The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 หน่วยที่ 1 การเจริญเติบโตของมนุษย์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by comroom2559, 2023-12-16 23:36:31

สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 หน่วยที่ 1 การเจริญเติบโตของมนุษย์

สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 หน่วยที่ 1 การเจริญเติบโตของมนุษย์

สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ตัวชี้วัด ๑. อธิบายลักษณะและการเจริญเติบโตของรางกายมนุษย (พ ๑.๑ ป.๓/๑) ๒. เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของตนเองกับเกณฑมาตรฐาน (พ ๑.๑ ป.๓/๒) ๓. ระบุปจจัยที่มีผลตอการเจริญเติบโต (พ ๑.๑ ป.๓/๓) ๑ การเจริญเติบโตของมนุษย หนวยการเรียนรูที่


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 การปฏิบัติตนเพื่อใหมีลักษณะ และการเจริญเติบโตตามวัย ผังสาระการเรียนรู ลักษณะและการเจริญเติบโต ของเด็กวัยเรียน ลักษณะรูปราง น้ําหนักและสวนสูง ลักษณะรูปราง น้ําหนัก สวนสูง ลักษณะและการเจริญเติบโตของรางกายมนุษย การเปรียบเทียบ น้ําหนักและสวนสูง กับเกณฑมาตรฐาน การชั่งน้ําหนัก และวัดสวนสูง การเปรียบเทียบการเจริญเติบโต ของตนเองกับเกณฑมาตรฐาน ปจจัยที่มีผลตอการเจริญเติบโต พันธุกรรม อากาศ การออกกําลังกาย อาหาร น้ํา การพักผอน การเจริญเติบโต ของมนุษย


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ๑ ลักษณะและการเจริญเติบโตของรางกายมนุษย . เมื่อเจริญเติบโตขึ้น รางกายของมนุษยมีการเปลี่ยนแปลง ไปตามเพศและวัย ทําใหมีลักษณะรูปราง น้ําหนักและสวนสูง แตกตางกัน ดังนี้


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ๑.๑ ลักษณะรูปราง เมื่อเจริญเติบโตขึ้น คนเราจะมีลักษณะรูปราง เปลี่ยนแปลงไป ตามเพศและวัย ทําใหเกิดความแตกตางกัน เชน เด็กจะตัวเล็กกวาผูใหญ นอกจากเพศและวัยที่ทํา ใหมีลักษณะรูปรางแตกตางกันแลว การถายทอดลักษณะ จากพอแมสูลูกก็มีสวนสําคัญที่ทําใหคนเรามีลักษณะรูปราง แตกตางกัน


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 เมื่อเจริญเติบโตขึ้น ลักษณะรูปรางจะเปลี่ยนไปตามวัย


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ๑.๒ น้ําหนัก เมื่อทารกเจริญเติบโตขึ้น รางกายจะมีน้ําหนักตัว เพิ่มขึ้น ในวัยเดียวกันโดยสวนใหญเพศชายจะมีน้ําหนัก มากกวาเพศหญิง นอกจากนี้การปฏิบัติตน ก็มีผลตอน้ําหนักตัว เชน คนที่รับประทานอาหารที่มีไขมันสูงหรือของหวานเปน ประจํา จะมีน้ําหนักตัวมากหรืออวน คนที่เบื่ออาหาร รับประทานอาหารไดนอยจะมีน้ําหนักตัวนอยหรือผอม ซึ่งเรา สามารถทราบน้ําหนักของตนเองไดโดยการชั่งน้ําหนัก


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 การชั่งน้ําหนักทําใหทราบการเจริญเติบโตของรางกาย


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ๑.๓ สวนสูง รางกายของเราจะสูงขึ้นตามวัยและเริ่มคงที่เมื่อถึงวัย ผูใหญ ในวัยเดียวกันโดยสวนใหญเพศชายจะมีสวนสูง มากกวาเพศหญิง ซึ่งนอกจากเพศและวัยแลว สวนสูงของพอ แมก็มีผลตอสวนสูงของลูก เพราะหากพอแมตัวสูง ลูกก็มี โอกาสที่จะตัวสูง แตสิ่งสําคัญที่ชวยใหเราตัวสูงขึ้นได คือ การออกกําลังกายที่เหมาะสมอยางสม่ําเสมอ การรับประทาน อาหารที่มีประโยชน เชน ไข นม ปลาตัวเล็ก ผักตาง ๆ ซึ่งเรา สามารถทราบสวนสูงของตนเองไดโดยการวัดสวนสูง


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 การวัดสวนสูงทําใหทราบการเจริญเติบโตของรางกาย


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 เด็กวัยเรียน คือ ชวงอายุ ๖-๑๒ ป มีลักษณะและ การเจริญเติบโต ดังนี้ ๒ ลักษณะและการเจริญเติบโตของเด็กวัยเรียน . ลักษณะของเด็กผูหญิงและเด็กชาย ในชวงวัยเรียน


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ๒.๑ ลักษณะรูปราง ชวง ๖-๙ ป เด็กชายและเด็กหญิง จะมีลักษณะรูปราง ไมแตกตางกันมากนัก แตเมื่อเขาสูชวง ๙-๑๒ ป ทั้งเด็กชาย และเด็กหญิงจะมีลักษณะทางเพศที่ชัดเจนมากขึ้น เด็กหญิง เริ่มมีหนาอกใหญขึ้น เอวเล็กลง สะโพกผาย สวนเด็กชาย จะมีกลามเนื้อแข็งแรง ไหลกวางขึ้น และสวนใหญเด็กหญิง จะตัวโตกวาเด็กชาย


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ๒.๒ น้ําหนักและสวนสูง ชวง ๖-๙ ป เด็กชายจะมีน้ําหนักและสวนสูงมากกวา เด็กหญิง แตเมื่ออายุ ๙-๑๒ ป เด็กหญิงจะมีน้ําหนักและ สวนสูงมากกวาเด็กชาย จากลักษณะรูปรางและการเจริญเติบโตดังกลาว ทําใหเด็กวัยเรียน มีความคลองแคลววองไว ชอบเคลื่อนไหว ไมชอบอยูนิ่ง ชอบการพูดคุยและเลนกับกลุมเพื่อน


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 การเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของตนเอง กับเกณฑมาตรฐาน ๓. การเจริญเติบโตของรางกาย ตรวจสอบไดโดยการชั่ง น้ําหนักและวัดสวนสูง แลวนําผลไปเปรียบเทียบ กับเกณฑมาตรฐาน ซึ่งจะทําใหทราบวา เรามี การเจริญเติบโตเปนไปตามวัยหรือไม


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 การชั่งน้ําหนักและวัดสวนสูง ทําใหทราบการเจริญเติบโตของรางกาย


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ๓.๑ การชั่งน้ําหนักและวัดสวนสูง ๑) ใชเครื่องชั่งน้ําหนัก และเครื่องวัดสวนสูงที่ ไดมาตรฐาน และควรใชเครื่องชั่งน้ําหนัก และเครื่องวัดสวนสูงเครื่องเดียวกันทุกครั้ง เพื่อใหเปนมาตรฐานเดียวกัน


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 การชั่งน้ําหนักใหยืนตัวตรง วางเทา บนเครื่องชั่งใหเต็มเทาโดยไมสวมรองเทา และไมใสสิ่งของที่มีน้ําหนักไวในกระเปา เสื้อผา ใหเพื่อนชวยอานคาน้ําหนักที่ชั่งได จากดานบนในแนวตรง และจดบันทึกไว ๒)


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 การวัดสวนสูง ตองยืนตัวตรง ศีรษะ หลัง สะโพก และสนเทาชิดผนังหรือแถบวัดสวนสูง ไมเงยหนา หรือกมหนา เลื่อนไมวัดระดับจนชิด สวนบน ของศีรษะในลักษณะขนานกับพื้น ใหเพื่อนอาน คาสวนสูงที่วัดได และจดบันทึกไว ๓)


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ๓.๒ การเปรียบเทียบน้ําหนักและสวนสูง กับเกณฑมาตรฐาน เมื่อเราทราบน้ําหนักและสวนสูงแลว ใหนําไป เปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานการเจริญเติบโตของเพศชาย และเพศหญิง ดังนี้


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 กราฟแสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโต น้ําหนักตามเกณฑสวนสูง ของเพศชาย อายุ ๕-๑๘ ป


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 กราฟแสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโต น้ําหนักตามเกณฑอายุ และสวนสูงตามเกณฑอายุ ของเพศชาย อายุ ๕-๑๘ ป


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 กราฟแสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโต น้ําหนักตามเกณฑสวนสูง ของเพศหญิง อายุ ๕-๑๘ ป


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 กราฟแสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโต น้ําหนักตามเกณฑอายุ และสวนสูงตามเกณฑอายุของเพศหญิง อายุ ๕-๑๘ ป


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ถาเปรียบเทียบน้ําหนัก และสวนสูงของตนเองกับ เกณฑมาตรฐาน แลวเปนไป ตามเกณฑ แสดงวาเรามีการ เจริญเติบโตและพัฒนาการ (อานวา พัด - ทะ - นา - กาน) ทางรางกายเหมาะสมตามวัย


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 การที่เราจะเจริญเติบโตไดเปนปกตินั้น รางกายจําเปนตอง ไดรับปจจัยที่สงผลตอการเจริญเติบโต ดังนี้ ๔. ปจจัยที่มีผลตอการเจริญเติบโต ๔.๑ พันธุกรรม พันธุกรรมเปนการถายทอดลักษณะตาง ๆ จากบรรพบุรุษ ไปสูลูกหลาน ทําใหมนุษยมีลักษณะการเจริญเติบโตที่แตกตาง กันออกไป เชน สัดสวนของรางกาย ความสูง เพศ


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ๔.๒ อากาศ อากาศจําเปนตอการดํารงชีวิตและการเจริญเติบโต อากาศที่เราหายใจเขาไปจะใชในกระบวนการทํางานตาง ๆ ของรางกาย เมื่อไดรับอากาศที่บริสุทธิ์ (อานวา บอ - ริ - สุด) ทําใหรางกายมีการเจริญเติบโตที่ดี แตหากไดรับอากาศที่ไม บริสุทธิ์ เชน มีฝุนละออง มีสารพิษ (อานวา สาน - พิด) จะทําใหรางกายเกิด การเจ็บปวย การอยูในที่ที่มีอากาศดี จะทําใหรูสึกสดชื่น


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ๔.๓ น้ํา น้ําเปนสวนประกอบสําคัญ ของอวัยวะตาง ๆ ในรางกาย เราควร ดื่มน้ําสะอาดอยางนอยวันละ ๘ แกว เพื่อใหอวัยวะตาง ๆ ทํางานเปนปกติ รางกายเจริญเติบโตแข็งแรง ผิวพรรณ สดใส การดื่มน้ําสะอาดอยางเพียงพอ ชวยให อวัยวะในรางกายทํางานเปนปกติ


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ๔.๔ อาหาร เราจําเปนตองรับประทานอาหาร เพื่อใหรางกายไดรับ สารอาหารอยางเพียงพอเพื่อใชในการเจริญเติบโต และ ซอมแซมสวนที่สึกหรอของรางกาย อาหารที่มีประโยชนตอ รางกาย คือ อาหารหลัก ๕ หมู


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 อาหารหมูที่ ๑ เนื้อสัตว นม ไข ถั่วเมล็ดแหง สรางเสริมการเจริญเติบโต และซอมแซมสวนที่สึกหรอ ของรางกาย อาหารหมูที่ ๒ ขาว แปง น้ําตาล ชวยใหรางกายทํางาน เปนปกติ ใหพลังงาน แกรางกาย อาหารหมูที่ ๓ ผักตาง ๆ สราง ภูมิตานทานโรค ชวยใหรางกาย แข็งแรง อาหารหมูที่ ๔ ผลไมตาง ๆ สราง ภูมิตานทานโรค ชวยใหรางกาย ทํางานเปนปกติ อาหารหมูที่ ๕ น้ํามันหรือไขมันจากพืชและสัตว ใหพลังงานและความอบอุนแกรางกาย


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 การออกกําลังกายที่เหมาะสมกับนักเรียน ไดแก กิจกรรมที่เนนความสนุกสนานคลองตัว สรางเสริมความ แข็งแรงของกลามเนื้อและระบบการทํางานของรางกาย เลนได งายไมตองใชอุปกรณมากนัก เชน การวิ่ง เลนเกม กายบริหาร ประกอบจังหวะ กีฬาตาง ๆ เชน ฟุตบอล วายน้ํา บาสเกตบอล โดยใชเวลาประมาณ ๒๐-๖๐ นาที และควรออกกําลังกาย ๔.๕ การออกกําลังกาย


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 การเลนเกมเปนการออกกําลังกาย ที่ทําใหรางกายแข็งแรง ๓-๕ วัน ตอสัปดาห การออกกําลังกายตองคํานึงถึงความ ปลอดภัยเปนสําคัญ เมื่อมีไขไมสบาย เกิดอาการบาดเจ็บหรือ ความผิดปกติของรางกาย ไมควรออกกําลังกาย ควรหลีกเลี่ยง กิจกรรมที่มีการปะทะกระทบ กระเทือนรุนแรง สภาพ อากาศรอนจนเกินไปหรือ มีแสงแดดมาก


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 การพักผอนเปนการหยุดพักรางกายจากการทํากิจกรรม ในชีวิตประจําวัน การพักผอนที่จําเปน คือ การนอนหลับอยาง เพียงพอ เด็กในวัยเรียนควรนอนหลับอยางนอยวันละ ๘ ชั่วโมง เพื่อใหรางกายรูสึกสดชื่น ไมออนเพลีย นอกจากนี้ ในเวลาวางควรทํากิจกรรมที่ชวยใหอารมณดี เชน ฟงเพลง อานนิทาน ๔.๖ การพักผอน


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 การไดรับปจจัยตาง ๆ เหลานี้อยางเหมาะสม จะทําให รางกายมีการเจริญเติบโตที่ดี มีสุขภาพที่แข็งแรง ไมเจ็บปวย และดํารงชีวิตไดอยางมีความสุข การนอนหลับพักผอนอยางเพียงพอ ทําใหรางกายเจริญเติบโตตามวัย


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 การปฏิบัติตนเพื่อใหมีลักษณะ และการเจริญเติบโตตามวัย ๕. การปฏิบัติตนเพื่อใหมีลักษณะและการเจริญเติบโตตามวัย รับประทานอาหารที่มีประโยชน ครบ ๕ หมู และดื่มน้ําใหเพียงพอ อยางนอยวันละ ๘ แกว ๑)


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 นอนหลับพักผอนใหเพียงพอ เด็กวัยเรียนควรนอนหลับ อยางนอยวันละ ๘ ชั่วโมง ๒) ออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอ ๓ เชน เลนเกม เลนกีฬา )


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.3 ทําจิตใจใหแจมใส ดวยการ ทํากิจกรรมที่ชวยผอนคลาย ในเวลาวาง เชน ปลูกตนไม อานหนังสือ เลี้ยงสัตวเลี้ยง ๔)


Click to View FlipBook Version