4) หากเปนเวลานอกราชการ ใหผูจับกุมเก็บรักษาของกลางไวกอนช่ัวคราว
และดําเนินการตามขอ (1) ถงึ (3) ในวันแรกทเ่ี ปด ทําการ

(3.5) ของท่ีนําสงในสภาพทั้งหีบหอ ใหผูนําสงใชแถบกระดาษทากาวผนึกหีบหอ
พรอ มทั้งมดั ลวด ประทับตรา กศก. อีกชน้ั หน่งึ ในหนังสือนําสงใหระบุจํานวน เลขหมาย ลักษณะ และน้าํ หนกั ของ
แตละหีบหอ และระบเุ ลขหมายตรา กศก. ไวด วยการเปดสํารวจหบี หอควรจะกระทําโดยพลัน ตองกระทําตอ หนา
ผูอํานวยการสวนของกลางหรือผทู ีไ่ ดร ับมอบหมาย และผูนําสง ของกลาง

(3.6) ในกรณีท่ีมเี หตุขัดของไมอาจนําของกลางมาเก็บรักษาท่ีหนวยงานของกลางได
ดวยเหตุใดก็ตาม เมื่อไดรับอนุมัติจากอธิบดีแลว ใหผูจับกุมแจงรายละเอียดแหงของใหหนวยงานของกลาง
เพ่ือดําเนินการในดานบัญชี โดยถือปฏิบัติตามแนวเดียวกันกับการนําสงของกลาง โดยระบุสถานท่ีเก็บของไว
ใหชัดแจง

(3.7) ของกลางทุกรายการทีห่ นว ยงานของกลางรบั ไว รวมทั้งของตามขอ (6) จะตอ ง
ลงรายการรบั ใน บญั ชขี องกลางเรยี งตามลาํ ดับ เลขท่ี และวนั เดอื น ป ทร่ี บั ของไวหรือที่ไดรับแจง

(4) ประมวลระเบียบปฏิบัติฯ พ.ศ. 2560 หมวด 7 05 02 0๓ การนําสงและรับของ
กลางประเภทรถยนต

การนาํ สงของกลางประเภทรถยนตม าท่ีกรมศุลกากรโดยขบั ไปเองใหป ฏบิ ตั ิ ดังนี้
(4.1) ใหทําหนงั สือนําสงรถยนตของกลางและใหระบุรายละเอยี ดเก่ียวกับชนิดรถยนต
ยี่หอ หมายเลข เครื่องยนต หมายเลขประจําตัวถังรถ สี รุนป อุปกรณประจํารถยนต ชื่อและตําแหนง
เจาหนาท่ี ผูควบคุม รถยนตของกลาง และรายละเอียด วัน เวลา สถานที่ท่ีเคลื่อนยายรถ และวันเวลาที่คาดวา
จะมาถึงและชื่อผูควบคุมรถแจงโดยใหสวนของกลางทราบลวงหนาและทําสําเนาใหผูควบคุมรถยนตของกลางถือ
ไปดว ย
(4.2) จัดทําสําเนาหนังสือนําสงรถยนตของกลาง ตามขอ (๑) ใหเพียงพอกับจํานวน
ดานตรวจรถ ของศุลกากรท่ีจะตองนํารถผา นตัง้ แตตนทางจนถึงกรมศลุ กากรทกุ ดา น
(4.3) ใหผูควบคุมรถยนตของกลางมอบสําเนาหนังสือนําสงรถใหแกดานตรวจฯ
ที่นํารถผานไวเ ปน หลกั ฐาน ดา นละ ๑ ฉบบั
(4.4) ผูควบคุมรถยนตของกลางตองจดแจงรายละเอียด และลงนามในสมุดผาน
ดานตรวจฯ พรอมท้ัง แสดงบัตรประจําตัวตอดานตรวจฯ ทุกดานท่ีนํารถผาน และตองเปดรถใหตรวจ เพื่อแสดง
ความบรสิ ุทธว์ิ าไมมี ของลกั ลอบหนีศลุ กากรซุกซอ นมาดว ย
(4.5) เมื่อดานตรวจฯ ไดรับสําเนาหนังสือสงรถยนตของกลาง ตามขอ (4.3)
ใหล งทะเบยี นไวเ ปนหลักฐาน
(4.6) ใหส วนของกลาง สาํ นกั สืบสวนและปราบปราม ตรวจสอบวารถยนตของกลางได
นําสงมาถึงกรมศุลกากรถูกตองครบถวนแลวหรือไม หากปรากฏวาไมมีรถยนตของกลางสงมาภายในเวลาอันสมควร
หรือมี หลักฐานไมตรงกันประการใด ใหประสานงานกบั หนวยงานตนทางโดยดว น

15
(5) ประมวลระเบียบปฏิบัติฯ พ.ศ. 2560 หมวด 7 05 02 04 การนําสงและรับของ
กลางประเภทสินคาละเมดิ ทรัพยสนิ ทางปญญา

(5.1) กอนนําสงและรับของกลางละเมิดทรัพยสินทางปญญา ใหเจาหนาท่ีผูมีหนาที่
นําสงมอบและรับ ของกลางตรวจสอบวาหลักฐานการนําสงของกลางมีเอกสารแสดงวาของกลางนั้น เปนของ
ละเมิดทรัพยสินทางปญญา และมีหลักฐานการตรวจสอบและรับรองจากเจาของสิทธิหรือตัวแทนเจาของสิทธิ
หรอื ไม

(5.2) หากไมพบขอความหรือหลักฐานการตรวจสอบและรับรองจากเจาของสิทธิหรือ
ตัวแทนเจาของสิทธิ วาเปนของที่ละเมิดทรัพยสินทางปญญา ผูนําสงหรือผูจับกุมจะตองแจงใหเจาของสิทธิหรือ
ตัวแทนฯ มาทําการตรวจสอบและรบั รองวาเปนของทล่ี ะเมดิ ทรพั ยส นิ ทางปญญากอนและเม่ือดําเนินการเสร็จแลว
ใหนําสง และ รบั ของกลางตอ ไป

8.3 กฎหมายทีเ่ ก่ียวขอ งในขั้นตอนวธิ ีการเกบ็ รักษาของกลาง
8.3.1 ประมวลระเบยี บปฏิบตั ิฯ พ.ศ. 2560 หมวด 7 05 03 01
(1) ใหสวนของกลาง สํานักสืบสวนและปราบปราม หรือหนวยงานคดีและของกลาง

แลวแตกรณี ทําปายรายการ และระบุเลขที่และวัน เดือน ป ที่รับของ เลขท่ีแฟมคดี (ถามี) ชนิดของ ปริมาณ
และนํา้ หนกั แลวผกู ติดไวก ับหบี หอหรือตวั ของ

(2) ของใดที่มีภาชนะบรรจุไมเหมาะสม ใหจัดหาภาชนะบรรจุใหม โดยใหคํานึงถึงความ
รดั กุมในทางรปู คดีเก่ยี วกับการบนั ทกึ สภาพหบี หอ ของกลางดว ย

(3) ใหน ําของเขา เกบ็ ในคลังเก็บของ ดงั น้ี
(3.1) วางในชนั้ เกบ็ ของ หรือชอ งซึ่งกําหนดไว จัดใหเ ปนระเบียบเรยี บรอย
(3.2) แยกของออกเปนแตล ะประเภทมิใหป ะปนกนั ในแตล ะแฟม คดี
(3.3) ของที่เสียงายหรืออาจเปรอะเปอนของอ่ืนใด ใหแยกบรรจหุ รือวางไวต า งหาก
(3.4) ใหระบุหมายเลขประจําชั้นหรือชองลงไวในบัญชีของกลางใหตรงกัน ถามีการ

โยกยา ยของกลางใหแกเลขหมายลงในบัญชขี องกลางใหต รงตามที่เปนจริง
(3.5) ในกรณีท่ีเปนของมีคา ใหเก็บไวในตูนิรภัยของหนวยงานที่มีหนาท่ีเก็บรักษา

หรือตูนิรภยั ของธนาคาร
8.3.2 ประมวลระเบียบปฏิบัติฯ พ.ศ. 2560 หมวด 7 05 03 02 การเก็บรักษาของกลางซึ่ง

เปน สินคาอันตราย
กรณีของกลางเปนสินคาอันตราย ใหระมัดระวังในการเก็บรักษาโดยคํานึงถึงขอกําหนด

เฉพาะในการเก็บรักษาของกลางน้ัน และควรคาํ นงึ ถึงขอระมดั ระวังเบ้อื งตน ดังน้ี
(1) สถานท่ีเก็บรักษาตองเปนอาคารที่อากาศถายเทสะดวก ตองจัดบริเวณใหเปนท่ีเก็บ

โดยเฉพาะและตอ งมพี น้ื ท่วี า งเหลือไวโดยรอบ
(2) ตองเก็บใหหางจากแหลงติดไฟ อาหาร เครื่องดื่ม และอาหารสัตว และหามสูบบุหรี่

บรเิ วณเกบ็ สารอนั ตราย
(3) กรณีเปนสารโปตัสเซียมคลอเรท หามจัดเก็บรวมกับสารกัมะถัน ผงถาน กรด

สารอินทรีย ของเหลวไวไฟ ของเขง็ ไวไฟ นํ้ามันเช้ือเพลิง ปยุ คอก ปุย ยเู รยี และยาฆาแมลง ภาชนะบรรจตุ องปดฝา
มดิ ชดิ หา มวางบนโตะไมแ ละตองจดั วางสารเคมีไมสูงเกนิ 3 เมตร

(4) ใหหนวยงานท่ีมีหนาที่รับผิดชอบการจัดเก็บสารเคมีอันตราย ประสานงานไปยัง
หนวยงานราชการท่ีมีหนาที่รับผิดชอบควบคุมดูแลสารเคมีดังกลาว เพ่ือจัดสงเจาหนาที่มารวมตรวจสอบ และให
คาํ แนะนําใหการจัดเกบ็ รกั ษาทถ่ี ูกตองและเหมาะสม

16
8.3.3 ประมวลระเบียบปฏิบัติฯ พ.ศ. 2560 หมวด 7 05 03 0๓ การเก็บรักษาของกลาง
ซึง่ เปนยานพาหนะ

เพ่ือใหพนักงานศุลกากรผูรับผิดชอบในการดูแลรักษายานพาหนะของกลางท่ีกระทําผิด
กฎหมาย ศุลกากรท่ีไดส ่งั ยดึ ไวไ มใหส ูญหาย และอยูใ นสภาพดตี ามสมควร จึงใหถอื ปฏบิ ัติ ดังนี้

(1) ใหพนักงานศุลกากรผูรับ รับและเก็บรักษาที่ไดรับมอบหมาย มีหนาท่ีตรวจรับ
ยานพาหนะของกลางจากผูจับกุมหรอื ผูนาํ สง โดยจัดทาํ บัญชรี ายละเอยี ดของยานพาหนะน้ัน ๆ วาเปนรถหรือเรือ
สภาพของ ยานพาหนะเปนอยางไร หมายเลขทะเบียน ยห่ี อ เครื่องอะไหลท่ีมีของใชตาง ๆ ประจํายานพาหนะน้ัน
และรายการอ่ืน ๆ ท่ีควรบันทึกไวพรอมทั้งใหลงราคาท่ีประเมินไวใหเปนหลักฐาน ถามีเจาของหรือผูรับมอบ
ก็ใหลงนามพรอมวัน เดือน ปไว และใหผูนําสงลงนามรับรองไวดวย เสร็จแลวใหเจาหนาท่ีผูรับมอบยานพาหนะ
ของกลาง ลงนามกํากับไวเ ปน หลักฐาน

(2) ถายานพาหนะของกลางที่ยึดไวนั้น ไดมีคําสั่งกรมฯ ใหคืนเจาของ ใหถือปฏิบัติตาม
ประมวลฯ วาดวยการคืนของกลาง

(3) ใหหนวยงานของกลาง มีหนาที่เฝาดูแลรับผิดชอบยานพาหนะท่ีไดรับมอบไวมิใหสูญ
หาย เสียหาย หรือปลอยใหย านพาหนะนน้ั ๆ ทรุดโทรม ถาจาํ เปนจะตองถอดชิ้นสว นไปเกบ็ รักษาหรือตรวจสภาพ
ของ ยานพาหนะเพ่ือจดั การซอ มก็แจง ใหส ํานกั บรหิ ารกลางทราบ

8.3.4 ประมวลระเบียบปฏิบัติฯ พ.ศ. 2560 หมวด 7 05 03 0๔ การเก็บรักษาของกลาง
ซง่ึ เปนไม

(1) ใหเ จาหนาทเ่ี ก็บรกั ษาของกลางตรวจสอบ ชนิด นับจาํ นวน วัดปรมิ าตร และตีตราไม
รวมกับ เจาหนาทีก่ รมปา ไม และบนั ทกึ ขอ มลู นําสง ไมของกลาง

(2) ใหผูจับกุมเคลื่อนยายนําสงไมของกลาง เขาเก็บรักษาในสถานท่ีเก็บรักษารวมกับ
เจา หนาทเ่ี กบ็ รักษาของกลาง

8.3.5 ประมวลระเบียบปฏิบัติฯ พ.ศ. 2560 หมวด 7 05 03 05 การเก็บรักษาของกลาง
ซึ่งเปนสินคาละเมิดทรพั ยสนิ ทางปญ ญา

(1) ใหพ นกั งานศลุ กากรผรู ับและเก็บรกั ษาของกลางแยกเก็บของกลางทล่ี ะเมิดทรัพยสิน
ทางปญ ญาไว มใิ หป ะปนกบั ของกลางประเภทอื่น

(2) หากสถานที่เก็บรักษาของกลางท่ีละเมิดทรัพยสินทางปญญาไมเพียงพอ ใหรายงาน
ผูบังคับบัญชา ทราบเพ่ือแจงเจาของสิทธิหรือตัวแทนฯ ทรัพยสินทางปญญาน้ันในฐานะผูดูแลสิทธิเพื่อสนับสนุน
ในเร่อื ง คา ใชจาย

8.4 กฎหมายทเี่ ก่ียวของในข้ันตอนการประเมินราคาของกลาง
8.4.1 ประมวลระเบียบปฏิบัติฯ พ.ศ. 2560 หมวด 7 05 04 01 การสง ตัวอยางของกลางไป

ประเมินราคาและคาภาษอี ากร
(1) ใหผ เู ก็บรักษาของกลาง สง ตัวอยา งของกลางไปประเมินราคาและคาภาษอี ากร
(2) ใหมีการบันทึกการสงมอบและรับมอบไวเปนหลักฐาน พรอมท้ังบันทึกขอมูลสง

ประเมินราคาภาษี อากรในระบบของกลาง
(3) ใหผูทําหนาท่ีประเมินอากรบันทึกราคาประเมินและคาภาษีอากรลงในระบบของกลาง

พรอ มสง ขอมลู การประเมินราคาในระบบใหห นวยงานคดี และเกบ็ สาํ เนาใบประเมนิ ราคาไวเปนหลักฐาน
(4) หลงั จากการประเมินราคาเสรจ็ ส้ินใหแ จงผลการประเมนิ พรอมสง ตัวอยางของกลางคืน

ใหผูเ ก็บ รักษาของกลางท่รี บั ผดิ ชอบโดยพลัน

17
(5) ผูมีหนาท่ีเก็บรักษาของกลางบันทึกผลการประเมินในบัญชีของกลาง (แบบที่ 463)
และแจงผลให หนวยงานคดีทราบ
(6) ตวั อยางของท่ไี ดรบั กลบั คืน ใหเกบ็ เขา รวมกบั ของเดมิ ถา เปน กรณีทีม่ ขี องมากรายการ
ไมสะดวก แกการเก็บเขารวมก็ใหบรรจุของตัวอยางเหลานั้นรวมไวดวยกันเปนราย ๆ ติดปายรายการของ
ตามประมวลฯ ขอ 7 05 03 01 (1) ไวท ่หี ีบหอแลว วางรวมไวก ับหบี หอเดิม
8.4.2 ประมวลระเบียบปฏิบัติฯ พ.ศ. 2560 หมวด 7 05 04 02 ขั้นตอนการประเมินราคา
ของกลาง
(1) ใหห นว ยงานของกลาง จดั ทําใบประเมินราคาของกลางตามแบบแนบทายประมวลฯ
(2) หากตองการรายละเอียดเก่ียวกับชนิดหรือสวนผสมของสินคา เพ่ือประเมินราคาและคา
ภาษอี ากร ใหบันทึกขอมลู สงวิเคราะหสินคาในระบบของกลาง เอาตัวอยางไปโดยนําวิธีการชักตัวอยางมาใชบังคับ
โดยอนุโลม และจัดสงตัวอยางของกลางไปยังหนวยงานวิเคราะหสินคา หรือหนวยงานอ่ืนท่ีเกี่ยวของโดยเก็บ
สาํ เนาไวเปนหลกั ฐานทหี่ นว ยงานของกลาง
(3) กรณีท่ีการจับกุมน้ันมีตัวผูตองหาและของกลางยังไมไดจัดสงไปหนวยของกลาง
ใหผูจับกุมทําใบ ประเมินราคาพรอมสําเนาสงใหหนวยงานคดีเพื่อใชกําหนดเปนวงเงินประกันตัวผูตองหาแลวให
หนวยงานคดี เก็บตนฉบับใบประเมินราคาของกลางแนบแฟมคดีไวแลวสงสําเนาใบประเมินราคาของกลางและ
สําเนาตนเรอื่ ง การจับกุมไปยงั หนว ยงานของกลางเพ่ือดาํ เนนิ การตอไป
8.4.3 ประมวลระเบียบปฏิบัติฯ พ.ศ. 2560 หมวด 7 05 04 03 วิธีการประเมินราคาของกลาง
(1) ใหหนวยงานของกลางหรือหนวยบริการศุลกากรท่ีมีหนาที่ประเมินราคาของกลาง
ประเมินราคา ของกลางตามสภาพแหงของของกลาง เวนแตการประเมินราคาและภาษีอากรรถยนตท่ีเปน
ของกลาง ตามกฎหมายศุลกากร ใหถือปฏิบัติตามประมวลฯ ในสวนที่เกี่ยวกับการประเมินราคารถยนต
ท้ังน้ี ใหหกั สวนลดจนถงึ เดอื นสดุ ทา ยกอ นเดอื นท่นี ําออกจําหนา ย
(2) การคํานวณคาภาษีอากร ใหใชพิกัดอัตราอากรที่เปนอยูในวันที่ทําการจับกุม
เปน เกณฑในการคาํ นวณอากร
(3) การประเมินราคาของกลางเพอื่ ประโยชนใ นการกําหนดเบยี้ ปรบั ใหถ อื ปฏิบตั ิดังน้ี

(3.1) ถาราคาของกลางท่ีประเมินแตละคราวไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท ใหหัวหนา
ฝา ยหรือผูทไ่ี ดรับมอบหมายลงนามกํากบั

(3.2) ถาราคาของกลางท่ีประเมินแตละคราวเกินกวา ๑๐๐,๐๐๐ บาทข้ึนไป
ใหขาราชการใน ตําแหนงประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการพิเศษ ที่กํากับงานของกลางหรือผูที่ไดรับมอบหมาย
ลงนามกํากบั

(3.3) ถาราคาของกลางที่ประเมินแตละคราวเกินกวา ๕๐๐,๐๐๐ บาทข้ึนไป
ใหผอู าํ นวยการสาํ นกั หรอื สํานกั งานศุลกากร หรือนายดา นศลุ กากร หรอื ผูทไ่ี ดรับมอบหมายลงนามกาํ กับ

18

8.5 เกณฑการเปรียบเทียบงดการฟองรอง ประมวลระเบียบปฏิบตั ฯิ พ.ศ. 2560 หมวด 7 04 02 01
8.5.1 เกณฑการเปรยี บเทียบงดการฟอ งรอง ตามประมวลขอ 7 04 02 01 (1)

7 04 02 01 ฐานความผิด รายละเอียดหรอื ลักษณะของ เกณฑเปรียบเทียบงดการ
(1) ม.202 การกระทาํ ความผดิ ฟองรอง
ขอ 1 กรณีแสดงขอมลู ไมถูกตอ ง ผอ นผันการปรบั
หรอื ไมบรบิ ูรณเปนเหตุใหอากร
เกินจากที่ตอ งชาํ ระ
ขอ 2 กรณีแสดงขอมูลไมถ ูกตอง ผอ นผนั การปรบั
หรือไมบ รบิ ูรณเปน เหตใุ หอากร
ขาดไมเกิน ๕,๐๐๐.- บาท
ขอ 3 กรณีวางเงินอากรจาํ นวน ผอนผนั การปรบั
สูงสุดไว เปน ประกนั ตามมาตรา
55 แหง พระราชบัญญตั ิศุลกากร
พ.ศ. 2560 ไวกอ นที่พนกั งาน
ศุลกากรจะตรวจพบความผิด
ขอ 4 กรณแี สดงขอมลู ไมถูกตอง ผอ นผันการปรับ
หรอื ไม บรบิ รู ณเปน เหตุใหอากร
ขาดเกินกวา ๕,๐๐๐ บาท
แตผูก ระทาํ ความผิดตรวจพบ
ความผดิ เองแลว รอง ขอแกไขให
ถกู ตองโดยแสดงแจง ชดั เปน ลาย
ลกั ษณอกั ษร ตอ พนกั งาน
ศุลกากรกอ นท่พี นักงานศลุ กากร
ตรวจพบความผดิ ท้งั นโ้ี ดยไมมี
เหตทุ ุจรติ ดว ย ประการใด ๆ เวน
แตก รณีทม่ี กี ารขอแกไขตามที่
กาํ หนดไวในขอ (5)
การขอแกไขขอมูลกอน
การตรวจ ปลอยของออกไปจาก
อ า รั ก ข า ข อ ง ศุ ล ก า ก ร ต อ ง ยื่ น
ข อ แ ก ไ ข ก อ น ก า ร กํ า ห น ด ชื่ อ
พนักงานศุลกากรเพื่อ ทําการ
ตรวจปลอ ยของ
ขอ 5 กรณผี ูกระทําความผิด ปรบั 1,000 บาท และใหชําระ
ตรวจพบ ความผดิ เองวา มีของ คาภาษีอากรที่ขาดใหครบถวน
เกินจากท่สี ําแดงในใบขน สนิ คา พรอ ม เบย้ี ปรบั เงนิ เพิ่มตาม
ขาเขาภายหลังจากที่ไดรบั มอบ กฎหมาย และใหแกไข
ของไปจาก อารักขาของศุลกากร ขอมลู ใบขนสินคา ใหถูกตอง
แลวรองขอแกไขใหถูกตอง โดย

19

7 04 02 01 ฐานความผิด รายละเอียดหรือลักษณะของ เกณฑเ ปรยี บเทียบงดการ
การกระทําความผิด ฟอ งรอง
แสดงแจงชดั เปนลายลกั ษณ
อักษรตอ พนกั งานศุลกากรกอนที่
พนกั งานศลุ กากรจะตรวจพบ
ความผิดโดยไมม ีเหตทุ จุ ริตดว ย
ประการใด ๆ หรอื ไมป รากฏ
ขอเท็จจริงวา เปนของท่นี าํ เขามา
โดยไมผ านพิธีการศุลกากร

ขอ 6 กรณีเจาหนาท่ีผูสํารวจเงิน ผอ นผนั การปรบั
อากร ทกั ทวง

ขอ 7 กรณแี สดงชนดิ หรือปริมาณ ผอ นผันการปรบั
ของใชใ นบานเรอื นและของใช
สวนตัวในใบขนสินคา
คลาดเคลอ่ื น จากของทีน่ ําเขาจรงิ
เพียงเลก็ นอยและเห็นไดว ามิได
นําเขา เพ่ือประโยชนใ นทางการคา

ขอ 8 กรณีแสดงขอมลู ไมถูกตอง ผอนผันการปรับ
หรอื ไมบ รบิ ูรณแ ตไมมผี ลกระทบ
ตอ อากร

ขอ 9 กรณีมีคําชี้แจงพอใจ ผอนผันการปรับ
หรอื เมอ่ื ขอ เทจ็ จรงิ และ
พยานหลกั ฐานฟงเปน ทีย่ ุติไดวา
ผูกระทาํ ความผิดไมม เี จตนาจะ
ฉอ อากร
ขอ 10 กรณแี สดงขอมูลในใบขน ปรับ 500 บาท
สนิ คา อัน ไดแกรหัสสถติ สิ ินคา
มูลคา การนําเขาและสง ออก
ปรมิ าณ หรอื นํ้าหนักตามหนว ย
ทจ่ี ดั เกบ็ สถติ ิรหัส ประเทศทเี่ ปน
สากลอัตราแลกเปลย่ี น และ
เลขประจาํ ตัวผูเ สียภาษีมูลคา เพ่ิม
ไมถูกตอง ซึ่งไมม ผี ลกระทบตอ
คาอากร
การกระทาํ ตามวรรคหนึ่ง ผอ นผันการปรบั
หากผูกระทําความผดิ ตรวจพบ

20

ความผดิ เองแลวรอ งขอ แกไขให
ถูกตองโดยแสดงแจง ชดั เปน ลาย
ลักษณอักษร ตอ เจาหนาท่ี
ภายใน ๑๐ วนั นับแตว นั สงมอบ
หรือสง ออก

ขอ 11 กรณีแส ดงขอมูลไม ปรับรอยละ ๑๐ ของ อากรท่ี
ถูกตอง หรือไม บริบูรณแตมี ขาดไมน อ ยกวา ๑,๐๐๐ บาท
ขอเท็จจริงและหลักฐานเห็นไดวา แตไมเ กนิ ๑๐๐,๐๐๐ บาท
มูลเหตุ แหงการกระท าผิดเกิด และให ชําระคาภาษีอากรที่
จากผูกระท าความผดิ ไม ใชความ ขาด ใหค รบถวนพรอ มเบ้ียปรับ
ระมดั ระวังใหเ พียงพอ เงินเพิ่มตามกฎหมาย
ขอ 12 กรณีแสดงที่อยูและหรอื ปรับ 50,000 บาท
สถาน ประกอบการในใบขน
สนิ คา ขาเขา ใบขนสินคาขาออก
หรือเอกสารอื่น ๆ ไมถูกตอง
หรือไมบ รบิ รู ณ หรือการแสดง
เอกสารดังกลาวใหพ นักงาน
ศุลกากรสาํ คัญผดิ ซึ่งท่ีอยูหรือ
สถานประกอบการโดย สถานที่
ดงั กลาว ไมม สี ภาพแหงการเปน
สถาน ประกอบการอยางแทจรงิ
หรอื มกี ารแอบอาง สถานท่โี ดย
ฉอ ฉล

ขอ 13 กรณีการกระทําใด ๆ ใหป รบั รอยละ ๑๐ ของ จาํ นวน
ในใบขน สนิ คาเพอ่ื ขอคนื เงนิ คาอากรท่ีอาจจะ ไดร บั คืนหรือ
อากรหรือขอชดเชยคาภาษี อากร เงนิ ชดเชยทีจ่ ะพึงไดร ับเกนิ กวา
โดยแสดงขอมลู เกี่ยวกับของไม ความจรงิ ทัง้ นี้คาปรับตองไม
ถกู ตองและ พนกั งานศุลกากร นอยกวา ๑,๐๐๐ บาท แตไม
พบวาของนน้ั ไมต รงกบั ที่แสดงไว เกิน ๕๐,๐๐๐ บาท
หรอื มปี ริมาณนอ ยกวาที่แสดง
หรือไมมกี ารสง ออก ตามท่แี สดง
ซ่ึงขอ เท็จจรงิ และหลักฐานเห็นได
วา มไิ ดเ กิดจากเจตนาทจุ รติ ใน
การขอคืนอากรหรือชดเชยคา
ภาษีอากร

21

7 04 02 01 ฐานความผิด รายละเอียดหรอื ลักษณะของ เกณฑเ ปรยี บเทียบงดการ
การกระทาํ ความผดิ ฟอ งรอง
ขอ 14 กรณีการแสดงเกี่ยวกับ ปรบั 1,000 บาท
ของที่นาํ เขาเก็บในและนาํ ออก
จากคลงั สนิ คาทณั ฑบ น หรือเขต
ปลอดอากร หรอื เขต
ประกอบการเสรี หรอื ขอใชสทิ ธิ
ประโยชนจ ากคณะกรรมการ
สง เสริมการลงทุน และอยูใน
หลกั เกณฑท ี่จะไดร ับ การยกเวน
อากร ซึ่งพนักงานศุลกากรตรวจ
พบ ชนดิ ของ ปริมาณ หรอื
น้ําหนกั ไมตรงตามท่แี สดง ในใบ
ขนสนิ คา เวน แตจ ะมีเจตนาทุจรติ
ในการฉอ คา อากร
ขอ 15 กรณีแสดงหรือไมแสดง ใหปรับหนึง่ เทาของอากร
อากร ชัว่ คราว หรอื อากรตอบโต ช่วั คราวอากรตอบโตการทุม
การทมุ ตลาดหรืออากร ชั่วคราว ตลาด หรืออากรชว่ั คราว อากร
หรืออากรปกปองหรือชําระอากร ปกปอ งท่ีขาดแตไ มเกิน
ดงั กลาว ไมถูกตอง หรือไม 500,000 บาท และใหชําระ
ครบถว น อากรดงั กลาว พรอม
ภาษมี ลู คาเพิ่มท่ีขาด และเบี้ย
ปรบั เงินเพม่ิ ตามกฎหมาย

กรณีตามวรรคหน่ึง หากอากร ใหปรบั หนึ่งเทา ของ
ดงั กลา ว ขาดเกนิ กวา อากรชั่วคราวอากรตอบโตก าร
500,000 บาท ทุมตลาด หรอื อากรช่วั คราว
อากร ปกปองทีข่ าด แตไมเกิน
500,000 บาท
และใหชําระอากรดังกลา ว
พรอม ภาษีมูลคาเพ่ิมท่ขี าดและ
เบ้ยี ปรับเงนิ เพมิ่ ทขี่ าดตามสว น

เวนแตก รณีทาํ นองเดียวกับ ใหผ อนผนั การปรับ
ประมวลระเบียบปฏิบตั ิศลุ กากร
พ.ศ. 2560 ขอ 7 04 02 01
(1) ขอ1 ขอ 2 ขอ 3 ขอ4 ขอ 6
และขอ8

22

ขอ 16 กรณแี สดงขอมูลเกย่ี วกับ ปรับ 1,000 บาท
ชนดิ หรือประเภทพิกดั ศุลกากร
ของสินคาประมงและ ผลติ ภัณฑ
ประมงไมถ ูกตอง หรอื ไมบ ริบูรณ

ความผิดตามวรรคหนึง่ หาก ใหป รับเพิม่ อีกเปนเงนิ หนง่ึ เทา
เปนการกระทาํ ความผิดซํ้าในทา ของจาํ นวนเงินคาปรับครงั้
หรอื ท่เี ดียวกัน หลงั สดุ ท้ังน้ีจํานวน คา ปรับ
ตองไมเ กิน 500,000 บาท

8.5.2 เกณฑก ารเปรยี บเทยี บงดการฟองรอง ตามประมวลขอ 7 04 02 01 (7)

7 04 02 01 ฐานความผิด รายละเอยี ดหรอื ลักษณะของ เกณฑเปรียบเทียบงดการ
(7) ม.208 การกระทาํ ความผดิ ฟอ งรอง
กรณีฝาฝนหรอื ไมป ฏิบัติเก่ียวกบั ปรบั 1,000 บาท
พิธีการศลุ กากรในการนาํ ของไป
จากอารักขาของศลุ กากรหรอื การ
สง ของออกไปนอกราชอาณาจกั ร

กรณีสงขอมูลใบขนสินคาเพื่อนํา ปรบั ผนู าํ ของเขา หรอื สงของ
ของเขาหรือออกจากคลังสินคา ออกและ/หรือตัวแทนออกของ
ทัณฑบนหรือเขตปลอดอากร เปนเงิน 1,000 บาท
โดยไมมีของที่จะนําเขาหรือ หากกระทาํ ความผดิ ในลกั ษณะ
สงออก หรือสงขอมูลใบขนสินคา เดียวกนั ซํา้ ณ กอง สํานักงาน
หลายครั้ง สําหรับการนําของเขา หรือดานศุลกากรเดียวกนั ใน
หรือออกจากคลังสินคาทัณฑบน รอบปปฏิทนิ ใหป รบั เพ่ิมอีก
หรือเขตปลอดอากรครั้งหนึ่ง ๆ คร้งั ละ 1,000 บาท ท้ังนี้
โดยไมยกเลิกใบขนสินคา จนเปน คาปรับรวมในรอบปป ฏทิ นิ
เหตุทําใหใบขนสินคาคางสถานะ ตอ งไมเกนิ 5,000 บาท
รบั บรรทกุ

หากการกระทําความผิดตาม
วรรคแรกและวรรคสอง
เปนความผิดฐานอ่ืนดวย ให
เ ป รี ย บ เ ที ย บ ง ด ก า ร ฟ อ ง ร อ ง
ในความผิดฐานอ่ืนดวยแลวแต
กรณี

23

8.5.3 เกณฑการเปรยี บเทยี บงดการฟองรอ ง ตามประมวลขอ 7 04 02 01 (41)

7 04 02 01 ฐานความผดิ รายละเอยี ดหรือลักษณะของ เกณฑเ ปรียบเทียบงดการ
(41) ม.242 การกระทาํ ความผดิ ฟองรอง
ขอ 1 กรณนี ําเขา มาในหรอื ปรับสองเทาของราคา ของรวม
สงออกไป นอกราชอาณาจักรซึง่ คา อากร กับอกี หน่งึ เทาของ
ของทีย่ ังมิไดผานพิธีการศุลกากร ภาษีมลู คาเพิม่ ภาษีสรรพสามติ
หรือเคลือ่ นยายของออกไปจาก ภาษเี พอ่ื มหาดไทย และภาษี
ยานพาหนะ คลงั สินคาทัณฑบน อ่นื ๆ (ถาม)ี และใหยกของ
โรงพักสินคา ท่ี มนั่ คง ทาเรือรบั กลางใหเปน ของแผน ดิน
อนญุ าต หรอื เขตปลอดอากรโดย
ไมไ ดร ับอนุญาตจากพนกั งาน
ศลุ กากร

ขอ 2 กรณตี รวจพบการกระทํา ใหยกของกลางใหเ ปนของ
ความผดิ ที่ทาอากาศยาน แผน ดิน
(1) กรณตี รวจพบและจบั กมุ ปรับหน่งึ เทา ของราคา
ผูตองหาขณะอยใู นชองเขยี ว รวมคา อากรกับอกี หน่งึ เทาของ
ชองลกู เรือ ชองเอกสิทธ์ิทางการ ภาษมี ลู คา เพิ่ม ภาษีสรรพสามิต
ทูต และชองผตู ิดบตั รอนญุ าตใน ภาษีเพอ่ื มหาดไทย และภาษี
พื้นที่ ตรวจของศลุ กากร แตยังไม อน่ื ๆ (ถา ม)ี และใหยกของ
พนหองตรวจของ ผโู ดยสาร หรอื กลางใหเ ปน ของแผนดิน
ภายในอาคารผูโดยสารขาเขา ปรับสองเทาของราคาของ
ระหวาง ประเทศชน้ั ใน รวมคา อากรกับอีกหน่งึ เทา ของ
ถา ของกลางเปนสตั วป าหรือ ภาษมี ลู คา เพ่มิ ภาษสี รรพสามิต
ซาก สัตวปาตามบัญชCี ITES ภาษีเพอ่ื มหาดไทย และ
หมายเลข 1 หรือตัวนมิ่ และ ซาก ภาษอี ่ืนๆ (ถา ม)ี และใหย กของ
ตัวน่ิมหรอื พันธุพชื ปา กลาง ใหเ ปน ของแผนดิน
ตามบัญชี CITES หมายเลข 1 ปรับสีเ่ ทาของราคาของ รวมคา
(2) กรณีตรวจพบและจบั กุม อากร และใหยก ของกลางให
ผูตอ งหาภายหลังผานพนหอง เปน ของ แผน ดิน
ตรวจของผโู ดยสาร

(3) กรณีความผดิ ตาม (1) และ
(2) ถา เปนการนาํ เขา มาใน
ลักษณะซุกซอ นโดยวิธีการ

24

อนั แยบยล เพ่ือไมใหเ จา หนา ท่ี
ตรวจพบ
ขอ 3 กรณตี าม ขอ 1 ขอ 2 (1) ปรบั ส่ีเทา ของราคาของ รวมคา
(2) และ (3)ถาผูต อ งหา หรือผูมี อากร และใหย ก ของกลางให
สวนเก่ยี วขอ งไดกระทําการ เปน ของ แผนดนิ และใหแจง
โดยอกุ อาจ เชน ใชก าํ ลงั ตอ สู ความดาํ เนินคดีกับบคุ คลท่ตี อสู
ขดั ขวาง หรอื ทาํ รา ยรางกาย ขัดขวางการจับกมุ ใหสง เรื่องให
พนกั งานศลุ กากรผูทําการจับกุม พนักงานสอบสวนดําเนนิ คดโี ดย
ไมหยดุ ยานพาหนะทบี่ รรทกุ ของ ไมรับทาํ ความตกลงงดการ
อันเปน ความผิดเพื่อให พนักงาน ฟองรอง
ศลุ กากรตรวจคน โดยมีเจตนา

ฝา ฝนคําสั่งของเจาหนา ที่ หรือ
ย้อื แยงของกลางหรอื ทาํ ลายของ
กลาง ท่เี จา หนาทจ่ี ับกุมหรือยึดไว
หรือทาํ ลาย เครื่องหมายดวงตรา
กุญแจ หรอื เครื่องผูกมดั ใด ๆ ท่ี
เจา หนาทไ่ี ดทําหรือหมายไวที่ของ
กลางนนั้ หากการตอ สขู ัดขวาง
ดังกลา วเปน เหตใุ ห เจาหนา ท่ี
ผูทาํ การจับกุมไดรับอนั ตราย
ขอ 4 กรณีของกลางเปน นํา้ มัน ใหป รับสีเ่ ทา ของราคาของรวม
เชอ้ื เพลิงมีปริมาณตั้งแต ๕,๐๐๐ คา อากร และใหย กของกลาง
ลิตรข้นึ ไป ใหเปนของแผน ดิน

หากของกลางตามวรรคหนงึ่ ใหป รบั สองเทาของราคาของ
มปี รมิ าณต่าํ กวา ๕,๐๐๐ ลติ ร รวมคา อากรกบั อีก หนึง่ เทาของ
ภาษมี ลู คาเพม่ิ ภาษีสรรพสามติ
ภาษเี พอ่ื มหาดไทยและภาษี
อ่นื ๆ (ถา ม)ี และใหยกของกลาง
ใหเ ปน ของแผน ดนิ
ขอ 5 กรณนี าํ เงนิ ตรา เงินตรา ใหผูต องหายกเงินตราของกลาง
ตางประเทศ หรือตราสารเปล่ียน ใหเปนของ แผน ดนิ และคืน
มือเขามาใน หรือนําออกไป เงินตราใหแ กผตู องหาตาม
นอกประเทศ จาํ นวนที่มสี ทิ ธิจะนาํ ตดิ ตัว
(1) ความผิดฐานนําหรอื พาหรือ ออกไปโดยไมตองขออนุญาต
พยายามนาํ หรือพาเงนิ ตรา จากเจา พนักงาน เวน แตกรณีท่ี
ออกไปนอกประเทศ โดยไมไดรับ ผูตอ งหา ไดร ับอนญุ าตจากเจา
อนญุ าต พนกั งานกอนถูกจับกมุ
ใหน าํ เงินตราออกไป

25
จาํ นวนเทา ใดกใ็ หคืน เงนิ ตรา
จาํ นวนท่ไี ดร บั อนญุ าตและท่ีมี
สทิ ธิจะนาํ ติดตวั ออกไป
โดยไมต อ งขออนุญาต
(2) บุคคลใดสงหรือนําเงินตรา
เงินตราตางประเทศ หรือตราสาร
เปลี่ยนมือออกดังตอไปน้ีออกไป
นอกหรอื เขา มาในประเทศ โดยไม
แ จ ง ร า ย ก า ร เ ก่ี ย ว กั บ เ งิ น ต ร า
เงินตราตา งประเทศ หรือตราสาร
เปล่ียนมอื นัน้ ตอพนักงาน
ศลุ กากรอนั เปนการฝา ฝนหรอื
ละเลยไมปฏิบตั ติ ามประกาศ
กระทรวงการคลัง เรื่อง การ
ควบคมุ การแลกเปลย่ี นเงิน
(ฉบบั ที่ 6) ลงวันท่ี
8 กมุ ภาพันธ พ.ศ. 2560
ซึง่ ออกโดยอาศยั อาํ นาจ
ตามความในกฎกระทรวงกาํ หนด
หลกั เกณฑเกีย่ วกับ การสง
หรอื นําเงนิ ตรา เงินตรา
ตางประเทศ และตราสารเปลย่ี น
มอื ออกไปนอกหรือเขา มาใน
ประเทศ พ.ศ.2559 ลงวนั ที่
22 ธันวาคม พ.ศ. 2559
ออกตามความในพระราชบัญญัติ
ควบคุมการ แลกเปล่ียนเงิน
พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๕
ซ่งึ แกไขเพม่ิ เติมโดย
พระราชบญั ญัติควบคมุ การ
แลกเปล่ียนเงิน (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๙
(ก) เงนิ ตราทีเ่ ปนธนบตั ร หรอื
เหรียญกษาปณอ ันมีมลู คาเกิน
กวาส่ีแสนหา หมื่นบาท
(ข) เงินตราตา งประเทศท่ี เปน
ธนบัตรหรอื เหรียญกษาปณอันมี
มลู คา รวมกนั แลวเกนิ กวาหนึง่
หมื่นหาพนั ดอลลารสหรฐั หรอื
เทียบเทา

26

(ค) ตราสารเปล่ียนมอื ทไ่ี มร ะบุ
ชอ่ื ผรู บั เงนิ และไมมีขอกาํ หนด
หา มเปลย่ี นมือ ดังตอ ไปน้ี
1) ตราสารเปลีย่ นมือท่ีระบุ
จาํ นวนเงินเปนเงินบาท อันมี
มูลคารวมกนั แลวเกิน กวาส่ีแสน
หา หมืน่ บาท
2) ตราสารเปล่ียนมือท่ีระบุ
จํ า น ว น เ งิ น เ ป น เ งิ น ต ร า
ตางประเทศ อันมีมูลคา รวมกัน
แ ล ว เ กิ น ก ว า ห นึ่ ง ห ม่ื น ห า พั น
ดอลลารสหรัฐ หรือเทยี บเทา
(ง) เงินตรา เงนิ ตราตา งประเทศ
หรือตรา สารเปลี่ยนมือ ตาม (ก)
(ข) และ (ค) ซึ่งเม่ือรวมกันแลว
มีมูลคาเกินกวาสี่แสนหาหมื่น
บาท หรือเทยี บเทา
(2.1) กรณีตรวจพบขณะผาน
ดานศุลกากรหรือดา นพรมแดน
เงินตรา เงินตราตางประเทศ ปรับรอยละ 10 ของมูลคาของ
หรือตราสารเปล่ียนมือ ซ่ึงเมื่อ เงินตรา เงินตราตางประเทศ
รวมกันแลวมีมูลคาเกินกวาส่ีแสน หรือตราสารเปล่ียนมือ และให
หาหมื่นบาทแตไมเกินสองลาน ผูตองหาปฏิบัติใหครบถวน
บาทหรอื เทียบเทา ถู ก ต อ ง ต า ม ป ร ะ ก า ศ
กระทรวงการคลัง แลวใหคืน
เงินตราตางประเทศ หรือตรา
สารเปล่ียนมือของกลางใหแก
ผตู องหาไปได
เงินตรา เงินตราตางประเทศ ปรับรอยละ 20 ของมูลคาของ
หรือตราสารเปลี่ยนมือ ซ่ึงเม่ือ เงินตรา เงินตราตางประเทศ
รวมกันแลวมีมูลคาเกินกวาสอง หรือตราสารเปล่ียนมือ และให
ลานบาทหรือเทยี บเทา ผู ต อ ง ห า ป ฏิ บั ติ ใ ห ค ร บ ถ ว น
ถู ก ต อ ง ต า ม ป ร ะ ก า ศ
กระทรวงการคลัง แลวใหคืน
เงินตรา
ก ร ณี ท่ี มี ข อ เ ท็ จ จ ริ ง แ ล ะ ใ ห ย ก เ งิ น ต ร า เ งิ น ต ร า
พยานหลกั ฐานวา เงนิ ตรา เงินตรา ตางประเทศ หรือตราสาร
ตางประเทศ หรือตราสารเปลี่ยน เปลี่ยนมือของกลางที่ไดมาโดย
มือดังกลาวเปนของที่ไดมาโดยไม ไมชอบดวยกฎหมายใหเปนของ
ชอบดว ยกฎหมาย แผน ดิน

27

(2.2) กรณีตรวจพบ ณ ท่ีอ่ืนที่ ใ ห ย ก เ งิ น ต ร า เ งิ น ต ร า
มิ ใ ช ด า น ศุ ล ก า ก ร ห รื อ ด า น ตางประเทศ หรือตราสาร
พรมแดนตามขอ (2.1) เชน เปลี่ยนมือของกลางใหเปนของ
เสน ทางธรรมชาติ เปน ตน แผนดนิ
*แกไขเพ่ิมเติมตามคําส่ังทั่วไป
กรมศุลกากรท่ี 20/2564
ลงวันที่ 6 กรกฎาคม 2564

ขอ 6 กรณีท่ขี องกลางเปนของที่ ใหยกของกลางใหเปนของ
ไมตองชําระอากรศุลกากร ไมวา แผน ดนิ
จะตรวจพบ ณ ที่ใดใน
ราชอาณาจกั ร
ขอ 7 กรณีตรวจพบและจับกุม ใหยกของกลางใหเปน ของ
ผตู อ งหาทดี่ านพรมแดน แผน ดนิ
หรือดา นศลุ กากร
ถา ของกลางเปนสตั วป า หรือซาก ปรับหน่งึ เทา ของราคาของ
สัตวปาตามบัญชีCITES หมายเลข รวมคา อากรกับอกี หนึง่ เทา
1 หรือตัวนม่ิ และซากตวั นิม่ หรอื ของภาษีมูลคา เพิม่ ภาษี
พันธุพชื ปาตามบัญชี สรรพสามิต ภาษีเพื่อมหาดไทย
CITES หมายเลข 1 และภาษีอืน่ ๆ (ถา มี) และใหยก
ของกลางใหเ ปนของแผนดนิ
ขอ 8 กรณีท่ไี ดมีการนําสินคา ปรับตวั แทนเรอื ผสู ง ของออก
บรรทุก ข้นึ เรือและสงออกไป และผูท ี่เกยี่ วของ รว มกนั เปน
นอกราชอาณาจักรโดยผูส ง ของ เงิน ๕๐,๐๐๐ บาท และให
ออกมิไดส ง ขอมูลใบขนสนิ คาขา ระงบั การใช สทิ ธปิ ระโยชน
ออกในระบบ ศลุ กากร ทางภาษี อากรทุกประเภท
อิเล็กทรอนิกส( TCES) เพื่อปฏิบตั ิ เฉพาะ ใบขนสินคาขาออก
พิธีการ ศลุ กากร หากขอเท็จจรงิ ฉบับน้นั
ปรากฏวา ผสู งของออกมิได มี
เจตนาทุจรติ ในการนําของออกไป
โดยไมผานพิธี การศุลกากร หรือ
หลีกเลีย่ งอากร
กรณีตามวรรคหน่ึง หากกระทํา ใหเ พมิ่ โทษอีกรอ ยละหาสบิ
ความผิดซา้ํ คร้งั ตอไปในรอบป ของโทษทไ่ี ดรับคร้ังแรก
ปฏิทนิ

28

8.5.4 เกณฑก ารเปรียบเทยี บงดการฟองรอง ตามประมวลขอ 7 04 02 01 (42)

7 04 02 01 ฐานความผดิ รายละเอยี ดหรอื ลักษณะของ เกณฑเปรยี บเทียบงดการ
(42) 243 การกระทาํ ความผิด ฟอ งรอง
ขอ 1 ความผดิ ฐานหลกี เลีย่ ง ใหป รับคร่งึ เทาของอากรที่ขาด
อากรหรือพยายามหลีกเลย่ี ง และใหชาํ ระคา ภาษีอากรท่ีขาด
อากรเปน เหตุใหอากรขาด ใหครบถว นพรอมเบยี้ ปรับเงนิ
(1) อากรขาดไมเ กิน เพิม่ ตามกฎหมาย
50,000 บาท
(2) อากรขาดเกินกวา ใหปรบั หนึ่งเทาของ อากรท่ีขาด
50,000 บาท แตไ มเกนิ และใหชําระ คาภาษอี ากรที่
100,000 บาท ขาดให ครบถวน พรอ มเบี้ย
ปรบั เงนิ เพ่มิ ตามกฎหมาย
(3) อากรขาดเกนิ กวา ใหปรบั สองเทา ของ อากรท่ขี าด
100,000. บาท และใหช าํ ระ คาภาษีอากรท่ี
ขาดให ครบถวน พรอ มเบี้ย
ปรบั เงนิ เพิม่ ตามกฎหมาย
ขอ 2 การแกไ ข เพ่ิมเตมิ ตัดทอน ใหปรับสี่เทาของอากรที่ขาด
ขอความแหงเอกสาร การปลอม และใหช ําระคา ภาษีอากรที่
ดวงตรา ลายมอื ชือ่ ลายมือชื่อยอ ขาดให ครบถวนพรอมเบ้ียปรับ
หรอื เครือ่ งหมายอยางอนื่ ของ เงินเพมิ่ ตามกฎหมาย
พนักงานศลุ กากร เปน เหตุให
คาอากรขาด
ขอ 3 ความผดิ ฐานหลีกเลี่ยง ปรับส่เี ทาของคาอากรทีข่ าด
อากรในกรณีทีเ่ ห็นไดว า เปน และใหยกของกลาง ที่ซุกซอน
การนําของซุกซอ นมากับของท่ี มาน้นั ใหเปนของแผนดนิ
สําแดงโดยวิธีการอนั แยบยล
เพื่อไมใหเจา หนาที่ ตรวจพบของ
ทีซ่ ุกซอนไวน ัน้

29

8.5.5 เกณฑการเปรยี บเทียบงดการฟอ งรอ ง ตามประมวลขอ 7 04 02 01 (43)

7 04 02 01 ฐานความผดิ รายละเอยี ดหรือลักษณะของ เกณฑเปรียบเทียบงดการ
(43) ม.244 การกระทาํ ความผดิ ฟอ งรอง
ขอ 1 กรณีเปนการหลกี เล่ยี งขอ ใหยกของกลางใหเ ปน
หา มในการนาํ เขา การสงออก ของแผน ดนิ
การผานแดน หรอื การถา ยลาํ
ในกรณีของตองหา มตามวรรค ปรับหน่ึงเทา ของราคาของ
แรก เปน ของท่มี ีคุณคาทาง รวมคาอากรกบั อกี หนึ่ง เทา ของ
ศิลปวตั ถุ โบราณวัตถุ ภาษีมลู คาเพิม่ ภาษีสรรพสามิต
ประวตั ศิ าสตร หรือโบราณคดี ภาษีเพือ่ มหาดไทยและภาษี
หรอื วตั ถุลามก หรือสอ่ื ลามก อน่ื ๆ (ถามี) และใหย กของ
สตั วปา หรือซากสตั วปาตามบัญชี กลาง ใหเ ปน ของแผน ดิน
CITES หมายเลข 1 หรือพันธุพืช
ปาตามบญั ชี CITES หมายเลข 1
หรือเปนของละเมดิ ลขิ สิทธิ์
หรอื ละเมิดเครอื่ งหมายการคา
หรือละเมิดทรพั ยสินทางปญญา
กรณเี ปนของละเมดิ ลิขสิทธิ์หรือ ใหย กของกลางใหเปน ของ
ละเมดิ เครื่องหมายการคา หรือ แผน ดิน
ละเมิดทรัพยสินทางปญญาท่ีเปน
ของติดตัวผูโดยสารหรือผเู ดินทาง
ท่ีพนกั งานศุลกากรตรวจพบท่ี
ชองมีของตองสําแดง (ชอ งแดง)
ณ ทาอากาศยาน หรือตรวจพบ
ขณะชําระอากรปากระวางท่ีดาน
พรมแดน หรือดา นศลุ กากร
กรณนี าํ ของทม่ี ีการแสดงกําเนดิ ใหย กของกลางใหเปนของ
เปน เทจ็ เขา มาในราชอาณาจักร แผน ดนิ
ขอ 2 กรณีหลีกเลย่ี งขอจํากัด ปรับรอ ยละ ๑๐ ของ ราคาของ
ในการนาํ เขา การสงออก ไมนอ ยกวา ๑,๐๐๐ บาท
การผานแดน หรอื การถา ยลํา แตไ มเกิน ๒๐,๐๐๐ บาท
(๑) กรณขี องตองกํากัดในการ โดยไมค ํานงึ ถงึ วา ของนน้ั ๆ
นํา เขา หากหนวยราชการผูม ี จะตองเสียอากรหรอื ไม
หนาทอี่ อกใบอนญุ าต ไดออก
ใบอนุญาตใหภ ายหลังวนั นําเขา
หรือไดแ จง ใหก รมศุลกากรทราบ
เปน ลายลกั ษณอักษรวา ผอ นผัน
ใหน าํ เขา มาไดหรืออนุญาตให

30

นําเขามาไดและ ใหส ง กลบั
ออกไปนอกราชอาณาจักร
แตในกรณีท่หี นว ยราชการผูมี ปรับรอยละ ๕ ของราคาของ
หนาที่ออกใบอนญุ าตไดออก ไมน อ ยกวา ๑,๐๐๐ บาท
ใบอนญุ าตใหลา ชา เกนิ กวา แตไมเ กนิ ๑๐,๐๐๐ บาท
หนึ่งเดือนนบั แตว ันทผ่ี นู าํ ของเขา
รอ งขอ ซ่งึ เห็นไดว าผูนําของเขา
พยายามปฏบิ ัตใิ หถูกตองแลวกรณี
การเปรียบเทียบงดการฟองรอง
ขา งตน หากมใี บอนุญาตหลาย
ฉบับ ใหป รับเปน รายใบอนญุ าต
กรณที ี่มีใบอนุญาตฉบบั เดยี วใช
กบั ใบขนสนิ คาหลายฉบบั ใหปรบั
เปนราย ใบขนสินคา

กรณที ่หี นว ยราชการผูมหี นาที่ ใหย กของกลางใหเปน
ออกใบอนุญาตมิไดออกใบอนุญาต ของแผน ดนิ
หรอื มิไดแจงให กรมศุลกากรทราบ
เปนลายลกั ษณอักษรดังกลา วใน
วรรคแรก
(2) กรณีของตองกํากดั เปน ตัว ปรบั หน่งึ เทา ของราคาของ
น่มิ และซากตวั นิม่ ตามบัญชี รวมคา อากรกบั อีกหนึง่ เทาของ
CITES หมายเลข 2 ภาษมี ูลคาเพิม่ (ถา ม)ี แตไม
(3) กรณตี าม (1) – (๓) ใหใ ช เกิน 500,000 บาท และให
เปนหลกั เกณฑในการพจิ ารณา ยกของกลางใหเปนของแผนดิน
แกของตองกาํ กดั ใน การสง ออก
หรือนําเขาเพ่ือการผานแดน
หรือการถายลําดว ยโดยอนโุ ลม
ขอ 3 กรณีไมไดปฏบิ ัตติ าม ใหป รบั รายการละ ๑,๐๐๐ บาท
เงื่อนไขท่ีกฎหมายกาํ หนดหรือ หากของท่ีนําเขามีจํานวนมาก
ไมปฏิบตั ิตามประกาศอนั เกีย่ วกบั ใหทําหนังสือแจงสํานักงาน
ฉลาก หรือใบรับรองการวเิ คราะห คณะกรรมการอาหาร และยา
หรอื เอกสารกาํ กบั หรอื เงื่อนไข หรือหนวยงานที่ เกี่ยวของ
เกย่ี วกับการนาํ ของนน้ั เขา มาใน ทราบดว ย
ราชอาณาจกั ร แลว แตกรณเี ชน
เงื่อนไขตาม พระราชบัญญตั ิ
อาหาร พ.ศ. 2522
พระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510
พระราชบัญญัติเครื่องสาํ อาง พ.ศ.
2558

31

ขอ 4 กรณนี ําอาหารที่อยใู นขาย ใหป รบั รอ ยละ ๕ ของ ราคา
ควบคุมการนําเขา ตามประกาศ ของ ไมนอ ยกวา ๑,๐๐๐.- บาท
กระทรวงสาธารณสขุ ฉบบั ท่ี ๑๐๒ แตไ ม เกิน ๑๐,๐๐๐.- บาท
(พ.ศ. ๒๕๒๙) แกไขเพ่ิมเติมโดย
ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ
ฉบับท่ี ๑๑๖
(พ.ศ. ๒๕๓๑ ) เขา มาใน
ราชอาณาจกั ร ใชหลักเกณฑ ดังนี้
(๑) กรณีผนู ําของเขา นาํ อาหาร
เขา มาในราชอาณาจักร โดยไมมี
หนังสือรับรองความ ปลอดภัย
ของสถาบันของทางราชการ
ทเ่ี ชอื่ ถอื ไดของประเทศทเี่ ปน
แหลงกําเนดิ ตามขอ ๓ ของ
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
ฉบับดงั กลาวมาแสดงในขณะผาน
พธิ ีการ แตผ ลการวิเคราะหข อง
สํานักงานคณะกรรมการอาหาร
และยา ปรากฏวา มกี ัมมันตรังสี
ไมเกินกาํ หนดตามประกาศ
(2) กรณีผนู าํ ของเขานาํ อาหาร ปรับรอยละ ๑๐ ของราคาของ
เขา มา ในราชอาณาจักร โดยมี ไมน อ ยกวา ๑,๐๐๐ บาท แตไม
หนงั สอื รับรองความปลอดภัย เกิน ๒๐,๐๐๐ บาท แลว ให
ตามขอ ๓ ของประกาศกระทรวง สง กลับออกไปนอก
สาธารณสุขฉบบั ดังกลาวมา ราชอาณาจกั ร
แสดงและผลการวเิ คราะหข อง
สาํ นักงาน คณะกรรมการอาหาร
และยา ปรากฏวา มีกัมมันตรงั สี
เกนิ กาํ หนดตามประกาศและให
สงกลับออกไปนอกราชอาณาจักร
(3) กรณผี ูนําของเขา นาํ อาหาร ใหป รับรอยละ ๒๐ ของราคา
เขา มาในราชอาณาจักร โดยไมมี ของไมนอยกวา ๑,๐๐๐ บาท
หนังสอื รับรองความปลอดภัย แตไ มเกนิ ๒๐,๐๐๐ บาท
ตามขอ ๓ ของประกาศ แลว ใหสง กลบั ออกไปนอก
กระทรวงสาธารณสขุ ฉบับ ราชอาณาจักร
ดังกลาวมาแสดง และผลการ
วิเคราะหข องสาํ นกั งาน
คณะกรรมการอาหารและยา
ปรากฏวา มีกมั มันตรงั สีเกนิ

32
กําหนดตามประกาศและ ให
สง กลบั ออกไปนอกราชอาณาจกั ร
ขอ 5 กรณีนําปุยเคมีเขา มา ปรับ 10,๐๐๐ บาท
ในราชอาณาจักรไมตรงตาม
ประกาศกระทรวงเกษตร และ
สหกรณแ ละพระราชบัญญตั ิปุย
พ.ศ. ๒๕๑๘ ใชห ลักเกณฑดังน้ี
(๑) ปยุ เคมีทีน่ ําเขา ไมตรงตาม
ขนาดบรรจุในใบสาํ คญั การข้ึน
ทะเบียน และกรมวชิ าการเกษตร
ไดอนญุ าตใหผูนําเขาแกไขขนาด
บรรจใุ นใบสาํ คัญการขนึ้ ทะเบียน
เพมิ่ เติมใหต รง กบั ของท่นี าํ เขา
จรงิ แลว
(2) ปยุ เคมีทีน่ ําเขามคี วามชน้ื สูง ปรับ 10,๐๐๐ บาท
เกินกาํ หนดและกรมวิชาการ
เกษตรไดแจงใหกรม ศุลกากร
ทราบและผา นศลุ กากรได โดยให
ผนู าํ ของเขา ไปดําเนินการลด
ความช้ืนใหถกู ตองภายใต
เงือ่ นไขของกรมวิชาการเกษตร
(3) ปยุ เคมีทน่ี ําเขา มปี รมิ าณธาตุ ใหผา นพิธกี ารไปไดโดยไม
อาหารรับรอง หรือธาตุอาหารพชื ตองพิจารณาความผดิ
ไมตรงตาม ใบสําคัญการขึ้น
ทะเบียนหรือหนงั สอื สาํ คัญรบั
แจง โดยผนู าํ ของเขายนื่ คํารองขอ
สมุ ตวั อยา งไป วเิ คราะหยังกรม
วชิ าการเกษตร และผลการ
วิเคราะห ๒ ใน ๓ ครงั้ มปี รมิ าณ
ธาตุอาหาร รับรอง หรือธาตุ
อาหารพืชตรงตามที่กําหนด
ปุยเคมีทน่ี าํ เขา มีสตู รหรือเกรดไม ปรับตามใบสําคัญการขึน้
ตรงตามใบสาํ คัญการขึน้ ทะเบียน ทะเบียนหรือหนังสือ สาํ คญั รับ
ตอมาผนู าํ เขา ไดนําใบสาํ คญั การ แจงฉบับละ ๑๐,๐๐๐ บาท
ขนึ้ ทะเบียน หรือ หนงั สือสาํ คัญ และใหผ นู าํ ของเขา ไป
รบั แจง ฉบบั ใหมซ่ึงมีสูตรหรอื กรด ดําเนินการตามเงอ่ื นไขในใบ
ตรงกบั สินคา ท่ีนําเขามาแสดง
และใหผ านพธิ ีการศลุ กากรไปได

33

สําคัญการขน้ึ ทะเบยี นหรอื
หนังสือสําคัญรับแจงให
ครบถว นตอ ไป

กรณไี มมีใบสาํ คญั การข้นึ ใหผ ูนาํ ของเขา ยกของกลางให
ทะเบยี น หรือหนังสือสาํ คญั เปน ของแผน ดิน
รับแจง มาแสดงตอกรมศุลกากร
ขอ 6 กรณีการนาํ เมลด็ พันธุซ ึ่ง ปรบั รอ ยละ ๑๐ ของ ราคาของ
เปน ของควบคมุ การนําเขาตาม ไมนอยกวา ๑,๐๐๐ บาท
พระราชบญั ญตั ิพันธุพชื พ.ศ. แตไมเกิน ๒๐,๐๐๐ บาท
๒๕๑๘ เขา มาในราชอาณาจักร
เพอ่ื การคาและปรากฏวา มี
คุณภาพตํา่ กวา มาตรฐานท่ี
กําหนด ใชหลกั เกณฑดงั น้ี
(๑) กรณีผนู ําของเขาประสงคจะ
สงเมล็ดพันธุท ่ีนาํ เขากลบั ออกไป
นอกราชอาณาจักร และ
หนวยงานที่เก่ยี วของแจงให
กรมศลุ กากรทราบวา ผอ นผนั ให
นําเขามาในราชอาณาจกั รไดโดย
มีเงื่อนไขใหสง กลับออกไป
(2) กรณีผูนาํ ของเขาไมป ระสงค ปรบั รอยละ ๑๐ ของราคาของ
จะสงของกลบั ออกไปนอก ไมน อ ยกวา ๑,๐๐๐ บาท แตไม
ราชอาณาจกั ร เกนิ ๒๐,๐๐๐ บาท และให
ยกของใหเปนของแผน ดนิ
ขอ 7 กรณีความผดิ ตาม ขอ 3
ขอ 4 ขอ 5 และขอ 6 ใหใชเปน
หลักเกณฑในการพิจารณาแกของ
ตอ งกํากดั ในการสง ออกหรอื นํา
เขา เพ่ือการผานแดน หรือการ
ถายลําดวยโดยอนโุ ลม

34

8.5.6 เกณฑการเปรียบเทยี บงดการฟอ งรอง ตามประมวลขอ 7 04 02 01 (45)

7 04 02 01 ฐานความผดิ รายละเอยี ดหรอื ลักษณะของการ เกณฑเ ปรยี บเทียบงดการ
(45) ม.246 กระทาํ ความผดิ ฟอ งรอง
วรรคแรก ขอ 1 กรณชี ว ยซอนเรน ใหย กของกลางใหเปนของ
ชว ยจาํ หนา ย ชว ยพาเอาไปเสีย ซอ้ื แผนดิน
รบั จํานาํ หรอื รบั ไวโ ดย ประการใด
ซ่ึงของอันตนพงึ รวู า เปน ของอัน
เนอ่ื งดวยความผิดตามมาตรา ๒๔๒

ขอ 2 กรณีของกลางตามขอ 1 ใหป รบั หนึง่ เทาของราคาของ
เปน ของ ดังตอไปน้ี รวม คาอากรกับอีกหน่ึงเทา
(1) สรุ า ไวนเบยี รบ ุหร่ี ของภาษีมูลคาเพ่ิม
(2 ) สินคาเกษตรประเภท ภาษีสรรพสามติ ภาษเี พือ่
กระเทียม หอมหวั ใหญ (รวมเมล็ด มหาดไทย และภาษีอน่ื ๆ
พนั ธหุ อมหวั ใหญ) หอมแดง มัน (ถา มี) และใหยกของกลางให
ฝรง่ั เสนไหม และ นา้ํ มันปาลม เปน ของแผนดนิ
(3) ของละเมิดลิขสทิ ธ์หิ รือละเมิด
เครื่องหมายการคา หรือละเมิด
ทรพั ยสนิ ทางปญญา
(4) ของกลางเปนสตั วปา หรือซาก
สัตวป า ตามบญั ชCี ITES หมายเลข
1 หรือตวั นม่ิ และซากตัวนิ่มหรือ
พนั ธุพืชปาตามบัญชCี ITES
หมายเลข 1
(5) เลอ่ื ยโซ หรือเลอื่ ยโซย นตและ
สวนประกอบ และอุปกรณ
ประกอบของเลอ่ื ยโซหรือเลอ่ื ยโซ
ยนตท ต่ี อ งขออนญุ าตนาํ เขา
ขอ 3 กรณีท่ขี องกลางเปนนํ้ามัน ปรับหนึ่งเทาของราคาของ
เชอื้ เพลิงปริมาณตง้ั แต รวมคาอากรกับอกี หนง่ึ
๕,๐๐๐ ลติ รขน้ึ ไป เทา ของภาษมี ูลคาเพิ่ม ภาษี
สรรพสามติ ภาษีเพื่อ
มหาดไทยและภาษีอนื่ ๆ
(ถามี) และใหยกของกลางให
เปนของแผน ดนิ

35

ม.246 ขอ 4 กรณีท่ีของกลางเปนนาํ้ มนั ใหยกของกลางใหเปน ของ
วรรคสอง เช้ือเพลิงมปี ริมาณต่ํากวา ๕,๐๐๐ แผนดิน
ม.246 ลติ ร ปรบั ครึง่ เทาของอากรทข่ี าด
วรรคสาม -

ขอ 1 กรณีการกระทาํ ความผิด ปรบั หน่ึงเทา ของราคาของ
โดยรูวาเปนของตองหา มตาม รวมคาอากรกบั อีกหน่ึงเทา
มาตรา 244 โดยของ ตองหา มนัน้ ของภาษีมลู คา เพ่มิ
เปน สัตวป าหรอื ซากสัตวปาตาม ภาษีสรรพสามิต ภาษีเพื่อ
บัญชี CITES หมายเลข 1 หรอื มหาดไทยและภาษีอ่ืน ๆ
พันธุพชื ปาตามบัญชี CITES (ถามี) แตไ มเ กิน ๕๐๐,๐๐๐
บาท
หมายเลข 1 หรือเปนของละเมิด และใหยกของกลางใหเปน
ลิขสิทธิ์ หรอื ละเมิดเครอ่ื งหมาย ของแผนดิน
การคา หรือละเมดิ ทรัพยส ินทาง
ปญ ญา
ขอ 2 กรณีการกระทําความผิดโดย ใหป รบั หนึ่งเทาของ ราคาของ
รวู าเปน ของตองกํากัดตามมาตรา รวมคาภาษี อากรทุกประเภท
244 โดยของนัน้ เปน ของตอง แตไม เกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท
กํากดั ดงั ตอไปน้ี และใหยกของกลางใหเปน
(1) สุรา ไวนเบียรบหุ รี่ ของแผนดิน
(2 ) สินคาเกษตรประเภท
กระเทียม หอมหัวใหญ
(รวมเมลด็ พนั ธุหอมหวั ใหญ)
หอมแดง มันฝรง่ั เสนไหม และ
น้ํา มนั ปาลม
(3) ของกลางเปนตัวนม่ิ และซาก
ตัว นม่ิ
(4) เล่ือยโซ หรือเลื่อยโซย นตแ ละ
สวนประกอบ และอปุ กรณ
ประกอบของเลอ่ื ยโซ หรือเลอื่ ยโซ
ยนตท ีต่ อ งขออนุญาตนําเขา

36
8.6 กฎหมายที่เกี่ยวของในขนั้ ตอนการคนื ของกลาง

8.6.1 ประมวลระเบยี บปฏบิ ัติฯ พ.ศ. 2560 หมวด 7 05 05 01 เงอื่ นไขการคนื ของกลาง
ใหคืนของกลางแกเจาของหรือผูมีสิทธิครอบครองเม่ือผลการพิจารณาคดีสิ้นสุดลง หรือเมื่อ

มีคาํ รอ งขอคนื ตามความในพระราชบัญญัตศิ ุลกากร พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๖๗
กรณคี ํารองขอคืนของกลางตามความในพระราชบัญญัตศิ ุลกากร พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๖๗

ใหสํานักกฎหมาย ฝายคดีของสํานักงาน หรือหนวยงานคดีของดานศุลกากร แลวแตกรณี เปนผูรับคํารองและมี
อํานาจพจิ ารณาสง่ั คืนของกลางใหแกเ จาของ

8.6.2 ประมวลระเบียบปฏิบตั ิฯ พ.ศ. 2560 หมวด 7 05 05 02 การพจิ ารณาคํารองขอคืนของกลาง
ใหหนวยท่ีรับผิดชอบการพิจารณาคืนของกลางตามความในพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ.

๒๕๖๐ มาตรา ๑๖๗ ตรวจสอบคาํ รองขอคนื ของกลางและดาํ เนินการดังตอ ไปน้ี
(1) คํารองขอคนื ของกลาง จะตองระบุชอื่ และสถานท่ีอยูของเจา ของกรรมสิทธ์ิหรือผูมีสิทธิ

แหง ของกลาง และช่อื ทีอ่ ยูของผูยน่ื คาํ รองขอคนื ตลอดจนมรี ายละเอียดพอสมควรเพ่ือใหทราบวาเปนของกลางรายใด
(2) ใบมอบอํานาจจะตองปดอากรแสตมปถูกตองตามกฎหมายและยื่นพรอมกับคํารองขอ

คืนของกลาง
(3) ในกรณีท่ีผูมอบอํานาจอยูในตา งประเทศ หนังสือมอบอาํ นาจจะตอ งผา นการรบั รองจาก

สถานทูต หรือสถานกงสลุ ไทยโดยถกู ตอ ง
(4) คํารองขอคืนของกลางรายใดไมเปน ไปตามหลักเกณฑท ่ีกาํ หนดไวใ หป ฏิเสธไมร ับคํารอ ง

จนกวา ผูยื่นคํารอง จะไดปฏิบัติใหถูกตองภายในกําหนด ๖๐ วัน สําหรับการขอคืนยานพาหนะที่ใชในการกระทําผิด
หรอื ภายในกําหนด ๓๐ วนั สําหรบั การขอคืนสิ่งอื่นนับแตว นั ยดึ ของกลาง

8.6.3 ประมวลระเบยี บปฏิบัตฯิ 7 05 05 03 การคืนของกลางใหแ กเ จาของ
(1) การคืนของกลางใหแกเจาของเม่ือคดีถึงที่สุดโดยคําพิพากษาของศาล ใหคืนของกลาง

ใหแก เจาของท่ีแทจริงไปไดแลวรายงานขอเท็จจริงพรอมหลักฐานตาง ๆ ใหกรมศุลกากรทราบโดยดวน สําหรับ
ดานศลุ กากรใหผอู ํานวยการสาํ นกั งานศลุ กากรภาคกําชบั ใหดา นฯ ปฏิบัติดงั นี้

(1.1) กรณีพนักงานศุลกากรเปนผูจ ับกมุ กอนจะคืนของกลางรายใดใหดานศุลกากร
ตรวจสอบหลักฐานการเปนเจาของที่แทจ รงิ และคํารอ งขอคนื ใหถ ูกตองเสียกอ นแลวจงึ คนื ของกลางใหไ ปได

(1.2) กรณีเจาพนักงานของหนวยราชการอ่ืนเปนผูจับกุม ใหสงมอบของกลางใหแก
เจาพนกั งานผูจ ับกมุ รับไปดาํ เนนิ การตามคําพิพากษาของศาลตอ ไป

(2) กรณีที่มียานพาหนะที่ใชในการกระทําความผิดเปนของกลางในคดีดวย แตในการ
ฟองรอง ดําเนินคดีพนักงานอัยการไมไดขอใหศาลริบยานพาหนะของกลาง เน่ืองจากพนักงานสอบสวนและ
พนักงาน อัยการเห็นวาเจาของยานพาหนะมิไดมีสวนรูเห็นเปนใจในการกระทําความผิด เชนนี้ใหคืนยานพาหนะ
ดังกลาวไปกอนไดตามนัย ขอ 8.7.2 (๑) และ (3) การคืนของกลางในกรณีอ่ืน ๆ ตองเสนออธิบดีหรือผูซ่ึงอธิบดี
มอบหมาย

8.6.4 ประมวลระเบยี บปฏิบัตฯิ 7 05 05 04 ขัน้ ตอนการคนื ของกลาง
(1) เมื่อผูมีอํานาจส่ังคืนของกลางไดสั่งใหคืนของกลางแลว ใหสํานักกฎหมายหรือฝายคดี

ของ สํานักงานหรือหนวยงานคดีของดานศุลกากร แลวแตกรณี ทําบันทึกแจงคําส่ังคืนของกลางใหผูจับกุมทราบ
154 โดยมีสําเนา 1 ฉบับ พรอ มทงั้ สงเร่ืองทั้งหมดใหห นวยของกลาง ของสาํ นกั งานหรือดา นศลุ กากรแลวแตกรณี
เพ่อื สงมอบของกลางใหผ จู บั กมุ เพอ่ื คนื ใหแกเ จาของกรรมสิทธิ์

(2) ในการสงคืนของกลาง ใหผูท่ีรับมอบของกลางลงลายมือชื่อ วัน เดือน ป ที่รับคืนใน
แฟมคดีและใน บัญชีของกลาง แลวใหเก็บสําเนาบันทึกการส่ังคดีของสํานักกฎหมายหรือหนวยงานคดี แลวแต

37

กรณี ไวเปนหลักฐานประกอบบัญชี ณ หนวยของกลาง ทั้งนี้ ของกลางที่กรมศุลกากรส่ังใหสงมอบในกรณีอื่นก็ให
ปฏบิ ตั ใิ น ทาํ นองเดียวกนั

8.7 กฎหมายท่ีเก่ียวขอ งในข้ันตอนการจําหนา ยของกลาง
8.7.1 ประมวลระเบียบปฏิบัติฯ 7 05 01 02 การจําหนายของกลางทีต่ กเปนของแผนดิน ของกลาง

ทต่ี กเปนของแผนดิน ไมว าดวยผลของกฎหมาย หรือโดยคําสั่งของศาลหรือผลคดีถึงที่สดุ หากเปนของหรือสิ่งที่ยึด
ไวต ามพระราชบญั ญัตศิ ลุ กากร พ.ศ. ๒๕๖๐ หรอื กฎหมายอื่นที่เกย่ี วกับการศลุ กากร ใหดําเนินการจาํ หนาย ดังน้ี

(1) ขายทอดตลาด
(2) ขายคืนเจาของ
(3) ขายปนสวน
(4) สง มอบสวนราชการ
(5) ทําลาย
(6) วิธกี ารอ่ืนตามอนุมตั ิอธิบดี
8.7.2 ประมวลระเบยี บปฏบิ ตั ฯิ 7 05 01 03 การจาํ หนา ยของกลางกอนตกเปนของแผน ดิน
การจําหนายของกลางในคดีที่ยังไมมีผลถึงท่ีสุด หรือยังไมตกเปนของแผนดินตาม
กฎหมาย หากเปนของทอี่ ยภู ายใตเ งอื่ นไขดงั ตอไปน้ี ใหด าํ เนินการจาํ หนา ยไปกอ นเพ่ือถอื เงินแทนของได
(1) ของสดของเสียงายหมายความวา ของท่ีหากปลอยไวในสภาพธรรมชาติจะ
เส่ือมสภาพ หรือ เสียหายท้ังหมดหรือบางสวนหรือเส่ือมคุณสมบัติเดิมจนไมอาจใชประโยชนไดตามปกติ เชน ผัก
ผลไม เนอื้ สัตว หรือปลา เปนตน
(2) ของซ่ึงถาหนวงชาไวจะเปนการเส่ียงความเสียหาย หมายความวา ของท่ีหาก
จําหนายลาชาจะเส่ียง ความเสียหายตอประโยชนของทางราชการ เชน ของทีม่ ีเวลาหมดอายุ ของท่นี ิยมกันท่ัวไป
ในช่ัวระยะเวลาหนึ่ง เครอื่ งสาํ อาง หรือของประเภทเครอ่ื งใชไ ฟฟา หรืออปุ กรณอเิ ลก็ ทรอนิกส เปน ตน
(3) ของซึ่งคาใชจายในการเก็บรักษาจะมากเกินสมควร หมายความวา ของท่ีมี
คา ใชจ า ยในการเกบ็ รักษาหรอื ดูแลมากเกินราคาประเมินของกลางรวมคาภาษอี ากรทุกประเภท หรอื จําหนา ยแลว
เปน ทีแ่ นช ัดวาจะ ไมค ุมคาภาระติดพัน เชน ของที่ตอ งเก็บรักษาไวใ นหอ งควบคมุ อุณหภมู ิ ของทตี่ องเกบ็ รักษาโดย
วิธเี ฉพาะ หรอื ของที่ตอ งจา ยคา เชาพื้นทีเ่ พื่อเกบ็ รักษาสงู เปนตน
8.7.3 ประมวลระเบียบปฏิบัติฯ 7 05 01 04 การออกใบรับรองการนําเขา (แบบที่ 32) ใน
กรณีซ้อื ของกลาง
กรณีที่สํานัก สํานักงาน หรือดานศุลกากรไดจําหนายของกลาง การออกใบรับรองการ
นาํ เขา (แบบท่ี 32) สําหรบั ของดงั กลาวใหแกผ ซู อ้ื ใหถอื ปฏิบตั ิตามระเบียบวาดว ยการใชใ บรับรองการนําเขา ท้งั นี้
ใหคํานึงถึง ระยะเวลาในการขนยายโดยยานพาหนะนั้น ๆ ตามปกติวิสัย อายุของของกลาง ควรจะเปนก่ีวัน ก็ให
กําหนด ระยะเวลาตามนน้ั
8.7.4 ประมวลระเบยี บปฏิบตั ฯิ 7 05 0๖ 01 หลักการจาํ หนายของกลาง
(๑) เม่ือของกลางตกเปนของแผนดินแลว อธิบดีหรือผูซ่ึงอธิบดีมอบหมาย มีอํานาจ
จาํ หนายของกลาง นน้ั ไดตามวธิ กี ารตา ง ๆ ดงั นี้
(1.๑) ขายทอดตลาด
(๑.2) ขายคืนเจา ของ
(๑.3) ขายปนสวน
(๑.4) สงมอบสวนราชการ
(๑.5) ทาํ ลาย

38
(๑.6) วธิ กี ารอน่ื ตามอนุมัติอธบิ ดี
(2) สาํ หรับของกลางทีย่ ังไมตกเปน ของแผนดิน แตเปนของสดเสยี งาย หรือถาหนวงชา ไว
จะเปนการ เสย่ี งความเสียหาย หรอื คาใชจายในการเกบ็ รกั ษาจะมากเกินสมควร อธบิ ดหี รือผูซึ่งอธิบดีมอบหมายมี
อํานาจ ในการจาํ หนา ยของกลางนัน้ ไดตามวิธกี ารตา ง ๆ ดังน้ี
(๒.1) ขายทอดตลาด
(๒.2) ขายคืนเจา ของ
(๒.3) ขายปนสวน
(3) การจําหนายของกลางโดยสวนของกลาง สาํ นกั สบื สวนและปราบปราม ใหป ฏบิ ตั ิดังน้ี
(๓.1) การจําหนายรถยนตของกลาง ใหมีคณะกรรมการท่ีอธิบดีกรมศุลกากรแตงต้ัง
คณะหนงึ่ เรียกวา “คณะกรรมการจาํ หนายรถยนตข องกลาง”
(๓.2) การขายทอดตลาดของกลางที่นอกจากรถยนตของกลางใหมีคณะกรรมการที่
ผูอํานวยการ สํานกั สบื สวนและปราบปรามแตง ต้ังคณะหนงึ่ เรียกวา “คณะกรรมการขายทอดตลาดของกลาง”
(๔) การจําหนายของกลางของหนวยงานของกลางอ่ืน ใหผูอํานวยการสํานักหรอื นายดาน
ศลุ กากรแตงตง้ั “คณะกรรมการจําหนายของกลางและของตกคาง” เพื่อดาํ เนนิ การจําหนายของกลาง
(5) การกําหนดวิธีการจําหนายของกลาง โดยวิธีการขายทอดตลาด หรือโดยวิธีอ่ืนใดตอง
ไดรับการ อนมุ ัติจากอธิบดหี รือผูทอ่ี ธิบดมี อบหมาย
(6) ของกลางที่พึงจําหนายไดแลว ใหนําออกจําหนายตามลําดับกอนหลังท่ีรับไว เวนแต
ในกรณีท่ีมีเหตุสมควรจะไมจําหนายตามลําดับการรับของกลางก็ไดเชน ของซึ่งเปลืองเนื้อที่เก็บหรือของซึ่งอยูใน
ฤดกู าล ท่ีควรนาํ ออกจาํ หนา ย
(7) ของทุกรายที่ไดรับอนุมัติและบันทึกการอนุมัติในระบบของกลาง ใหผูปฏิบัติงาน
จาํ หนายบนั ทึก ผลการอนมุ ตั วิ ิธีการจาํ หนายและบันทึกการดําเนินการจาํ หนา ยในระบบของกลาง
๘.7.5 วิธีขายทอดตลาด ประมวลระเบียบปฏิบัติฯ 7 05 06 02 โดยคณะกรรมการขาย
ทอดตลาดดําเนินการขายตามบญั ชใี นประกาศขายทอดตลาด
(1) ใหหนวยงานของกลางของสํานักหรือดานศุลกากร ดําเนินการออกประกาศขาย
ทอดตลาดและปด ประกาศขายทอดตลาด ซ่ึงมีรายละเอียดของ วนั เวลา สถานท่ี และบัญชรี ายการของกลางท่ีจะ
ทาํ การขายทอดตลาด ใหประชาชนทราบ ณ ที่ทําการขายทอดตลาด ทงั้ น้ีใหสําเนาประกาศใหคณะกรรมการขาย
ทอดตลาด ของกลางทราบทนั ทีที่ไดป ระกาศ
(2) ถาของกลางมีราคาประเมินตั้งแต 500,000 บาท ใหปดประกาศขายทอดตลาด
ลวงหนา อยา งนอ ย 3 วนั ทาํ การกอนวนั ขาย กรณีเรงดวน ใหประกาศขายทอดตลาดลวงหนาไมน อ ยกวา 1 วันทํา
การ เวนแตอธบิ ดหี รือผูซง่ึ อธบิ ดีมอบหมายสั่งการเปนอยา งอืน่
(3) การโฆษณา ใหระบุวัน เวลา และสถานที่ และรายการสินคาท่ีนาสนใจดวยพอเปน
สงั เขป ทั้งนี้ คาใชจายในการโฆษณาใหถือเปนคาภาระติดพันในอันท่ีจะหักจากเงินคาขายของกลาง ในกรณีท่ีตอง
ใชเงิน ลวงหนาใหเบิกทดลองจายจากเงินทุนกลางและนําสงคืนเมื่อไดหักเงินคาขายของกลางแลว โดยใหมี
ผูรับผดิ ชอบ ดงั น้ี
(๓.1) กรณีสวนของกลาง สํานักสืบสวนและปราบปรามเปนผูขายทอดตลาด ใหขอ
ความรว มมือสวนสื่อสารองคก ร สาํ นักบรหิ ารกลาง ทําการประชาสมั พันธผา นส่อื ตา ง ๆ ตามทเ่ี ห็นสมควร
(๓.2) กรณีสวนหนวยงานของกลางของสํานักงานศุลกากรอ่ืนหรือดานศุลกากรเปน
ผขู าย ทอดตลาด ใหด ําเนนิ การประชาสมั พนั ธในส่ือรปู แบบตาง ๆ ไดตามทีเ่ หน็ สมควร

39
(3.๓) ในวันเวลา ที่จะทําการขายทอดตลาด ใหหนวยงานของกลาง จัดเตรียม
ตัวอยางของกลางไวให พรอมยังสถานที่ขาย และจัดเจาหนาที่อํานวยความสะดวกใหแกคณะกรรมการขาย
ทอดตลาดของกลางใน ขณะทีท่ ําการขายทอดตลาด
(๓.4) ใหค ณะกรรมการที่มีหนาท่ีในการขายทอดตลาดของกลางดาํ เนินการขายตาม
บัญชีรายการใน ประกาศขายทอดตลาดของหนวยงานของกลาง โดยคํานึงถงึ ราคาตลาดท่ีพึงจะขายได สภาพของ
ความนยิ ม หรอื เหตุผลอน่ื ภายใตหลกั เกณฑด งั ตอ ไปนี้

(๓.4.1) ของกลางรายใดท่ีราคาประมลู สูงสดุ คมุ ราคาประเมินบวกภาษีอากร
ใหค ณะกรรมการฯ ขายได

(๓.4.2) ของกลางรายใดที่มีราคาประเมินไมเกิน ๕๐๐,000 บาท เมื่อมผี ใู ห
ราคาประมูลสูงสุด คุมคาภาษีอากร หากมีเหตุผลสมควรขายในราคาน้ัน ใหคณะกรรมการฯ พิจารณาขายไดแลว
สรปุ เสนอ ผอู ํานวยการสวนท่กี ํากับดูแลหนวยงานของกลาง เพอื่ ทราบพรอ มเหตผุ ล

(๓.4.3) ของกลางรายใดท่ีมีราคาประเมินไมเกิน ๕0,000 บาท เมื่อมีผูให
ราคาประมูลสูงสุด ไมคุมคาภาษีอากร หากมีเหตุผลสมควรขายในราคานั้น ใหคณะกรรมการฯ พิจารณาขายได
แลวสรปุ เสนอ ผอู ํานวยการสว นทีก่ าํ กบั ดแู ลหนวยงานของกลาง เพือ่ ทราบพรอมเหตุผล

(๓.4.4) ของกลางที่มีราคาประมูลสูงสุดไมเปนไปตามหลักเกณฑในขอ (๑.
1) (๑.2) และ (๑.3) หากมี เหตุสมควรขายในราคานั้น ใหคณะกรรมการฯ พิจารณาขายโดยใหเรียกเงินมัดจําไว
รอ ยละ 25 ของราคา ท่เี สนอซอ้ื สูงสุด แลว นําเสนออธบิ ดีหรือผูท ี่ไดร ับมอบหมายเพอ่ื อนุมัตกิ ารขาย

(๓.4.5) ในกรณีตามขอ (๓.๔.4) การขายทอดตลาดจะสมบูรณ ตอเม่ือ
อธิบดีหรือผูท่ีซ่ึงอธิบดี มอบหมายไดอนุมัติใหขายตามราคาท่ีเสนอนั้น หากในกรณีท่ีอธิบดีหรือผูท่ีไดรับมอบ
อาํ นาจไมอ นมุ ตั กิ ็ใหคืนเงนิ มัดจําและนําของกลางออกขายทอดตลาดใหม หรือจําหนายโดยวธิ อี ่นื ตามทอี่ ธิบดีหรอื ผู
ซ่งึ อธิบดีมอบหมาย เหน็ สมควร โดยถือวาของกลางรายน้ันถูกเพิกถอนจากการขายทอดตลาดและผูเสนอราคาน้ัน
ถกู ยกเลกิ ไปตาม มาตรา 513 แหงประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย

(๓.4.6) หากมีเหตุขัดของดวยกรณีใด ๆ ใหอยูในดุลพินิจของคณะ
กรรมการฯ ที่จะยุติการขายในขณะใดก็ไดเม่ือมีเหตุอันสมควร แลวรายงานใหผูอํานวยการสวนของกลาง สํานัก
สืบสวนและปราบปราม หรอื ผูอ ํานวยการสวนที่กํากบั ดแู ลหนวยงานของกลางทราบพรอมเหตผุ ล

(๓.4.7) กรณกี ารขายทอดตลาดโดยวิธีประกวดราคา (Sealed first-price
auction หรือ blind auction หรือ first-price sealed-bid auction) ใหกระทําโดยวิธีย่ืนซองเสนอราคาตอ
ประธานคณะกรรมการทีม่ หี นา ที่ในการขายของกลางหรือผูทไี่ ดร บั มอบหมาย

(๓.4.7.1) เม่ือมีผูเสนอราคาท่คี ณะกรรมการฯ เห็นสมควรจะรับ
ไวก็ใหนําเสนออธิบดีหรอื ผูซ่งึ อธิบดีมอบหมายพิจารณาอนุมตั ิ หากผูมีอํานาจอนุมัตมิ ีความเห็นวาราคาที่นาํ เสนอ
มานน้ั มีราคาตาํ่ หรือดว ย เหตุอนั ใดกอ็ าจสงวนสทิ ธทิ จ่ี ะไมข ายตามทคี่ ณะกรรมการฯ ของกลางนาํ เสนอก็ได

(๓.4.7.2) ผูเขาประกวดราคาทุกรายจะตองวางมัดจําซองเปน
จาํ นวนเงินตามทีก่ าํ หนด ในประกาศขายทอดตลาด

(๓.4.7.3) ในวันเปดซอง เม่ือมีผูเขาประกวดราคาเสนอราคา
สงู สุดและคณะกรรมการฯ เห็นวามีเหตุผลสมควรขายในราคาน้ัน ผูเขาประกวดราคาผูน้ันจะตองลงนามในสัญญา
ซื้อของกลางพรอม วางเงินมัดจําไวรอยละ 25 ของราคาท่ีเสนอซ้ือ และชําระเงินคาขายของกลางท่ีเหลือรอยละ
75 ภายใน 3 วัน ทําการนับจากวันท่ีกรมศุลกากรอนุมัติและผูชนะการประกวดราคาจะตองมารับมอบของกลาง
ภายใน 7 วัน ทําการนับแตว นั ท่ีชําระเงินครบถว น เวนแตไ ดร บั การผอนผนั จากอธบิ ดีหรอื ผูท่ีอธบิ ดีมอบหมาย

40
(๓.4.7.4) หากอธิบดีหรือผูซ่ึงอธิบดีมอบหมายไมอนุมัติการขาย
ใหสวนของกลาง สํานักสืบสวน และปราบปรามหรืองานคดีของกลางของดา นศุลกากรคืนเงินมัดจํารอยละ 25 ท่ี
วางไวภายใน 3 วนั ทําการ
(๓.5) ใหสวนของกลาง สํานักสืบสวนและปราบปรามหรือหนวยงานของกลางของ
ดานศุลกากร บันทึก ผลการจําหนายของกลางและออกใบสั่งเก็บเงินในระบบของกลางเพ่ือใหผูที่ประมูลนําใบส่ัง
เกบ็ เงินไปชาํ ระเงนิ ที่หนวยงานบัญชแี ละอากร
(๓.6) ใหหนวยงานการเงินท่ีรับผิดชอบรับชําระเงินและออกใบเสร็จรับเงินใหผู
ประมูลได เพ่อื เปน หลกั ฐานวาไดช าํ ระคา ของกลางถูกตองครบถวนตามจาํ นวนของทัง้ หมดท่ปี ระมูลไดแลว
(๓.7) ใหสวนของกลาง สํานักสืบสวนและปราบปรามหรือหนวยงานของกลางของ
ดานศุลกากร สงมอบของกลางพรอมบันทึกเลขท่ีใบเสร็จรับเงิน และจํานวนเงินท่ีขายพรอมสําเนาใบเสร็จรับเงิน
แนบไว เปน หลกั ฐานในบัญชขี องกลาง
(๓.8) หามพนักงานศุลกากรเขาสูราคา หรือเขาไปมีสวนไดสวนเสียในการขาย
ทอดตลาดของ กรมศุลกากรไมวาจะเปนการขายทอดตลาดทั้งในสวนกลางหรือหรือในสวนภูมิภาค ท้ังนี้ ให
ผูอํานวยการ สวนราชการระดับสํานักสํานักงาน และนายดานศุลกากรทุกแหง สอดสองดูแลใหเจาหนาที่ในสังกัด
ถือปฏิบตั ิ โดยเครงครดั
๘.7.6 วธิ ขี ายคืนเจา ของ ตามประมวลระเบยี บฯ 7 05 06 03
(1) การจาํ หนายของกลางโดยวิธขี ายคืนเจา ของ ใหก ระทาํ โดยวธิ ีการและเง่อื นไขดงั น้ี
(1.๑) เปนของกลางในคดีที่ผถู ูกจับกุมยินยอมทําความตกลงระงับคดีงดฟองรองตาม
ความใน พระราชบัญญตั ศิ ุลกากร พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๒๕๖ หรอื มาตรา ๒๕๗
(๑.2) การขายคนื เจาของน้ันไมก อใหเ กิดความเสยี หายแกท างราชการ
(๑.3) ของท่ีตองปฏิบัติตามกฎหมายอ่ืนท่ีเก่ียวของ ผูซื้อตองปฏิบัติตามกฎหมาย
ดงั กลาวใหค รบถวนกอน
(๑.4) ขายของกลางในราคาประเมนิ รวมคาภาษอี ากรทุกประเภท
๘.7.7 วิธีขายปนสวน ตามประมวลระเบียบฯ 7 05 06 04 การจําหนายของกลางโดยวิธีขาย
ปนสวน ใหถ ือปฏิบัติดงั น้ี
(1) ใหหนวยงานของกลางดําเนนิ การขายของปน สว นอยา งโปรง ใสและเปนธรรม
(2) การจาํ หนา ยของกลางโดยวิธีขายปนสว นเพ่ือเปนสวัสดิการ หรือเพือ่ เปนขวัญกําลงั ใจ
แกเจา หนาท่ีรฐั
(3) การจําหนายของกลางโดยวิธขี ายปน สวนแกส วนราชการ ใหกระทาํ ไดเ มอ่ื เห็นสมควร
(4) ใหมีคณะกรรมการคณะหน่ึงซึ่งผูอํานวยการสํานักหรือสํานักงาน หรือนายดาน
ศุลกากรแตงต้งั เรียกวา “คณะกรรมการกาํ หนดราคาของปน สวน” มโี ดยใหม ีหนา ท่ี
(๔.1) กาํ หนดราคารบั ซื้อ และราคาขายของกลางปน สวน
(๔.2) จําหนา ยของกลาง ตามท่ีกรมฯ มอบหมายเปน กรณพี ิเศษ
(5) การกาํ หนดราคารับซือ้ ตองไมนอ ยกวารอยละ 50 ของราคาประเมนิ รวมคาภาษอี ากร
และ คํานวณเพ่ิมอีกรอยละ 10 ของราคารับซ้ือแตไมเกินชิ้นละ 500 บาท เปนราคาขายปนสวน เวนแตคณะ
กรรมการฯ เห็นวาการใชเกณฑรอยละ ๕๐ ของราคาประเมินรวมคาภาษีอากรดังกลาวกับของกลางบางชนิด จะ
กอ ใหเกิดความเสียหายแกทางราชการ ใหเสนอผูอํานวยการสํานัก สาํ นักงาน หรือนายดา นศุลกากรกาํ หนด ราคา
จําหนายปนสวนที่สงู กวาเกณฑด ังกลาวเปน การเฉพาะกรณีได

41
(6) ของใดที่อธิบดีหรือผูซึ่งไดรับมอบหมายอนุมัติใหจําหนายโดยวิธีขายปนสวนแลว ให
หนวยงานของ กลางบันทึกการดําเนินการจําหนายของกลางในระบบของกลาง แลวนําของกลางออกขายปนสวน
ใหเ สร็จส้ิน โดยเรว็
(7) ใหสวนของกลาง สํานักสืบสวนและปราบปราม หรืองานคดีและของกลาง ของดาน
ศุลกากร รวบรวมบัญชีของกลางที่จะจําหนายโดยวิธปี น สว น ใหนาํ ออกจาํ หนา ยโดยใชเ กณฑตามทคี่ ณะกรรมการฯ
กําหนด
(8) กรณีคณะกรรมการฯ ไดกําหนดราคาปนสวนและมีการนําของกลางออกขายปนสวน
แลว ปรากฏโดยชัดแจงวาจะไมสามารถขายของปนสวนตามราคาทค่ี ณะกรรมการฯ กําหนดได อาจดวยเหตสุ ภาพ
ของ คานิยมท่ีเปล่ียนแปลงไป เปนตน ก็ใหพิจารณาหักลดอัตราสวนลงหรือพิจารณาตามสภาพของตามความ
เหมาะสม โดยใหสวนของกลาง สํานักสืบสวนและปราบปราม หรือ งานคดีและของกลางของดานศุลกากร
นําเสนอคณะกรรมการกําหนดราคาปนสวนตามขอ (๔) พิจารณาทบทวนกําหนดราคารับซื้อและราคาขายใหม
เพือ่ ดําเนนิ การจาํ หนายของกลางตามทเ่ี ห็นสมควรตอไป
(9) ใหสวนของกลาง สํานักสืบสวนและปราบปราม หรือ งานคดีและของกลางของดาน
ศลุ กากร ออกใบส่งั จายตามแบบแนบทา ยประมวลฯ บทนี้ โดยใหแยกออกเปนรายแฟมคดี และระบุเลขท่ีบญั ชีคลัง
ของ กลางไว แตแฟมคดีหน่ึงอาจออกใบส่ังจายไดหลายฉบับ แลวออกใบส่ังเก็บเงินพรอมสําเนา 3 ฉบับ และ
รวบรวมเงินที่ชาํ ระคาขายของกลางปน สวนในราคารับซือ้ และออกใบส่ังเก็บเงนิ ในระบบของกลาง เพ่อื นาํ เงิน ไป
ชาํ ระที่หนวยงานการเงนิ ท่รี ับผดิ ชอบ
(10) การชําระเงินใหชําระเปนเงินสดหรือแคชเชียรเช็คขีดครอม "A/C PAYEE" ส่ังจาย
กรมศุลกากร (พักรายได) โดยสวนของกลาง สํานักสืบสวนและปราบปราม หรือ งานคดีและของกลางของดาน
ศลุ กากรนาํ ไป ชําระเงินทหี่ นวยงานบญั ชแี ละอากร ภายในวันน้นั หรอื วนั ทําการถดั ไป
(11) สวนแบงเงินทุนกลางรอยละ 10 ของราคารับซ้ือแตไมเกิน ช้ินละ 500 บาท ให
นําเขาบัญชีเงินทุนกลางขาราชการกรมศุลกากร รอยละ 8 ของราคารับซื้อ และนําเขาบัญชีสงเสริมการขายสวน
ของกลาง รอยละ 2 ของราคารับซื้อ ภายในวันเดียวกันพรอมท้ังลงบัญชีบันทึกรายละเอียดแหงของพรอมกับอาง
เลขท่ี บญั ชคี ลงั ของกลาง
(12) ใหส วนของกลาง สํานักสบื สวนและปราบปราม หรือ งานคดีและของกลางของดาน
ศุลกากร ดาํ เนนิ การตามขน้ั ตอนของเอกสาร ดงั นี้

(๑๒.1) สงตนฉบับใบเสร็จรับเงิน สําเนาใบส่ังจาย ตนฉบับใบสั่งเก็บเงิน ให
หนว ยงานกํากับคลงั ของกลางเพือ่ นาํ ไปตดั บัญชีตามเลขทบี่ ัญชีคลงั และรวบรวมปด แฟม คดตี อไป

(๑๒.2) บันทึกเลขท่ีรับชําระเงินในสมุดทะเบียนคุมใบส่ังจาย เก็บสําเนาใบส่ังจาย
สําเนา ภาพถายใบเสรจ็ รับเงนิ ไวเ ปนหลักฐานเพอ่ื การตรวจสอบ

(๑๒.3) การออกใบเสร็จรับเงินคาขายปนสวนของกลางของสํานัก หรือสํานักงาน
หรือ ดานศุลกากรเปนการรัดกมุ ใหกาํ หนดวิธกี ารเพ่อื ปอ งกนั การนําใบเสร็จรับเงินไปใชห มุนเวยี นคลุมของลักลอบ
หนีศุลกากรดว ย

(13) ใบเบิกของรายใดที่หนวยงานกํากับคลังของกลางไดจายของกลางปนสวนไปใหงาน
ปน สวนแลวเกิน 30 วนั หากยังไมไดรับใบเสร็จรบั เงนิ พรอ มสําเนาใบส่ังจาย ใหคลังของกลางตดิ ตามทวงถามจาก
หนว ยงานงานปน สว นของกลาง

(14) ใหหนวยงานปนสวนของกลาง ดําเนินการจัดทําบัญชีระบบบัญชีคู บัญชีการคา
กําไร – ขาดทุน จัดทาํ กระดาษทาํ การ สาํ หรบั ระยะเวลา 1 ป ส้ินสุด 31 ธันวาคม ของทุกป

42
๘.7.8 วิธีสงมอบสวนราชการ ตามประมวลระเบียบฯ 7 05 06 05 การจําหนายของกลาง
โดยวิธีสงมอบสวนราชการ ใหกระทาํ โดยวิธีการและเงอ่ื นไขดังน้ี

(1) การสงมอบสวนราชการใดใหพิจารณาถึงความเหมาะสมในการนําไปใชประโยชนใน
กจิ การของ สว นราชการนน้ั ๆ

(2) สวนราชการผูรับมอบตกลงยินยอมรับผิดชอบคาภาระติดพันหรือคาใชจายในการสง
มอบ

๘.7.9 วิธที าํ ลาย ตามประมวลระเบียบฯ 7 05 06 06 การจําหนา ยโดยวธิ ที าํ ลาย
(1) ใหผูอํานวยการสํานักสืบสวนและปราบปรามหรือสํานักงานหรือนายดานศุลกากร

แตงตั้ง คณะกรรมการขน้ึ คณะหน่ึงเรียกวา “คณะกรรมการทําลายของกลาง” เพอ่ื ดําเนินการทาํ ลายของกลาง ให
เปนไปตามระเบยี บน้ี

(2) ของใดที่เสียหายหรือเส่ือมสภาพหรือเปนของอยูในเงื่อนไขตองทําลาย ใหเสนออธิบดี
หรือผูซึ่ง อธิบดีมอบหมาย พิจารณาอนุมัติทําลาย และเม่ือไดรับอนุมัติแลว ใหเจาหนาท่ีบันทึกการอนุมัติลงใน
ระบบ ของกลางและบัญชีของกลางและเก็บบันทึกการอนุมัติดังกลาวไวเปนหลักฐาน แลวใหแจงคณะกรรมการ
ทําลาย ของกลางทราบทุกสิ้นเดอื นโดยแยกเปน 2 บัญชี ดงั น้ี

(๒.1) บญั ชีของกลางละเมดิ ทรัพยสินทางปญ ญา
(๒.2) บัญชขี องกลางอนื่ ๆ
(3) ใหคณะกรรมการทําลายของกลางรับของกลางไปทําลายและกอนรับของกลางให
ตรวจสอบชนิด ปริมาณและนํ้าหนักของทุกรายการใหถูกตองครบถวนแลวลงลายมือช่ือพรอม วัน เดือน ป ที่รับ
ของไวเปน หลักฐานและใหดําเนินการทําลายไดตามแตจะเห็นสมควรโดยเร็ว เมื่อไดทําลายเรียบรอยแลวให
รายงาน ผูอํานวยการสํานัก หรือสํานักงาน หรือนายดานศุลกากรทราบ สําหรับสวนของกลาง สํานักสืบสวนและ
ปราบปราม ใหรายงานอธิบดีและจดั สง รายงานใหก ลมุ ตรวจสอบภายในทราบดวย
(4) ของท่อี ยูระหวา งรอการทําลายใหแ ยกเกบ็ ตางหากจากของอืน่
(5) ใหผูอํานวยการสวนท่ีกํากับดูแลหนวยงานของกลาง มีอํานาจติดตามและเรงรัดการ
ปฏิบตั งิ านของ คณะกรรมการทําลายของกลางและในกรณที ่มี ปี ญหากใ็ หมอี าํ นาจสงั่ การแกไขได
๘.7.10 วิธีการอ่ืนตามอนุมัติอธิบดี ประมวลระเบียบฯ 7 05 06 07 ในกรณีที่ไมสามารถ
จาํ หนายของกลางที่ตกเปนของแผนดินโดยวิธีที่กลา วมาแลว ใหห นวยงานของกลางเสนออนุมัติอธบิ ดเี พือ่ จาํ หนาย
ของกลางโดยวิธีการอ่ืน ท้ังนี้ จะตองเสนอหลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไข ในการจําหนา ยของกลาง พรอมเหตุผล
และความจําเปนในการเลอื กจาํ หนายของกลางดวยวธิ นี ้ันใหทราบ โดยละเอยี ด
๘.7.11 การจาํ หนา ยของกลางท่เี ปน ของตอ งกาํ กดั ประมวลระเบียบฯ 7 05 06 08
(1) ของกลางท่เี ปนของตอ งกํากดั ที่หากจําหนายอาจกระทบกระเทือนถึงความม่ันคง หรือ
ความสงบ เรียบรอ ยของประเทศ ตลอดจนสขุ อนามัยหรือศีลธรรมอันดงี ามของประชาชน ใหจ าํ หนา ยโดยวิธกี าร ดังน้ี
(๑.1) สงมอบสวนราชการ
(๑.2) วิธีการทาํ ลาย
(๑.3) วิธีการอ่ืนตามอนมุ ัตอิ ธบิ ดี
(2) ของกลางที่เปนของตองกํากัดซึ่งมีบัญญัติของกฎหมาย มติของคณะรัฐมนตรีหรือ
สญั ญาซึง่ รฐั ตอ งผูกพันกาํ หนดวิธีการจําหนา ยไวก ใ็ หปฏิบัติไปตามนั้นโดยความเหมาะสม
8.7.12 การจาํ หนา ยของกลางท่ีเปนของตองหา ม ประมวลระเบียบปฏบิ ตั ฯิ 7 05 06 09
(1) ของกลางซึ่งเปนของตองหา ม เวนแตของตองหามตามพระราชบัญญัตหิ ามนําของที่มี
การแสดงกาํ เนดิ เปนเทจ็ เขามา พุทธศักราช ๒๔๘๑ ใหจาํ หนา ยโดยวธิ ีการ ดงั นี้
(๑.1) วิธีการทําลาย

43

(๑.2) วธิ ีการอน่ื ตามอนมุ ัตอิ ธิบดี
๘.7.13 หลักเกณฑการจําหนายของกลางสําหรับของบางประเภท ประมวลระเบียบปฏิบัติฯ 7
05 06 ๑๐ สําหรบั ของบางประเภท ใหมีหลกั เกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขการจาํ หนายเพ่ิมเติมจากท่ีไดกลา วไว ดงั น้ี

(1) ยาเสน ยาอดั ยาสูบ หรอื บหุ รขี่ องกลาง
(๑.1) การจําหนายยาเสน ยาอัด ยาสูบหรือบุหร่ีของกลางตองคํานึงถึงการปฏิบัติ

ตามกฎหมายที่ เก่ียวของ เชน พระราชบัญญัติยาสูบ พ.ศ. ๒๕๐๙ พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑยาสูบ พ.ศ.
๒๕๓๕ เปน ตน

(๑.2) ยาเสน ยาอัด ยาสูบหรือบุหร่ีของกลางที่เส่ือมคุณภาพใหสงมอบแก
หนว ยงานราชการทมี่ ี ความประสงคจ ะนําไปใชใ หเ กิดประโยชนส าธารณะโดยไมอ าจนํากลบั มาบรโิ ภคไดอีก

(๑.3) หากไมมีหนวยราชการใดประสงคขอรับยาเสน ยาอัด ยาสูบหรือบุหร่ีของ
กลางทเี่ ส่อื ม คณุ ภาพดงั กลา วใหป ฏิบตั ติ ามระเบยี บวาดวยการทาํ ลาย

(๑.4) การพิจารณาและตรวจสอบคุณภาพยาเสน ยาอัด ยาสูบหรือบุหร่ีของกลาง
ใหอยูใน หลกั เกณฑการตรวจสอบตามหนงั สือโรงงานยาสูบ กระทรวงการคลงั ที่ รยส ๐๙๐๐๐๑/๒๘๑๐ ลงวนั ท่ี
๒ ตุลาคม ๒๕๓๕ และหนังสือที่ รยส ๑๕๐๐๐๓/๓๔๕๘ ลงวันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๕๔ โดยอนโุ ลม ดงั น้ี

(๑.4.1) การตรวจสอบอายุบุหรี่ ถาปรากฏวาบุหรี่ของกลางท่ีจับไดมีอายุ
มากกวา ๔ เดือน นับจากวันที่ผลิตใหถือวาบุหรี่นั้นเส่ือมคุณภาพ หากไมอาจตรวจสอบวันที่ผลิตไดใหนับแตวันที่
รบั เขาเกบ็ รกั ษาจนถึงวันตรวจ

(๑.4.2) การตรวจสอบคุณลักษณะทางกายภาพ ถาปรากฏวากระดาษมวน
บุหรีเ่ ปลยี่ นสี หรอื มจี ุดตามกระดาษมวนบุหรี่ และมกี ลนิ่ ราหรอื เหม็นอบั แสดงวาบุหรี่เสื่อมสภาพ

(๑.4.3) การตรวจสอบคุณภาพยาเสนในมวนบุหรโ่ี ดยวธิ ีดมกล่ิน ถา ปรากฏ
วา บหุ ร่ีของกลางมกี ล่ินรา หรือเหม็นอับแสดงวาบุหร่นี น้ั เส่ือมคุณภาพ

(๑.4.4) ตรวจรสชาด โดยวิธีทดลองสูบเปรียบเทียบกับบุหร่ีชนิดเดียวกัน
หรอื เครือ่ งหมาย การคาเดยี วกันทีม่ ีคณุ ภาพดี

(๑.4.5) ถาหากไดดําเนินการตามข้ันตอนขางตนแลวยังเปนที่สงสัย ให
วินิจฉัยวา บุหรน่ี นั้ เส่อื มคุณภาพ

(๑.4.6) การสุมตัวอยางบุหรี่ของกลางและการไมยอมรับ (Reject) ใหใช
หลกั เกณฑตามตาราง ดงั นี้

จาํ นวนบหุ รขี่ องกลาง จาํ นวนตวั อยา ง การไมย อมรับ (REJECT)
ตอ LOT ตอเครอื่ งหมายการคา ทส่ี มุ เปด ตรวจ
จาํ นวนบุหรี่ <1 หบี (<50 หอ ) ๑ ซอง ตอ ๑๐ ถา พบวาบุหรี่ที่เปดตรวจอยา งนอย ๑ ซอง มบี ุหรเี่ สื่อม
คณุ ภาพ
1 - 10หอ หอ ถา พบวา บหุ รีท่ ่เี ปดตรวจอยา งนอ ย ๑ หอ มีบุหรเ่ี สอื่ ม
> 10 หอ 1 ซอง ตอ ๑๐ คุณภาพ
จาํ นวนบหุ รี่ >๑หบี
๑ – ๑๐ หอ หอ

> ๑๐ หีบ ๑ หอ ตอ ๑ หบี ถาพบวา บหุ ร่ีท่ีเปดตรวจอยา งนอ ย ๑หอ มบี ุหรีเ่ ส่ือม
คณุ ภาพ

44
๑ หอ ตอ ๑๐หีบ

ถา พบวา บุหรท่ี ี่เปดตรวจอยา งนอ ย ๑หอ มีบุหรีเ่ สอื่ ม
คณุ ภาพ

(2) รถยนตของกลางท่ีตกเปน ของแผน ดิน
(๒.1) การจําหนายรถยนตของกลางที่ตกเปนของแผนดินใหดําเนินการจําหนาย

โดยวิธีการขาย ทอดตลาดตามนโยบายที่กระทรวงการคลังกําหนด ท้ังน้ีไดก ําหนดแนวปฏบิ ัติใหผจู ับกุมตรวจสอบ
รถยนตที่ ตรวจยึดในความยึดฐานลักลอบหรือหลีกเลี่ยงในการนําเขาตามมาตรา 242 – มาตรา 244 แหง
พระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2560 ทุกคันไมวาจะมีผูตองหาหรือไมก็ตาม โดยหนวยงานตางๆ ๗ หนวยงาน
ดงั นี้

(๒.1.1) กองพิสูจนหลักฐาน สํานักงานตํารวจแหงชาติเพื่อตรวจสอบสภาพ
รถยนตมี รองรอยการขูดลบ แกไข ท่ีบริเวณเลขหมายประจําตัวถัง และเลขหมายประจําเคร่ืองยนต หากมีการ
แกไ ข หมายเลขเดมิ คอื เลขใด

(๒.1.2) กองทะเบียนประวัติอาชญากร สํานักงานตํารวจแหงชาติเพ่ือ
ตรวจสอบหลักฐาน การแจง หายวา มีการแจง หายหรือถกู โจรกรรมภายในประเทศหรอื ไม

(๒.1.3) กองการตางประเทศ สํานักงานตํารวจแหงชาติเพื่อตรวจสอบ
หลักฐานการแจง หายวา มีประวตั ิการจดทะเบียนและประวตั ิการแจง หายในตางประเทศหรือไม

(๒.1.4) กองบริหารการคาสินคาท่ัวไป กรมการคาตางประเทศ เพื่อ
ตรวจสอบหลักฐาน การนาํ เขา วา เคยมกี ารอนุญาตใหน าํ เขา มาในราชอาณาจกั รหรือไม

(๒.1.5) สํานกั มาตรฐานงานทะเบยี นและภาษรี ถ กรมการขนสงทางบก เพ่ือ
ตรวจสอบ หลกั ฐานการจดทะเบยี นวา เคยมกี ารยืน่ ขอจดทะเบยี นไวกบั กรมการขนสง ทางบกหรือไม

(๒.1.6) ตัวแทนจําหนายรถยนตยี่หอน้ัน ๆ เพื่อตรวจสอบวาบริษัทเปนผูสั่ง
นําเขาหรือ เปนผูจําหนายรถยนตของกลางคันดังกลาวหรือไม ประวัติผูซื้อและผูขาย (ถามี) ขอมูลจําเพาะจาก
บริษทั ผผู ลิต ในสว นทเ่ี ก่ยี วของ เชน ผลติ จากประเทศใด ปท ี่ผลิต ชนิด รนุ ขนาดเครื่องยนต

(๒.1.7) สํานักเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพื่อตรวจสอบการ
นาํ เขา มาในราชอาณาจกั ร

(๒.2) กรณีรถยนตของกลางท่ีจะนําไปจําหนายโดยวิธีการขายทอดตลาดท่ีสวน
ของกลาง สํานักสืบสวนและปราบปราม ตองเปนรถยนตของกลางที่มีสภาพดี ขับเคลื่อนได และใหสงแฟมคดี
พรอมรายละเอียดหมายเลขเครื่องยนต หมายเลขตัวถัง ราคาคาภาษีอากร รูปถายอยางนอย 5 ภาพพรอมกับ
คาํ อธบิ ายประกอบภาพถา ยโดยละเอยี ด

หากรถยนตคันใดไมคุมคาในการเคล่ือนยายมาจําหนายท่ีสวนของกลาง สํานัก
สืบสวนและ ปราบปราม ใหดําเนินการขออนุมัติจําหนาย ณ ส านักงานศุลกากร หรือดานศุลกากรจาก
คณะกรรมการ จาํ หนายรถยนตข องกลาง

(3) ไม ใหจําหนา ยตามมตคิ ณะรัฐมนตรี และ/หรือตามที่กระทรวงการคลังกําหนด
(4) อาหาร

(๔.1) ใหจําหนายของกลางประเภทอาหารโดยคํานึงถึงหลักเกณฑเกี่ยวกับของ
กลางท่ีเปน ผลิตภัณฑสขุ ภาพประเภทอาหารดว ย

(๔.2) กรณีของกลางที่จะทําการชักตัวอยางนั้นมที ั้งของที่อยูในสภาพดี และของท่ี
อยูในสภาพเนา จะเส่ือมคุณภาพปะปนคละกันอยู เชน ภาชนะบรรจุเปนสนิมหรือบุบบี้เปนตน ใหเจาหนาที่สวน

45
ของกลาง สํานักสืบสวนและปราบปราม หรือสํานักงานศุลกากร หรือดานศุลกากร แลวแตกรณี คัดเลือกแยกของ
ดังกลาวออกจาก กันใหเปนสัดสวนกอน แลวจึงสุมชักตัวอยางจากของกลางท่ีไดแยกไวนั้นเพื่อสงวิเคราะหตอไป
เวนแตเจาหนาท่ี พิจารณาแลวเห็นไดแนชัดวาของกลางรายใดยังไมเส่ือมคุณภาพจะไมทําการชักตัวอยางสง
วเิ คราะหก็ได

(๔.3) ใหมีปรมิ าณการชกั ตวั อยาง ดังน้ี
(๔.3.1) ในกรณีที่ของกลางมีปริมาณไมเกิน ๑๐๐ หนวย ใหชักตัวอยางไม

นอ ยกวารอ ยละ ๕ ของของกลางทั้งหมด
(๔.3.2) ในกรณที ี่ของกลางมีปริมาณเกิน ๑๐๐ หนวยขึ้นไป ใหชักตัวอยาง

ไมตํา่ กวา รอยละ ๒ แตไมเ กนิ รอ ยละ ๕ โดยจะตอ งมตี วั อยางรวมกันไมนอยกวา ๕ หนวย
(๔.3.3) ใหชักตัวอยางโดยใชวิธีสุมจากของกลางท่ีมี ชนิด ขนาด ยี่หอและ

เคร่ืองหมายการคา เดียวกนั สําหรับของกลางที่มี ชนิด ขนาด ย่ีหอ และเครื่องหมายการคาแตกตา งกัน ใหทาํ การ
สมุ ชักจากของ กลางทุกลักษณะ

(๔.3.4) เม่อื ไดทําการชักตัวอยางเสร็จแลว ใหเจาหนาที่ผูท ําการชักตวั อยาง
ทาํ รายงานแจง รายละเอยี ดเก่ียวกับตัวอยางและปรมิ าณตวั อยา งพรอมทั้งลงลายมือช่อื วัน เดอื น ป ที่ทําการ แลว
ใหสง รายงานพรอ มตัวอยางใหเ จา หนา ท่ีวิเคราะหสนิ คาโดยพลนั

(๔.3.5) ใหเจาหนาท่ีวิเคราะหสินคาทําการวิเคราะหสภาพของตัวอยางให
แลวเสร็จภายใน ๓ วันทําการ นับแตวันท่ีไดรับรายงานและตัวอยางของกลางแลวใหสงผลวิเคราะหใหหนวยงาน
ของกลางทราบโดยพลัน ท้ังนี้ ให ระบุกําหนดระยะเวลาท่ีตัวอยางยังคงมีสภาพใชไดตามผลการวิเคราะหไวใน
รายงานผลการวิเคราะหใ หช ัดเจนดวย

(๔.3.6) ใหสวนของกลาง สํานักสืบสวนและปราบปราม หรืองานคดีและ
ของกลางของดานศุลกากรทําการจําหนายของกลางประเภทอาหารที่ไดทําการวิเคราะหแลวน้ัน ภายในกําหนด
ระยะเวลาท่ีหนวยงาน วเิ คราะหส นิ คา ไดร ะบไุ วตามขอ

(๔.3.7) หากไมอาจจําหนายไดจนลวงพนกําหนดระยะเวลาดังกลาว และ
ประสงคจะนําออกจําหนายใหม จะตองทําการชักตัวอยางสงวิเคราะหใหม โดยใหปฏิบัติตามหลักเกณฑ ดังกลาว
ขา งตน

(5) ผลติ ภณั ฑสุขภาพ
(๕.1) ผลิตภัณฑสุขภาพ หมายถึง ผลิตภัณฑอาหาร ยา เครื่องมือแพทย

เครื่องสําอาง วัตถุอันตรายและวัตถุเสพติดตามกฎหมายท่ีอยูในความรับผิดชอบของสํานักงานคณะกรรมการ
อาหารและยาที่ กรมศลุ กากรจับกุมหรอื ยดึ ไว

(๕.2) การทําลายของกลางท่เี ปน ผลติ ภัณฑ สุขภาพท่ีกรมศุลกากรได จับกมุ หรือยึด
ไว ใหแ จงขอ มลู เก่ียวกับประเภท ปริมาณ มูลคาและผลการทาํ ลายใหสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาทราบ
ทุกครง้ั

(๕.3) กรณีที่มีปญหาเก่ียวกับของกลางผลิตภัณฑสุขภาพท่ีกรมศุลกากรไดจับกุม
หรือยึดไว ซึ่งมี การตกลงแนวทางปฏิบัติเปนอยางอ่ืน หรือมีขอตกลงหรือระเบียบเฉพาะเร่ืองนั้น ๆ ไดกําหนดไว
แลว ใหเ ปน ไป ตามขอตกลงหรือระเบียบทไ่ี ดก ําหนดไวน ั้น

(๕.4) ในกรณีทม่ี ปี ญ หาในการปฏิบตั ิใหห ารือเจา หนาทปี่ ระจาํ ดา นอาหารและยา
(๕.5) ผลิตภัณฑส ุขภาพท่ีเปนอาหารที่มีลักษณะดังตอไปน้ี ใหจาํ หนายโดยวิธีการ
ทําลาย

(๕.5.1) อาหารทีม่ ีลักษณะและ/หรือผลการตรวจวเิ คราะหเ ขา ขาย

46
(๕.5.2) อาหารไมบริสุทธ์ิตามความในมาตรา 26 แหงพระราชบัญญัติ
อาหาร พ.ศ.2522
(๕.5.3) อาหารปลอม ตามความในมาตรา 27 แหง พระราชบญั ญัติอาหาร
พ.ศ. 2522
(๕.5.4) อาหารผิดมาตรฐาน ตามความมาตรา 28 แหงพระราชบัญญัติ
อาหาร พ.ศ.2522
(๕.5.5) อาหารทมี่ ีฉลากเกาเลอะเลอื น
(๕.5.6) อาหารท่มี ภี าชนะบรรจชุ าํ รดุ
(๕.5.7) อาหารที่เสื่อมสภาพไปจากเดิมเทาท่ีสังเกตพบเห็นไดโดยวิธี
ธรรมชาติ
(๕.5.8) อาหารที่มีการแสดงฉลากระบุ วัน เดือน ป ที่หมดอายุการบริโภค
หรือ วันเดอื นป ท่คี วรบริโภคกอน ซ่ึงไดลว งเลยกาํ หนดตามที่ระบไุ วดังกลา ว
(๕.5.9) อาหารที่มผี ลการวิเคราะหแ สดงวาเปน อันตรายตอสขุ ภาพ
(๕.6) ผลิตภณั ฑสุขภาพทีเ่ ปน อาหารสดและพืชผลทางการเกษตร เชน เน้ือสัตวแ ช
แข็ง แมงกะพรุนสด หอม กระเทียม พริก ผลไมสด เปนตน ซึ่งไมมีลักษณะของอาหารท่ีตองทําลายหรือสงมอบ
สวนราชการ ใหดําเนินการจาํ หนายไดโ ดยวธิ กี ารอื่น
(๕.7) ผลิตภัณฑสุขภาพที่เปนอาหารที่มีลักษณะตอไปนี้ใหขอความรวมมือ
เจา หนา ที่ประจาํ ดา นอาหารและยาเกบ็ ตวั อยา งสง วิเคราะห เมื่อปรากฏผลการตรวจวเิ คราะหวาอาหารดงั กลาวไม
เปน อันตราย ตอ สุขภาพใหจาํ หนา ยโดยการขายปนสวน ไดแ ก
(๕.7.1) อาหารที่ไมม ฉี ลากปด หรือฉลากไมครบถวน
(๕.7.2) อาหารทหี่ ลักฐานการนําเขาหรือเอกสารอ่ืนประกอบขดั แยงกนั เอง
หรอื ไมม ี ความชัดเจนในเรอื่ งช่ือผูน าํ เขา และประเทศผผู ลติ
(๕.8) ผลิตภัณฑสุขภาพท่ีเปนอาหารหามนําเขาหรือนําเขาโดยไมถูกตองและเปน
อาหารที่ตอง ทําลายโดยวิธีการเฉพาะ เชน BSE. DIOXIN ใหขออนุมัติอธิบดีสั่งใหสงคืนประเทศตนทางโดยความ
สมัครใจ ของผนู ําเขาเปนอันดับแรก แตถา ไมสามารถสงคืนประเทศตนทางไดไ มวา ดว ยเหตุใด ใหดําเนินการตามที่
อธิบดี หรอื ผทู ไี่ ดร ับมอบหมายเหน็ สมควร โดยถอื วา เปน การจาํ หนายโดยวิธอี น่ื ตามอนุมัติอธบิ ดี
(๕.9) ผลติ ภณั ฑส ขุ ภาพทีเ่ ปนยาในลกั ษณะดังน้ี
(๕.9.1) ยาท่ไี มม ฉี ลากปด
(๕.9.2) ยาทีม่ ีฉลากเกา เลอะเลือน
(๕.9.3) ยาท่ีเสื่อมคุณภาพแลว ซ่ึง คําวา “ยาท่ีเส่ือมคุณภาพ” ให
หมายความรวมทั้ง

(๕.9.3.1) ยาท่สี ิ้นอายุตามทีแ่ สดงไวในฉลาก
(๕.9.3.2) ยาท่ีเสือ่ มสภาพไปจากเดิมอยางเหน็ ไดชดั
(๕.9.3.3) ยาที่ตรวจวิเคราะหแลว ปรากฏวามีตัวยาต่ํากวา
มาตรฐานจนจดั เปนยาปลอมหรอื ยาผิดมาตรฐานตามพระราชบัญญตั ิยา พ.ศ. 2510 ใหหนวยงานท่ีจับกุมหรือยึด
ไวจ ัดสง ตัวอยางยาใหหนว ยงานวิเคราะหส ินคาตรวจสอบ หรือใหพนกั งานศลุ กากรผูมีหนาท่ีวิเคราะหสนิ คาชวยทํา
การวเิ คราะหต รวจสอบยาทัง้ จาํ นวนนั้นเสียกอนตามความเหมาะสมแกกรณี
หากปรากฏวายาของกลางรายใดเสื่อมคุณภาพหรือเปนยาที่เขา
ลักษณะขอหนึ่งขอใดดังกลาวขางตน หรือเปนยาที่ตรวจสอบแลวปรากฏวาไมมีทะเบียนตําหรับยา ใหเสนอ
ผอู ํานวยการสํานกั หรือ สํานักงาน หรือนายดานศุลกากรเพ่ือส่ังการใหคณะกรรมการทําลายของกลางรับไปทาํ ลาย

47
ตอไป แตถายารายใดยังมีคุณภาพดี มีทะเบียนตําหรับยาและไมเปนยาท่ีเขาลักษณะขอหน่ึงขอใดดังกลาวขางตน
เมื่อยาของกลางไดตกเปนของแผนดินแลวก็ใหแจงใหคณะกรรมการอาหารและยาชวยทําการตรวจสอบและสง
เจา หนาท่มี ารับ ยาของกลางจากกรมศลุ กากรเพื่อนําไปใชใ นราชการตอไป

(๕.10) ผลิตภัณฑสุขภาพที่เปนเคร่ืองมือแพทยท ่ีมีลักษณะดังตอไปนี้ ใหจําหนาย
โดยวิธกี าร ทําลาย

(๕.1๐.1) เคร่ืองมือแพทยที่ไมมีใบอนุญาตตามมาตรา ๑๗ แหง
พระราชบญั ญตั ิเครอ่ื งมือแพทย พ.ศ. ๒๕๕๑

(๕.1๐.2) เคร่ืองมือแพทยที่ไมไดแจงรายละเอียดตามมาตรา ๑๙ หรือ
๒๗ (๑) (๕) เฉพาะกรณีเพ่ือใชในการศึกษาวิจัย วิเคราะหหรือทดสอบคุณภาพมาตรฐาน (๖) และ (๗) แหง
พระราชบญั ญัติ เครือ่ งมอื แพทย พ.ศ. ๒๕๕๑

(๕.1๐.3) เคร่ืองมือแพทยท่ัวไปท่ีหามนําเขาตามประกาศกระทรวง
สาธารณสขุ ฉบบั ที่ ๓๔ (พ.ศ. ๒๕๔๙) แหงพระราชบัญญตั เิ คร่อื งมอื แพทย พ.ศ. ๒๕๓๑

(๕.1๐.4) เคร่ืองมือแพทยที่ไมทราบแหลงที่มาชัดเจน หรือไมมีการแจง
ชือ่ ผูผลติ และ แหลง ผลิต

(๕.1๐.5) เคร่ืองมือแพทยปลอมตามมาตรา ๔๗ แหงพระราชบัญญัติ
เครอ่ื งมอื แพทย พ.ศ. ๒๕๕๑

(๕.1๐.6) เคร่ืองมือแพทยที่มีคุณภาพตํ่ากวาตามมาตรฐานตามมาตรา
๔๘ แหง พระราชบัญญตั เิ ครือ่ งมือแพทย พ.ศ. ๒๕๕๑

(๕.1๐.7) เครื่องมือแพทยที่เสื่อมคุณภาพตามมาตรา ๔๙ แหง
พระราชบญั ญตั เิ คร่อื งมือ แพทย พ.ศ. ๒๕๕๑

(๕.1๐.8) เครื่องมือแพทยที่ไมปลอดภัยในการใชตามมาตรา ๕๐ แหง
พระราชบัญญัติ เครอ่ื งมือแพทย พ.ศ. ๒๕๕๑ ในกรณีที่ไมส ามารถดาํ เนินการทาํ ลายเครอื่ งมือแพทยด ังกลา วได ให
ขออนุมตั ิอธิบดีหรือผูซึง่ อธิบดีมอบหมาย สง่ั ใหสงคืนประเทศตนทางโดยความสมัครใจของผนู ําเขาเปนอันดับแรก
แตถาไมสามารถ สงคืนประเทศตนทางไดไมวาดวยเหตุใด ใหดําเนินการตามที่อธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมาย
เหน็ สมควร

(๕.๑๑) ผลิตภัณฑสุขภาพที่เปนเครือ่ งสําอางที่มีลักษณะดงั ตอไปนี้ ใหจาํ หนายโดย
วธิ ีการทําลาย

(๕.๑๑.1) เครือ่ งสาํ อางทม่ี ฉี ลากเกาเลอะเลอื น
(๕.๑๑.2) เครอื่ งสําอางท่ีเสอ่ื มคุณภาพ เชน เครอ่ื งสําอางท่ีระบุ วัน เดอื น
ป ทสี่ ิ้นสุด อายุการใชงานหรือเครอื่ งสําอางท่เี สอื่ มสภาพไปจากเดิมเทาทีส่ งั เกตพบเหน็ ไดโดยวธิ ธี รรมชาติ
(๕.๑๑.3) เคร่ืองสําอางท่ีไมปลอดภัยในการใชเคร่ืองสําอางปลอม
เคร่ืองสําอาง ผิดมาตรฐานตามมาตรา 33 มาตรา 34 และมาตรา 35 แหงพระราชบัญญัติเครื่องสําอาง พ.ศ.
2535
(๕.๑๒) ผลิตภัณฑสุขภาพที่เปนเครื่องสําอางที่มีลักษณะดังตอไปนี้ใหขอความ
รวมมือเจาหนาที่ ประจําดานอาหารและยาเก็บตัวอยางสงวิเคราะห เม่ือปรากฏผลการตรวจวิเคราะหวา
เคร่ืองสําอางดังกลาว ไมเ ปนอนั ตรายตอสุขภาพ ใหจําหนายโดยการขายปน สวน ไดแ ก
(๕.๑๒.1) เคร่ืองสําอางไมมีฉลากภาษาไทยหรือฉลากไมครบถวนตาม
ประกาศ
(๕.๑๒.2) เคร่ืองสําอางท่ีหลักฐานการนําเขาหรือเอกสารอ่ืนประกอบ
ขดั แยงกันเอง หรอื ไมมคี วามชดั เจนในเร่อื งชอ่ื ผูนาํ เขา และประเทศผูผลติ

48
(๕.๑๓) ผลิตภณั ฑสุขภาพทีเ่ ปนวตั ถุอนั ตรายที่มลี ักษณะดังตอไปน้ี ใหจ ําหนา ยโดย
วธิ กี ารทําลาย

(๕.๑๓.1) วัตถอุ ันตรายชนิดท่2ี และ 3 ท่ีไมม ฉี ลากปดหรือฉลากไมครบถว น
(๕.๑๓.2) วตั ถอุ ันตรายชนดิ ที่ 2 และ 3 ทีม่ ีฉลากเลอะเลือน
(๕.๑๓.3) วัตถุอันตรายชนดิ ท่ี 2 และ 3 ที่เส่ือมคุณภาพ ผดิ มาตรฐาน ปลอม
(๕.๑๓.4) วัตถุอันตรายชนิดที่ 2 และ 3 ที่ไมมีเลขทะเบียน (ไมไดขอข้ึน
ทะเบียน ถูกตอง) หรือถูกสั่งเพิกถอนทะเบียน หากไมสามารถทําลายไดโดยวิธีการปลอดภัยตอประชาชนและ
ทราบแหลงทมี่ า ใหขออนุมัติ อธิบดีสั่งใหสง คนื ประเทศตนทางโดยความสมคั รใจของผูนําเขาเปน อันดบั แรก แตถา
ไมส ามารถสงคืนประเทศ ตนทางไดไมวา ดว ยเหตใุ ด ใหด าเนนิ การตามท่ีอธิบดีหรือผูที่ไดร บั มอบหมายเหน็ สมควร
โดยถือวา เปนการ จําหนายโดยวิธอี ่ืนตามอนมุ ตั อิ ธิบดี
(๕.๑๓.๕) ผลิตภัณฑสุขภาพที่เปนวัตถุอันตรายที่เปนวัตถุอันตราย
ประเภทที่ ๔ (หามนําเขา หามสงออก) ใหขออนุมัติอธิบดีสั่งใหสงคืนประเทศตนทาง โดยถือวาเปนการจําหนาย
โดยวธิ อี ่นื ตามอนมุ ตั ิ อธิบดี
(๕.๑๓.๖) ผลิตภัณฑสุขภาพท่ีเปนวัตถุเสพติดใหดําเนินการตามระเบียบ
สํานักนายกรัฐมนตรวี าดวยการจบั ยดึ และตรวจพสิ ูจนยาเสพติด พ.ศ. 2537 ยกเวนยาเสพติดใหโ ทษประเภท 3
ใหกรมศลุ กากร ดําเนินการทาํ ลายทัง้ หมด
(๖) วทิ ยสุ ่อื สาร
(๖.1) วิทยสุ ่ือสารหรอื อุปกรณท ่มี สี ภาพชาํ รดุ หรอื ไมเ หมาะสมที่จะใชในราชการ ให
จําหนา ยโดยวธิ ที ําลาย
(๖.2) สวนราชการ หรือรัฐวิสาหกิจใดมีความประสงคจะซื้อวิทยุส่ือสารจากกรม
ศุลกากรใหแจงความประสงคตอกรมศุลกากรพรอมท้ังระบุรายละเอียดแหงของ ชนิด ย่ีหอ รุน และจํานวน ฯลฯ
ตอ กรมศุลกากรดวย โดยใหการจําหนายโดยการขายใหสวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจน้ีถือเปนการจําหนายของ
กลางโดยวธิ กี ารอื่นตามอนมุ ัติอธิบดี
(๖.3) กรณสี ว นของกลาง สาํ นักสบื สวนและปราบปรามเปนหนวยงานของกลาง ให
พิจารณานาํ เสนออธิบดอี นุมัติ
(๖.4) กรณีหนวยงานของกลางของสํานักงานหรือดานศุลกากร อธบิ ดีมอบหมายให
ผอู ํานวยการสํานักหรือนายดานศลุ กากรพจิ ารณาอนุมัติ
(๖.5) ใหขายวิทยุสอ่ื สารของกลางที่ตกเปนของแผนดินแลวใหแกสวนราชการหรือ
รัฐวิสาหกจิ ตามลําดบั กอนหลังในราคารอยละ ๔๐ ของราคาประเมินรวมคาภาษีอากร เวนแตเปนสว นราชการที่มี
หนาท่ี รับผิดชอบเก่ียวกับความมนั่ คงหรือเกี่ยวกบั ราชการที่สาํ คัญ ใหสว นของกลาง สํานักสบื สวนและปราบปราม
หรอื งานคดแี ละของกลาง ของดานศลุ กากร นําเสนออธิบดีหรือผูอ นมุ ตั กิ ารจาํ หนายของกลาง
(๖.6) ใหสวนของกลาง สํานักสืบสวนและปราบปราม หรืองานคดีและของกลาง
ของดานศุลกากร แจงสวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจที่ซื้อของกลางดังกลาว นําใบเสร็จรับเงินที่กรมศุลกากรออกให
ไปขอจดทะเบียนการใชวิทยุสื่อสารกับสํานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการ
โทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.) ตอ ไป
(๖.7) สินคาละเมิดทรัพยสินทางปญญา ใหจําหนายโดยวิธีการทําลายและตอง
ตรวจนับของกลาง กอนการทําลายทุกคร้ัง

49
๘.7.14 หลักเกณฑการขายทอดตลาดหรือขายโดยวิธีอ่ืนกอนของกลางจะตกเปนของแผนดิน
ประมวลระเบยี นปฏิบตั ฯิ 7 05 06 ๑๑

อธิบดีหรือผูซึ่งอธิบดีมอบหมาย มีอํานาจจําหนายของกลางกอนตกเปนของแผนดินได
ตามความในพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๑๗๑ โดยตองจําหนายโดยวิธีการขายทอดตลาด หรือวิธีการ
ขายวิธีอืน่ เพอ่ื ใหมเี งินถือไวแทนของ ท้งั น้ี ของกลางที่อาจขายไดกอนตกเปนของแผนดนิ จะตองเปนของกลาง ดังน้ี

(1) ของสดของเสียไดหมายความวา ของที่หากปลอยไวในสภาพธรรมชาติจะ
เส่ือมสภาพ หรือ เสียหายท้ังหมดหรือบางสวน หรือเส่อื มคณุ สมบัติเดิมจนไมอาจใชประโยชนไดตามปกติ เชน ผัก
ผลไม เนื้อสัตว หรอื ปลา เปน ตน

(2) ของซึ่งถาหนวงชาไวจะเปนการเส่ียงความเสียหาย หมายความวา ของท่ีหาก
จาํ หนายลาชาจะเส่ียง ความเสียหายตอประโยชนของทางราชการ เชน ของท่ีมีเวลาหมดอายุ ของท่นี ิยมกันท่ัวไป
ในชั่วระยะเวลาหน่ึง ของท่ีอาจสงผลกระทบตอส่ิงแวดลอม เครื่องสําอาง หรือของประเภทเครื่องใชไฟฟาหรือ
อปุ กรณอ เิ ลก็ ทรอนกิ ส เปนตน

(3) ของซึ่งคาใชจายในการเก็บรักษาจะมากเกินสมควร หมายความวา ของท่ีมคี าใชจาย
ในการเก็บ รกั ษาหรอื ดแู ลมากเกินราคาประเมนิ ของกลางรวมคาภาษีอากรทุกประเภท หรือจําหนายแลวเปนที่แน
ชัดวาจะ ไมค มุ คา ภาระติดพนั เชน ของทต่ี องเก็บรกั ษาไวในหองควบคุมอณุ หภูมิ ของทต่ี องเก็บรักษาโดยวธิ ีเฉพาะ
หรอื ของทตี่ อ งจา ยคาเชาพ้ืนที่เพ่อื เก็บรกั ษาสงู เปนตน

๘.7.15 วิธีการขายทอดตลาดหรือขายโดยวิธีอ่ืนกอนของกลางจะตกเปนของแผนดิน ประมวล
ระเบียบปฏบิ ัตฯิ 7 05 06 ๑๒

การขายของกลางไปกอนคดีถึงท่ีสุดใหของกลางตกเปนของแผนดิน อาจทําใหขาด
พยานหลักฐานและ เกิดผลเสียหายแกรูปคดี เพราะคดีในลักษณะดังกลาวจําเปนตองรักษาของกลางไวเพ่ือพิสูจน
ขอเท็จจริง แตหากจะเก็บรักษาของกลางรอไวจนกระท่ังคดีถึงที่สุด จะทําใหรัฐและผูเก่ียวของสูญเสียประโยชน
เพราะของ กลางอาจเสียได หรือจะเปน การเสี่ยงความเสยี หาย หรือคาใชจ า ยในการเกบ็ รักษามากเกินสมควร

ฉะนัน้ เพอ่ื เปนการรกั ษาผลประโยชนข องรัฐและผเู กีย่ วขอ ง จงึ ใหถ อื ปฏบิ ตั ิ
(1) การขออนมุ ตั ขิ ายของกลางกอ นตกเปน ของแผน ดิน

(๑.1) ถาพนักงานศุลกากร พิจารณาเห็นวา ของกลางรายใดเปนของสดของเสียงาย
หรือถา หนวงชาไวเ ปนการเส่ียงความเสียหาย หรือคาใชจา ยในการเกบ็ รกั ษาจะมากเกนิ สมควร ใหเสนอผูซึง่ อธบิ ดี
มอบหมาย เพอื่ พิจารณาอนมุ ตั ิขายกอ นคดีถงึ ที่สดุ ดงั นี้

(๑.2) ในกรณีมีเหตุจําเปนอยางยิ่งและท่ีเจาหนาท่ีเห็นวาการที่จะรายงานและรอ
รับอนุมัติจากอธิบดีหรือผูผูซึ่งอธิบดีมอบหมายไมทันแกการท่ีของจะเสียหายแลว ใหจัดการจําหนายไปกอนแลว
รายงาน อธิบดีหรอื ผซู งึ่ อธบิ ดมี อบหมายอนุมตั ิภายหลงั

(๑.3) กอนท่ีจะดําเนินการตามขอ (๑) หรือ (๒) นั้น ในกรณีที่มีการสงตัวผูตองหา
ให พนักงานสอบสวนดําเนินคดี หากสามารถตดิ ตอพนักงานสอบสวนไดโ ดยสะดวกแลว ก็ใหขอความเห็นเสียกอน
โดยอาจทําเปนบันทึกหรือหนังสือโตตอบประกอบเรื่องไวก็ได แตท้ังนี้ใหเปนที่เขาใจวา เพื่อเปนการประสานงาน
ระหวางกันเทาน้ัน หากพนักงานสอบสวนไมเ ห็นดวย หรือไมตอบใหทราบในเวลาสมควรอันอาจเปนเหตุใหไ ม ทัน
แกการที่ของจะเสียหายแลว ใหดําเนินการตามขอ (๑) หรือ (๒) แลวแตกรณีไปได โดยแจงผลของการติดตอกับ
พนกั งานสอบสวนไปใหทราบ พรอ มกบั รายงานขออนมุ ตั ขิ ายของกลาง

(2) กอ นที่จะขายของกลาง ใหดาํ เนินการดังนี้
(๒.1) ถายภาพของกลางที่กองรวมไวทั้งหมด อยางนอย ๑ ภาพ หากสถานที่ไม

อํานวยท่ีจะทาํ เชนนั้นได กใ็ หถายภาพแตละดานหรือแตล ะมุมของกองของกลางตามท่เี ห็นดวย

50

(๒.2) ของกลางท่ีมีจํานวนมากและตางชนิดกัน ใหแยกกองรวมไวแตละประเภท
และถา ยภาพ กองของกลางแตละชนิดใหมองเหน็ ไดอยางชดั เจน

(๒.3) ถาสามารถจะทําไดโดยไมเกิดความเสียหายมากนัก ใหเก็บรกั ษาตัวอยางของ
กลางไวชนิดละ ๑ ช้ิน สวนหีบหอหรือสิ่งหอหุมภายนอกก็ใหเก็บรักษาไวตามจํานวนพอสมควร ทั้งน้ี เพื่อเปน
หลักฐานให ทราบสภาพความเปน จรงิ ในขณะกระทาํ ผิด

(๒.4) ใหทาํ บนั ทึกอธิบายลักษณะของของกลาง หบี หอ วิธีบรรจุ ฯลฯ โดยละเอียด
เพอื่ ใหเ กดิ ประโยชนแ กร ูปคดมี ากทีส่ ุด

(3) เงนิ ที่ขายไดใ หร ับชําระเปนเงนิ ประกัน และถอื เงนิ ไวแทนของ และใหจ ัดการดังน้ี
(๓.1) กรณีผลคดีถึงที่สุดสั่งใหริบของกลางเปนของแผนดินใหสวนของกลาง สํานัก

สืบสวนและ ปราบปราม หรืองานคดีและของกลางของดานศุลกากร ออกใบสั่งผลักประกันในระบบ และแจง
หนวยงาน การเงนิ ที่รับผดิ ชอบทราบ เพื่อผลักเปน รายไดแ ผน ดนิ ตอ ไป

(๓.2) กรณีผลคดีถึงที่สุดใหคืนของกลาง ใหสวนของกลาง สํานักสืบสวนและ
ปราบปราม หรือ งานคดีและของกลางของดานศุลกากร แจง หนว ยงานการเงินทีร่ ับผิดชอบ ออกเช็คส่งั จายตามผล
คดีแทนการ คืนของกลาง และบันทกึ ขอ มูลในระบบของกลางใหครบถวน

(๔) เมื่อดําเนินการจําหนายของกลางที่ไดรับอนุมัติจําหนายของกลางแลว หัวหนาฝาย
หวั หนางาน หรอื เจาหนาท่ีที่ไดรับมอบหมายออกใบสั่งเก็บ (แบบที่ 150 ค) ในระบบงาน Receipts & Payment
จํานวน 2 ฉบบั (การเงินและบัญชีเกบ็ เปนหลักฐาน 1 ฉบับ, แนบแฟมคดี 1 ฉบับ)

(๕) นําใบสง่ั เก็บ (แบบท่ี 150 ค) พรอมเงินจากการจําหนายของกลางไปสงมอบใหงาน
การเงนิ และบัญชี เพ่อื ดําเนนิ การออกใบเสรจ็ รบั เงิน กศก. 122

8.7.17 คําสั่งกรมศุลกากร ท่ี 472/2562 เรื่อง มอบอํานาจใหปฏิบัติราชการแทนอธิบดีกรม
ศลุ กากร ลงวันที่ 7 ตลุ าคม 2562 ขออนมุ ตั จิ ําหนา ยของกลางโดยวิธีการตางๆ ซ่ึงผมู ีอาํ นาจอนมุ ัติการจาํ หนา ย

ขอ 11.2 การอนุมัติวิธีจําหนายและการอนุมัติขายของกลางตามมาตรา 170 แหง
พ.ร.บ. ศลุ กากร พ.ศ. 2560 แตล ะคดี ซึง่ มีราคารวมคาภาษอี ากรทกุ ประเภท ดงั น้ี

1. นายดานศลุ กากร ไมเกนิ 7,000,000.00 บาท
2. ขาราชการในตําแหนงประเภทวิชาการระดับชํานาญการพิเศษ ไมเกิน
5,000,000.00 บาท
3. ขาราชการตําแหนงประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการ ไมเกิน
3,000,000.00 บาท ท้ังนี้ใหขาราชการใน (1) (2) และ (3) อนุมัติจําหนายของกลางโดยวิธีทําลายหรือสงมอบ
ใหสว นราชการไดในวงเงินไมเ กนิ 1,000,000.00 บาท
8.8 กฎหมายทเ่ี กย่ี วของในข้นั ตอนการปดแฟมคดี
๘.8.1 ประมวลระเบียบปฏบิ ัติฯ 7 0๕ 07 01 บัญชขี องกลาง
(1) ใหหนวยงานของกลาง จัดทําบัญชีของกลาง (แบบที่ 463) ตามแบบแนบทาย
ประมวลฯ บทนี้ และบนั ทกึ ขอ มลู ในระบบของกลางใหค รบถวน
(2) เอกสารประกอบบัญชที ตี่ อ งเก็บรักษาไว ณ หนวยงานของกลาง คอื
(๒.1) สําเนาหนังสือนําสง ใหเ ก็บเรยี งไวต ามลําดบั เลขทร่ี ับของ
(๒.2) สําเนาใบประเมินราคาสินคา ใหเก็บเรียงไวตามลําดับเชนเดียวกับเอกสาร
ตามขอ (๒.๑)
(๒.3) สาํ เนาบันทกึ หนวยงานคดีสั่งคืนของกลาง ใหเก็บเรียงไวตามลําดับวัน เดือน
ปที่รบั แจง
(๒.4) บันทกึ การอนุมัติการทาํ ลาย ใหเก็บเรียงไวต ามลําดบั วนั เดือน ปท ่ไี ดร บั อนมุ ตั ิ


Click to View FlipBook Version