The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 หน่วยที่ 8 การป้องกันโรคติดต่อ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by comroom2559, 2023-12-16 23:54:33

สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 หน่วยที่ 8 การป้องกันโรคติดต่อ

สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 หน่วยที่ 8 การป้องกันโรคติดต่อ

สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ตัวชี้วัด • อธิบายการติดตอและวิธีการปองกันการแพรกระจายของโรค (พ ๔.๑ ป.๓/๑) หนวยการเรียนรูที่ ๘ การปองกันโรคติดตอ


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ผังสาระการเรียนรู ความหมายของโรคติดตอ การปองกันโรคติดตอที่สําคัญ โรคไขเลือดออก โรคหัด โรคตาแดง โรคอีสุกอีใส โรคไขหวัดใหญ การปองกันโรคติดตอ


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ๑ ความหมายของโรคติดตอ . โรคติดตอ หมายถึง โรคที่เกิดขึ้นกับคนหรือสัตว แลวสามารถติดตอ หรือแพรกระจายจากคนหรือสัตวที่ ปวยเปนโรคสูคนหรือสัตวอื่นได โรคติดตอสามารถแพรกระจายไดทั้งทางตรง คือ ติดจากผูเปนโรคโดยตรง หรือแพรกระจายโดยทางออม คือ ติดจากพาหะนําโรค ซึ่งอาจเปนคนหรือสัตวที่มีเชื้อโรค


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 แตไมแสดงอาการและนําเชื้อโรคนั้นไปสูผูอื่นได ซึ่งเชื้อโรค สามารถเขาสูรางกายไดหลายชองทาง เชน ทางปาก โดยอาจ ปะปนมากับอาหารหรือเครื่องดื่ม ทางจมูก โดยอาจปะปน เขาไปกับลมหายใจพรอมฝุนละออง ทางผิวหนัง โดยอาจเขา ไปทางบาดแผล ทางเพศสัมพันธ จากการมีเพศสัมพันธโดย ไมปองกัน หรือจากแมไปสูลูกในขณะคลอด


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ๒. การปองกันโรคติดตอที่สําคัญ ๒.๑ โรคไขหวัดใหญ เกิดจากเชื้อไวรัสไขหวัดใหญ ซึ่งติดตอไดโดยการไอ หรือ จามรดกัน การหายใจเอาเชื้อไวรัสที่แพรกระจายในอากาศเขาไป การใชสิ่งของรวมกับผูปวย โดยเชื้อไวรัสจะปะปนอยูในน้ํามูก น้ําลาย หรือเสมหะของผูปวย สาเหตุและการติดตอ


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 การจามโดยปดปากจะไมทําใหเชื้อไวรัสแพรกระจายไปสูคนอื่น


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 หลังจากไดรับเชื้อไวรัส ๑-๓ วัน จะมีไขสูง ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกลามเนื้อ ไอ เจ็บคอ โดยอาจมีอาการคลื่นไส อาเจียนและเบื่ออาหาร ผูปวยสวนใหญจะมีอาการ ไมรุนแรง และสามารถรักษา หายได ผูปวยโรคไขหวัดใหญจะมีไขสูง อาการ


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 วิธีปฏิบัติตนเมื่อมีอาการ ๑) เมื่อสงสัยวาเปนหรือมีอาการของโรค ควรใหพอแม ผูปกครองพาไปพบแพทย ดื่มน้ําสะอาดหรือ น้ําตมสุก ไมควรดื่ม น้ําเย็น ๒) เมื่อสงสัยวาปวยเปนโรคไขหวัดใหญ ควรรีบไปพบแพทย


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ๓) นอนหลับพักผอนใหเพียงพอ และหมผาใหรางกาย อบอุน รับประทานอาหารที่มีประโยชน เชน ผัก ผลไม และ ๔) อาหารที่ยอยงาย เชน ขาวตม โจก ควรเช็ดตัวเพื่อลดไข ซึ่งสามารถปฏิบัติได ดังนี้ •ควรใชผาขนหนูผืนเล็กชุบน้ําอุนหรือน้ําธรรมดา บิดหมาด ๆ พอควร ๕)


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 • เช็ดบริเวณใบหนาใหทั่ว แลววางพักไวที่หนาผากหรือ ซอกคอสักครู ทําซ้ํา ๓-๔ ครั้ง • ชุบน้ําแลวลูบบริเวณหนาอก พักไวสักครู • เช็ดบริเวณแขน แลวพักไวที่ขอพับและรักแร ทําซ้ํา ๓-๔ ครั้ง • เช็ดบริเวณขาโดยลูบขึ้นแลวพักไวที่ขอพับและขาหนีบ ทําซ้ํา ๓-๔ ครั้ง • ลูบเช็ดตัวบริเวณดานหลังถึงคอ จากนั้นเช็ดตัวใหแหง แลวสวมเสื้อผาที่สบายไมหนาหรือบางจนเกินไป


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 • การเช็ดตัวแตละครั้งควรเช็ดจากดานนอกเขาหาหัวใจ ควรเปลี่ยนน้ําบอย ๆ เพื่อรักษาอุณหภูมิใหคงที่ และ ควรใชเวลาในการเช็ดตัว ๑๐-๒๐ นาที ไมชาหรือเร็ว เกินไป


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 การปองกันการติดตอและแพรกระจายของโรค การใชชอนกลางในการรับประทานอาหาร ชวยปองกันโรคไขหวัดใหญ


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ๑) ไมใกลชิด หรือคลุกคลีกับผูปวย ไมใชสิ่งของ เครื่องใชสวนตัว เชน ผาเช็ดหนา ๒) ผาเช็ดตัว แกวน้ํา รวมกับผูอื่น ๓) ใชชอนกลางในการรับประทานอาหารทุกครั้ง


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ๔) หมั่นลางมือดวยสบูใหสะอาดและถูกวิธี ตามขั้นตอน ดังนี้ ๑. ฝามือถูกัน ๒. ฝามือถูหลังมือและถูซอกนิ้วมือ


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ๔. หลังนิ้วถูฝามือ ๓. ฝามือถูฝามือและนิ้วถูซอกนิ้ว ๕. ถูนิ้วหัวแมมือโดยรอบดวยฝามือ


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ๖. ปลายนิ้วถูขวางฝามือ ๗. ฝามือและนิ้วถูรอบขอมือ


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ๕) สวมหนากากอนามัยทุกครั้ง เมื่อตองใกลชิดผูปวย หรืออยูในชุมชนที่มีคนจํานวนมาก ผูปวยควรสวมหนากากอนามัย เมื่อตองอยูรวมกับผูอื่นและใช ผาปดปาก ปดจมูกทุกครั้งที่ไอ หรือจาม เพื่อไมใหเชื้อโรคแพร กระจายไปสูผูอื่น ๖) การสวมหนากากอนามัย เพื่อปองกันเชื้อโรคแพรกระจาย


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ๒.๒ โรคตาแดง เกิดจากเชื้อไวรัส โดยการใชมือหรือผาที่สกปรก (อานวา สก - กะ - ปรก) เช็ดหรือขยี้ตา การเลนน้ําที่สกปรก ทําใหตา ไดรับเชื้อโรค โรคตาแดงติดตอ กันไดงาย โดยการใชสิ่งของ รวมกับผูปวย สาเหตุและการติดตอ การใชเสื้อเช็ดหรือขยี้ตาจะทําใหเปนโรคตาแดง


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 มีอาการระคายเคืองตา ปวดตา แสบตา มีขี้ตามาก ลืมตา ไมขึ้น ถาโดนแสงแดดจะแสบตามากขึ้น ในรายที่เปนรุนแรงอาจ มีไขดวย อาการตาง ๆ เหลานี้เกิดขึ้นภายใน ๑-๒ วัน และเมื่อเปนตาแดง ที่ตาขางหนึ่งอาจจะลามไป ที่ตาอีกขางหนึ่งได อาการ ผูปวยจะมีอาการตาแดง และรูสึกปวดตา


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 วิธีปฏิบัติตนเมื่อมีอาการ ๑) ใหพอแม ผูปกครองพาไปพบแพทย เพื่อทําการรักษา อยางถูกตอง ลางมือใหสะอาดอยูเสมอ ไมขยี้ตา หรือเกาบริเวณตา ๒) เพราะอาการจะรุนแรงขึ้น ไมใชของใชสวนตัว เชน ผาเช็ดตัว ผาเช็ดหนา ๓) รวมกับผูอื่น


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ๔) ระวังไมใหตาโดนแสงแดด หรือฝุนละออง โดยใช ผากอซปดตาขางที่เปน งดการใชสายตาเปนเวลานาน ๆ พักสายตาโดยการ ๕) หลับตาเปนระยะ ๆ การใชผากอซปดตาเพื่อปองกันฝุนละอองเขาตา


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 การปองกันการติดตอและแพรกระจายของโรค ๑) ลางมือใหสะอาดอยูเสมอ ไมใชมือหรือผาที่ไมสะอาด เช็ดหรือขยี้ตา ไมใชสิ่งของเครื่องใชสวนตัว รวมกับผูอื่น และรักษา ความสะอาดสิ่งของ เครื่องใชสวนตัวของตนเอง อยูเสมอ เชน เสื้อผา ผาเช็ดตัว ผาเช็ดหนา การใช้ผ้าเช็ดหน้าที่สะอาดป้องกัน เชื้อโรคเข้าตา ๒)


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ๓) ไมเลนหรือคลุกคลีกับผูปวยโรคตาแดง ๔) ไมเลนน้ําในแมน้ําลําคลองที่สกปรก ๕) ผูปวยโรคตาแดง ควร หยุดเรียนอยูบาน และไม คลุกคลีหรือใชของใช รวมกับผูอื่น เพื่อปองกันไมให เพื่อน ๆ หรือคนที่ใกลชิดติด โรคตาแดง เมื่อเปนโรคตาแดงควรหยุดพัก รักษาตัวที่บานจนกวาจะหายดี


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ๒.๓ โรคไขเลือดออก เกิดจากเชื้อไวรัส และ ติดตอโดยมียุงลายเปนพาหะ นําโรค ซึ่งยุงลายมักจะหากิน ในเวลากลางวันและกัดผูปวย ที่เปนโรคไขเลือดออก แลวนํา เชื้อไขเลือดออกไปแพรใหกับ ผูอื่น สาเหตุและการติดตอ ยุงลายเปนพาหะนําโรคไขเลือดออก


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 การติดตอของโรคไขเลือดออก ยุงลายตัวเมีย ยุงลายกัดผูปวย ที่เปนไขเลือดออก ยุงลายมีเชื้อไขเลือดออกกัดคนปกติ คนปกติปวย เปนไขเลือดออก การติดตอของโรคไขเลือดออก


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 มีไขขึ้นสูงอยางรวดเร็ว และนานหลายวัน เบื่ออาหาร ปวดศีรษะ คลื่นไส อาเจียน ปวดทอง อาจมีจุดเลือดเล็ก ๆ ตาม รางกาย อาจถายอุจจาระเปนสีดําหรือมีเลือดปนออกมา ในชวง ระยะไขลดผูปวยจะมีอาการ กระสับกระสาย มือเทาเย็น รอบปากเขียว อาจมีอาการ ปวดทองมาก กอนจะมี อาการช็อก ชีพจรเบาเร็ว ความดันต่ํา อาการ ผูปวยโรคไขเลือดออกจะมีจุดแดงขึ้นที่ผิวหนัง


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ๑) หากมีไขสูงติดตอกัน ๒-๓ วัน และมีอาการคลายอาการของ โรคไขเลือดออก ไมควร กินยาลดไขเอง และควร รีบไปพบแพทย ๒) รับประทานอาหารที่มี ประโยชนและพักผอนให เพียงพอ ๓) ปฏิบัติตนตามคําแนะนํา ของแพทยอยางเครงครัด วิธีการปฏิบัติตนเมื่อมีอาการ การรับประทานอาหารที่มีประโยชน จะทําใหหายเจ็บปวยไดเร็ว


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 การปองกันการติดตอและแพรกระจายของโรค ๑) ระวังไมใหถูกยุงลายกัด โดยไมเขาไปเลนในที่มืด อับทึบ และ ในหองที่ไมมีมุงลวด ควรนอนกางมุงเสมอ ๒) ทําลายแหลงน้ําขังซึ่งเปน แหลงเพาะพันธุยุงลายใน บริเวณบาน โรงเรียนและ ชุมชน ใสเกลือหรือทรายเคมี อะเบท (abate) ในภาชนะ ที่มีน้ําขังในบาน เชน แจกัน ดอกไม จานรองขาตูกับขาว เพื่อปองกันยุงลายมาวางไข การสํารวจและทําลายแหลงเพาะพันธุยุงลาย ควรทําทุกสัปดาห


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ๓) ปฏิบัติตามมาตรการ ๕ ป ของกระทรวงสาธารณสุข ดังนี้ เปลี่ยน คือ เปลี่ยนน้ําในภาชนะ ที่มีน้ําขังเสมอ เพื่อปองกันยุงลาย วางไข เชน แจกันดอกไม จานรอง กระถางตนไม ๒ ปด คือ ปดฝาภาชนะที่มีน้ําขัง เชน โอง บอซีเมนตในหองน้ํา ๑


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ปรับ คือ ปรับสิ่งแวดลอม ภายในบานใหโปรง สวาง โลง เชน ตัดหญาที่รก ตัดแตงกิ่งตนไม เปดหนาตางในบานใหสวาง ๔ ปลอย คือ ปลอยปลา เชน ปลาสอด ปลาหางนกยูง ลงใน ภาชนะมีน้ําที่ไมสามารถปดฝาได เชน อางบัว บอปลา ๓


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ๕ ปฏิบัติคือ ปฏิบัติการกําจัดแหลงเพาะพันธุยุงลาย ทุก ๆ ๗ วัน


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ๒.๔ โรคหัด สาเหตุและการติดตอ เปนโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส ติดตอไดโดยการไอหรือจาม รดกัน รวมทั้งการสัมผัสกับน้ํามูก น้ําลาย หรือเสมหะของผูปวย จากการใชสิ่งของเครื่องใชสวนตัวรวมกับ ผูปวย หรือเลนคลุกคลีใกลชิดกับผูปวยโรคหัด


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 การไอหรือจามโดยไมปดปาก การดื่มน้ําแกวเดียวกัน และการใชผาเช็ดหนาผาเช็ดตัวรวมกันทําใหติดโรคหัด


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 อาการ เริ่มดวยอาการมีไข น้ํามูกไหล ไอ ตาแดง มีขี้ตามาก ตาแฉะ สูแสงไมคอยได มีจุดสีขาวเล็ก ๆ ในปาก หลังจากนั้น ๓-๕ วัน จะมีผื่นนูนแดงขึ้นที่ ใบหนา ลําตัว แขน ขา ประมาณ ๒-๓ วัน ไขจะเริ่มลดลง และผื่น จะเปลี่ยนเปนสีแดงคล้ํา ใชเวลา ประมาณ ๒ สัปดาห จึงจะ จางหายไป ผูปวยโรคหัดจะมีผื่นขึ้นที่ใบหนา ลําตัว


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 วิธีปฏิบัติตนเมื่อมีอาการ ๑) รับประทานยาลดไข และ หมั่นเช็ดตัวเปนระยะ ถาไขไมลด ๒) นอนพักผอนใหเพียงพอ ๓) ดื่มน้ํามาก ๆ เพื่อปองกันไมใหรางกายขาดน้ํา รับประทานอาหารออน ๆ ที่มีคุณคา เชน โจกใสไข การเช็ดตัวเพื่อใหไขลดลง


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ๔) อยูในที่ที่มีแสงสวางนอย เพื่อลดอาการระคายเคืองตา ๕) ใชคาลาไมน (calamine) ทาผิว เพื่อบรรเทาอาการคัน การทาคาลาไมนเพื่อบรรเทาอาการคันจากผดผื่น


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 การปองกันการติดตอและแพรกระจายของโรค แยกผูปวยและแยกสิ่งของ เครื่องใชตาง ๆ ของผูปวย ไมให ปะปนกับผูอื่น ๑ ไมใกลชิดกับผูปวยโรคหัด จนกวา จะแนใจวาหายแลว ๒


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 เมื่อหายปวยควรทําความ สะอาดเครื่องนุงหม ที่นอน ใหสะอาดอยูเสมอ ๓ ดูแลรักษารางกายใหแข็งแรง ดวยการรับประทานอาหาร ที่มีประโยชนและพักผอน อยางเพียงพอ ๔


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ๒.๕ โรคอีสุกอีใส สาเหตุและการติดตอ เกิดจากเชื้อไวรัส ติดตอกันไดจากการไอ จาม หรือหายใจ รดกัน การสัมผัสรางกายผูปวย โดยตรง หรือการใชสิ่งของ รวมกับผูปวย การเช็ดผาเช็ดตัวรวมกับผูที่เปนโรคอีสุกอีใส จะทําใหติดโรคอีสุกอีใสได


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 อาการ มีไขต่ํา เบื่ออาหาร ออนเพลีย ปวดเมื่อยตามรางกาย มีผื่นแดงราบขึ้นตามลําตัว แผนหลัง ใบหนา รวมทั้งแขน ขา จากนั้นตุมแดงราบจะ กลายเปนตุมนูนใสมีอาการคัน และตกสะเก็ดในที่สุด เมื่อเปนโรคอีสุกอีใส ผูปวยจะมีตุมนูนใส ขึ้นที่ใบหนาและลําตัว


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 วิธีปฏิบัติตนเมื่อมีอาการ เมื่อมีไขสูงใหรับประทานยาพาราเซตามอลเพื่อ ลดไข ๑ พักผอนอยางเพียงพอ และดื่มน้ํามาก ๆ ๒


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ๓ ดูแลรักษาผิวหนังใหสะอาดอยูเสมอ ๕ ไมแกะหรือเกาตุมเพราะจะทําใหติดเชื้อได ถามีอาการคันมาก ๆ ควรใช ยาแกคันเพื่อลดอาการคัน ๔


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 การปองกันการติดตอและแพรกระจายของโรค ไมเลนคลุกคลีกับผูปวย เพราะจะทําใหติดโรคได ๑ ดูแลรักษารางกายใหแข็งแรง อยูเสมอ พักผอนใหเพียงพอ ๒


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ผูปวยควรหลีกเลี่ยงการเขาไปใกลชิดกับผูอื่น และ ปดปากหรือจมูกทุกครั้ง เมื่อ ไอหรือจาม เพื่อปองกันการ แพรกระจายของโรค ๓ ฉีดวัคซีนเพื่อปองกันโรค อีสุกอีใส ๔


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 โรคติดตอ สามารถปองกันไดดวยการเรียนรูและปฏิบัติตน ในการปองกันโรคอยางถูกตอง รูจักดูแลรักษาสุขภาพของ ตนเองใหแข็งแรงอยูเสมอ


Click to View FlipBook Version