The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 หน่วยที่ 12 การป้องกันอุบัติเหตุและอัคคีภัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by comroom2559, 2023-12-15 11:22:07

สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 หน่วยที่ 12 การป้องกันอุบัติเหตุและอัคคีภัย

สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 หน่วยที่ 12 การป้องกันอุบัติเหตุและอัคคีภัย

๑๒ หนวยการเรียนรูที่ การป้องกัน อ ุ บัติเหต ุ และอัคคีภัย ๑. ปฏิบัติตนในการปองกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นทางน้ํา และทางบก (พ ๕.๑ ป. ๒/๑) ๒. ปฏิบัติตนตามสัญลักษณและปายเตือนของ สิ่งของหรือสถานที่ที่เปนอันตราย (พ ๕.๑ ป. ๒/๔) ๓. อธิบายสาเหตุ อันตราย วิธีปองกันอัคคีภัยและแสดง การหนีไฟ (พ ๕.๑ ป. ๒/๕) ตัวชี้วัด สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2


ผังสาระการเรียนรู สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 การปองกันอุบัติเหตุและอัคคีภัย การปองกันอัคคีภัย อัคคีภัย สาเหตุของการเกิดอัคคีภัย อันตรายที่เกิดจากอัคคีภัย อุบัติเหตุในการเดินทาง สัญลักษณและปายเตือนสิ่งของ หรือสถานที่อันตราย การเดินทางทางบก สัญลักษณและปายเตือนอันตราย การเดินทางทางนํ้า การชวยเหลือตนเอง เบื้องตนขณะเกิดอัคคีภัย : การหนีไฟ การหนีไฟในโรงเรียน


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 อุบัติเหตุในการเดินทาง อุบัติเหตุหมายถึง เหตุการณที่เกิดขึ้นอยางฉับพลัน โดยไมรูลวงหนา ทําใหเกิดการบาดเจ็บหรือเสียชีวิต และทรัพยสิน อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นบอย คือ อุบัติเหตุในการเดินทาง


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 อุบัติเหตุในการเดินทาง จากภาพทําใหเกิดความเสียหายอยางไร และเพื่อน ๆ คิดวาจะปองกันอุบัติเหตุ ในภาพไดอยางไร


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 ๑. อุบัติเหตุจากการเดินทางทางบก การเดินทางทางบก หมายถึง การเดินทางบนถนนหรือ การเดินทางโดยการใชพาหนะ เชน รถยนต รถไฟ รถจักรยานยนต รถจักรยาน รถไฟฟา อุบัติเหตุจากการเดินทาง ทางบกที่พบไดบอย เชน รถชนกัน รถพลิกคว่ํา รถชนคน


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 สาเหตุของอุบัติเหตุจากการเดินทางทางบก ๑. ความประมาทในการใชรถ ใชถนน เชน หยอกลอเลน กันระหวางขามถนน ยืนรอ รถไฟฟาลํ้าเสนเตือน


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 ๒. ทําผิดกฎจราจร เชน ขับรถฝาไฟแดง ไมขามถนน บนทางมาลายหรือสะพานลอย หรือขามถนนในขณะที่ ไฟทางขามยังไมเปนสีเขียว ๓. พาหนะหรือถนนที่ใชเดินทางชํารุดเสียหาย


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 ๔. ผูขับขี่มึนเมา เจ็บปวย หรืองวงนอน ๕. สภาพดินฟาอากาศ เชน ฝนตกหนักทําใหถนนลื่น หมอกควันทําใหผูขับขี่มองไมเห็นทางหรือสิ่งกีดขวาง


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 การปองกันอุบัติเหตุจากการเดินทางทางบก ๑. เดินบนทางเทาและเดินชิดดานในทางเดิน ๑.๑ การปองกันอุบัติเหตุจากการเดินเทา ๒. เดินริมถนนชิดขวามือของตนเอง เพื่อจะไดมองเห็น รถที่วิ่งสวนมา


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 ๓. ไมหยอกลอหรือเลนกันใน ระหวางเดิน และควรเดิน แถวเรียงเดี่ยว ๔. ขามถนนตรงทางมาลายหรือ ใชสะพานลอย การขามถนน ที่ไมมีทางมาลายหรือสะพานลอย ตองปฏิบัติตามขั้นตอนดังนี้


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 ● มองทางขวา ● มองทางซาย ● มองทางขวาอีกครั้ง ● หากไมมีรถแลว จึงขามถนนได การขามถนนตองขามดวยความ ระมัดระวังและไมประมาท


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 ๕. เมื่อตองเดินเทาในเวลากลางคืนควร ใชไฟฉายและสวมเสื้อที่มีสีสวาง มองเห็นไดชัดเจน เชน สีขาว สีเหลือง ๖. การขามถนนบริเวณทางแยก ตองรอสัญญาณไฟคนขาม จึงเดินขามไปได การขามถนนตองรอให สัญญาณไฟคนขามเปนสีเขียว


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 ๑. สวมหมวกนิรภัย และติดแถบสะทอนแสง หรือไฟที่ทายรถ ๑.๒ การปองกันอุบัติเหตุจากการ ถีบรถจักรยาน ๒. ถีบรถจักรยานในชองเฉพาะสําหรับรถจักรยาน หรือถีบชิดริมถนนดานใน


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 ๔. เมื่อถึงทางแยกควรหยุดมองใหแนใจวาไมมีรถ จึงถีบรถจักรยานขามไป ๓. ถีบรถจักรยานดวยความระมัดระวัง ไมผาดโผน และไมถีบรถจักรยานดวยความเร็ว


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 ๖. นําสิ่งของใสตะกราใหเรียบรอย หรือใชสายรัด กับเบาะทายใหเรียบรอยกอนถีบรถจักรยาน ๗. ใหสัญญาณมือกับรถที่มาขางหนาหรือขางหลังทุกครั้ง ดังนี้


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 เลี้ยวขวา ชะลอ หยุด ใหแซง เลี้ยวซาย


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 อนุรักษสิ่งแวดลอม การเดินเทาหรือถีบรถจักรยานไป โรงเรียนหรือสถานที่ที่อยูใกล เปน การชวยลดควันพิษ ทําใหอากาศ บริสุทธิ์ และมีสภาพแวดลอมที่ดี


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 ๑. สวมหมวกนิรภัย (หมวกกันน็อก) ทุกครั้ง ๑.๓ การปองกันอุบัติเหตุจาก การซอนทายรถจักรยานยนต ๒. ไมหิ้วกระเปาหรือถือสิ่งของไวในมือ ควรใสตะกราให เรียบรอย


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 ๔. วางเทาบนที่พักเทาหรือกางเทาออกดานขางเพื่อปองกัน เทาเขาไปในซี่ลอรถ


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 ๑. เมื่อนั่งรถยนตตอง คาดเข็มขัดนิรภัย ทุกครั้ง ๑.๔ การปองกันอุบัติเหตุจากการเดินทางโดย รถยนต รถประจําทาง และรถไฟ ผูขับและผูโดยสารรถยนตตองคาดเข็มขัดนิรภัย


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 ๓. เมื่อขึ้นรถประจําทางควรหาที่นั่งใหเรียบรอย หากตองยืนควรหาที่ยึดเกาะใหมั่นคง ๔. ไมยื่นแขน ขา หรือศีรษะออกนอกตัวรถประจําทาง ๒. ขึ้นและลงรถประจําทางเมื่อรถจอดสนิท และไมแยงกันขึ้น-ลงรถ


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 ๕. ควรนั่งใหเรียบรอย ไมยื่นแขนออกนอกตัวรถ ไมยืนหรือหอยโหนบริเวณ ประตูรถ เพราะจะทําให พลัดตกจากรถได การโดยสารรถประจําทาง ตองนั่งใหเรียบรอย


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 ๑. ขณะขึ้น-ลงบันไดเลื่อนบนสถานีรถไฟฟา ตองจับราวใหมั่นคง ๑.๕ การปองกันอุบัติเหตุจาก การเดินทางโดยรถไฟฟา ๒. ยืนรอรถไฟฟาหลัง เสนสีเหลืองและไมชะโงกหนามอง รถไฟฟาหรือรางรถไฟฟา


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 รถไฟฟา เขา-ออกรถไฟฟา อยางเปนระเบียบ


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 ๓. ควรยืนดานขางประตูทางเขา-ออกรถไฟฟาและ ใหผูโดยสารดานในรถออกมากอนแลวจึงเขาไป ๔. เมื่อไดยินสัญญาณปดประตู ไมวิ่งเขาสูประตูรถ ใหรอขบวนตอไป เพราะอาจถูกประตูหนีบได ๕. หาที่นั่งหรือที่ยึดเกาะใหมั่นคง และไมวิ่งเลนบนขบวน รถไฟฟา


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 ทราบหรือไมวาทางรถไฟสายแรก ของประเทศไทยสรางขึ้นเมื่อใด คําตอบ : ทางรถไฟสายแรกของ ประเทศไทยสรางขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๕ เปนเสนทางรถไฟจากกรุงเทพฯ ถึง นครราชสีมา จุดประกายความรู


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 ๒ อุบัติเหตุจากการเดินทางทางนํ้า . การเดินทางทางน้ํา หมายถึง การเดินทางโดยใชเรือเปน พาหนะ ทั้งในแมน้ําลําคลอง หรือการเดินทางในทะเล อุบัติเหตุจากการเดินทางทางน้ําที่พบไดบอย เชน เรือลม ทาเทียบเรือลม เรือชนฝง


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 สาเหตุของอุบัติเหตุจากการเดินทางทางนํ้า ๑. ความประมาทของผูขับเรือ เชน ขับเรือดวยความเร็ว ขับเรือ ขณะเมาสุรา ๒. การบรรทุกผูโดยสารเกินนํ้าหนัก ของเรือหรือทาเทียบเรือ


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 ๓. ความประมาทของผูโดยสาร เชน วิ่งขึ้น-ลงเรือ นั่งบริเวณริมขอบเรือ ๔. เรือหรือทาเทียบเรือชํารุด


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 การปองกันอุบัติเหตุจากการเดินทางทางนํ้า การรอเรือบนทาเทียบเรือ ๑. ไมลงเรือที่มีผูโดยสาร เต็มหรือลนลําแลว


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 การปองกันอุบัติเหตุจากการเดินทางทางนํ้า การรอเรือบนทาเทียบเรือ


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 การปองกันอุบัติเหตุจากการเดินทางทางนํ้า การรอเรือบนทาเทียบเรือ


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 ๔. สวมเสื้อชูชีพหรือนั่งและยืน บริเวณที่ใกลเสื้อชูชีพหรือ หวงยางบนเรือ เพราะหาก เกิดเหตุการณฉุกเฉินจะได หยิบใชไดทันที ๕. ขึ้นหรือลงเรือเมื่อเรือ จอดเทียบทาเรียบรอยแลว เมื่อลงเรือควรสวมเสื้อชูชีพ


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 การโดยสารเรือขามแมนํ้าหรือเดินทางสั้น ๆ โดยปกติ จะไมสวมเสื้อชูชีพ ผูเดินทางจึงควรสังเกตและนั่งหรือยืน บริเวณใกลเสื้อชูชีพหรือหวงยาง และตองหัดวายนํ้าใหเปน ปลอดภัยไวกอน


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 ตํารวจจราจร คือ ผูทําหนาที่ อํานวยความสะดวกในการเดินทาง บนทองถนน คอยใหคําแนะนํา ตักเตือนและจับกุมผูที่กระทําผิด กฎหมายจราจร


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 เสียบปลั๊ก หลายอันในเตารับ เปดเตารีดทิ้งไว สายไฟชํารุด ลองดูภาพ เพื่อน ๆ คิดวา อาจทําใหเกิดเหตุการณอะไรขึ้น


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 อัคคีภัย อัคคีภัย (อานวา อัก-คี-ไพ) หมายถึง อันตรายที่เกิดจากไฟ ลุกลามและลุกไหมอยางตอเนื่อง หรือที่เรียกวา ไฟไหม การเกิดอัคคีภัย


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 ๑. อันตรายที่เกิดจากอัคคีภัย อัคคีภัยหรือไฟไหม ทําใหเกิดการบาดเจ็บ เสียชีวิต และทรัพยสินที่พักอาศัยและอาคารบานเรือนเกิด ความเสียหาย ทําใหคนไรที่อยูอาศัย


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 ๒. สาเหตุของการเกิดอัคคีภัย ๑. สายไฟฟาภายในบานเกาชํารุด และไฟฟาลัดวงจร (อานวา ลัด-วง-จอน) ๒. เสียบปลั๊กเครื่องใชไฟฟาหลายชนิดในเตารับอันเดียว ๓. ความประมาทในการใชอุปกรณและเครื่องใชไฟฟา


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 ๔. แกสหุงตมระเบิด ๕. เผาขยะ และหญาแหงในบริเวณบาน โดยไมเฝาระวัง ๖. จุดธูปเทียนทิ้งไว ไมดับใหสนิทกอนออกจากบาน หรือกอนเขานอน ๗. การเลนสิ่งของที่เกี่ยวกับไฟหรือวัตถุไวไฟของเด็ก เชน ดอกไมไฟ


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 ๓. การปองกันอัคคีภัย ๑. เมื่อใชอุปกรณไฟฟาเสร็จแลวควรถอดปลั๊กทุกครั้ง ๒. ไมเสียบปลั๊กเครื่องใชไฟฟาหลาย ๆ อันในเตารับ อันเดียว ๓. เมื่อใชแกสหุงตมเสร็จแลวควรปดหัวแกสใหสนิท ๔. ไมวางวัตถุไวไฟใกลกับเปลวเพลิง


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 วิธีจับตัวปลั๊กเครื่องใชไฟฟา ที่ถูกตอง


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 ๕. เตรียมภาชนะใสนํ้าไวในบาน เพื่อปองกันการลุกลาม ของไฟ ๖. ตรวจสอบสภาพสายไฟฟาและเครื่องใชไฟฟาอยูเสมอ ๗. ติดตั้งเครื่องดับเพลิงเบื้องตนไวภายในอาคารบานเรือน ๘. ไมควรจุดธูปเทียน ยากันยุง หรือตะเกียงทิ้งไว ควรดับให สนิทกอนออกจากบาน หรือกอนเขานอน


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 ๙. ไมเลนไมขีดไฟ ไฟแช็ก ดอกไมไฟ โคมลอยหรืออุปกรณใด ๆ ที่อาจทํา ใหเกิดไฟไหม


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 ๔. เมื่อดับไฟเบื้องตนไมได ใหรีบปดประตูหนาตาง เพื่อไมใหลมพัด ทําใหไฟลุกลามเร็ว ๕. รีบแจงขาวเพลิงไหมที่หมายเลข ๑๙๙ หรือสถานีดับเพลิงที่ใกลที่สุด


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 ๖. หนีออกจากบริเวณที่เกิดไฟไหมใหเร็วที่สุดโดย การใชผาหมหนา ๆ ชุบนํ้าคลุมตัวแลวกมตัวใหตํ่า หรือคลานไปสูทางออกโดยเร็ว ๗. ใชผาชุบนํ้าปดจมูก เพื่อปองกันไมใหสําลักควันไฟ ๘. หากไฟลุกติดเสื้อผาใหลมตัวนอนกลิ้งกับพื้น ใชตัวทับดับไฟ


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 สถานีดับเพลิง


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 อาชีพนารู นักดับเพลิง คือ ผูทําหนาที่ดับไฟเมื่อเกิดอัคคีภัย พรอมทั้งใหความชวยเหลือผูที่อยูในเหตุการณอยางถูกวิธี


สุขศึกษาและพลศึกษา ป.2 ๕. การหนีไฟในโรงเรียน ตามปกติในโรงเรียนควรมีการจัดฝกอพยพ หนีไฟ ปละ ๑ ครั้ง เพื่อใหนักเรียนเตรียม ความพรอม หากมีเหตุไฟไหม วิธีการหนีไฟ ในโรงเรียนปฏิบัติไดดังนี้


Click to View FlipBook Version