สารจากอธกิ ารบดี
รองศาสตราจารย์ ดร.ทศั นา ศิรโิ ชติ
อธิการบดีมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสงขลา
ขอแสดงความยินดีกับนักศึกษาช้ันปีที่ 4 หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีไทย
ท่ีได้จัดโครงการการแสดงผลงานของนักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์สู่สาธารณชน (การแสดงผลงานด้าน
ดนตรีไทย) มิติรสเพลงไทย คร้ังที่ 11 ขึ้น ภายใต้หัวข้อ “กษิณามุทิตเวที ผู้ช่วยศาสตราจารย์กี จันทศร”
การจัดการแสดงผลงานทางดนตรีไทยในคร้ังนี้ ขอชื่นชม นักศึกษาผู้รับผิดชอบโครงการ อาจารย์ประจาหลักสูตร
ผู้สนับสนุนโครงการ และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน ท่ีได้มีส่วนร่วมคิดจัดกิจกรรมโครงการการแสดงผลงานของ
นกั ศกึ ษาดนตรีไทยซึง่ เปน็ การแสดงให้เหน็ ถงึ ศักยภาพทางดนตรีไทยในครง้ั นี้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์กี จันทศร เป็นนักดนตรีผู้มีอัจฉริยภาพในการบรรเลงดนตรีไทยเป็นอย่างสูง
และยังเป็นครูดนตรีผู้มอบความรู้ต่าง ๆ อีกมากมายให้แก่ลูกศิษย์ ท่านได้สร้างคุณประโยชน์ตลอดชีวิต
ในการทางานแก่วงการดนตรีไทยและแก่ลูกศิษย์ทุกคนด้วยหัวใจรัก เมตตา เสียสละทุ่มเท ไม่เห็นแก่
ความเหน็ดเหน่ือย ในโอกาสนี้ผู้ช่วยศาสตราจารย์กี จันทศร อายุครบ 60 ปี ครบรอบการเกษียณอายุราชการ
จึงเหมาะสมเป็นอย่างย่ิงท่ีจะจัดทาคอนเสิร์ตมิติรสเพลงไทยคร้ังน้ีข้ึน เพื่อเป็นการแสดงความเคารพ
เชดิ ชูเกยี รติคณุ ตอ่ ครผู ยู้ ง่ิ ใหญท่ คี่ อยมอบความรใู้ ห้แก่ศิษยม์ าอย่างยาวนาน
ในนามของอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ขออวยพรในการจัดโครงการการแสดงผลงาน
ของนักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์สู่สาธารณชน (การแสดงผลงานด้านดนตรีไทย) มิติรสเพลงไทย ครั้งท่ี 11 ข้ึน
ภายใต้หัวขอ้ “กษิณามทุ ติ เวที ผชู้ ่วยศาสตราจารยก์ ี จนั ทศร” จงประสบผลสาเร็จดังทตี่ ั้งใจไว้ทกุ ประการ
รองศาสตราจารย์ ดร.ทศั นา ศิริโชติ
อธกิ ารบดมี หาวิทยาลยั ราชภฏั สงขลา
สารจากคณบดี
รองศาสตราจารย์ ดร.ทศั นา ศริ โิ ชติ
คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์
โครงการการแสดงผลงานด้านดนตรีไทย เปน็ โครงการทมี่ งุ่ เผยแพรผ่ ลงานของนักศึกษาสาขาวิชา
ดนตรีไทย คอื สายความรูด้ ้านการปฏิบัติเคร่อื งดนตรีไทยมาจัดแสดงเป็นผลงานด้านดนตรีไทยที่มคี ุณภาพจนส่งผล
ให้เกิดเป็นผลงานที่มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ตลอดระยะเวลาที่คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
ผลิตบัณฑิตสาขาวิชาดนตรีไทย ออกไปรับใช้สังคมได้สร้างสรรค์ผลงานด้านดนตรีไทยเป็นท่ีประจักษ์ชัดเจนแก่
สงั คม ซึ่งเป็นเคร่ืองยืนยันคุณภาพและความสามารถของบัณฑิตสาขาวิชาดนตรไี ทยไดเ้ ป็นอย่างดี
ขอขอบคุณคณาจารย์และนักศึกษาสาขาวิชาดนตรีไทยท่ีได้จัดการแสดงผลงานด้านดนตรีไทย
คร้งั นข้ี น้ึ ขออวยพรให้การแสดงครง้ั นจ้ี งสาเร็จตามความตงั้ ใจทุกประการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์วีระศักดิ์ อกั ษรถงึ
คณบดคี ณะศิลปะกรรมศาสตร์
สารจากประธานหลกั สูตร
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. รัชวิช มุสิการณุ
ประธานหลกั สูตรศลิ ปกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าดนตรีไทย
หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีไทย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏสงขลา เป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้นสร้างบัณฑิตท่ีเพรียบพร้อมด้วยความเป็นศิลปิน และความเป็นนักวิชาการ
ด้านดนตรีไทย เพ่ือให้ออกไปรับใช้สังคมในฐานะผู้สร้างงาน และผู้นาเสนอศิลปะดนตรีไทยต่อสังคม การนาเสนอ
ผลงานทางดนตรีไทยเป็นรายวิชาหนึ่งในหลกั สูตรทบี่ รรจุไวเ้ พ่ือตอ้ งการให้รายวชิ าท่นี ักศึกษาไดแ้ สดงศกั ยภาพของ
ความเป็นศิลปิน และความเป็นนักวิชาการด้านดนตรีไทยออกมาสู่สาธารณชน หลังจากที่ได้ศึกษารายวิชาต่าง ๆ
มาจนเกือบจะเสร็จสมบรู ณต์ ามท่วี างไวใ้ นเกณฑ์การสาเร็จการศึกษา
ในการนาเสนอผลงานทางดนตรีไทยนั้น เป็นงานหนักท่ีต้องบูรณาการทั้งศาสตร์และศิลป์
หลากหลายประการเข้าด้วยกัน เพื่อให้งานสาเร็จลุล่วง กล่าวคือศาสตร์ในด้านวิเคราะห์องค์ความรู้ด้านดนตรีไทย
เพื่อนามาสู่การคัดสรรบทเพลงในการแสดง ศาสตร์ในการฝึกซ้อมปรับวงดนตรี ศาสตร์ในการจัดการแสดง
ศาสตร์ในการบริหารจัดการต่าง ๆ นอกจากน้ยี ังประกอบด้วยศิลปะในการแสดง ศลิ ปะในการถ่ายทอดจินตนาการ
สู่บทเพลง เพื่อสร้างสุนทรียะแก่ผู้ชม กล่าวได้ว่าการนาเสนอผลงานทางดนตรีไทยคร้ังนี้ เป็นงานท่ีเปิดโอกาสให้
นักศกึ ษาได้แสดงความรคู้ วามสามารถของผูท้ ่ีกาลงั จะเป็นบัณฑิตศลิ ปกรรมศาสตรด์ ้านดนตรีไทยอยา่ งแท้จริง
สุดท้ายน้ี ขอแสดงความยินดีและชื่นชม นักศึกษาสาขาวิชาดนตรีไทยช้ันปีท่ี 4 และขอขอบคุณ
ในความร่วมมือร่วมใจของนักดนตรี นักแสดงท้ังภายในคณะ และจากหน่วยงานต่าง ๆ ท่ีให้ความร่วมมือในการ
แสดงครั้งน่ีเป็นอย่างดี ขออวยพรให้การจัดโครงการการแสดงผลงานดนตรีไทยของนักศึกษาในครั้งนี้
จงประสบความสาเรจ็ บรรลตุ ามเปา้ หมายที่วางไวท้ กุ ประการ
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. รัชวชิ มสุ กิ ารณุ
ประธานหลักสตู รฯ สาขาวิชาดนตรีไทย
กาหนดการแสดงผลงานดนตรไี ทย
มิติรสเพลงไทย ครั้งที่ 11 “กษิณามุทิตเวที ผชู้ ่วยศาสตราจารยก์ ี จนั ทศร”
วนั อาทิตย์ ท่ี 4 ธันวาคม 2565
ณ โรงละครวิจิตรจันทรากลุ คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั สงขลา
************************************************
เวลา 13.00 น. ลงทะเบียน
เวลา 13.30 น. ตัวแทนนกั ศึกษากลา่ วรายงาน
เวลา 14.00 น. อธิการบดีคณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา
ประธานในพิธรี บั ฟงั การกล่าวรายงานและกลา่ วเปดิ งาน
เวลา 15.00 น. มอบของทีร่ ะลึก
รับชมวดี ีทัศนผ์ ้ชู ว่ ยศาสตราจารยก์ ี จันทศร
เริม่ การแสดงผลงานทางดนตรไี ทย
“กษิณามุทิตเวทีผชู้ ว่ ยศาสตราจารยก์ ี จนั ทศร”
การแสดงลาดับท่ี 1
รัวประลองเสภาออกโหมโรงไอยเรศ วงป่พี าทย์เสภา
การแสดงลาดับที่ 2
เพลงระบากรบั วงป่ีพาทยไ์ ม้นวม
การแสดงลาดบั ท่ี 3
เพลงเรอื่ งกระบ่ีลีลา วงป่ีพาทยไ์ ม้แข็ง
การแสดงลาดับที่ 4
เพลงพนั ธฝุ์ ร่งั เถา วงปี่พาทย์ไม้แข็ง
การแสดงลาดบั ท่ี 5
เดี่ยวฆอ้ งวงใหญ่ 10 วง เพลงแขกมอญ สามชัน้
กลา่ วปิดโครงการ
***กาหนดการอาจเปลีย่ นแปลงได้ตามความเหมาะสม***
๑
โครงการนาเสนอผลงานทางดา้ นดนตรีไทย
มติ ิรสเพลงไทยครง้ั ที่ 11
หลักการและเหตผุ ล
หลกั สูตรศลิ ปกรรมศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าดนตรไี ทย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎสงขลา
เป็นท่ียอมรับของสังคมดนตรีไทยภาคใต้และของประเทศว่าเป็นสถาบันการศึกษาด้านดนตรีไทย ท่ีทาหน้าที่สืบ
สานสายวิชาทางด้านดนตรีไทยจากครูบาอาจารย์ของชาติหลายท่าน โดยนาองค์ความรู้ทางดนตรีไทยมาจัดระบบ
การเรียนการสอนเพื่อการถ่ายทอดอย่างมีคุณภาพและได้มาตรฐานตลอดมา ต้ังแต่คร้ังเป็นภาควิชาดนตรีศึกษา
วิทยาลยั ครูสงขลา กรมการฝึกหดั ในปี พ.ศ. 2532 เรอ่ื ยมาจนปัจจุบนั นับเป็นเวลากว่า 33 ปี
หน่ึงในสายความรู้ที่สาคัญทางด้านดนตรีไทยของหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีไทย
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คือสายความรู้ด้านการปฏิบัติเคร่ืองดนตรีไทยประเภทเคร่ืองป่ีพาทย์ โดยเป็นองค์
ความรู้ที่นักศึกษาทุกรุ่นได้ร่าเรียน คือองค์ความรู้ท่ีได้รับการถ่ายทอดมาจากผชู้ ่วยศาสตราจารยก์ ี จันทศร ซ่ึงเป็น
อาจารยป์ ระจาสาขาวิชาดนตรีไทยด้านการปฏิบัตเิ ครื่องปี่พาทย์ เป็นผทู้ ่มี ากความสามารถและมคี วามเชีย่ วชาญใน
การปฏิบัติฆ้องวงใหญ่ อีกทั้งยังมีความสามารถในการบรรเลงและประดิษฐ์ทางเพลงได้รอบวง เช่น ระนาดเอก
ระนาดท้มุ ฆอ้ งวงเล็ก
อัจฉริยะภาพทางด้านดนตรีของผู้ช่วยศาสตราจารย์กี จันทศรนั้น มีความหลากหลาย ลุ่มลึก มีหลักการ
และเหตผุ ลทีส่ ามารถอธบิ ายไดใ้ นระดับยอดเยี่ยมทั้งสิน้ เป็นผลใหค้ นท้ังในและนอกวงการดนตรใี ห้ความเคารพนับ
ถือ ตลอดจนยอมรับในฝีมือการบรรเลงเคร่ืองปี่พาทย์ นับว่าเป็นผู้ท่ีมีความสามารถสูงย่ิงคนหนึ่ง นอกจาก
ความสามารถด้านการบรรเลงเคร่ืองป่ีพาทยแ์ ล้ว ผู้ช่วยศาสตราจารย์กี จันทศร ยังมีความสามารถในการประดิษฐ์
ทางเพลงในประเภทเพลงต่าง ๆ เช่น เพลงหนา้ พาทย์ เพลงโหมโรง เพลงเถา เพลงทยอย เพลงสาเนียงภาษา และ
เพลงเด่ียว อกี ทัง้ ผลงานดนตรไี ทยทางด้านวชิ าการยงั เปน็ ทีย่ อมรับของคนในวงการดนตรไี ทยอีกด้วย
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์กี จันทศร ทา่ นได้สร้างคุณประโยชน์ตลอดชีวิตในการทางานแกว่ งการดนตรีไทย และ
แก่ศิษย์ทุกคนด้วยใจรักอย่างต่อเน่ือง ปฏิบัติหน้าท่ีนักดนตรีและครูดนตรไี ทยอย่างเสียสละทุ่มเทด้วยความเมตตา
ไม่เห็นแก่ความเหน็ดเหนื่อย จากการท่ีท่านมีนิสัยเรียบง่าย สมถะ และถ่อมตนอยู่เสมอ จึงทาให้เป็นท่ีเคารพรัก
ของลูกศิษยใ์ นทกุ ๆ รุ่น
ในวนั ท่ี 22 กันยายน พ.ศ. 2565 เปน็ วาระครบรอบ 60 ปีในการเกษียณอายุข้าราชการของการทางาน
ในหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีไทย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
ตลอดระยะเวลา 25 ปี นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีไทย คณะศิลปกรรม
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ได้ตระหนักถึงคุณูประการและองค์ความรู้ที่ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์กี จันทศร ได้
ถ่ายทอดให้แก่บรรดาลูกศิษย์ นักศึกษาจึงได้ร่วมกันจดั โครงการนาเสนอผลงานทางด้านดนตรีไทย มิติรสเพลงไทย
คร้ังท่ี 11 “มุทิตาจิต 60 ปี ครูกี จันทศร “ โดยนาบทเพลงท่ีผู้ช่วยศาสตราจารย์กี จันทศรได้ถ่ายทอดให้กับ
นกั ศกึ ษาในรายวชิ าต่าง ๆ มาจดั การแสดงผลงานทางด้านดนตรีไทยจานวน 5 ชดุ การแสดง เพอ่ื เปน็ การมุทิตาจิต
และน้อมราลึกถึงคุณประโยชน์ของผู้ช่วยศาสตราจารย์กี จันทศรให้เป็นที่ประจักษ์และแสดงความกตัญญูกตเวที
แกผ่ ชู้ ว่ ยศาสตราจารยก์ ี จันทศร ผเู้ ปน็ บคุ คลทมี่ คี ุณปู ระการแกว่ งการดนตรไี ทย
๒
จุดประสงค์
1. เพื่อเปน็ การมทุ ิตาจิตถึงผู้ช่วยศาสตราจารย์กี จนั ทศร ในวาระครบรอบ 60 ปี (เกษียณอายุราชการ)
2. เพ่ือการแสดงศักยภาพด้านทักษะดนตรีไทยของนักศึกษาหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต
สาขาวชิ าดนตรไี ทย คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั สงขลา
3. เพือ่ นาเสนอองคค์ วามรทู้ ี่นักศกึ ษาไดร้ บั การถ่ายทอดจากผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์กี จันทศร
ผลที่คาดวา่ จะได้รับ
1. นกั ดนตรไี ทยและผ้สู นใจได้ร่วมมุทิตาจติ ถึงผู้ช่วยศาสตราจารยก์ ี จันทศร
2. นกั ศึกษาไดเ้ ผยแพรถ่ ึงทักษะการบรรเลงของผ้ชู ่วยศาสตราจารย์กี จนั ทศร
กลมุ่ เปา้ หมาย
1. ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ 100 คน
2. นักศึกษาหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีไทย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏสงขลา
ผู้รบั ผิดชอบโครงการ
นักศึกษาช้ันปีที่ 4 หลักสูตรศิลปกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาดนตรีไทย คณะศิลปกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลยั ราชภัฏสงขลา
วันเวลาและสถานท่ีจัดแสดง
วันอาทิตย์ท่ี 4 ธันวาคม พ.ศ. 2565 นาเสนอผลงาน ณ โรงละครวิจิตร จันทรากุล (โรงละครชั้น 4)
คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏสงขลา
๓
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยก์ ี จันทศร
ผู้ช่วยศาสตรจารย์กี จันทศร เกิดเมื่อวันที่ 7 เดือน ธันวาคม
พ.ศ. 2504 เป็นบุตรของนายแกม จันทศร กับนางอรุณ จันทศร
ภูมิลาเนาเดิม บ้านเลขที่ 49 หมู่ 3 ต.นครชัยศรี อ.นครชัยศรี จ.
นครปฐม มีพ่ีน้องรวม 7 คน ชาย 5 คน หญิง 2 คน คนแรกชื่อ
อาจารย์นิกร จันทศร (เป็นอาจารย์สอนดนตรีไทย) 2.นางอุไร จันทศร
3.นางจงกล จันทศร 4.นายกันต์ จันทศร 5.นางรัตฐพร จันทศร
6.นายกุล จันทศร 7.นายกี จันทศร (เป็นน้องคนสุดท้อง) ปัจจุบัน
อาศัยอยู่ ณ บ้านเลขท่ี 207 ถ.เลียบคลอง ร.6 ต.คอหงส์ อ.หาดใหญ่
จ.สงขลา โดยพี่น้องของผู้ช่วยศาสตราจารย์กี จันทศร มีผู้ชายที่เป็นนัก
ดนตรีไทยทั้งหมด 3 คน ดังน้ี อาจารย์นิกร จันทศร นายนริศ จันทศร
และผู้ช่วยศาสตราจารย์กี จันทศร ผู้ช่วยศาสตราจารย์กี จันทศร
ไดส้ มรส กบั นางนสิ ติ า บารงุ วงศ์ ไมม่ ีบตุ รธดิ าด้วยกัน
การศึกษาด้านดนตรไี ทย
การศกึ ษาสามญั ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์กี จันทศรไดเ้ ข้าศึกษาที่
วิทยาลัยนาฎศิลป์กรุงเทพโดยเข้าเรียนชั้น ต้น 1 จนถึงชั้นสูง 1
เมื่อจบการศึกษาจากวิทยาลัยนาฏศิลป์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์กี
จันทศร ได้เข้ารับการศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีท่ี มหาวิทยาลัย
ราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ในปี พ.ศ. 2532 ต่อมาเมื่อปี
พ.ศ. 2543 ผู้ช่วยศาสตราจารย์กี จันทศร ได้เข้าเรียนหลักสูตร
ปริญญามหาบัณฑิต สาขาดนตรีปฏิบัติ วิทยาลัย ดุริยางคศิลป์
มหาวิทยาลัยมหิดล
การศึกษาด้านดนตรี ผู้ช่วยศาสตราจารย์กี จันทศร
ได้เร่ิมเรียนดนตรีไทยกับนายแกม จันทศร(บิดา) โดยการจับมือ
ฆ้อง(เป็นศัพท์เฉพาะทาง ดนตรีไทยคือวิธีการสอนดนตรีไทย
เร่ิมแรกและเป็นธรรมเนียมของดนตรีไทยมาแต่สมัยโบราณ)
โดยเริ่มต่อเพลงสาธุการ เมื่ออายุประมาณ 5 ขวบ และได้ต่อเพลง
ท่ัวไปจากบิดา จนเรียนจบชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 โดยครั้งที่เข้า
ศึกษาท่ีวิทยาลัยนาฎศิลป์น้ัน ครูที่วิทยาลัยนาฎศิลป์ได้ปรับทาง
เพลงหน้าพาทย์ ที่ได้อยู่แล้ว ให้ใหม่เป็นทางของ ครูหลวงบารุง จิตรเจริญ ( ธูป สาตรวิลัย ) การศึกษาที่วิทยาลัย
นาฎศิลป์น้ันได้ต่อเพลง เช่น เพลงเสภา เพลงในชุดโหมโรงเช้า โหมโรงเย็น โดยมีครูที่สอน คือ ครูนัฐพงศ์ โสวัตร
ครูบุญช่วย โสวัตร ครูลายอง โสวัตร ครูสุจิตต์ ชูวงศ์ ครูสงบศึก ธรรมริหาร และครูท่านอื่น ๆ อีกในยุคนั้น
และเม่ืออายุครบ 20 ปี ได้เข้ารับการเกณฑ์ทหารท่ีกองพันทหารราบท่ี 1 กรมทหารราบที่ 2 จังหวัดปราจีนบุรี
๔
และมีโอกาสได้พบกับครูสุรินทร์ สงค์ทองซ่ึงรับราชการทหารอยู่ในขณะนั้น จึงได้มีการต่อเพลงหลายเพลง
ในช่วงเวลาน้ัน หลังจากออกจากการเป็นทหารก็ได้มาใช้ชีวิตนักดนตรีอาชีพได้ประมาณ 1 ปี ต่อมาในปี
พ.ศ.2532 ผู้ช่วยศาสตราจารย์กี จันทศรได้เข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีที่สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จ
เจ้าพระยา เมื่ออายุได้ 28 ปี ได้เรียนดนตรีกับครูเชื้อ ดนตรีรส (ศิลปินแห่งชาติ ปีพ.ศ. 2542
สาขาศิลปะการแสดงดนตรีไทย) ครูเล่ือน สุนทรวาทิน และ ครูสงัด ภูเขาทอง ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2543
ได้เข้าเรียนหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต สาขาดนตรีปฏิบัติวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยได้เรียน
เพลงกบั ครพู ินิจ ฉายสุวรรณ(ศิลปนิ แหง่ ชาติ ปี 2540 สาขาศลิ ปะการแสดง ดนตรีไทย)
ประวตั ิการทางาน
ผู้ช่วยศาสตราจารยก์ ี จนั ทศร ไดเ้ ริ่มทางานเป็นครูอัตราจา้ งสอนดนตรีไทยที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วิทยาเขตหาดใหญ่ 1 ปี ได้ลาออกกลับไปเป็นนกั ดนตรีอาชพี ในระยะเวลาประมาณ 1 ปี และได้มาเป็นครูสอนอยู่
ท่ีโรงเรยี นสตรภี ูเก็ต ระหว่างสอนผู้ชว่ ยสาสตรายารย์กี จนั ทศร ไดส้ ร้างเครอ่ื งดนตรีที่มีคุณภาพไวม้ ากมายไม่ว่าจะ
เป็นเคร่ืองมอญหรือเครื่องไทย ต่อมาในปี พ.ศ. 2540 ทางมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ได้เปิดสอบบรรจุ
ผู้ชว่ ยศาสตราจารยก์ ี จันทศร จงึ ตดั สนิ ใจมาสอบบรรจุจนได้เป็นขา้ ราชการ สงั กัดมหาวทิ ยาลัยราชภัฏสงขลา คณะ
ศลิ ปกรรมศาสตร์ โดยดารงตาแหน่งผ้ชู ่วยศาสตราจารยใ์ นปจั จุบนั
ผลงานด้านการบรรเลงดนตรีไทย
พ.ศ. 2525 เข้าร่วมบรรเลงวงป่ีพาทย์ไม้แข็ง
ประชันวง งานครบรอบ 100 ปี ครูหลวงประดิษฐ
ไพเราะ(ศรศิลปบรรเลง) วันท่ี 7 สิงหาคม พศ. 2525
ณโรงละครแห่งชาติ (วงบางบัวทอง) ครูประสิทธ์ิ ถาวร
เป็นผู้ปรับวง "เพลงโหมโรงกราวนอก" "เพลงแขกลพบุรี"
ทางบางคอแหลม และตีฆ้องวงเล็ก "เดี่ยวแขกมอญ
3 ชน้ั "
พ.ศ. 2529 เข้าร่วมบรรเลงวงป่ีพาทย์ไม้แข็ง
งานไหว้ครูดนตรีไทย วัดพระพิเรนทร์ กรุงเทพ ฯ บรรเลงฆ้อง
วงใหญ่ (วง ฉ.ทองลมลู ) วนั ท่ี 7 สงิ หาคม พ.ศ. 2529 เพลงท่ีบรรเลง คือ "เพลงพมา่ เหเ่ ถา" ทางครูหลวงประดษิ ฐ
ไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) "เพลงใบค้ ลง่ั เถา" และ "เพลงทยอยญวนเถา"
พ.ศ. 2534 ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การแข่งขันวงปีพาทย์ไม้แข็ง เน่ืองในโอกาส ที่พลตรีหญิง
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีทรงรับราชการครบ 10 ปี และทรงมีพระชนมายุครบ36
พรรษา งานจัดท่ีโรงเรียนนักเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ เขาชะโงก จังหวัดนครนายก รอบแรก
บรรเลงระนาดทุ้ม "เพลงบุหลัน เถา " รอบชิงบรรเลงฆ้องวงเล็ก "เพลงทยอยในเถา" (วงสถาบันบ้านสมเด็จ
เจ้าพระยา)
๕
พ.ศ. 2547 ได้เข้าร่วมกิจกรรมการบรรเลงบูชาครู "7 ทศวรรษ ศีตดนตรี กวีวังหน้า " เนื่องในวันไหว้ครู
ศึกษา 2547 และครบรอบ 7 ปี วิทยาลัยนาฏศิลปกรุงเทพมหานคร วงวัดส้มเกล้ียง บรรเลงฆ้องวงเล็ก เพลงท่ี
บรรเลง คือ "เพลงเขมรราชบรุ ี เถา"
ผลงานทางวิชาการ
- การวเิ คราะห์เพลงเรือ่ งฉ่งิ พระฉันกลางวนั
- การวิเคราะหเ์ พลงเร่อื งกระบล่ี ลี า (ทางครเู ฉลิม บวั ทง่ั )
- การวเิ คราะหเ์ พลงเรื่องสารถเี ปรยี บเทียบทางบ้านขมิ้นและทางวัดกลั ปย์ าณมติ าวาส
- ตาราโน้ตฆอ้ งวงใหญ.่ โครงการตาราวชิ าการราชภัฏเฉลิมพระเกียรติ. เนอื่ งในวโรกาส พระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยหู่ ัวทรงพระเจริญพระชนมายุ 6 รอบ.
- การวิเคราะห์เปรยี บเทยี บเพลงเรื่องสารถที างวดั กลั ยา ฯ และทางบา้ นขม้ิน
- เอกสารประกอบการสอนวิชาดนตรีพิธีกรรม
- ตาราปฏิบัติฆอ้ งวงใหญ่
- งานวจิ ัยเพลงเรือ่ งกระบีล่ ีลา ทางครเู ฉลมิ บวั ทั่ง
- เอกสารประกอบการสอน วชิ าการประพันธ์เพลงไทย 1
๖
25 ปี...ที่มอิ าจลืมเลือน
กี จันทศร
ตลอดระยะเวลาการทางาน 25 ปี (พ.ศ. 2540 – 2565) ท่ีคณะศิลปกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เป็นช่วงเวลาสาคัญย่ิงช่วงหน่ึงของชีวิตกระผม ไม่เพียงทาให้ผมได้มีโอกาสเป็นครู
ถา่ ยทอดความรู้ด้านดนตรีไทยให้แกน่ ักศึกษา ซ่งึ เปน็ งานท่ีผมรกั มากทสี่ ดุ และความสุขทุกครัง้ ทีไ่ ดส้ อน ยังทาใหผ้ ม
ได้รับโอกาสเติบโตทางด้านวิชาการ ได้รับการสนับสนุนทุนการศึกษาต่อ ทุนทาวิจัย ทุนแต่งตารา ตลอดจน
ตาแหนง่ ทางวชิ าการ ที่สาคัญ ทาใหไ้ ด้พบกับมิตรภาพท่อี บอ่นุ เปน็ กันเองจากทงั้ ผู้บริหาร คณาจารย์ และเจา้ หนา้ ที่
ท้งั ในคณะ นอกคณะ และสว่ นกลาง จวบจนวันเกษยี ณอายรุ าชการ นบั เปน็ ชว่ งชวี ติ ท่ีมิอาจจะลืมเลอื น
สุดท้ายนี้ ขอขอบพระคุณมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา และกัลยาณมิตรทุกท่าน ด้วยความ
ทราบซ้งึ ยิ่ง
๗
รายการแสดงโครงการแสดงผลงานดา้ นดนตรไี ทย
คอนเสริ ์ตมติ ิรสเพลงไทย ครั้งท่ี 11 “กษณิ ามุทติ เวที ผูช้ ่วยศาสตราจารยก์ ี จนั ทศร”
๘
การแสดงลาดบั ท่ี 1
รวั ประลองเสภาออกโหมโรงไอยเรศ
โหมโรงไอยเรศเป็นเพลงท่ี ครูช้อย สุนทรวาทิน แต่งจากเพลงไอยเรศชูงา และไอยราชู
งวง สองช้ัน ซ่ึงเป็นเพลงทานองเก่าสมัยอยุธยา อยู่ในตับเร่ืองฉิ่งโบราณมาขยายเป็นอัตราจังหวะ สามช้ัน ในสมัย
รัชกาลที่ 5 เพอื่ ให้เปน็ เพลงโหมโรงประจาวงป่ีพาทย์ของพระยาจิรายมุ นตรี (เนียม) เพลงน้ีจดั วา่ เป็นยอดของเพลง
โหมโรงเสภา มี 4 ท่อน ใช้หน้าทับปรบไก่ นักดนตรีนิยมนาไปบรรเลงอย่างกว้างขวางทั้งวงป่ีพาทย์ วงมโหรี และ
วงเคร่ืองสาย ใน พ.ศ. 2465 ครูเจริญ พาทยโกศล แต่งทานองทางร้อง เพ่ือใช้ขับร้องในวงป่ีพาทย์ของวงประจา
วังบางขุนพรหม ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ต่อมามี
นักดนตรีในจังหวัดปทุมธานีนาเพลงไอยเรศสามชั้นท่ีใช้บรรเลงเป็นเพลงโหมโรงเสภาของครูช้อย สุนทรวาทิน มา
ตดั แตง่ เปน็ อตั ราจังหวะสองชน้ั และชั้นเดยี ว ครบเปน็ เถา และหลวงประดษิ ฐ์ไพเราะ (ศร ศลิ ปบรรเลง) ก็ไดน้ ามา
ตัดแต่งเป็นอัตราจังหวะ สองช้ัน และช้ันเดียว ครบเป็นเพลงเถาอีกทางหนึ่ง ซึ่งใช้บรรเลงเป็นเพลงโหมโรงของวง
ดนตรวี ังบรู พา
ลักษณะของเพลงโหมโรงไอยเรศเป็นเพลงที่มีจานวนทง้ั หมด 4 ท่อน ซึง่ การบรรเลงใน
ท่อนท่ี 1 จะเป็นการบรรเลงในลักษณะการขย้ีโดยขยายจากอัตราจังหวะ 3ชั้นเป็นอัตราจังหวะ 6ชั้น
โดยครูบุญยงค์ เกตุคง (ศิลปินแห่งชาติ) เป็นผู้ประพันธ์ทางนี้ไว้ ส่วนการบรรเลงในท่อนท่ี 3 จะเป็นการออกเดี่ยว
ในแต่ละเคร่ืองมือ เพื่อเป็นการสร้างสรรค์บทเพลงและเพ่ิมความนา่ สนใจให้กับการแสดงในชุดน้ี โดยเพลงโหมโรง
ไอยเรศ ถูกยกย่องว่าเป็นยอดแห่งเพลงโหมโรงเสภาทั้งหมด อันเนื่องด้วยมีลักษณะจังหวะและท่วงท่าของทานอง
เพลงท่ีไพเราะ สนุกสนาน และยังมีการซ้าลักษณะของสานวนเพลง ลูกล้อ ลูกขัด เพิ่มอรรถรสในด้านการบรรเลง
และผู้ฟังได้เป็นอย่างดี อีกทั้งในส่วนของทานองเพลงยังเปิดโอกาสให้เครื่องดนตรีประเภทเครื่องดาเนินทานองได้
คิดหากลวิธใี นการแปรทานองให้สอดคล้องและโดดเด่นในแตล่ ะเคร่ืองดนตรีอีกด้วย
การบรรเลงวงปี่พาทยเ์ สภาเพลงโหมโรงไอยเรศ ในคอนเสิร์ตมิติรสเพลงไทย ครั้งที่ 11
“กษิณามุทิตเวที ผู้ช่วยศาสตราจารย์กี จันทศร” ในคร้ังนี้ นักศึกษาได้คัดเลือกเพลงน้ีมาจัดการแสดงเป็นชุดแรก
เนื่องจากเป็นประเภทเพลงโหมโรงซึง่ กลา่ วได้ว่า โหมโรง หมายถึงการเรมิ่ ต้นในการแสดงดนตรีหรอื บทเพลงเริ่มต้น
ของการบรรเลง อกี ทัง้ ยังเปน็ เพลงท่ีผ้ชู ่วยศาสตราจารย์กี จนั ทศร ได้นามาถา่ ยทอดให้แกน่ กั ศึกษา สาขาวิชาดนตรี
ไทย ในรายวิชา การปรับวงดนตรีไทย นักศึกษาจึงนาบทเพลงนี้มาบรรเลงในการจัดการแสดงคอนเสิร์ตมิติรส
เพลงไทยครั้งท่ี 11 เพื่อเปน็ การมุทติ าจิตให้แก่อาจารย์กี จนั ทศร อีกทั้งยงั เป็นการแสดงความเคารพและซาบซึ้งใน
คุณประโยชนท์ ีผ่ ู้ชว่ ยศาสตราจารย์ กี จนั ทศร ได้ถ่ายทอดความรู้ให้ในรายวชิ าการปรบั วงดนตรีไทยให้แก่นักศึกษา
ทาให้นักศึกษาได้เข้าใจถึงลักษณะกระบวนการบรรเลงเพลงประเภทโหมโรงในวงปี่พาทยไ์ ม้แข็งรวมไปถึงการปรับ
วงอีกด้วย
๙
เพลง โหมโรงไอยเรศ
ทอ่ น 1
---ท --รร -มมม -ร–ท -ร-ล -ท–ร -มมม -ร–ท
- - - ม - ร - - - ล ซ ม - ร - ฟ - ร – ม - ทฺ - ร - ล ซ ม - ร - ทฺ
- - - ซฺ - - - ลฺ - - - ทฺ - - - ร - - ลฺ ทฺ - ร – ม - ล - - ซ ซ – ล
- - - รฺ - - - มฺ - - - ฟฺ - - - รฺ - ซฺ - - - รฺ - มฺ - ลฺ – ซฺ - - - ลฺ
---ซ --- ล ---- ทดรม --รม ---ร ---ด --- ล
- - - ซฺ - - - ลฺ - - ซ ล - - - ม - - - - ร ด ท - ด ท ล - ท ล ซ -
--มฟ - -ลท -ม-- รท-- มร-- รท-- ทล-- ลฟ--
- ร - - ม ฟ - - - -ร ท - - ล ฟ - - ท ล - - ล ฟ - - ฟ ม - - ม ร
--มฟ -ล-ฟ --มฟ - -ซล ---ท --- ล ---ฟ ---ม
-ร-- ม-ม- มร-- มฟ-- ซฟม- ลซฟ- ซฟม- ฟมร-
รท-- ทล-- ลฟ-- ฟม-- -ฟล- ฟม-- ม–ฟม ---ร
- - ล ฟ - - ฟ ม - - ม ร - - ร ทฺ - - - ม - - ร ทฺ - ร - - ร ทฺ - ลฺ
ทฺ - ด - ร - ม - ฟ - ซ - ล - ท - ท - ท - ล - ซ - ฟ - ม - ร - ด -
- ลฺ - ทฺ - ด – ร - ม - ฟ - ซ – ล - ล - ซ - ฟ – ม - ร - ด - ทฺ – ลฺ
ม-ฟ- ซ-ล- ท-ด- ร-ม- ม-ม- ร-ด- ท-ล- ซ-ฟ-
-ร-ม -ฟ–ซ -ล-ท -ด–ร -ร-ด -ท–ล -ซ-ฟ -ม–ร
---ซ ---ล ---ท ---ซ ---ท ---ล ---ซ --- ม
ฟมร- ฟมร- ซฟม- ลซฟ- ฟมร- ลซฟ- ซฟม- ฟมร-
รท-- ทล-- ลฟ-- ฟม-- -ฟล- ฟม-- ม-ฟม ---ร
- - ล ฟ - - ฟ ม - - ม ร - - ร ทฺ - - - ม - - ร ทฺ - ร - - ร ทฺ – ลฺ
ซซรซ ลทดร - - - ร - ร - - ซลซม ซมรท - - - ท - ท - -
-ร-- ---ร - ทฺ - - - - - ทฺ
๑๐
- - ร ร - - ลฺ ลฺ - - ทฺ ท - - ร ร - - ซ ซ - - ม ม - - ร ร - - ทฺ ท
- - - ลฺ - - - มฺ - - - มฺ - - - ลฺ - - - ซฺ - - - ทฺ - - - ลฺ - - - ฟฺ
---- ---ซ ---- ---ล ---- ---ท ---- ---ร
- - - - - ซฺ - - - - - - - ลฺ - - - - - - - ทฺ - - - - - - - ร - -
---- ---ร ---- ---ม ---- ---ท ---- ---ล
- - - - - ร - - - - - - - ม - - - - - - - ทฺ - - - - - - - ลฺ - -
---ซ --- ล ---- ทดรม --รม ---ร ---ด --- ล
- - - ซฺ - - - ลฺ - - ซ ล - - - ม - - - - ร ด ท - ด ท ล - ท ล ซ -
--มฟ - -ลท -ม-- รท-- มร-- รท-- ทล-- ลฟ--
- ร - - ม ฟ - - - -ร ท - - ล ฟ - - ท ล - - ล ฟ - - ฟ ม - - ม ร
--มฟ -ล-ฟ --มฟ - -ซล ---ท --- ล ---ฟ ---ม
-ร-- ม-ม- มร-- มฟ-- ซฟม- ลซฟ- ซฟม- ฟมร-
รท-- ทล-- ลฟ-- ฟม-- -ฟล- ฟม-- ม–ฟม ---ร
- - ล ฟ - - ฟ ม - - ม ร - - ร ทฺ - - - ม - - ร ทฺ - ร - - ร ทฺ - ลฺ
ทฺ - ด - ร - ม - ฟ - ซ - ล - ท - ท - ท - ล - ซ - ฟ - ม - ร - ด -
- ลฺ - ทฺ - ด – ร - ม - ฟ - ซ – ล - ล - ซ - ฟ – ม - ร - ด - ทฺ – ลฺ
ม-ฟ- ซ-ล- ท-ด- ร-ม- ม-ม- ร-ด- ท-ล- ซ-ฟ-
-ร-ม -ฟ–ซ -ล-ท -ด–ร -ร-ด -ท–ล -ซ-ฟ -ม–ร
---ซ ---ล ---ท ---ซ ---ท ---ล ---ซ --- ม
ฟมร- ฟมร- ซฟม- ลซฟ- ฟมร- ลซฟ- ซฟม- ฟมร-
รท-- ทล-- ลฟ-- ฟม-- -ฟล- ฟม-- ม-ฟม ---ร
- - ล ฟ - - ฟ ม - - ม ร - - ร ทฺ - - - ม - - ร ทฺ - ร - - ร ทฺ – ลฺ
( ซซรซ ลทดร ) - - - ร - ร - - ( ซลซม ซมรท ) - - - ท - ท - -
-ร-- ---ร - ทฺ - - - - - ทฺ
๑๑
- - ร ร - - ลฺ ลฺ - - ทฺ ท - - ร ร - - ซ ซ - - ม ม - - ร ร - - ทฺ ท
- - - ลฺ - - - มฺ - - - มฺ - - - ลฺ - - - ซฺ - - - ทฺ - - - ลฺ - - - ฟฺ
---- ---ซ ---- ---ล ---- ---ท ---- ---ร
- - - - - ซฺ - - - - - - - ลฺ - - - - - - - ทฺ - - - - - - - ร - -
---- ---ร ---- ---ม ---- ---ท ---- ---ล
- - - - - ร - - - - - - - ม - - - - - - - ทฺ - - - - - - - ลฺ - -
ท่อน 2
---ม --ซซ ---ล --ซซ -ม-- รท-- ซซ-- ลล--
---ท -ซ-- ---ล -ซ-- --รท --ลซ ---ล ---ท
--ลท -ร-ม -ม–ม -ร-ท -ท-- ทล-- ลซ-- ซม--
-ซ-- -ร–ม -ซ-ม -ร–ท --ลซ --ซม --มร --รท
รรร- รรร- รรร- รรร- --ลท --รม -ล-- ซ-ซ-
- - - ลฺ - - - ทฺ - - - ลฺ - - - ท - ซ - - ล ท - - - - ซ ม - ร – ม
-ล-- ซม-- ---- มร–ม -ท-- ทท-- ลล-- ซซ-ม
- - ซ ม - - ร ท - ล - ท - ลฺ – ทฺ - ท - ท - - - ล - - - ซ - - - ทฺ
---ม --ซซ ---ล --ซซ -ท-- ท-ล- ซ-ล- ล-ซ-
- - - ทฺ - ซ - - - - - ล - ซ - - - - - ล - ซ – ม - ม - ซ - ม – ร
--ลท --รม --ซล --ซ- -ท-- ท-ล- ซ-ล- ล-ซ-
-ซ-- ลท-- รม-- ซม–ร ---ล -ซ–ม -ม-ซ -ม–ร
ม-- รท-- ซซ-- ลล-ท -ร-ม -ร-- ทท-- ลล-ซ
--รท --ลซ ---ล ---ท -ร-ม -ร-ท ---ล ---ซ
--ลท --ดร -ม-- รด-- -ทร- ทล-- ล–ทล ---ซ
-ซ-- ลท-- ด–รด --ทล ---ล --ซม -ซ- - ซม--
๑๒
ทอ่ น3
-ฟ-- -ม-- -ร-ร --ทท -ร-- ทร-ล --ทล --ทท
--มร ---ร ---ล -ท-- -ร-- ทร-ล --ทล -ท--
--รม -ซ-ล -ท-ล -ซ-ม --ท- ท–ล- ซ–ล- ล–ซ-
-ด-- -ซ-ล -ท-ล -ซ-ท ---ล -ซ-ม -ม-ซ -ม-ร
- - - - - - - ซ - ล ล - ท ล - - - - - - ---ร -มม- ซม--
---- -ซ-- ---ล --ซม ---- -ร-- ---ม --รท
---- ล–ลล ---- ท–ทท --ลท ร–ทร --รม ซ–มซ
---- -ม-- ---- -ฟ-- -ซ-- -ล-- ลท-- -ร--
---ท --ล- --ทล --ซ- --ลซ --ม- --ซม --ร-
--ซ- ลซ-ซ ---- ซม-ม ---- มร-ร ---- รท-ท
-ท-- ทล-- ลซ-- ซม-- -ร-ซ --ลท -ร-ท -ล-ซ
--ลซ --ซม --มร --รท -ล-ซ ---ท -ร-ท -ล-ซ
---ท --รร -ท-- รร-- -ม-ม -ม-ม มม-- รร-ท
---ฟ -ร-- -ฟ-ร ---ม -ซ-ล -ซ-ม ---ร ---ฟ
-ท-- ทล-- ลซ-- ซม-- -ร-ซ --ลท -ร-ท - ล-ซ
--ลซ --ซม --มร --รท -ล-ซ ---ท -ร-ท -ล-ซ
--รม ฟซ-ซ --ฟซ ลท-ท
ลท-- ---ซ รม-- ---ท
--รร --มม --รร --ทท --รร --ทท --ลล --ซซ
---ร ---ม ---ร ---ท ---ร ---ท ---ล ---ซ
---ท --ล- ---- ฟซ-ซ ---ท --ล- --ทล --ซ-
--ซ ลซ-ซ --รม --ฟ- --ซ- ลซ-ซ ---- ซม-ม
๑๓
---- รม-ม --ทล --ซ- --ท- ลท-ท ---ท --ล-
--ลท --ร- ---- ซม-ม ---ซ --ลฟ --ซ- ลซ-ซ
ลลล- ลลล- ลลล- ลลล- -ท-- ลฟ-- ฟม-- -ร-ม
---ม ---ฟ ---ม ---ฟ --ลฟ --มร --รท -ล-ท
--รม -ซ-ม --รม --ซล -ท-- ท-ล- ซ-ล- ล-ซ-
-ท-- ร-ร- รท-- รม-- ---ล -ซ-ม -ม-ซ -ม-ร
กลับตน้
ท่อน4
---- ทท-ล- ---- ทท-ล- ---- ฟซ-ซ ---- ลท-ท
---- -ท-ท ---- -ท-ท --รม --ฟซ --ฟซ --ล-
--ลล --ทท --รร --มม --ลล --ซซ --มร --รร
---ม ---ฟ ---ร ---ม ---ล ---ซ ---ท ---ล
ดดรด นา ดดรด ตาม นา ลทดร ตาม ลทดร
ทลซร --ด- ---- ---- ซซ--ซ ---ร
ทลซร ซซรซ -ซ-ร
--มม --มม --รร --ทท --ลล --ทท --รร --มม
---ร ---ม ---ร ---ท ---ล ---ท ---ร ---ม
- - ท - ล ท - ท - - - - ซ ล - ล - - -ซ - ม ซ - ซ - - - - ร ม - ม
---ซ --ลฟ --รม --ซม ---ร --มร --ลท --รท
--ลล --ท- --รร --มท --ฟฟ --ซซ --ลล --ทท
- - - ม - - -ฟ - - - ล - - - -ท - - - -ฟ - - - ซ - - - ล - - - ท
--ร- ทร-ร ---- รม-ม --ร- ทร-ร --ท- ลท-ท
---ล --ทล --ลท --รท ---ล --ทล ---ซ --ลฟ
--รร --มม -- ร --ทท --รร --ทท --ลล --ซซ
---ร ---ม ---ร ---ท ---ร ---ท ---ล ---ซ
---ท --ล- --ทล -ซ-- --ลซ --ม- --ซม --ร-
- - ซ - ล ซ - ซ - - - - ซ ม - ม - - - - ม ร - ร - - - - ร ท - ท- -
๑๔
- - - ร - ท ร - ร - - - - ร ม - ม - - ซ - ม ซ - ซ - - - - ซ ล- ล
---ล --ทล --ลท - รท ---ร --ม- --รม --ซ-
--ลล --ลล --ลล --ลล -ท-ร -ท-- ลล-- ซซ-ม
---ร ---ล ---ร ---ล -ท-ร -ท-ล ---ซ ---ม
-ม-- รท-- ซซ-- ลล-ท -ร-ม -ร-- ทท-- ลล-ซ
--รท --ลซ ---ล ---ท -ร-ม -ร-ท ---ล ---ซ
-มรท -ล-ร ---ท ---ล ---ซ ---ฟ ---ม ---ร
-มรท -ล-ร ---ท ---ล ---ซ ---ฟ ---ม ---ร
รายนามผู้บรรเลง
ระนาดเอก นายจตุรงค์ พลเดช
ระนาดทมุ้ นายจริ ฏั ฐ์ กาญจนวงศ์
ฆ้องวงใหญ่ นางสาววิลาสินี รวยร่ืน
ฆอ้ งวงเล็ก นายธงไท หนสู ง
ป่ใี น นายดรัณภพ เกิดแกว้
ฉง่ิ นายภมู พิ ฒั น์ วิทยารัฐ
กลองสองหนา้ นางสาวแคทลยี า สุขเจรญิ
กรับ นางสาวฐิตาพร มีเตม็
ฉาบเล็ก นายอภิสิทธิ์ เฉลมิ วรบตุ ร
โหม่ง นางสาวปัฏฐมา สวุ รรณโณ
๑๕
การแสดงลาดบั ที่ 2
เพลงระบากรบั
ระบากรับเป็นชุดการแสดงที่ประยุกต์ขึ้นโดยนากรับพวงซึ่งเป็นเครื่องดนตรีประกอบ
จังหวะของวงดนตรีไทยมาประดิษฐ์เป็นชุดระบาในรูปแบบนาฏศิลป์พื้นบ้านภาคกลาง ท่ีมาของระบาชุดน้ีคือ
วิทยาลัยนาฏศิลป์ได้สร้างสรรค์ระบากรับเพื่อแสดงคร้ังแรกในงานเล้ียงต้อนรับคณะผู้ร่วมโครงกา รเรือเยาวชน
เอเชียอาคเนย์ ณ ทาเนียบรัฐบาล เม่ือเดือนตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๔ ผู้แต่งทานองเพลงคือ ครูมนตรี ตราโมท
ผู้เช่ียวชาญด้านดุริยางค์ไทย กรมศิลปากร และศิลปินแห่งชาติ ผู้ประดิษฐ์ลีลาท่ารา.คือ ครูลมุล ยมะคุปต์
ผู้เช่ียวชาญการสอนนาฏศิลป์ กรมศิลปากร และครูเฉลย ศุขะวณิช ผู้เช่ียวชาญการสอนนาฏศิลป์ กรมศิลปากร
และศิลปินแห่งชาติ การแสดงระบากรับใช้ผู้แสดงเป็นหญิงล้วน นุ่งผ้าโจงกระเบนผ้าพิมพ์ลาย ห่มผ้าแพรจีบสไบ
เฉียงสวมเคร่ืองประดับ ผมทรงดอกกระทุ่มทัดแป้งพวง ดนตรีท่ีใช้ประกอบการแสดง เป็นวงปี่พาทย์ไม้นวมเครอื่ ง
ห้า เครื่องคู่ หรือเครื่องใหญ่ ท่วงทานองและจังหวะเป็นเพลงอัตราจังหวะสองช้ันและชั้นเดียว ไม่มีบทร้อง
ประกอบการแสดง
ลักษณะของเพลงระบากรับ เป็นเพลงที่มีอัตราจังหวะสองช้ันและชั้นเดียว มีจานวน
ทั้งหมด 2 ท่อน โดยเพลงระบากรับเป็นเพลงบังคับทางที่มีท่วงทานองเรียบง่ายแต่กลับให้อารมณ์ที่มีความ
สนุกสนานเพลิดเพลิน ในด้านของการแสดงและการบรรเลง เพลงระบากรับถือว่าเป็นชุดการแสดงท่ีโดดเดน่
แตกต่างจากระบาชุดอ่ืนๆ เนื่องจากเป็นระบาหนึ่งในไม่ก่ีชุดที่มีการนาเคร่ืองดนตรีท่ีอยู่ในวงดนตรีไทยเข้ามา
ประกอบในการแสดง ซึ่งนับว่าเป็นชดุ การแสดงที่งดงามและน่าชมอกี ชดุ หนึ่ง
การบรรเลงวงป่ีพาทย์ไม้นวมเพลงระบากรับในคอนเสิร์ตมิติรสเพลงไทยคร้ังที่ 11
“กษิณามุทิตเวที ผู้ช่วยศาสตราจารย์กี จันทศร” ในครั้งน้ี นักศึกษาได้ทาการคัดเลือกเพลงระบากรับ ซึ่งจัดอยู่ใน
รายวชิ าดนตรปี ระกอบการแสดงมานาเสนอผลงานทางดา้ นดนตรีไทย โดยเพลงระบากรบั เป็นหน่งึ ในประเภทเพลง
ระบาท่ี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กี จันทศร ช่ืนชอบเป็นอย่างมาก ในคาบเรียนรายวิชาดนตรีประกอบการแสดง
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์กี จนั ทศร ไดก้ ลา่ วถึงเพลงระบากรับไว้ว่า “เปน็ เพลงระบาท่ีมีความไพเราะและมีทว่ งทานองท่ี
สนกุ สนานนา่ สนใจ” นกั ศึกษาจงึ ต้ังใจท่จี ะนาบทเพลงดังกล่าวซึง่ เป็นเพลงท่ีผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์กี จันทศร ช่ืนชอบ
มาทาการแสดงในคอนเสริ ต์ มิตริ สเพลงไทยครง้ั น้ี
๑๖
เพลงระบากรบั
* สองช้ัน เล่น ๒ รอบ ฟซลด -ลลล --รด -ล–ซ ฟซลด -ลลล
-ซฟซ -ลลล -ร–ด -ล–ซ ฟซลร -รรร
* ชั้นเดียว เล่น ๔ รอบ ฟซลด -ลลล --รด -ล–ซ ฟซลด -ลลล
-ซฟซ -ลลล -ร–ด -ล–ซ ฟซลร -รรร
สองชน้ั ( ทอ่ น ๑ ) -ดลด -ร-- มดมร - ด –ฟ -ฟ–ซ ลด–ล
-ซฟซ -ลลล ดซดล -ซ–ฟ มรดม -รรร
-ดรม -รรร มดรม -ร-- -ซ–ม -ร–ม รดรม -รรร
---- -ร–ล มดรม -ร-- มรดล -ซ–ฟ มรดม -รรร
-ดรม -รรร
---- -ร–ล ( กลับต้น )
---- -ล–ร
---- -ร–ล
---ล --ดร
---- ซลดร
สองชน้ั ( ทอ่ น ๒ ) ---ด -ร-- มดรม -ซ–ม ซมรด -ลดร
-ดลด -ร-- มดมร - ด –ฟ -ฟ–ซ ลด–ล
---- -ซ–ล -ซฟซ ดลลล ดซดล -ซ–ฟ มรดม -รรร
---- -ล–ร มดรม -ร-- -ซ–ม -ร–ม รดรม -รรร
---- -ร–ล มดรม -ร-- มรดล -ซ–ฟ มรดม -รรร
---ล --ดร
---- ซลดร ( กลับตน้ )
ชั้นเดียว ( ท่อน ๑ ) --ดร ฟลซฟ --รร ฟรดล --ซซ ลฟซล
-- ลล --ลล -ซฟร -ฟ-- ดรฟซ ฟร–ด
--ดร ฟลซฟ
( กลบั ตน้ )
ช้ันเดยี ว ( ท่อน ๒ )
- - ฟํ ร ฟ ด ร ล ด ล ร ด ร ล ด ซ - - ล ซ ฟ ซ ล ด - - ล ล ด ล ซ ฟ
- - ฟํ ร ฟ ด ร ล ด ล ร ด ร ล ด ซ - - ล ซ ฟ ซ ล ด - - ล ล ด ล ซ ฟ
--ลซ ลฟซร ฟรซฟ ซรฟด
( กลบั ตน้ )
๑๗
ลงจบ
- ลฺ – ล - - - ด - - - ร - - - ฟ - - ด ร ม ฟ ซ ล - - ด ร ม ฟ ซ ล
--ดร มฟซล --ดร มฟซล --ดร มฟซล --ลล --ลล
--ลล --ลล --ลล --ลล --ลล --ลล ---- ---ด
---- ---ร ---- ---ม ---- ---ฟ ---- ----
รายนามผู้บรรเลง นายวรธน ธรรมเจรญิ
ระนาดเอก นายศรายทุ ธ ดวงมาก
ระนาดทมุ้ นางสาวเมธินี จนั ผลชว่ ง
ฆ้องวงใหญ่ นางสาวปฎั ฐมา สุวรรณโณ
ฆอ้ งวงเลก็ นายธรี ภทั ร์ น่มุ นาม
ซออู้ นายปรภพ คะทะวรตั น์
ขลยุ่ นางสาวสชุ าดา ฤทธิ์เดชา
ฉิง่ นางสาวแคทลียา สุขเจริญ
กลองแขก นายจิรัฏฐ์ กาญจนวงศ์
นางสาวฐติ าพร มเี ต็ม
กรับ นายศภุ ฤกษ์ สะละ
ฉาบเล็ก นางสาวอารีรัตน์ ฤทธเ์ิ ดชา
ฉาบใหญ่ นางสาวสิรลิ กั ษณ์ ศรรี ตั น์
โหมง่
๑๘
การแสดงลาดับที่ 3
เพลงเรอ่ื งกระบ่ีลลี า
เพลงกระบ่ีลีลา อัตรา 2 ช้ัน ของเก่า ประเภทหน้าทับปรบไก่ มีท่อนเดียว 4 จังหวะ
ใช้บรรเลงในการแสดงโขนละคร และเป็นเพลงอันดับท่ี 3 ในตับเร่ืองรามเกียรต์ิ ตอนอินทรชิตแผลงศรนาคบาศ
หรือท่ีเรียกกันส้ันๆ ว่า ตับนาคบาศ เพลงน้ีมีผู้แต่งขึ้นเป็นเพลงเถาหลายทาง ทางแรกหลวงประดิษฐ์ไพเราะ (ศร
ศิลป-บรรเลง) แต่งให้วงดนตรีคุรุสภาบรรเลงเมื่อประมาณ พ.ศ.2490 - 2493 อีกทางหน่ึง เรือเอก ชิต แฉ่งฉวี
แตง่ ขน้ึ เปน็ เพลงเถาท้งั ทางรอ้ งและทางดนตรสี าหรับวงเครื่องสาย เม่อื วนั ที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ.2493 และมอบ
ให้นายเล็ก ทีฆกุล เปน็ ผู้แตง่ บทรอ้ ง อาศยั เคล้าโคลงจากเร่ืองรามเกียรติ์ มอบให้นางเบญจรงค์ แฉง่ ฉวี รอ้ งเปน็ คน
แรก ต่อมานายประกอบ สุกัณหะเกตุ ได้แต่งทานอง 3 ช้ันข้ึนใหม่อีกทางหนึ่ง เที่ยวแรกเปน็ ทางธรรมดา ลีลาของ
เพลงเป็นไปอย่างเรียบๆ เท่ียวกลับเป็นทางเปลี่ยนมีทั้งลูกล้อลูกขัดและลูกเหล่ือมสลับกันไป ส่วนทานอง 2 ช้ัน
เท่ียวแรกคงใช้ทางเดิม แต่เท่ียวกลับใช้ทางของครูเจือ เสนาวงศ์ ณ อยุธยา ซึ่งได้ทาทางเปล่ียนไว้เมื่อประมาณ
พ.ศ.2480 และนายประกอบ สุกัณหะเกตุ ได้ตัดลงเป็นช้ันเดียวครบเป็นเพลงเถา เม่ือวันท่ี 10 เมษายน พ.ศ.
2503 อนึ่ง นายมนตรี ตราโมท อธิยายเพิ่มเติมว่า เดิมเพลงกระบี่ลีลา 2 ช้ัน ร้องและบรรเลงท่อนเดียว ต่อมา
ท่านได้ท่อน 2 จากนางเคลอื บ ตน้ เสียงหุน่ กระบอกของ ม.ว.ร.เถาะ พยัคฆเสนา แล้วนามาเผยแพร่ท่ีกรมศิลปากร
เมอ่ื ประมาณ พ.ศ.2500
ต่อมา ครูเฉลิม บัวท่ัง (ศิลปินแห่งชาติ) ได้นาเพลงกระบ่ีลีลามาประพันธ์เป็นเพลงเร่ือง
โดยนาเพลงชุดต่างๆที่มีลักษณะกลุ่มบันไดเสียงเดียวกันมาร้อยเรียงกันเป็นชุดเพลง โดยเพลงช้าประกอบไปด้วย
เพลงกระบลี่ ีลา เพลงตะลุมโปง เพลงเทวาประสิทธ์ิ เพลงกลอ่ มนารี ในส่วนของเพลงสองไม้ได้นาเพลงเรว็ พระราม
เดินดงมาขยายเป็นอัตราจังหวะ 2 ช้ัน แล้วออกเพลงเร็วพระรามเดินดงและจบด้วยเพลงลา โดยเพลงดังกล่าว
ผูช้ ว่ ยศาสตราจารยก์ ี จนั ทศร ไดร้ บั การถา่ ยทอดมาจากครพู ัฒน์ บวั ทัง่ ซึ่งเป็นบุตรชายของ ครูเฉลมิ บวั่ ท่งั โดยนับ
ได้ว่าเพลงนี้เป็นเพลงท่ีผู้ช่วยศาสตราจารย์ กี จันทศร ได้รับการถ่ายทอดจากครูผู้เป็นเชื้อสายโดยตรงของ
ผปู้ ระพันธเ์ พลง
การบรรเลงวงปี่พาทย์ไม้แข็งเพลงเร่ืองกระบ่ีลีลา ในการจัดแสดงคอนเสิร์ตมิติรสเพลง
ไทย คร้ังที่ 11 “กษิณามุทิตเวที ผู้ช่วยศาสตราจารย์กี จันทศร” ซึ่งเพลงดังกล่าวเป็นเพลงท่ีสาคัญ เน่ืองจาก
ผู้ช่วยศาสตราจาย์กี จันทศร ได้นามาจัดทาวิทยานิพนธ์ เร่ืองกรณีศึกษาเพลงเร่ืองกระบี่ลีลา ทางครูเฉลิม บัวทั่ง
ในการขอตาแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์นับว่าเป็นเกียรติยศในชีวิตข้าราชการครูของผู้ช่วยศาสตราจารย์กี จันทศร
อกี ทัง้ ยังได้ถ่ายทอดองค์ความรู้ในเพลงเรื่องกระบ่ีลลี าให้กับนักศึกษาชั้นปที ่ี 4 สาขาวชิ าดนตรไี ทย คณะศลิ ปกรรม
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา นักศึกษาเล็งเห็นความสาคัญของเพลงข้างต้นจึงได้ทาการนามาจัดแสดงใน
คอนเสริ ต์ มติ ิรสเพลงไทย ครัง้ ที่ 11 “กษณิ ามุทติ เวที ผชู้ ่วยศาสตราจารยก์ ี จนั ทศร”
๑๙
เพลงเรอ่ื งกระบล่ี ีลา
เทย่ี วแรก
- - - ซ - - - ม - ซ – ร - ม - ซ - ล ซ ม - ร - ทฺ - - - ลฺทฺ - ร - ม
- - - ซฺ - - - ทฺ - ซฺ - ลฺ - ทฺ – ซฺ - ลฺ ซฺ ทฺ - ลฺ – ฟฺ - - ซฺ - - รฺ – มฺ
- - - - - ล - ล - ท – ล - ซ - ม - ซ – ล - ซ - - ม ม - - ร ร - ทฺ
- - - ลฺ - - - - - ทฺ - ลฺ - ซฺ – ทฺ - ซฺ - ลฺ - ซฺ – มฺ - - - รฺ - - - ฟฺ
---ม --ซซ ---ล --ซซ -ม-- รร-- ซซ-- ลล-ท
- - - ทฺ - ซฺ - - - - - ลฺ - ซฺ - - - ทฺ - ลฺ - - - ซฺ - - - ลฺ - - - ทฺ
- - - ลทฺ ฺ - ร – ม - ม - ม - ร – ท - ร - ม - ร - - ท ท - - ล ล – ซ
- - ซฺ - - ร - ม - ซ – ม - ร - ทฺ - ร – ม - ร - ทฺ - - - ลฺ - - - ซฺ
กลบั ตน้
เทีย่ วกลบั
- - - ซ - - - ม - ซ – ร - ม - ซ - - - ลฺทฺ - ร – ม - ม - ม - ม - ร
- - - ซฺ - - - ทฺ - ซฺ - ลฺ - ทฺ – ซฺ - - ซฺ - - ร - ม - ล – ซ - ม – ร
- - - - - ร - ร - - - ลฺทฺ - ร – ม - ม - ม - ม - - ม ม - - ร ร - ทฺ
- - - ร - - - - - - ซฺ - - ร - ม - ซ – ล - ซ – ม - - - รฺ - - - ทฺ
---ม --ซซ ---ล --ซซ -ม-- รร-- ซซ-- ลล-ท
- - - ทฺ - ซฺ - - - - - ลฺ - ซฺ - - - ทฺ - ลฺ - - - ซฺ - - - ลฺ - - - ทฺ
- - - ลทฺ ฺ - ร – ม - ม - ม - ร – ท - ร - ม - ร - - ท ท - - ล ล – ซ
- - ซฺ - - ร - ม - ซ – ม - ร - ทฺ - ร – ม - ร - ทฺ - - - ลฺ - - - ซฺ
กลับตน้
เพลงตะลุ่มโปง
ท่อน 1
---ม --ซซ ---ล --ซซ -ม-- รร-- ซซ-- ลล-ท
- - - ทฺ - ซฺ - - - - - ลฺ - ซฺ - - - ทฺ - ลฺ - - - ซฺ - - - ลฺ - - - ทฺ
- - - ลฺทฺ - ร – ม - ม - ม - ร – ท - ร – ท - ล – - ซ ซ - - ล ล - ท
- - ซฺ - - ร - ม - ซ – ม - ร - ทฺ - ร - ทฺ - ลฺ - ซฺ - - - ลฺ - - - ทฺ
๒๐
เพลงเรอ่ื งกระบีล่ ลี า (1)
---ล --ทท ---ร --ทท -ร–ม -ร-- ทท-- ลล–ซ
- - - ลฺ - ทฺ - - - - - ร - ทฺ - - - ร - ม - ร - ทฺ - - - ลฺ - - - ซฺ
- ล ซ ซ - - ซ ซ - - ฟ ฟ - ซ – ล - ซ - - - ลทฺ ฺ- ร - ม - ร - ท – ล
- - - ด - ซฺ - - - ฟฺ - - - ซฺ - ลฺ - ร - - ซฺ - - - ร - ม – ร - ทฺ - ลฺ
กลบั ตน้
ท่อน 2
- - - ม - - ซ ซ - - - ล - - ซ ซ - - - ซฺ - - ลฺ ทฺ - - ลฺ ทฺ - - ด ร
- - - ทฺ - ซฺ - - - - - ลฺ - ซฺ - - - ร - - - ซฺ - - ลฺ ซฺ - - ลฺ ทฺ - -
- ม ร ร - - ร ร - ซ - ม - ร – ซ - - - ลทฺ ฺ - ร – ม - ม - ม - ม - ร
- - - ซฺ - รฺ - - - ซฺ – ทฺ - ลฺ - ซฺ - - ซฺ - - ร - ม - ล – ซ - ม – ร
- - - - - ร - ร - - - ลฺทฺ - ร – ม - ม - ม - ม - - ม ม - - ร ร - ท
- - - ร - - - - - - ซฺ - - ร - ม - ซ – ม - ซ - ม - - - ร - - - ทฺ
-ร–ท -ล–- ซซ-- ลล-ท -ร-ม -ร-- ทท-- ลล–ซ
- ร - ทฺ - ลฺ - ซฺ - - - ลฺ - - - ทฺ - ร – ม - ร - ทฺ - - - ลฺ - - - ซฺ
กลบั ต้น
เพลงเทวาประสทิ ธิ์
ทอ่ น 1
---ม --ซซ ---ล --ซซ -ม-- รร-- ซซ-- ลล-ท
- - - ทฺ - ซฺ - - - - - ลฺ - ซฺ - - - ทฺ - ลฺ - - - ซฺ - - - ลฺ - - - ทฺ
- - - ลฺทฺ - ร – ม - ม - ม - ร – ท - ร - ม - ร - - ท ท - - ล ล – ซ
- - ซฺ - - ร - ม - ซ – ม - ร - ทฺ - ร – ม - ร - ทฺ - - - ลฺ - - - ซฺ
---- -ล-ล -ท–ล -ซ-ม -ฟล- ฟม-- ---- -ร-ม
- - - ลฺ - - - - - ทฺ - ลฺ - ซฺ – ทฺ - - - ม - - ร ทฺ - ลฺ - ทฺ - ลฺ – ทฺ
-ม-- รร-- ซซ-- ลล-ท -ร-ม -ร-- ทท-- ลล–ซ
- ทฺ - ลฺ - - - ซฺ - - - ลฺ - - - ทฺ - ร – ม - ร - ทฺ - - - ลฺ - - - ซฺ
กลบั ต้น
๒๑
เพลงเร่ืองกระบี่ลีลา (2)
ท่อน 2
- - - - - ฟ - ฟ - ล - ฟ - ม - ร ม - ซ ม - - - ร - - - - - รม - ซ
- - - ฟฺ - - - - - ลฺ - ฟฺ - มฺ – รฺ - ร - - ร ทฺ – ลฺ - ทฺ - - ด - - ซฺ
---- -ล-ล -ท–ล -ซ–ฟ --รร -ม-ฟ -ม–ฟ -ซ-ล
- - - ลฺ - - - - - ทฺ - ลฺ - ซฺ - ฟฺ - รฺ - - - มฺ – ฟฺ - มฺ - ฟฺ - ซฺ – ลฺ
- - - - - ล - ล - - - มฟ - ล - ท - ร - ม - ร - - ท ท - - ล ล – ฟ
- - - ลฺ - - - - - - ร - - ลฺ – ทฺ - ร – ม - ร - ทฺ - - - ลฺ - - - ฟฺ
- - - มฟ - ล - - - ล - - ฟ - - - - - ลฺ – ร - - ม ฟ - ล – ฟ - ม - ร
- - ร - - - - ม - ร - - - มร - ทฺ - มฺ - รฺ - - - ฟฺ - ลฺ - ฟฺ - มฺ – รฺ
เพลงกลอ่ มนารี
- - - ทฺ - - ร ร - - - ม - - ร ร - ม - - ร ร - - ม ม - - ซ ซ - ล
- - - ฟฺ - รฺ - - - - - มฺ - รฺ - - - มฺ - รฺ - - - มฺ - - - ซฺ - - - ลฺ
---- -ซ-ซ -ซ-- ลล-ซ -ท–ร -ท-- ลล-- ซซ-ฟ
- - - ซฺ - - - - - ซฺ - ลฺ - - - ซฺ - ทฺ - ร - ทฺ – ลฺ - - - ซฺ - - - ฟฺ
---- -ฟ-ฟ -ท–ล -ฟ-ม -ล–ฟ -ม-- รร-- มม-ฟ
- - - ฟฺ - - - - - ทฺ - ลฺ - ฟฺ – มฺ - ลฺ - ฟฺ - มฺ – รฺ - - - มฺ - - - ฟฺ
- ทฺ - - ลฺ ลฺ - - ทฺ ทฺ - - ร ร – ม - ลฺ - ร - - ม ฟ - ล - ฟ - ม – ร
- ฟฺ - มฺ - - - ฟฺ - - - รฺ - - - มฺ - มฺ – รฺ - - - ฟฺ - ลฺ – ฟฺ - มฺ - รฺ
กลบั ต้น
เพลงสองไม้
ท่อน 1
---ร ---- -ซ-ซ ---ล ---ซ --ลท -ล-ท -ด–ร
- - - ลฺ - - - ซฺ - - - - - - - ลฺ - ซฺ - - - - - ทฺ - ลฺ – ทฺ - ด - ร
---ร ---- -ซ-ซ ---ล ---ซ --ลท -ล-ท -ด–ร
- - - ลฺ - - - ซฺ - - - - - - - ลฺ - ซฺ - - - - - ทฺ - ลฺ – ทฺ - ด - ร
๒๒
- ซ – ซ - - ม - - - - ด - - - รม - - ร - - ซ - ฟ - - - - - - - ร
- - - ม - - - รด - ซฺ - - - - ด - - ร - ร - - - - - ม - ร - ด – ลฺ
เพลงเรื่องกระบลี่ ลี า (3)
--ร- -ซ-- -ซ-- -ม-ฟ ---- -ซ-ฟ ---- ---ซ
-ร-ร ---ร ---ร ---- -ม-ร ---- -ม-ร -ด-ซ
- ล - - ซ ม - - - - - ด - - รม - - ร - - ซ - ฟ - - - - - - - ร
ซม-- --รด -ซ-- --ด- -ร-ร ---- -ม-ร -ด-ล
--ร- -ซ-- -ซ-- -ม-ฟ ---- -ซ-ฟ ---- ---ซ
-ร-ร ---ร ---ร ---- -ม-ร ---- -ม-ร -ด-ซ
-ล-- -ล-- -ซ-ซ ---ล ---ซ --ลท -ล-ท -ด-ร
- ลฺ - - - ลฺ - ซ - - - - - - - ลฺ - ซฺ - - - - - ท - ลฺ - ท - ด - ร
- ม - ม - ร - - ด ด - - ท ท - ล - - รม - ซ - - - ล - ล - - - ซ
- ซ – ม - ร - ด - - - ท - - - ล - - ด - - ซ - ล - - - - - - - ซฺ
-ล-- -ล-- -ซ-ซ ---ล ---ซ --ลท -ล-ท -ด-ร
- ลฺ - - - ลฺ - ซ - - - - - - - ลฺ - ซฺ - - - - - ท - ลฺ - ท - ด - ร
- ม - ม - ร - - ด ด - - ท ท - ล - - รม - ซ - - - ล - ล - - - ซ
- ซ – ม - ร - ด - - - ท - - - ล - - ด - - ซ - ล - - - - - - - ซฺ
---- -ซ-ซ ---- -ฟ-ซ ---ด -ร-ด ---ล ----
- - - ซฺ - - - ล - ร - ม - - - - - - - ร - - - - - ฟ - ซ - - - ซ
---- -ซ-ซ ---- -ฟ-ซ ---ซ ---ซ ---ม ----
- - - ซฺ - - - ล - ร - ม - - - - - - - ร - - - - - ด - ร - - - ร
---- -ซ-ซ ---- -ฟ-ซ ---ด -ร-ด ---ล ----
- - - ซฺ - - - ล - ร - ม - - - - - - - ร - - - - - ฟ - ซ - - - ซ
๒๓
---- -ซ-ซ ---- -ฟ-ซ ---ซ ---ซ ---ม ----
- - - ซฺ - - - ล - ร - ม - - - - - - - ร - - - - - ด - ร - - - ร
กลับตน้
เพลงเรื่องกระบีล่ ลี า (4)
ท่อน 2
---ร ---- -ซ-ซ ---ล ---ซ --ลท -ล-ท -ด–ร
- - - ลฺ - - - ซฺ - - - - - - - ลฺ - ซฺ - - - - - ทฺ - ลฺ – ทฺ - ด - ร
---ร ---- -ซ-ซ ---ล ---ซ --ลท -ล-ท -ด–ร
- - - ลฺ - - - ซฺ - - - - - - - ลฺ - ซฺ - - - - - ทฺ - ลฺ – ทฺ - ด - ร
---- -ร-ร -ร-- -ร-- ---- -ร-ร -ร-- ---ร
--มร ---- -ซ-- มร-- มร-- ---- -ซ-- มร--
---ร ---- -ซ-ซ ---ล ---ซ --ลท -ล-ท -ด–ร
- - - ลฺ - - - ซฺ - - - - - - - ลฺ - ซฺ - - - - - ทฺ - ลฺ – ทฺ - ด - ร
---ร ---- -ซ-ซ ---ล ---ซ --ลท -ล-ท -ด–ร
- - - ลฺ - - - ซฺ - - - - - - - ลฺ - ซฺ - - - - - ทฺ - ลฺ – ทฺ - ด - ร
---- -ร-ร -ร-- -ร-- ---- -ร-ร -ร-- ---ร
--มร ---- -ซ-- มร-- มร-- ---- -ซ-- มร--
-ม-- -ม-- -ร-ร ---- -ร-- -ร-- -ด-ด ----
-ม-- -ม-ร ---- ---- -ร-- -ร-ด ---- ----
-ท-ล ---- -ซ-- -ซ-ล -ท-ล ---- -ท-ด -ร--
---- -ซ-ร ---ร ---- ---- -ซ-ล ---- ---ด
---ด --ด- -ร-- ท--ล -ซ-- -ซ-ล ---- -ท-ด
- ซ - - - - ทล - - - - - ลซ - - - - - ร - - - - - ซ - ล - - - -
-ร-ด ---- ---- -ท-ด ---ด --ด- --ท- -ม-ร
- - - - - ท - ล - ซ - ล - - - - - ซ - - - - - ทล - - - ลซ - ม - ร
๒๔
-ม-- -ม-- -ร-ร ---- -ร-- -ร-- -ด-ด ----
-ม-- -ม-ร ---- ---- -ร-- -ร-ด ---- ----
-ท-ล ---- -ซ-- -ซ-ล -ท-ล ---- -ท-ด -ร--
---- -ซ-ร ---ร ---- ---- -ซ-ล ---- ---ด
เพลงเร่อื งกระบีล่ ลี า (4)
-ร-ด ---- ---- -ท-ด -ท-ล ---ท --ท- -ล--
- - - - - ท - ล - ซ - ล - - - - - - - - - ซ - - - - - ลซ - - - ซ
---- -ซ-ซ -ซ-- ---ซ ---- -ซ-ซ -ซ-- ---ซ
- - ลฺ ซฺ - - - - - ด - - ลฺ ซฺ - - - - ลฺ ซฺ - - - - - ด - - ลฺ ซฺ - -
กลบั ตน้
ท่อน3
---ร ---- -ซ-ซ ---ด ---ร -ด-ท ---- -ด-ด
- - - ลฺ - - - ซฺ - - - - - - - ด - ร - - - ด - ท - - - ด - - - -
-ร-- -ร-- -ม-ม -ร-- ---ร ---- -ซ-ซ ---ด
- - - ร - ร - ม - - - - - - - ร - - - ล - - - ซฺ - - - - - - - ด
- ร - - - ด - ด - ซ - ซ - - - ซฺ - ร - ร - - - ร - ด - ด - - - ด
- - - ดท - - - ด - - ซ - - ฟ - - - ร - - - ด - - - - ด - - ท - -
-ท-ท ---- -ด-ร ---ร -ร-ร ---ร -ด-ด ---ด
-ท-- -ล-ท ---- ---ซ --ร- -ด-- --ด- -ท--
-ท-ท ---- -ด-ร ---ร -ร-- -ร-ล --ทล --ทท
- ท - - - ล - ท - - - - - - - ซ - ร - - - ร - ล - - ทฺ ลฺ - ท - -
- - - รม - ซ - ล - ซ - - ล ล - ซ - - - - - ซ - ซ - ซ - - - - - ซ
- - ด - - ซฺ - ลฺ - ซฺ - ลฺ - - - ซฺ - - ลฺ ซฺ - - - - - ด - - ลฺ ซฺ - -
---- -ซ-ซ -ซ-- ---ซ
- - ลฺ ซฺ - - - - - ด - - ลฺ ซฺ - -
๒๕
ท่อน4
---ฟ -ซ-ซ --ม- ---ล -ร-- ดล-- -ลด- ลซ--
- - - ด - - ซ - - - - รด - ร - - - - ด ล - - ซ ฟ - - - ซ - - ฟ ม
-ล-- ซม-- ---ด --รม ซม-- รม-ม --รม --ฟซ
--ซม --รด -ซ-- -ด-- --รด --ร- รด-- รม--
- - - ฟ - - ซ - ซ - - ม - - - - ล - ร -- ด ล - - - ล ด - ล ซ - -
---ด --ซ- ---รด -ร-- --ดล -- ซฟ ---ซ --ฟม
เพลงเรอ่ื งกระบ่ีลีลา(5)
-ล-- ซม-- ---ด --ร ม ซม-- รม-ม --รม --ฟซ
--ซม --รด รม-ซ-- -ด-- --รด --ร- รด-- รม--
-ร-- -ร-ล --ทล --ทท รม-- -ซ-ล -ซ-- ลล-ซ
- ร - - - ร -ล - - ทล - ท - - - ด - - - ซ - ล - ซ - ล - - -ซ
- - - - - ซ - ซ - ซ - - - - - ซ - - - - - ซ - ซ - ซ - - - - -ซ
--ลซ ---- -ด-- ลซ-- --ลซ ---- -ด-- ลซ--
เพลงเรว็
ท่อน1
-ร-- ซซ-ล -ท-ด -รมร -ร-- ซซ-ล -ท-ด -รมร
-ล-ซ ---ล -ท-ด ร-มร -ล-ซ ---ล -ท-ด ร-มร
--ซซ -ล-- ซฟ-- มร-ร --ดร ฟร-- ดร-- ดท--
-ซ-- ฟ-ซฟ --มร --ด- -ท-- --ดท --ดท --ลซ
- - ซ ซ - ล - - ซ ฟ - - ม ร- ร - - ด ร ฟ ร - - ด ร - - ด ท - -
-ซ-- ฟ–ซฟ --มร --ด- -ท-- --ดท --ดท --ลซ
---ซ ลทดร -รมร -ท-- ---ซ ลทดร -รมร ---ท
--ร- ---- ร--- ซ-ลซ --ร- ---- ร--- ซ-ลซ
๒๖
--ซซ --ฟซ -ดรด -ซลซ --ซซ --ฟซ -ซ-ซ -ม--
-ซ-- รม-- ด--- ซ--- -ซ-- รม-- -ร-- ดร-ร
--ซซ --ฟซ -ดรด -ซลซ --ซซ --ฟซ -ซ-ซ -ม--
-ซ-- รม-- ด--- ซ--- -ซ-- รม-- -ร-- ดร-ร
กลับต้น
ท่อน2
-ร-- ซซ-ล -ท-ด -รมร -ร-- ซซ-ล -ท-ด -รมร
-ล-ซ ---ล -ท-ด ร-มร -ล-ซ ---ล -ท-ด ร-มร
-ร-ร -ร-ร -ร-ร -ร-ร -ร-ร -ร-ร -ร-ร -ร-ร
- - - ซ - - - ร - - - ซ - - -ร - - - ซ - - - ร - - - ซ - - -ร
เพลงเร่อื งกระบลี่ ีลา(6)
-ร-- ซซ-ล -ท-ด -รมร -ร-- ซซ-ล -ท-ด -รมร
- ล - ซ - - - ล - ท - ด ร - ม ร - ล - ซ - - -ล - ท - ด ร - ม ร
-ร-ร -ร-ร -ร-ร -ร-ร -ร-ร -ร-ร -ร-ร -ร-ร
- - - ซ - - - ร - - - ซ - - -ร - - - ซ - - - ร - - - ซ - - -ร
-ม-- ร-มร -ร-- ด-รด -ด-- -ท-ท -ด-- ทด--
-ม-ร --มร -ร-ด --รด -ด-ท ---- ซล-- ---ซ
--ซล -ซ-ร -ม-- ร-มร -ร-- ด-รด -ด-- -ท-ท
-ฟ-- -ร-ร -ม-ร --มร -ร-ด --รด -ด-ท ----
-ด-- ทด-- -ร-- ทร-- -ร-ซ -ล-ท -ร-ท -ล-ซ
--ซล ---ซ --ทล ---ซ -ล-ซ -ล-ท -ร-ท -ล-ซ
-ซ-ซ -ซ-ซ -ซ-ซ -ซ-ซ -ซ-ซ -ซ-ซ -ซ-ซ -ซ-ซ
---ด ---ซ ---ด ---ซ ---ด ---ซ ---ด ---ซ
๒๗
ท่อน3
-ร-- ซซ-ด -มรด -ท-ด -ม-ม -ม-ร -ร-- ซซ-ด
-ล-ซ ---ด -มรด -ท-ด -ม-ซ -ม-ร -ล-ซ ---ด
-มรด -ซ-ซ -ร-ร -ด-ด -ท-ท ดร-ร -ร-ร -ด-ด
-มรด -ฟ-- --ด- --ท- --ล- ---ซ --ด- --ท-
- ท - ท ด ร - ร - ร - ล - - ท ท - ม ม- ซ ล - ซ - ซ - ซ - ซ - ซ
- - ล - - - - ซ - ร - ล - ท - - - - ท - ซ ล - ซ - - -ด - - - ซ
- ซ- ซ - ซ - ซ - ซ- ซ - ซ - ซ - ซ- ซ - ซ - ซ
---ด ---ซ ---ด ---ซ ---ด ---ซ
กลบั ตน้
ท่อน4
---- ลซ-ล ---- ลซ-- ซม-- รม-ม --รม --ฟซ
--ฟซ --ฟ- --ฟซ --ฟม --รด --ร- รด-- รม--
---- ลซ-ล ---- ลซ-- ซม-- รม-ม --รม --ฟซ
--ฟซ --ฟ- --ฟซ --ฟม --รด -ร-- รด-- รม--
-ร-ล --ทท -มม- ซล-ซ -ซ-ซ -ซ-ซ -ซ-ซ -ซ-ซ
- ร – ลฺ - ทฺ - - - - ทฺ - ซฺ ลฺ – ซฺ - - - ด - - - ซฺ - - - ด - - - ซฺ
-ซ-ซ -ซ-ซ -ซ-ซ -ซ-ซ
---ด ---ซ ---ด ---ซ
กลับตน้
๒๘
เพลงลา
---ล -ท-- -ม-ร ---ม -ท-ล -ซ-ม --รม -ซ-ล
-ล-- ---ท ---ล ---ท -ท-ล -ซ-ท -ท-- -ซ-ล
-ร-ท -ล-- ซซ-- ลล-ท --ลท -ร-ม -ม-ม -ร-ท
-ร-ท -ล-ซ ---ล ---ท -ซ-- -ร-ม -ซ-ม -ร-ท
--ลล -ท-ล -ซ-ม -ซ-ล -ท-ร -ท-- ลล-- ซซ-ม
-ล-- -ท-ล -ซ-ท -ซ-ล -ท-ร -ท-ล ---ซ ---ท
--รร -ม-ซ -ท-ล -ซ-ม -ร-ม -ร-ท ---ล ---ซ
-ล-- -ท-ซ -ท-ล -ซ-ท -ร-ม -ร-ท ---ล ---ซ
ผบู้ รรเลง นายจตุรงค์ พลเดช
1. ระนาดเอก นายจริ ัฎฐ์ กาญจนวงศ์
2. ระนาดทุ้ม นางสาวปฏั ฐมา สุวรรณโณ
3. ฆอ้ งวงใหญ่ นางสาววลิ าสินี รวยรื่น
4. ฆ้องวงเลก็ นายดรัณภพ เกิดแก้ว
5. ป่ีใน นายภูมิพฒั น์ วทิ ยารฐั
6. ฉ่งิ นางสาวแคทลยี า สุขเจริญ
7. ตะโพน นายภณ นธิ ิวฒั นพงศ์
8. กลองทดั นายอภิสิทธิ์ เฉลิมวรบุตร
9. ฉาบเลก็ นางสาวฐติ าพร มเี ต็ม
10. กรับ
๒๙
การแสดงลาดบั ที่ 4
เพลงพันธฝุ์ ร่ัง เถา
เพลงพนั ธ์ฝุ รงั่ เถา เป็นเพลงเกา่ นบั ว่าเป็นเพลงทีต่ ่างจากเพลงเถาอ่นื ๆ คอื ไมใ่ ช่ 3 ชนั้
2 ชั้น และชนั้ เดียว หากแต่เป็น 2 ชนั้ ช้นั เดยี ว และอัตราจังหวะซึ่งตัดจากช้นั เดียวอกี ช้ันหน่ึง (มักเรียกกันว่า ครงึ่
ช้ัน) เพลงนี้เปน็ เพลงประเภทหน้าทบั ปรบไก่ มที อ่ นเดียว 8 จงั หวะ ต่อมา นายบุญยงค์ เกตคุ ง ได้แต่งเท่ยี วกลบั ไป
เป็นทางเปล่ียนขนึ้ ใหม่ท้ังเถา คณุ ครสู มภพ ขาประเสรฐิ อธิบายว่าเพลงน้ีผู้แต่งได้พยายามซ่อนเงื่อนงาไว้เพื่อไม่ให้
รวู้ ่ามาจากเพลงสองชน้ั ของเดิมเพลงใด ในปี พ.ศ. 2503 คณุ ครูสมภพ ขาประเสริฐ ได้ทาทางเปลีย่ นในเที่ยวกลับ
สาหรับการบรรเลงในทุกอัตรา โดยสอดแทรกลูกเสียงฝร่ังไว้ เรียกว่า เพลงพนั ธฝุ์ รง่ั ทางฝร่ัง บทรอ้ งท่ีจะใช้ขับร้อง
ในครงั้ น้ี เปน็ เนอื้ รอ้ งซ่งึ รอ้ ยโทชติ สุนทรโชติ เปน็ ผ้ปู ระพันธุ์ข้นึ
เพลงพันธ์ฝุ รง่ั เถา เป็นเพลงเถาท่ีมีความน่าสนใจ เนอื่ งจากเปน็ เพลงท่ีต่างจากเพลงเถา
ทั่วไป ในเรือ่ งของโครงสร้างของเพลงและสาเนียงภาษาทใี่ ห้ความร้สู ึกสนกุ สนานน่าสนใจ ในส่วนของเท่ียวกลับจะ
ออกสาเนียงฝร่งั จงั หวะฉ่ิง จงั หวะหนา้ ทบั ของเพลง ก็จะเป็นจังหวะ มารช์ โดยเพม่ิ เครอ่ื งดนตรีตะวันตกมาตกแต่ง
เพิ่มเตมิ ในบทเพลง เพ่ือให้จังหวะของเพลงมีความไพเราะและใหส้ าเนยี งภาษามีความเปน็ ฝรั่งมากยง่ิ ขน้ึ
การบรรเลงวงป่พี าทย์ไม้แข็งเพลงพันธุ์ฝร่ัง เถา ในการจดั การแสดงคอนเสริ ์ตมติ ิรสเพลง
ไทย คร้ังที่ 11 “กษิณามุทิตเวที ผู้ช่วยศาสตราจารย์กี จันทศร” ในคร้ังนี้ นักศึกษาได้คัดเลือกเพลงน้ีมาจัดการ
แสดง ซ่ึงจัดอยู่ในรายวิชาทักษะสกิล มานาเสนอผลงานทางด้านดนตรีไทย โดยเพลงพันธุ์ฝร่ัง เถา เป็นเพลงท่ี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์กี จันทศร นามาถ่ายทอดให้แก่นักศึกษา สาขาวิชาดนตรีไทย คณะศิลปกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา เพื่อให้นักศึกษาได้มีความเข้าใจถึงการบรรเลง ลักษณะของแนวเพลงเถา และการ
แปรทางในแต่ละเครื่องมือต่าง ๆ โดยเฉพาะระนาดทุ้มซ่ึงถือว่าเป็นเครื่องมือที่สามารถตกแต่งทานองเพลงในการ
แปรทางเปน็ ลูกมือฝร่ังได้อยา่ งหลากหลายให้เหมาะสมกับบทเพลงมากย่ิงขน้ึ ในเรอ่ื งของสาเนยี งภาษา
๓๐
เพลงพนั ธ์ฝุ รงั่ เถา
ท่อน 1
---ท --รร ---ม --รร --ลท -ร-ม -ม–ม -ร-ท
- - - ฟ - ร - - - - - ม - ร - - - ซ - - - ร – ม - ซ - ม - ร – ทฺ
-ท-- ลล-- ทท-- รร-ม --ท- ท-ล- ซ-ล- ล-ซ-
- ทฺ - ลฺ - - - ทฺ - - - ร - - - ม - - - ล - ซ – ม - ม - ซ - ม – ร
ม - ม - ม ซ - - ม - ม - ม ซ - - - - ลฺ ทฺ - - ร ม - ล - - ซ ม - -
- ทฺ - ร - - ม ร - ทฺ – ร - - ม ร - ซฺ - - ลฺ ทฺ - - - - ซ ม - - ร ท
- ม - - ร ทฺ - - ซ ซ - - ล ล - ท - ซ - - - ลท - ร - ม - ร - ท - ล
- - ร ทฺ - - ลฺ ซฺ - - - ลฺ - - - ทฺ - ร - - ซ - - ร - ม - ร - ทฺ - ลฺ
- - - - - ท - ท - ม - ร - ท - ล - ร – ซ - - ลท - ร – ท - ล - ซ
- - - ทฺ - - - - - ม - ร - ท – ล - ลฺ - ซฺ - - - ทฺ - ร - ท - ล – ซ
-ฟ-- -ม-- -ร-ร --ซซ -ร-ท -ล-- ซซ-- ลล–ท
- - มร - - - ร - - - ลฺ - ซ - - - ร – ท - ล - ซฺ - - - ลฺ - - - ทฺ
- - ลท - ร – ม - ม - ม - ร – ท - ร - ม - ร – ท ท ท - - ล ล – ซ
- ซ - - - ร - ม - ซ – ม - ร - ท - ร – ม - ร - ทฺ - - - ลฺ - - - ซฺ
- ซ - - ลท - ร - ม – ร - ท - ล - ท – ล - ซ - ม - ซ – ล ล ล - ซ
- ร - - ซ - - ร - ม - ร - ทฺ – ลฺ - ทฺ - ลฺ - ซฺ – ทฺ - ซฺ - ลฺ - - - ซฺ
กลบั ตน้
เที่ยวกลบั
---ม ---ม ---ร ---ด รด-- รม-ร ---- ----
---ซ ---ม ---ร ---ด --ทด ---ล ---- ----
---ซ -ซซซ -ลซฟ -ฟฟฟ -ซฟม -มมม -ฟมร -รรร
- - - ร - ร ร ร - ม ร ด - ด ด ด - ร ด ท - ทฺ ทฺ ทฺ - ด ทฺ ลฺ - ลฺ ลฺ ลฺ
๓๑
---- ซ-ซล -ท–ด -ร-ด ---ล ทดรม --มม --มม
- - - - - ร – ลฺ - ทฺ - ด - ร – ด - - ซ - - - - ม - - - ม - - - ม
-ม–ม -ร-ด --ดด --ดด - -รม ---- --ลท --ลล
- ซ - ม - ร – ด - - - ด - - - ด - - - - ร ด ท ล - - - ลฺ - - - ลฺ
--ทท -ม-ท --ดร มร-- --ดร มร-- ---- ----
- ทฺ - - - ทฺ – ทฺ - - - - - - ด ท - - - - - - ด ท - ล - ซ - - - -
-ร–ม -ฟ-ซ ---- ---- -ม–ฟ -ซ-ล ---- ----
- ลฺ - ทฺ - ฟฺ – ซ - - - - - - - - - ทฺ - ด - ซฺ - ลฺ - - - - - - - -
-ล–ท -ด-ร ---ร ---ร ---ร ---ร --ดร มร--
- ลฺ - ทฺ - ด – ร - - - ลฺ - - - ร - - - ลฺ - - - ร - - - - - - ด ท
---ร ---ร --ดร มร-- --ดร มร-- ---- ----
- - - ลฺ - - - ร - - - - - - ด ท - - - - - - ด ท - ล - ซ - - - -
กลบั ตน้
สองช้นั
---ล --ซซ -ม-- รม-ร ---ร ---ร -ม-- รม-ร
- - - ลฺ - ซฺ - - - - ร ด - - - ล - - - ซ - ร - - - - ร ด - - - ล
-ม–ม -ร-- ดด-- รร-ม -ม–ม -ร-- ดด-- ทท-ล
- ซ - ม - ร – ด - - - ร - - - ม - ซ - ม - ร – ด - - - ทฺ - - - ลฺ
---- -ท-ท -ร–ท -ล-ซ -ซ–ล ทล-- --มฟ --ซล
- - - ทฺ - - - - - ร - ทฺ - ลฺ – ซฺ - ร - - - - ซ ฟ ม ร - - ม ฟ - -
--รร -ม-- --ลล -ท-- --รม -ซ–ล -ซ-- ลล–ซ
- ร - - ท - ร ท - ล - - ซ - ล ซ - ด - - - ซฺ - ลฺ - ซฺ – ลฺ - - - ซฺ
กลบั ต้น
๓๒
เท่ยี วกลับ สองชน้ั
-รมร ---- ---- -ร-- -รมร ---- -รม- ----
ร--- -ท–ซ -ร-ซ -ร-- ร--- -ท–ซ ---ร ----
-รมร ---- ---- -ร-- -รมร ---- -ท-ล ----
ร--- -ท–ซ -ร-ซ -ร-- ร--- -ดทล --ซ- ----
- ร – ม - ร - ร - - ม ร - - - - - ม – ฟ - - -ซ ล - - - - ----
- ลฺ - ทฺ - ลฺ – ร - - - - ด ท ล ซ - ทฺ - - ม ฟ – ม - - - - ----
--ซซ --ทร ---ร -ร-- ---ร -ร-- --ทร ----
-ซ-- รซ-- --ท- ท-ทซ --ท- ท-ทซ รซ- -ท-ซ
กลับตน้
ผูบ้ รรเลง นายจตรุ งค์ พลเดช
1. ระนาดเอก นายธงไท หนสู ง
2. ระนาดทุ้ม นางสาววลิ าสินี รวยรนื่
3. ฆ้องวงใหญ่ นายจริ ัฏฐ์ กาญจนวงศ์
4. ฆอ้ งวงเล็ก นายดรัณภพ เกดิ แกว้
5. ป่ใี น นายวรพล ธานรี ัตน์
6. ฉิ่ง นางสาวแคทลียา สุขเจรญิ , นายวุฒศิ ักด์ิ ช่วยเหลอื
7. กลองแขก นางสาวฐิตาพร มีเต็ม
8. กรบั นายอภิสทิ ธิ์ เฉลิมวรบตุ ร
9. ฉาบเลก็ นายธีรภทั ร์ นุ่มนาม
10. ฉาบใหญ่ ศรายทุ ธ ดวงมาก
11. กลองสะแน นางสาวปฎั ฐมา สุวรรณโณ
12. กลองใหญ่ นายศิรชิ ยั เวชกลุ
13. กลองสองหนา้ นายภมู ิพัฒน์ วิทยารัฐ
14. นกั รอ้ ง
๓๓
การแสดงลาดบั ที่ 5
เพลงแขกมอญสามช้ัน เดี่ยวหมู่ฆอ้ งวงใหญ่
เพลงแขกมอญ เดิมนั้นเปน็ เพลงอตั ราจงั หวะ 2 ชนั้ ในสมัยอยธุ ยา มจี านวน 3 ท่อน ซ่งึ
มีทานองไพเราะสละสลวย จนต่อมาพระประดิษฐ์ไพเราะ (มี ดุริยางกูร) ได้นามาแต่งขยายเป็นอัตราสามช้ัน โดย
แต่งเป็นทางธรรมดาและทางเดี่ยวสาหรับบรรเลงอวดฝีมือของนักดนตรี สาหรับทางเดี่ยวนี้ยังมีนักดนตรีอีกหลาย
ท่านได้แต่ง ทางสาหรับเครื่องดนตรีอีกหลายสานวน เช่น ครูพุ่ม ปาปุยวาทย์ แต่งทางเดี่ยวระนาดทุ้ม หลวง
ประดิษฐ์ไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) นาเพลงแขกมอญทานองของพระประดษิ ฐ์ไพเราะ (มี ดรุ ยิ างกรู ) มาเปน็ หลกั ใน
การแต่งให้เป็นเพลงท่ีมีลีลาพลิกแพลงด้วยกลเม็ดเด็ดพราย ตามแบบฉบับทางเพลงเดี่ยวด้วยเคร่ืองดนตรีหลาย
เครื่องมือและในปี พ.ศ.2476 นายมนตรี ตราโมท ได้ตัดลงเป็นช้ันเดียว ครบเป็นเพลงเถา จนเป็นท่ีนิยมอย่าง
แพรห่ ลาย ทง้ั ทางรอ้ ง ทางรับและทางเด่ยี วในทุก ๆ เครือ่ งมือเดี่ยวฆ้องวงใหญ่เพลงแขกมอญ สามช้ัน ทางพระยา
ประสานดุริยศัพท์ (แปลก ประสานศัพท์) มีความโดดเด่นในเร่ืองของการใช้เทคนิคในลักษณะต่าง ๆ ของฆ้องวง
ใหญ่อยา่ งครบถว้ น เช่น การไขวม้ อื การประคบมอื การตีแบบถา่ งมือ เป็นตน้ ในด้านการดาเนนิ ทานองยงั มีการนา
กลวิธีในเรื่องของจังหวะและเทคนิคการบรรเลงของระนาดทุ้มเข้ามาผสมผสาน อีกทั้งยังมีเร่ืองของสาเนียงภาษา
เข้ามาสอดแทรกภายในบทเพลงทาให้ทางเด่ียวดังกล่าวเกิดความไพเราะสละสลว ยและให้อารมณ์เพลงที่มีความ
สนกุ สนาน
นักศึกษาหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีไทย คณะศิลปกรรมศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสงขลา ได้นาบทเพลงแขกมอญ สามช้ัน สาหรับการเดี่ยวฆอ้ งวงใหญ่ ทาง พระยาประสานดรุ ิย
ศัพท์ (แปลก ประสานศัพท์) มาใช้ในในการบรรเลงเพื่อเป็นการจบการนาเสนอผลงานดนตรีไทยคอนเสิร์ตมิติรส
เพลงไทย คร้ังที่ 11 “กษิณามุทิตเวที ผู้ช่วยศาสตราจารย์กี จันทศร” โดยในคร้ังน้ีนักศึกษาได้คัดเลือกบทเพลง
ดงั กลา่ ว ซ่ึงจดั อยูใ่ นรายวิชาทักษะสกิล 7 เพอื่ เปน็ การเผยแพร่การบรรเลงฆ้องวงใหญ่ที่ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์กี จนั
ทศร ได้ถ่ายทอดองค์ความรู้ไว้ให้เป็นที่ประจักษ์แก่ผู้เข้าร่วมรับชม อีกทั้งยังเป็นการอนุรักษ์สืบสานทางเพลงให้
ดารงอยสู่ ืบไป
๓๔
เนือ้ ร้องเพลงแขกมอญ
3 ช้นั ครานน้ั จึงโฉมเจา้ วันทอง หลับต้องมนต์มึนยังมดื หน้า
สะดุง้ ตนื่ ฟ้ืนตวั ไมล่ มื ตา ผวากอดขนุ แผนนิ่งไม่ติงตัว
ขวญั หายกายสน่ั ระรัวรกิ ปลกุ หยิกคดิ วา่ ขุนชา้ งผวั
เดยี่ วฆ้องวงใหญเ่ พลงแขกมอญ สามชน้ั
สามช้ัน เที่ยวแรก
- - - ซล - ซ – ล - - - ซ - - - ร - - -ด - - - ล - - - - - - ซ -
- - ฟ - - - - ซ - ด - - - - - ด - - - ฟฺ - - -ด - - - - - - - -
- - - - - -รรร - - - ด - - - ท - - ด ร - ด – ท - - - ล - - - ซ
- - - - - - ซฟร - - - ด - - - ท - - - ร - ด – ท - - - ล - - - ซ
- - - ลล - ซ – ฟ - - - ฟ - - - - - - ลล - - - - ร - - -ด - - - ท
--ล- -ซ–ฟ ---ร ---ร ---ซ ---- -ซ-- -ฟ--
---ซ ---ฟ ---ฟ ---ท ---ด ---ม ---- ---ร
---- -ฟ-- -ด-- ---ท ---ด ---ร ---- ----
- - - ร - - ดด - - - - ซ - - - - - - - ฟซ ฟ - - - - ฟ - - - - -ฟซ
---ล ---ท ---- -ร–ม --ม- ---- -ด-- --ม-
- - - ซล - ด - - - - ด - ล - - - - - - - - ร - - - ร - - - ร - -
- - ฟ - - - - ซ - ซ - - - ซฟ – ร - - - ซ - - - ฟ - - - ร - - - ด
- - ดท - - ท – ด - ร – ด - - - - - - -ลซ - - ซ – ล - - - - - ท – ด
---ล ---- ---- -ท–ล --–ฟ --- -ซ–ล ----
- - - มม - ร – ด - - - ด - - - ล - - - ซซ - ล – ซ - - - ซ - - - ฟ
---ม- -ร–ด ---ล ---- ---ซ- -ล–ซ ---ฟ ----
๓๕
- - - ซล - ซ – ฟ - - - ม - - - ร - - รด - - ด – ร - - - ม - - - ฟ
---ล -ซ–ฟ ---ท ---ล ---ซ ---ล ---ท ---ด
- - - ซล - - - ลด - - - ซล - - ล - - - - รม - - ล - - ฟ - - ม - - -
- - ฟ - - - ซ - - - ฟ - - - - ซฟ - - ด- - - - ซฟ - ด - - ม - - ร
- - ดท - - - - - - - ซฟ - - - - - - - - ฟซ - - - ท - - - ท - - - ด ร
- - - ซ - ฟ – ร - - - ร - ด – ท - - ม - - ท - - - ฟฺ - - - - ทฺ -
- - - - - - - ฟซ - - ดท - - - - - - - ซฟ - - ร - - - ด - - - - - ท
-ด–ร --ม- ---ซ -ฟ–ร ---ท ---ด ---- -ฟ--
- - - ซล - ท – ร - - ร - - ด - - ด - - ท - - - ท - - ล - - ลซ - -ซ
- - ฟ - - - - - - - - ดท - - - - - ทล - - - - - ลซ - - - - - ฟ - -
- - - ด - - รด - - - รด - - - - - - - ม - - - ล - - - - ฟ - - - ซล
- ด - - - - - ล - - - ล - ซ – ฟ - - - รด - - - ซฟ - ด - - - - ฟ -
- - ดท - - ท – ด - ร – ด - - - - - - ลซ - - ซ – ล - - - - - ท - -
---ล ---- ---- -ท–ล ---ฟ ---- -ซ–ล ---ด
- - ม ร - - ร - - - - ลซ - - ซ - - - ร - - - ร - - - ร - - - ด - -
- - - ร - - - ซฺ - - - ซ - - - รฺ - - - ฟ - - - ร - - - ด - - - ท
- ท - - - - - ฟซ - ล - - ล - - ท - - รด - - - - ท - - - - - - - -
- - - ร - - ม - - - - - - ซฟ - - - - - ท - ล - - - ล – ซ- - ฟ – ร
- ฟ - - - ทฺ – ด - ร – ฟ - - - - - ซ – ฟ - - - - - ท – ด - - - -
- - - ซฺ - - - - - - - - - - - ร - - - - - ฟฺ – ซ - - - ท - - - ท
- - ซฟ - - ฟ - - - ท - - - ด – ร - ร – ร - ร – ร - - -ดท - ด – ท
- - -ด - - - ท - - - ด - - - ร - ฟ – ซ - ฟ – ร - - - ท - ด -ท
๓๖
-ฟ–ซ ---ฟ ---ฟ ---- -ท–ท ---- -ด–ด ---ร
---- -ฟ-- -ด-- ---ท ---- ---ด ---- ---ร
- - - ร - ด - - ท - - ล - - - ดร - - - ซ - ฟ - - ม - - ร - - - ฟซ
- ล - - - ซ - - - ลซ - - - - ท - - ร - - - ด - - - รด - - - - ม -
- ม – ร - - - - - ร – ด - - - - - - รด - - - - - - ล – ซ - - - -
- - - - - ด – ล - - - - - ล – ซ - - - ล - ซ- ฟ - - - - - ฟ- ร
- - ซฟ - - ฟ - - - ท - - - ด – ร - ร – ร - ร – ร - - - ดท - ด – ท
---ด ---ท ---ด ---ร -ฟ–ซ -ฟ–ร ---ท -ด–ท
---- ---- ---- ---- -ล–ซ ---- -ล–ท -ด–ร
- - - รฺ - - - ฟฺ - - - ซฺ - - - -ท - - - - - ฟ – ซ - - - - - - - ร
ทอ่ น 1 เท่ยี วกลับ
---- ---- ---- ---- ---- ---- ---ล ---ล
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - ซฺ - - - - - ฟ – ซ
- - - - - - - - - ร – ฟ - - - ร - - - ด - - - ทฺ - - - ลฺ - - - -
- - - - - - - - - - - - - ด - - - ท - - - - ลฺ - - - ซฺ - - - ฟฺ – ซฺ
- ซ – ล - - - ซ - - - ฟ - - - ร - - - ซล - ท – ร - - - ด - - - ท
---- -ฟ-- -ร-- -ด-- --ฟ- ---- --ซ- -ฟ--
- - ซฟ - - ฟ - - - - ดท - - ท - - - - รด - - ด - - - - มร - - ร - -
- - - ฟ - - - ฟฺ - - - ทฺ - - - ทฺ - - -ด - - - ด - - - ร - - - ร
- - มร - - ร - - - - มร - - ร - - - ฟ - - - ร – ฟ - - - - - - - ฟซ
- - - ฟ - - - ด - - - -ฟ - - - ร - - - ด - - - - - ด – ร - - ม -
- - - ซล - ด - - - ด - - ล - - - - ฟ - - - ซ - - - ซ - - - ฟ - -
- - ฟ - - - - ซ - - - - - ซฟ – ร - - - ร - - - ฟ - - - ร - - - ด
๓๗
- - - ดร - ฟ - - -ฟ-- ร--- ---- -ซ–ล ---- -ท–ด
--ท- ---ด - - - - - ดท – ล - ซ – ฟ - - - - - ซ – ล - - - -
- - - - - ซฺ - - - - ซซฺ ฺ - - - ด - - - ม - - - - - ร – ม - - - ฟ
- - - - - รฺ - - - - รฺ รฺ - - - ซฺ - - - - - ร – ด - - - - - ร – ด
- - - - - - ลซฟ - - - ด - - - ม - - - - - ร – ม - ร – ฟ - - - -
- - - - - - มรด - - - ซ - - - - - ร – ด - - - - - - - ด - - - -
- - รด - - - - ล - - - - - ซ – ฟ - - - ฟ - - - - - ม – ร - - - ร
---ล -ซ-- -ซ–ฟ ---- -ม-- -ม–ร ---- -ด--
- - ซฟ - - - - ร - - - - - - - ท - - - - - - - ท - - - ดร - ฟ - -
---ร -ด-- -ด–ท -ล–- -ล–ซ -ฟ-- --ท- ---ร
- - - ดร ฟ - - - ซ - - ท - - ด ร - ร – ร - ร – ร - - - ดท - ด – ท
--ท- ฟ--- ซ--ท ---ร -ฟ–ซ -ฟ–ร ---ท -ด–ท
- - ซฟ - - ฟ - - -ท-- -ด–ร -ร-- -ด–ร ---ด ----
----ท ---ท ---ด ---ร -ซ-- -ด–ร ---ด ----
- ซ - - - - - ซล - - - - - - - ซ - - - ซล - - - ซ - - - ฟ - - - ซล
-ซ-- --ด- -ซ-- ---- --ด- -ซ-- -ด-- --ฟ-
---- ---ด -ท–ล ---- ---ด -ท–ล ---- -ท–ด
---- -ซ-- ---- ---- -ซ-- ---- -ซ–ล ----
- - มร - - ร - - - ร - - - ร - - - - - ด - - - - - ท - - - ทด – ท
- - - ร - - - ซ - - - ซ - - - ด - ซ - - - ซ – ล - - - - ล - -ฟ
---- ---- ฟ--- ---- -ร-- ---- ---ด ---ร
---- ---- ด--- ---- -ร-- ---- ---ด ---ร
---ร ---- - --ด ---ร ---- ---ด ---ท ----
---ฟ ---- ---ด - -–ร ---- ---ด ---ท ----
๓๘
---ฟ ---ร --ดท -ด–ร -ร–ร -ร–ร --ดท -ด–ท
---ด ---ร --ดท -ด–ร -ฟ–ซ -ฟ–ร --ดท -ด–ท
---ซ ---ฟ ---ฟ ---- -ท–ท ---- -ด–ด ---ร
---- -ฟ-- -ด-- ---ท ---- ---ด ---- ---ร
- - - - - - - ซล - - - - - - -ดร - - - - - - - ฟซ - - - - - - - ด
---- --ฟ- ---- -ท-- ---- --ม- --–ฟ --–ท
- - - - - - - - - - - - - - รด - - - - - - - - - - - - - - - - ฟ
---- ---- ---- --–ท ---ล --–ซ ---ฟ ---ร
- - - - - - - - - - - - - - ลซ - - - - - - - - - - - - - - - - -
- - - - - - - - - - - - - - - ฟ - - - ม - - - ร - - - ด - - - -ท
-ซ-- ---- ---ฟ ท--- ---ด ---ม ---- ---ร
-ฟ-- ---- --ด- ท--- ---ด ---ม ---- ----
ทอ่ น 2 เทยี่ วแรก รรร- รรร- รรร- รรร- รรร- รรร-
---ม - - - รฺ ---ซ ---ซ ---ซ ---ร
ซซซ- ซซซ-
- - - ล - - - ซฺ
รด - - - ลซ - - - - - - ด ร ม ซ - ซฟ - ฟ ซ ล ซ - - - - ร ม ร ม - -
-ลซม -มรด ทลซ- ด-- ม - ม-- --ฟม รด-- --ฟซ
---- รม-- ซล–ซ -ม-- ม--ซ ล--ซ ด--ซ -ม--
-ด-ด -ร–ร --ซ- ดร–ร --ซ- --ซ- --ซ- ดร-ร
ซล - - ลซ - - - - - ด ร ม ซ - ซฟ - ฟ ซ ล ซ - - - - ร ม ร ม - -
ฟ-ซม -มรด ทลซ- ด--ม - ม-- --ฟม รด-- --ฟซ
ด ร ด ด - ด – ด - ลซ - - - - ด - - - - ---- ดรดล -ซ–ฟ
ท - - ล - ซ - ฟ - - - ฟ มรด - ล - - - - - - - - - ร ด ล - ซ - ฟฺ
๓๙
มม–ร ด--- รร–ม ฟ--- ลล–ซ ฟ--- ซ ฟ – รม - ร - -
- ท - ล ซฺ - - - -ล-ท ด--- -ม-ด ด--- - ด ด - - ลฺ - รฺ
ท่อน 2 เที่ยวกลับ ทลซ- รมร- ซลท- รมร- ทลซ- รมร-
- - - ซ - - - รฺ - - - รฺ - - - รฺ - - - ซฺ - - - รฺ
ซลท- รมร-
---ร ---ร
ลซ - ซ ล - - ท ด ---ด ร ม ซ - รด - ด - ล ซ - - - - ร ม --ฟซ
- มฺ - - ซ ล - - ทลซ- ด--ม -ล-ซ --ฟม รด-- รม--
--ม- -ม-ร --ม- -ม-ร --ซ- -ซ-ฟ --ม- -ม-ร
ด--ร --ด- ด--ร --ด- ร--ฟ --ม- ด--ร --ด-
-ท–ท -ด-ด -ร -ร -ม-ม -มฟ- รมฟ- มฟซ- รมฟซ
ซฺ - ล - ล - ท - ท-ด- ด-ร- ร- -ด ---ร ---ด ---ซ
-ซ-- -ด-ฟ ---ซ ล--- -ด-- -ซ–ล ด-ซล -ซ–ฟ
- - - ซ - - - ฟฺ ---ซ ล--- -ด-- - ซ - ล ด - ซ ล - ซฺ - ฟฺ
- - ลซ - - ร - - - ร - ร - - ม ฟ - - ล - ลด – ด - ด - ฟ - มม - -
- - - ฟ - ด - ซฺ - ด - - ด ร - - - - - ซ - ล - ฟ - ด – ร - - ม ร
ซฟ - ฟ - ท - ด - ร - ด - ท - ล - - ร - ด - ล – ซ - ซล - ซ - ฟ – ซล
--ด-ท -ด-ร -ด–ท -ล-ซ -ด–ฟ -ด-- ฟ-ซ- ด-ฟ-
ดท – ทด ร ด - - ลซ - ซ ล - - ท ด มร - ร - ร - ร ด -ด-- ทด–ท
-ล-- --ทล -ฟ-- ซล-- -ร-ซ -ซ-- ซ-ซล ---ฟ
-ร–ฟ -ซ-ฟ -ลซฟ -ม-- ล-ซฟ -ร-- ล-ซฟ -ด--
--ฟ- --ฟ- ---- -ร-ร ---- -ด–ด ---- -ท–ท
ซ--ฟ -ฟ-ล -ซ–ซ -ด-ท ---- -ฟ-ท --ฟท -ด-ร
- - ฟ - - ท - - ซ - - ด - - ท - - ฟฺ - ท - ท - - ฟฺ ท - ท - ด – ร
๔๐
ดท – ท - ท - ท - ดท - ท - ซ - ซ - ซฟ - ฟ - ฟ - ฟ - ซฟ - ฟ - ร - ร -
- ซ - ด - ซ - ท - ท - ฟ - ฟ - ซ - ร – ซ - ร - ฟฺ - ฟฺ - ด - ด - รฺ
รดท- ทดร- รดท- ททท- ดดด- ดดด - รรร- รรร-
- - - ฟฺ - - - ฟ - - - ฟฺ - - - ทฺ - - - ซฺ - - - ดฺ - - - ล - - - ร
ท่อน 3 เท่ียวแรก ม-รม --ฟซ ---- -ลซฟ ---ร ---ด
-ด-- รม–ร ---- - ม ร ด - - - ลฺ - - - ซฺ
---- -ร--
- - - - - ลฺ - -
---- ---- ด-ด-ฟ -ม–ร ---ฟ ซฟ-- มร-ร ---ด
- - - - - - - - - ซฺ - - - ทฺ - ลฺ - ด - - - - ม ร - - ด - ด ทฺ - ซ
---- ---- ฟร-- ร-ฟ- -ร-- ---- ฟร-- ฟร--
- - - - - - - - - - ด ทฺ - ด - ร - ลฺ - - - - - - - - ด ร - - ด ทฺ
- - ฟฺ ซฺ ทฺ ด - - - - ฟฺ ซฺ ทฺ ด ร ฟ ร - ร - - - - - ซฟ - ฟ ซ ท ด – ท
- รฺ - - - - ทฺ ซฺ ฟฺ รฺ - - - - - - - ซ - ฟ ร ด ทฺ ซฺ - - ร - - - ทฺ -
-ท-- ดร-- ดท-- ลซ-ซ มร-- มฟ-- ซฟ-- ซล--
-ฟ-- --ดท --ลซ --ฟ- --ดร --มฟ --มฟ --ซล
ท ล - - ซ ล - ล - - ซ ล - - ท ด - - - ท - ท - ดร - ร - ร - ด - ท
- - ซ ฟ - - ซ - ซ ฟ - - ซ ล - - ล ซ ฟ - ฟ - ท - ร - ฟ ร - ด - ทฺ
- - - - - ฟ ซ ท - ซ ฟ – ฟ - - ม ฟ - ฟ - - - ด – ฟ - - - ร - - -ด-
- - - - ม - - - ฟ - - ม - ม ร - - - ด - - - ซฺ - - ม ร ด - ด ทฺ - ทฺ
- - - ทฺ - ทฺ - ดร - ฟซ - - ซฟ - - - ซฟ - ฟ ซ - ล - - - ทล - ล ท ด - ร
- ฟฺ ฟฺ - ฟฺ - ทฺ - ม - ฟ ร - ร ด ทฺ - ฟฺ - ซ - ลฺ - ทฺ - - - ลฺ - ทฺ ด - - ร
---- --รร ---- --รร ---ร รร-ร ---ร รรรร
---- --ฟฟ ---- --ซซ ---ล ซฟ-ฟ ---ซ ลซฟร
๔๑
- - - - - - - - ดท - - - ซฟ - - - ดท - ท - ดท - ท - ร ด - ด - ร ด - ด -
- - - - - - - - - ซ ฟ ร - ร ด ทฺ - ทฺ - ซ - - ซ - ด - - ด - ท - - ท - ร
---- ---- ---- ---- ---- ---- ---- ----
- - - ด - - - ร - - - ฟฺ - - - ซฺ - - - ลฺ - - - ทฺ - - - ด - - - ร
---ร -ด-ร ---ด -ท-- ฟซ–ฟ -ฟ-ท ---ด -ร--
- ฟ - - - ด – ร - - - ด - ทฺ - - - - ฟ - ด - - ทฺ - - - ด - ร - -
ท่อน 3 เทยี่ วกลับ
ท - ท ท - ด - ร - ด – ร - ด - ร - - ด ร - ร - ร รร - ร - ด - -
- ทฺ - - - ด – ร - ด - ร - ด – ฟ - - ด ร - ฟ – ล ซ ฟ - ร - ด - -
ดร - ด - - ล - ดร - ด - - ล - - ล ล ซ - ฟ - - ล - ซ ล ท ด - -
--ด- -ซ–ซ --ด- -ซ–ซ --มร -ด-- -ฟ-- -ด--
ฟซฟ- ฟซฟ- ฟซฟ- ฟซฟ- ฟซฟ- ฟซฟ- ฟซฟ- ฟซฟ-
- - - ทฺ - - - ท - - - ร - - - ร - - - ด - - - ด - - - ทฺ - - - ท
ฟ-ดร --ฟซ ทซ-- ทด-ท รด-- รด-- ทซ-- ทด-ท
- ท - - ด ร - - - - ฟ ซ - - ทฺ - - - ท ด - - ท ซ - - ฟ ซ - - ทฺ -
ซ ฟ – ฟ - ท - ด - ร - ด - ท - ล - - ร – ด - ล - ซ - ซล – ซ - ฟ – ซล
- - ด - ทฺ - ด – ร - ด - ทฺ - ลฺ – ซฺ - ด - ฟ - ด - - ฟ - ซ - ด - ฟ -
ดท - ท ด ร ด - - ล ซ – ซล - - ท ด มร - ร - ร - ร ด - ด - - ท ด – ท
-ล-- --ทล --ฟ- ซล-- -ร–ซ -ซ-- ซ-ซล ---ฟ
ฟฟฟ- ฟฟฟ- รรร- รรร- ดดด- ดดด- ททท- ททท-
- - - ซ - - - ฟฺ - - - ฟ - - - รฺ - - - ซฺ - - - ด - - - ฟฺ - - - ท
---ท -ด–ร ร-ดร -ด–ท -ซ-- -ฟ–ท -ด-ม -ร--
- ทฺ - - - ด - ร ฟ - ด ร - ด - ท - ฟฺ - - ด - - ท - ด – ร - - - -
๔๒
- ด - ท - ล - ซ - ฟ - ม - ร - - - ล - ซ - ฟ - ม - ร - ด - ทฺ - -
---- ---- ---- ---- ---- ---- ---- ----
- ลฺ - ซฺ - ฟฺ - - - - - - - ทฺ - - - - - ฟ - ซ - ท - - ร ด ท ด - ร
- - - - - - - - - ซฺ - ลฺ - - - - - ร - ดฺ - ซฺ – ทฺ - - ร ด ทฺ ด – ร
ผ้บู รรเลง
1.ฆ้องวงใหญ่
นายศิรชิ ัย เวชกุล กล่มุ อานวยการพิธีการศพท่ไี ดร้ ับพระราชทานท่ี 13 สรุ าษฎรธ์ านี
นายทนงศักดิ์ รัตนพนั ธ์ โรงเรียนวัดทุ่งหวงั ใน
นายทวี เอ่ยี มสะอาด โรงเรยี นบา้ นบางเหียน
นายวรพล ธานีรัตน์ โรงเรียนเตรียมอดุ มศึกษาพฒั นาการสุราษฎร์ธานี
นายวฒุ ิศักด์ิ ชว่ ยเหลือ โรงเรยี นกอบกลุ วทิ ยาคม
นายธงไท หนสู ง โรงเรียนสงขลาพฒั นาปัญญา
นางสาววลิ าสินี รวยร่นื
นายจตรุ งค์ พลเดช
นายดรณั ภพ เกดิ แกว้
นายจิรฎั ฐ์ กาญจนวงศ์
2. กลองสองหน้า
นางสาวแคทลียา สุขเจรญิ
3. ฉง่ิ
นายภูมิพัฒน์ วทิ ยารัฐ
ช่อื – สกลุ ๔๓
เคร่ืองมอื เอก
เบอร์ นักศึกษาดาเนนิ โครงการแสดงผลงานดนตรีไทย
อเี มล คอนเสริ ์ต มติ ิรสเพลงไทย ครัง้ ท่ี 11
Facebook
“กษิณามทุ ิตเวที ผู้ช่วยศาสตราจารยก์ ี จันทศร”
แคทลยี า สขุ เจรญิ
ฆอ้ งวงใหญ่
09 – 3574 - 5513
[email protected]
Cathaleya Sukchareon
ช่อื – สกลุ ฐิตาพร มีเต็ม
เคร่อื งมือเอก ฆ้องวงใหญ่
เบอร์ 08 – 2637 - 1353
อีเมล [email protected]
Facebook Thitaporn Meetem
ชอ่ื – สกลุ วลิ าสินี รวยรน่ื
เคร่อื งมือเอก ฆ้องวงใหญ่
เบอร์ 09 – 3743 - 8307
อเี มล [email protected]
Facebook Khing Vilasinee
ชื่อ – สกลุ ภณ นิธวิ ัฒนพงศ์
เครื่องมอื เอก ฆอ้ งวงใหญ่
เบอร์ 08 – 8389 - 7006
อเี มล [email protected]
Facebook กอล์ฟ ภณ