The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by The Master, 2021-05-10 10:51:10

SAR2563@TUPY_E-Book

SAR2563@TUPY_E-Book

Keywords: SAR2563@TUPY

ประเดน็ พจิ ารณา ผลการประเมิน

3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียน ระดบั คุณภาพ ยอดเย่ยี ม

เชิงบวก

ครูจัดการเรียนการสอนโดยมีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก

สร้างบรรยากาศที่อบอุ่น เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน ทำให้ผู้เรียน

มีความสุขในการเรียน โดยเน้นการมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก ให้ผู้เรียนทุกคน

ได้มีสว่ นร่วมรักท่ีจะเรียนรู้ สามารถเรยี นรรู้ ่วมกันอย่างมีความสุข

นอกจากน้ี ยังมีการนิเทศ ติดตาม การจัดการเรียนการสอนของครู

ในทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ จากฝา่ ยบรหิ ารอยา่ งต่อเน่ือง

4. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียน ระดบั คุณภาพ ยอดเยย่ี ม

อย่างเป็นระบบและนำผลมา

พัฒนาผูเ้ รียน ครูมีการวัดและประเมินผลผู้เรียนตามสมรรถนะสำคัญ ในหลักสูตร

และตามโครงสร้างรายวิชา มีการประเมินผู้เรียนจากสภาพจริง

มีการกำหนดขั้นตอนการวัดและประเมินผลอย่างเป็นระบบมีเกณฑ์การให้

คะแนนที่ชัดเจน เหมาะกับผู้เรียน และให้ผู้เรียนได้ทราบผลคะแนน

ในแต่ละขั้นเป็นระยะ เพอื่ ประโยชนใ์ นการพัฒนาตนเองของผ้เู รยี น

นอกจากนี้ สถานศึกษายังจัดทำหลักสูตรสาทรศึกษา ซึ่งเป็นหลักสูตร

ท้องถิ่น มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนที่เชื่อมโยงกับบริบทของชุมชน

และท้องถิ่น ตลอดจนการให้ผู้เรยี นได้เข้าไปเรียนรู้ในแหล่งเรียนรูใ้ นชุมชน

ทอ้ งถ่นิ อยา่ งต่อเน่ือง

5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ ระดับคณุ ภาพ ยอดเยย่ี ม

ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและ

ปรบั ปรงุ การจัดการเรยี นรู้ สถานศึกษากำหนดให้มีการนิเทศแบบกัลยาณมิตรจากครูในกลุ่มสาระ

การเรียนรู้ของตน และกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)

ส่งผลให้ครูได้พัฒนาความรู้ และทักษะในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

โดยการแลกเปลี่ยนข้อมูล ความรู้และประสบการณ์ร่วมกัน เพื่อประโยชน์

ในการปรับปรุงและพัฒนาการจดั การเรียนรู้

3. จุดเด่น
ครูมีความตั้งใจและมุ่งมั่นในการพัฒนาการสอน โดยมีแผนจัดการเรียนรู้ที่ตรงตามมาตรฐานและตัวชี้วัด

นำใชส้ อ่ื เทคโนโลยแี ละนวัตกรรม มาเปน็ ตัวชว่ ยในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน มกี ารบริหารจัดการชั้นเรียนเชิง
บวก สร้างบรรยากาศที่น่าเรียนให้กับชั้นเรียนของตน วัดและประเมินผลตามสมรรถนะสำคัญในหลักสูตร ประเมิน

ผู้เรียนด้วยวิธีที่หลากหลายจากสภาพจริง มีการส่งเสริมให้ครูได้พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยจัดให้มี
การนิเทศการสอน ที่เน้นส่งเสริมให้ครูจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยการคิด การปฏิบัติจริง มีการใช้วิธีการ
และแหล่งเรียนรู้ท่หี ลากหลายท้งั ในชุมชน จากภูมิปญั ญาท้องถ่นิ และการใชเ้ ทคโนโลยีในการสบื ค้น

นอกจากน้ี ครูยังมีการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ค้นหาศักยภาพของตน
เช่น โครงการแข่งขันทักษะด้านภาษา กีฬา และดนตรี มีการจัดสภาพแวดล้อมให้ผู้เรียนได้มีโอกาสในการเรียนรู้

ผ่านประสบการณต์ รง จากการปฏิบัตจิ ริง เชน่ การจดั ทำโครงงานและการจัดแสดงผลงานนกั เรยี น การทำงานเปน็ กลุ่ม
การสืบคน้ ข้อมลู จากห้องสมดุ รวมถงึ หอ้ งศูนยก์ ารเรยี นรู้ภาษาดว้ ยตนเอง ห้อง Knowledge Center เป็นตน้

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2563) หนา้ 46

4. จดุ ควรพฒั นา
1. การสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ และสรุปเป็นความรู้ที่คงทนได้ด้วยตนเอง ตลอดจนการมี

แรงจงู ใจใฝ่สัมฤทธิ์ในการเรียน
2. การให้ความสำคัญกับการเรียนรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น และการเชิญให้ชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วม

ในการจดั กจิ กรรมเสรมิ และเพม่ิ เติมใหก้ บั ผเู้ รียน
3. การให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักเรียนทันทีหลังการวัดและประเมินผล เพื่อให้นักเรียนตระหนักในการพัฒนา

ตนเอง และรู้จกั กำหนดเปา้ หมายใหก้ ับชีวิตในอนาคต

4. การส่งเสริมและสนับสนนุ ให้ครูใช้วธิ ีในการวัดและประเมินผลทีท่ นั สมยั นา่ เชื่อถอื และสอดคล้องกับบริบท
ของผู้เรยี นท่มี ีความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2563) หน้า 47

สรุปผลการประเมินในภาพรวม

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ มีผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ตามมาตรฐาน
การศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจำปีการศึกษา 2563 ที่เป็นไปตามค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ โดยมีผลการ
ประเมินภาพรวมอยู่ใน ระดบั ยอดเย่ยี ม และมีผลการประเมินในแต่ละมาตรฐานจำแนกตามประเด็นพิจารณา ดังนี้

ตารางสรปุ ผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษา ประจำปีการศกึ ษา 2563

มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ค่า ผลการประเมนิ
โรงเรยี นเตรียมอดุ มศกึ ษาพัฒนาการ ยานนาเวศ เป้าหมาย ร้อยละ คะแนน ระดบั คณุ ภาพ

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู้ รยี น ยอดเย่ยี ม 90.34 4.52 ยอดเย่ยี ม

1.1 ผลสมั ฤทธิ์ทางวชิ าการของผเู้ รยี น ยอดเยี่ยม 88.04 4.40 ยอดเยย่ี ม

1. มคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน การสอ่ื สารและการคิดคำนวณ ยอดเยี่ยม 86.53 4.32 ยอดเยี่ยม

2. มีความสามารถในการวเิ คราะหแ์ ละคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ อภปิ ราย ยอดเยย่ี ม 89.94 4.50 ยอดเยี่ยม
แลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ และแก้ปัญหา

3. มคี วามสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม ยอดเย่ียม 91.46 4.57 ยอดเยี่ยม

4. มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ยอดเยี่ยม 89.00 4.45 ยอดเยย่ี ม

5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ดเี ลศิ 81.19 4.06 ยอดเยี่ยม

6. มีความรู้ ทักษะพืน้ ฐานและเจตคติทีด่ ีต่องานอาชพี ยอดเยย่ี ม 90.11 4.51 ยอดเยย่ี ม

1.2 คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ของผเู้ รยี น ยอดเยย่ี ม 92.64 4.63 ยอดเยี่ยม

1. มคี ุณลักษณะและค่านยิ มทดี่ ีตามทีส่ ถานศกึ ษากำหนด ยอดเยี่ยม 92.99 4.65 ยอดเยี่ยม

2. มคี วามภูมิใจในท้องถนิ่ และความเป็นไทย ดีเลศิ 95.41 4.77 ยอดเยย่ี ม

3. ยอมรับท่ีจะอยรู่ ่วมกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย ยอดเยย่ี ม 98.66 4.93 ยอดเยีย่ ม

4. มีสขุ ภาวะทางร่างกายและลกั ษณะจิตสงั คม ยอดเยย่ี ม 83.48 4.18 ยอดเย่ยี ม

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ยอดเยย่ี ม ยอดเยยี่ ม 4.83 ยอดเยี่ยม

1. มเี ปา้ หมาย วสิ ยั ทศั น์ และพันธกจิ ทส่ี ถานศกึ ษากำหนดชดั เจน ยอดเยย่ี ม ยอดเยี่ยม 5.00 ยอดเยี่ยม

2. มรี ะบบบริหารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา ยอดเยี่ยม ยอดเยยี่ ม 5.00 ยอดเยี่ยม

3. ดำเนินงานพฒั นาวชิ าการทีเ่ น้นคุณภาพของผเู้ รยี นรอบด้านตามหลักสูตร ยอดเย่ียม ยอดเยี่ยม 5.00 ยอดเยย่ี ม
สถานศกึ ษา และกลุ่มเป้าหมาย

4. พฒั นาครแู ละบคุ ลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวชิ าชพี ยอดเยย่ี ม ยอดเยี่ยม 5.00 ยอดเย่ียม

5. จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทีเ่ อือ้ ต่อการจดั การเรียนรู้ ยอดเยย่ี ม ยอดเยี่ยม 5.00 ยอดเยย่ี ม

6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื สนับสนนุ การบรหิ ารจดั การและการจัดการเรยี นรู้ ดเี ลศิ ดีเลิศ 4.00 ดีเลิศ

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนน้ ผ้เู รยี นเป็นสำคัญ ยอดเยยี่ ม ยอดเยี่ยม 4.75 ยอดเยย่ี ม

1. จดั การเรยี นรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏิบตั จิ ริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 4.38 ยอดเยี่ยม

2. ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรูท้ เ่ี ออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้ ดเี ลิศ ยอดเยี่ยม 4.38 ยอดเยย่ี ม

3. มีการบริหารจดั การชั้นเรยี นเชงิ บวก ยอดเย่ียม ยอดเยี่ยม 5 ยอดเยย่ี ม

4. ตรวจสอบและประเมนิ ผูเ้ รียนอยา่ งเป็นระบบและนำผลมาพฒั นาผูเ้ รียน ยอดเยย่ี ม ยอดเยย่ี ม 5 ยอดเยย่ี ม

5. มีการแลกเปลี่ยนเรยี นรูแ้ ละให้ขอ้ มลู สะท้อนกลบั เพ่ือพัฒนาและปรบั ปรุงการจดั การเรยี นรู้ ยอดเยยี่ ม ยอดเยยี่ ม 5 ยอดเยีย่ ม

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2563) หนา้ 48

สว่ นท่ี 3 สรปุ ผล แนวทางการพฒั นา และความตอ้ งการการช่วยเหลอื
จุดเด่น

คณุ ภาพของผู้เรยี น
จากผลการประเมินด้านคุณภาพของผู้เรียนโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ปีการศึกษา

2563 ทอ่ี ยู่ในระดบั ยอดเยยี่ ม ทงั้ ดา้ นผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการของผู้เรยี น และด้านคณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงคข์ องผ้เู รียน
แสดงให้เหน็ ถงึ จดุ เดน่ ด้านคุณภาพของผเู้ รยี น ดงั นี้

1. นักเรียนมีความรู้ สามารถอ่าน เขียน สื่อสาร คิดคำนวณ วิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณผ่านกิจกรรม
ด้านวิชาการและสันทนาการได้เหมาะสมตามระดับชั้น รู้จักอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา
ในสถานการณ์ตา่ งๆ ไดด้ ี เห็นความสำคัญของการสร้างนวัตกรรม รู้จกั นำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารมาใช้ได้
อย่างเหมาะสม ตลอดจนมีทักษะพื้นฐานที่จำเป็นและมีเจตคติที่ดีต่อการประกอบอาชีพในอนาคต นำไปสู่การมี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทเ่ี ปน็ ไปตามเปา้ หมายในการพฒั นาการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

2. นักเรียนมีความประพฤติด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด รู้จักหน้าท่ี
และเคารพในสิทธิของผู้อื่น เข้าใจในความเป็นไทยและภาคภูมิใจในท้องถิ่น มีการเรียนรู้และยอมรับที่จะอยู่ร่วมกัน
บนความแตกต่างและหลากหลายอย่างมีเหตุผล ตลอดจนมีทักษะชีวิตและรู้จักดูแลตนให้มีสุขภาวะทางร่างกาย
และสุขภาวะทางจิตใจทีเ่ ขม้ แขง็ อยู่รว่ มกนั ในสงั คมได้อยา่ งปกตสิ ขุ

กระบวนการบริหารและการจัดการ
จากผลการประเมินด้านกระบวนการบริหารและการจัดการของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ

ยานนาเวศ ปีการศึกษา 2563 ที่อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม บ่งบอกถึง จุดเด่น ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ
ของสถานศึกษา ดังนี้

1. สถานศกึ ษามวี ัฒนธรรมองค์กรด้านการอยู่ร่วมกันท่เี อ้อื ต่อการพฒั นางาน มีการวางแผนดำเนินการบริหาร
จัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา ท่ีเป็นไปตามเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนด มีการนำแผนไปสู่
การปฏิบัติ มีการติดตามตรวจสอบและประเมินผล เพื่อปรับปรุงพัฒนางาน ตลอดจนมีการส่งเสริมและสนับสนุน
การนำเทคโนโลยีมาใชเ้ ป็นเคร่ืองมือในการจดั การเรียนการสอนทง้ั แบบปกติและแบบออนไลน์

2. สถานศกึ ษามกี ารประชุมวางแผนพิจารณาการดำเนินงานพัฒนาวิชาการทเี่ น้นคุณภาพของผ้เู รียนรอบด้าน
ตามเป้าหมายและมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา เกิดการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
และเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับผู้เรียน มีการปรับสภาพแวดล้อมทั้งทางกายภาพและทางสังคม รวมทั้งมีการพัฒนา
ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพอ่ื สนับสนนุ การบรหิ ารจดั การและเอ้อื ต่อการจัดการเรยี นรู้ของครู

กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ
จากผลการประเมินด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญของโรงเรียนเตรยี มอดุ มศึกษา

พัฒนาการ ยานนาเวศ ปกี ารศึกษา 2563 ทอี่ ยู่ในระดับ ยอดเยีย่ ม สะท้อนถึง จดุ เด่น ดา้ นกระบวนการจัดการเรียน
การสอนท่เี น้นผู้เรียนเป็นสำคัญของสถานศกึ ษา ดงั น้ี

1. นกั เรยี นได้ฝึกกระบวนการคิดและทกั ษะพืน้ ฐานทจ่ี ำเป็น ดว้ ยวิธีการและแหล่งเรยี นรทู้ ่ีหลากหลายจากการ
ลงมือปฏิบัติจริง ซึ่งถือว่าเป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับ ไปประยุกต์ใช้ในการดำเนิน
ชีวิตประจำวันได้

2. ครูมีความมุ่งมั่นและตั้งใจในการพัฒนาการสอน จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
มีการใช้สื่อ เทคโนโลยีและนวัตกรรม มาเป็นตัวช่วยในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เห็นความสำคัญ
ของการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก สร้างบรรยากาศที่น่าเรียนให้กับชั้นเรียนของตน ใช้วิธีในการวัดและประเมิน
ผูเ้ รยี นที่หลากหลายจากสภาพจรงิ ตลอดจนร่วมกันแลกเปล่ียนเรียนรูแ้ ละใหข้ อ้ มูลสะท้อนกลับเพ่ือพฒั นาและปรับปรุง
การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนให้มีประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR 2563) หนา้ 49

จุดควรพัฒนา
คุณภาพของผู้เรียน

1. การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ เช่น ผลสัมฤทธิ์ในระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา และระดับชาติ
ให้มคี ่าพัฒนาทีเ่ ป็นไปตามระดบั คณุ ภาพทีส่ ถานศึกษากำหนด

2. การส่งเสริมใหน้ ักเรยี นทกุ คน ไดร้ ับการพฒั นาทง้ั ด้านความรู้ ดา้ นทกั ษะ และด้านเจตคติ เตม็ ตามศกั ยภาพ
ของตน และเปน็ ไปตามเปา้ หมายของสถานศึกษา

3. การกำหนดระดับผลสัมฤทธิ์เฉลี่ยในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา
เพอ่ื ยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ใหม้ ีค่าการพฒั นาท่สี งู ขึ้น

4. การจัดประชุมพิจารณาลดความซ้ำซ้อนในการประเมิน รวมถึงการบูรณาการภาระงานต่างๆ เข้าด้วยกัน
เพอื่ ลดภาระงานท่มี ากเกินไปใหก้ บั ผูเ้ รยี น อันจะชว่ ยให้ผู้เรยี นมีเวลาในการศกึ ษาคน้ พบความถนดั ในตนเองมากขึน้

5. การจัดอบรมคุณธรรมจริยธรรมอย่างจริงจัง เพื่อปลูกฝังความดีงามให้กับผู้เรียน ตลอดจนการพัฒนา
รูปแบบและเครือ่ งมอื ในการประเมนิ ดา้ นคณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์และค่านิยมทีด่ ี ใหม้ ีมาตรฐาน และนา่ เช่ือถือ

6. การส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักใช้ประโยชน์จากส่ือสังคมออนไลน์ทีด่ ี หลีกเลี่ยงสื่อที่ไม่พึงประสงค์ รวมทั้งรูจ้ กั
เลอื กบริโภคข้อมลู ขา่ วสาร ที่เปน็ ประโยชน์ต่อการดำเนนิ ชวี ิต

กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
1. การพัฒนาและการปรับปรุงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้เพียงพอและพร้อมต่อการใช้งาน ตลอดจน

การดำเนนิ การจัดเก็บขอ้ มูลและจัดทำสารสนเทศใหม้ ีความทนั สมัย เป็นระบบและพรอ้ มต่อการใชง้ าน
2. การปรับปรุงและการเพิ่มแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษาให้มีความน่าสนใจ แปลกใหม่ ทันสมัย

และมจี ำนวนที่สอดคล้องกับจำนวนของผเู้ รยี น
3. การประชาสัมพันธ์กิจกรรมและผลงานต่างๆ ของสถานศึกษา ทั้งภายในและภายนอกองค์กร ที่ยังขาด

ความเด่นชัดและความต่อเนื่อง
4. การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง ให้มีความสอดคล้องกับ วิสัยทัศน์ พันธกิจ และจุดเน้น

ของสถานศึกษาที่เขา้ ร่วมกับเครือขา่ ยของโรงเรยี นเตรยี มอุดมศกึ ษาพัฒนาการ
5. การจัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนและส่งเสริม การใช้เทคโนโลยีทางการศึกษาในการจัดกิจกรรม

การเรียนการสอนของครู ให้มีความทันสมัย หลากหลาย และสอดคล้องกับสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้
ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ทัง้ ภายในห้องเรยี นและนอกหอ้ งเรยี น ตลอดจนการสอนแบบออนไลน์

กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั
1. การสรา้ งโอกาสใหผ้ ู้เรียนได้แสวงหาความรู้และสรุปเปน็ ความร้ทู ่ีคงทนไดด้ ว้ ยตนเอง การฝกึ ผ้เู รยี นให้มวี ินัย

และแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในการเรียน ตลอดจนการมีเป้าหมายในชีวิต โดยอาศัยกระบวนการให้ข้อมูลย้อนกลับ
แก่นักเรียนทันทีหลังการวดั และประเมนิ ผล ท้ังน้ีเพอ่ื ประโยชนใ์ นการพฒั นาตนเองของผเู้ รยี น

2. การให้ความสำคัญกับการเรียนรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น และการเชิญให้ชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วม
ในการจัดกจิ กรรมเสริมและเพ่ิมเตมิ ใหก้ บั ผู้เรยี น รวมทงั้ การฝึกให้ผู้เรยี นกล้าคิด กลา้ แสดงออก ในทางท่ถี ูกต้อง ดีงาม
และสรา้ งสรรค์

4. การส่งเสริมและสนับสนนุ ให้ครูใช้วิธีในการวัดและประเมนิ ผลที่ทนั สมยั นา่ เช่ือถือ และมคี วามหลากหลาย
โดยคำนงึ ถึงความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลให้มากย่ิงขน้ึ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2563) หนา้ 50

แนวทางการพัฒนาในอนาคต

1. การยกระดบั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นให้มคี ่าพฒั นาที่สูงขึ้น
2. การจดั อบรมดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรมอย่างจริงจงั ให้กบั ผ้เู รียน
3. การพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษาให้สอดคลอ้ งกับการเปล่ียนแปลงของสงั คม
4. การเพ่มิ แหล่งเรยี นรภู้ ายในสถานศกึ ษาใหม้ ีความน่าสนใจ แปลกใหม่ ทนั สมัย
5. การพฒั นาระบบการจดั เก็บข้อมลู และการจดั ทำสารสนเทศใหม้ ีความทนั สมัย และพรอ้ มตอ่ การใชง้ าน
6. การประชาสมั พันธ์กิจกรรมและผลงานต่างๆ ของสถานศกึ ษา ท้งั ภายในและภายนอกองคก์ รทมี่ ีความเด่นชดั
7. การนำภมู ปิ ัญญาท้องถ่ินมาใช้ในการจดั การศกึ ษา และการเชิญชุมชนให้เข้ามามีสว่ นรว่ มในการจดั การเรียนรู้
8. การสรา้ งโอกาสให้ผูเ้ รียนไดแ้ สวงหาความรู้ด้วยตนเอง มเี ปา้ หมายในชีวิตและมีแรงจงู ใจใฝ่สัมฤทธใ์ิ นการเรียน
9. การสง่ เสริมใหค้ รูใช้วิธีในการวัดและประเมนิ ผลท่มี ีความหลากหลาย โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
10. การปรับปรงุ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและระบบอินเทอรเ์ น็ตความเรว็ สงู เพื่อรองรบั การจดั การเรยี นรู้ในยุคใหม่

ความตอ้ งการการช่วยเหลอื

1. การสนับสนุนและความร่วมมอื จากผู้ปกครองและชุมชน ในการร่วมกันรับผิดชอบและดูแลพฤติกรรมของนกั เรียน
ให้รู้จกั ใชเ้ วลาว่างให้เกดิ ประโยชน์ต่อการเรียนของตน และรู้รบั ผิดชอบต่อหน้าทีข่ องตนอย่างมวี นิ ยั

2. การสนับสนุนด้านงบประมาณ เพื่อส่งเสริมการสร้างสรรค์นวัตกรรมและการใช้เทคโนโลยีทางการศึกษาในการจัด
กจิ กรรมการเรยี นรู้ของครู

3. การสร้างคลังข้อสอบออนไลน์ตามแนวทางในการประเมินของข้อสอบ O-NET และ PISA เพื่อการยกระดับ
ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน

แหลง่ ขอ้ มลู ประกอบรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (เพิม่ เติม)

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2563) หนา้ 51

สว่ นท่ี 4 ภาคผนวก

1. ประกาศมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา เพอ่ื การประกันคณุ ภาพภายใน ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓
2. ประกาศค่าเปา้ หมายการพัฒนาตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓
3. คำสงั่ แต่งต้ังคณะกรรมการดำเนนิ งานประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๓
4. คำส่ังแตง่ ต้งั คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคณุ ภาพการศึกษา ปกี ารศึกษา 2563
5. เครื่องมอื การประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา
6. เกณฑ์สำหรับการประเมินมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
7. ภาพประกอบการดำเนนิ งานประกนั คุณภาพภายใน

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR 2563) หน้า 52

ประกาศมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา เพ่อื การประกันคณุ ภาพภายใน ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓

มาตรฐานการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ของโรงเรียนเตรยี มอุดมศกึ ษาพฒั นาการ ยานนาเวศ
แนบทา้ ยประกาศโรงเรียนเตรียมอดุ มศกึ ษาพฒั นาการ ยานนาเวศ

เร่อื ง ให้ใช้มาตรฐานการศกึ ษา ระดับการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ของสถานศึกษา
เพ่ือการประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓
____________________________________________

มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน เพ่อื การประกันคุณภาพภายใน ของโรงเรยี นเตรยี มอุดมศึกษา
พฒั นาการ ยานนาเวศ มจี ำนวน 3 มาตรฐาน โดยแตล่ ะมาตรฐาน มีรายละเอยี ดดังต่อไปนี้

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู้ รยี น

1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผเู้ รียน
1) มคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคดิ คำนวณ
2) มคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคดิ เหน็

และแกป้ ัญหา
3) มคี วามสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม
4) มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร
5) มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศึกษา
6) มีความรู้ ทกั ษะพื้นฐาน และเจตคตทิ ่ีดีต่องานอาชีพ

1.2 คณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงคข์ องผเู้ รียน
1) การมคี ณุ ลักษณะและค่านิยมทด่ี ตี ามท่สี ถานศึกษากำหนด
2) ความภูมใิ จในท้องถนิ่ และความเป็นไทย
3) การยอมรบั ท่จี ะอยรู่ ่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
4) สขุ ภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
2.1 มีเปา้ หมายวิสัยทัศน์และพนั ธกิจท่สี ถานศึกษากำหนดชดั เจน
2.2 มรี ะบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา
2.3 ดำเนินงานพฒั นาวิชาการที่เนน้ คุณภาพผู้เรยี นรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา
และทุกกลุ่มเป้าหมาย
2.4 พัฒนาครแู ละบุคลากรใหม้ ีความเชีย่ วชาญทางวชิ าชีพ
2.5 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมที่เอ้ือต่อการจดั การเรยี นรูอ้ ย่างมคี ณุ ภาพ
2.6 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนับสนนุ การบริหารจดั การและการจัดการเรียนรู้

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เน้นผเู้ รียนเป็นสำคญั
3.1 จัดการเรยี นรู้ผ่านกระบวนการคดิ และปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ได้
3.2 ใชส้ ่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง่ เรียนรทู้ เี่ ออื้ ต่อการเรยี นรู้
3.3 มกี ารบริหารจดั การชน้ั เรยี นเชิงบวก
3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รยี นอยา่ งเปน็ ระบบและนำผลมาพฒั นาผู้เรียน
3.5 มีการแลกเปล่ียนเรียนรแู้ ละใหข้ ้อมูลสะท้อนกลบั เพอื่ พัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2563) หน้า 53

ประกาศคา่ เป้าหมายการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓

คา่ เปา้ หมายแนบท้ายประกาศโรงเรยี นเตรยี มอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ

เร่ือง ใหใ้ ชค้ า่ เป้าหมายการพัฒนา ตามมาตรฐานการศกึ ษา ระดับการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ของสถานศึกษา

เพื่อการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ปีการศึกษา ๒๕๖๓

--------------------------------------------------------------------------

มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน คา่ เปา้ หมาย คำอธิบาย

โรงเรยี นเตรยี มอดุ มศกึ ษาพฒั นาการ ยานนาเวศ

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผ้เู รียน ระดบั -

ยอดเยย่ี ม

1.1 ผลสมั ฤทธ์ทิ างวชิ าการของผูเ้ รยี น ยอดเยี่ยม -

1. มีความสามารถในการอา่ น การเขยี น การสอ่ื สารและการคิดคำนวณ ยอดเยย่ี ม รอ้ ยละ ๘๐ ได้ระดับดี ขึ้นไป

2. มีความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย ยอดเยย่ี ม รอ้ ยละ ๘๐ ไดร้ ะดับดี ขน้ึ ไป

แลกเปล่ยี นความคิดเห็นและแก้ปญั หา

3. มีความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม ยอดเยี่ยม รอ้ ยละ ๘๐ ไดร้ ะดบั ดี ขึ้นไป

4. มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร ยอดเยี่ยม รอ้ ยละ ๘๐ ไดร้ ะดับดี ขน้ึ ไป

5. มผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรียนตามหลักสตู รสถานศกึ ษา ดเี ลิศ รอ้ ยละ ๗๕ ผา่ นเกณฑ์ตามสถานศึกษากำหนด

(ทกุ กลมุ่ สาระฯกำหนดผลการเรียน 2.00 ข้ึนไป)

6. มคี วามรู้ ทกั ษะพ้นื ฐานและเจตคติทด่ี ีตอ่ งานอาชีพ ยอดเยย่ี ม รอ้ ยละ ๘๐ ไดร้ ะดับดี ขึ้นไป)

1.2 คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงคข์ องผู้เรียน ยอดเย่ยี ม -

1. มคี ณุ ลกั ษณะและคา่ นิยมที่ดตี ามท่ีสถานศึกษากำหนด ยอดเยี่ยม ร้อยละ ๘๐ ได้ระดับดี ขน้ึ ไป

2. มคี วามภูมใิ จในท้องถิน่ และความเปน็ ไทย ดเี ลิศ รอ้ ยละ 75 ได้ระดบั ดี ข้นึ ไป

3. ยอมรบั ทจี่ ะอย่รู ่วมกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย ยอดเยี่ยม ร้อยละ ๘๐ ไดร้ ะดับดี ขน้ึ ไป

4. มสี ขุ ภาวะทางรา่ งกายและลักษณะจติ สงั คม ยอดเยย่ี ม รอ้ ยละ ๘๐ ได้ระดับดี ขึ้นไป

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดบั -

ยอดเยยี่ ม

1. มีเปา้ หมาย วสิ ัยทัศน์ และพันธกิจทีส่ ถานศกึ ษากำหนดชัดเจน ยอดเยี่ยม -

2. มรี ะบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา ยอดเยยี่ ม -

3. ดำเนนิ งานพัฒนาวชิ าการทีเ่ นน้ คณุ ภาพของผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตร ยอดเยย่ี ม -

สถานศกึ ษาและกลุม่ เปา้ หมาย

4. พฒั นาครูและบคุ ลากรให้มคี วามเชีย่ วชาญทางวชิ าชพี ยอดเยี่ยม -

5. จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมทเ่ี อื้อตอ่ การจัดการเรียนรู้ ยอดเยยี่ ม -

6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ ดีเลิศ -

และการจดั การเรยี นรู้

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รยี น ระดับ -

เปน็ สำคัญ ยอดเยี่ยม

1. จดั การเรียนร้ผู ่านกระบวนการคดิ และปฏิบตั ิจริง และสามารถนำไป ยอดเยี่ยม -

ประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตได้

2. ใชส้ อื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้ทเ่ี ออื้ ตอ่ การเรยี นรู้ ดเี ลิศ -

3. มกี ารบรหิ ารจดั การชั้นเรียนเชงิ บวก ยอดเยย่ี ม -

4. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเปน็ ระบบและนำผลมาพัฒนาผ้เู รยี น ยอดเยีย่ ม -

5. มีการแลกเปลยี่ นเรยี นรแู้ ละใหข้ ้อมลู สะท้อนกลบั เพอื่ พัฒนาและปรับปรุง ยอดเยี่ยม -

การจดั การเรยี นรู้

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2563) หน้า 54

คำสัง่ แต่งตงั้ คณะกรรมการดำเนินงานประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2563

คำส่งั โรงเรียนเตรยี มอดุ มศึกษาพฒั นาการ ยานนาเวศ
ท่ี 28/๒๕๖4

เรื่อง แตง่ ต้งั คณะกรรมการดำเนินงานประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา
และจดั ทำรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ปกี ารศกึ ษา 2563

---------------------------------------------------------------------------
ตามที่สำนักงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานประกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วยการประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ลงวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ซึ่งกำหนดระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประเมินคุณภาพ

การศกึ ษา อนั สง่ ผลใหก้ ารดำเนนิ งานการประกันคุณภาพการศึกษา ท้ังหน่วยงานตน้ สังกดั หรือหน่วยงานในกำกับดูแล
และหน่วยงานภายนอก สะท้อนสภาพการดำเนินงานที่แท้จริงและเกิดประสิทธิภาพ รวมทั้งกำหนดแนวทางในการ

ขบั เคลอื่ นการประกนั คุณภาพการศกึ ษา ท่สี อดคลอ้ งกับหลกั การประกนั คุณภาพการศกึ ษา โดยมีกลไกปฏิบัติท่ีเอื้อต่อ
การดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับ ให้เกิดประสิทธิภาพในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา อันมีผลต่อ
คุณภาพของสถานศึกษา ตลอดจนคณุ ภาพของคนไทยและการศกึ ษาไทยในอนาคต นน้ั

เพอ่ื ใหก้ ารดำเนินงานประกนั คุณภาพภายในของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพฒั นาการ ยานนาเวศ เป็นไปด้วย
ความเรียบร้อยและบรรลุตามวัตถุประสงค์ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๗ (๑) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ

ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ จึงแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน
ของสถานศกึ ษา ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ดังตอ่ ไปนี้

๑. คณะกรรมการอำนวยการ ประธานกรรมการ
รองประธานกรรมการ
๑. นายปรเวธฎ์ เกษมโชค ผู้อำนวยการโรงเรยี น
๒. นายอภชิ าต ลำภพู ินจิ พงศ์ รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงบประมาณ กรรมการ
กรรมการและเลขานกุ าร
และรองผอู้ ำนวยการกลมุ่ บรหิ ารทั่วไป
๓. นายภาคภูมิ ทองลาด รองผอู้ ำนวยการกลมุ่ บรหิ ารงานบุคคล
๔. นางสาวสทุ ธนิ ี แก้ววไิ ล รองผู้อำนวยการกลุ่มบรหิ ารวิชาการ

หน้าที่ ๑. ประชุมวางแผน กำหนดนโยบายและแนวปฏิบัติแก่คณะกรรมการดำเนินงานประกันคุณภาพ
ภายในของสถานศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา

ข้ันพ้ืนฐาน เพอ่ื การประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ฉบับลงวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2561
๒. แต่งตั้งคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา

คณะกรรมการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา และคณะกรรมการจัดทำ

รายงานผลการประเมนิ ตนเองภายในสถานศึกษา
๓. กำหนดแนวปฏบิ ัตแิ กค่ ณะกรรมการดำเนนิ งานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ตามวงจร

การบรหิ ารงานคณุ ภาพ (PDCA)
๔. ส่งเสริม สนับสนุน เป็นที่ปรึกษา ให้คำแนะนำ อำนวยการ และกำกับติดตาม การดำเนินงาน

ของคณะกรรมการทุกฝา่ ย ให้ดำเนนิ ไปดว้ ยความเรียบร้อย และบรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์

๕. ตรวจสอบและติดตามผลการดำเนินการของแต่ละมาตรฐานให้มีความถูกต้องและครบถ้วน
ตามหลักเกณฑก์ ารประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน

๖. เตรยี มความพร้อมเพื่อรับการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา ทง้ั ภายในและภายนอก

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2563) /๒. คณะกรรมการดำเนินงาน…

หนา้ 55

๒. คณะกรรมการดำเนินงาน

๑. นางสาวสทุ ธินี แก้ววไิ ล รองผ้อู ำนวยการกลมุ่ บริหารวชิ าการ ประธานกรรมการ

๒. นายภาคภมู ิ ทองลาด รองผอู้ ำนวยการกลุ่มบรหิ ารงานบคุ คล รองประธานกรรมการ
๓. นายอภิชาต ลำภพู นิ ิจพงศ์ รองผ้อู ำนวยการกลุ่มบริหารงบประมาณ รองประธานกรรมการ

และรองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารท่วั ไป

๔. นางสาวระวิวรรณ หิรัญสุนทร หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย กรรมการ

๕. นางสาวจันทรา พวงยอด หัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ กรรมการ

๖. นายจริ ฐั รวยิ ะวงศ์ หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรรมการ

๗. นางสาวนนทวรรณ บัวจูม หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ังคมศึกษาฯ กรรมการ

๘. นางสาวนราทร กลุ ธนสริ ิ หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา กรรมการ

๙. นางสาวสพุ ิชยา ช่วงชยั ยะ หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ กรรมการ

๑๐. นางสาวสมศรี คงเสรี หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ กรรมการ

๑๑. นายจักรพันธ์ พานสะอาด หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ กรรมการ
๑๒. นายพิเชษฐ์ วงศอ์ มั พรฉกาจ หัวหน้ากจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน กรรมการ

๑๓. นางสาววิรดา สมิ มา หวั หนา้ งานนโยบายและแผน กรรมการ

๑๔. นางวีรวรรณ คำดี หวั หน้างานทะเบียนและเทยี บโอน กรรมการ

๑๕. นายเอกลักษณ์ ปนิ่ ดลิ กคุณ หวั หน้างานวัดผลและประเมนิ ผลการศกึ ษา กรรมการ

๑๖. นาย ณ พล คำแก้ว หวั หนา้ สำนกั งานวชิ าการ กรรมการ

๑๗. นางสาวศรนี ลิ แสงจนิ ดา หัวหน้างานห้องสมดุ กรรมการ

๑๘. นางภทั รพรรณ พงษพ์ ินิจ หวั หน้างานแนะแนว กรรมการ
๑๙. นางกานตพ์ ชิ ชา ศลิ ปวิศวกุล หวั หน้างานระบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรียน กรรมการ
๒๐. นางสาวละอองดาว อดทน หวั หน้างานพยาบาล กรรมการ

๒๑. นางสาวศันธวิ า ชนั้ กลาง หวั หน้างานพฒั นาสือ่ นวัตกรรมฯ กรรมการ

๒๒. นายสุรเชษฐ์ ศิลลา หัวหนา้ งานพัฒนาหลกั สตู รฯ กรรมการ

๒๓. นายเสรี ตระกลู พสทุ ิพย์ หัวหนา้ งานพฒั นาระบบเครือข่ายเทคโนโลยีฯ กรรมการ

๒๔. นายทศณรงค์ เปา้ มจั ฉา หัวหนา้ งานวางแผนอตั รากำลังและกำหนดตำแหนง่ กรรมการ

๒๕. นางสาววรรณพร ปิน่ ฟ้า หวั หนา้ งานสารบรรณ กรรมการ

๒๖. นางสาวลัลนญ์ ดา ยมแดง หวั หน้างานโครงการพิเศษ กรรมการ

๒๗. นางสาวแคทรยี า สุหญ้านาง หวั หน้างานสมั พนั ธ์ชมุ ชน กรรมการ

๒๘. นางสาวศริ ิวมิ ล สมพร หัวหน้างานสง่ เสรมิ วนิ ัยนกั เรยี น กรรมการ
๒๙. นายธนพล พรมโอก
๓๐. นางสาวรสมา ลำพุทธา หัวหน้างานประกนั คุณภาพการศกึ ษา กรรมการและเลขานกุ าร

หัวหนา้ งานนเิ ทศ กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการ

๓๑. นางสาวอัยด้า สะมะแอ หัวหน้างานเครอื ขา่ ยผู้ปกครอง กรรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร

หน้าท่ี ๑. ประชุม วางแผน พิจารณา กำหนดขั้นตอนในการดำเนินงาน ประสานงาน และให้คำปรึกษา

แก่คณะกรรมการในทุกมาตรฐาน และทุกประเด็นพิจารณา เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลสารสนเทศ

ทจี่ ำเปน็ ต่อการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

๒. จัดประชุมคณะกรรมการทุกมาตรฐาน เพื่อกำกับ ติดตาม และตรวจสอบ ความก้าวหน้าในการ

ดำเนินงานของการจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาให้บรรลุตามวัตถปุ ระสงค์
๓. เข้าร่วมประชุมและนำเสนอ ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา ต่อคณะกรรมการ

ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพการศึกษาตามระบบการประกันคุณภาพภายใน

ของสถานศกึ ษา อันประกอบด้วยผทู้ รงคณุ วุฒิท่ไี ด้รับการแต่งต้ังจากสถานศึกษา

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2563) /๓. คณะกรรมการรบั ผดิ ชอบมาตรฐาน...
หนา้ 56

๓. คณะกรรมการรบั ผดิ ชอบมาตรฐานและรวบรวมขอ้ มูลจดั ทำสารสนเทศ

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรยี น

1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผูเ้ รยี น แกว้ วิไล ที่ปรึกษาคณะกรรมการ
๑. นางสาวสทุ ธินี
พวงยอด ประธานกรรมการและหวั หน้ามาตรฐานท่ี ๑.๑
๒. นางสาวจนั ทรา คงเสรี กรรมการ
๓. นางสาวสมศรี ปนิ่ ฟา้ กรรมการและเลขานกุ าร
๔. นางสาววรรณพร

ประเด็นพิจารณา

1. มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ

๑. นางสาววรรณพร ปนิ่ ฟา้ ประธานประเดน็ พจิ ารณา

๒. นางสาวเยาวลักษณ์ ดาปุย กรรมการ

๓. นางสาวสรุ ี มลู ราช กรรมการ

๔. นางสาวชยาพมิ ล อุน่ เรอื น กรรมการ

2. มคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมวี จิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลี่ยนความคดิ เห็นและแกป้ ญั หา

๑. นางสาวศรนี ิล แสงจนิ ดา ประธานประเดน็ พจิ ารณา

๒. นางสาวชลุ พี ร โพธิสถิตยืนยง กรรมการ

๓. นายวรี ชัย แก้วสตุ ิน กรรมการ

๔. นางสาวภษู ณศิ า นาถธราดล กรรมการ

3. มีความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม

๑. นางสาวศันธวิ า ชั้นกลาง ประธานประเดน็ พจิ ารณา

๒. นางสาวพรนภา เวยี งวเิ ศษ กรรมการ

๓. นางสาวชารณิ ี กาศกอ้ ง กรรมการ

๔. นายอนวุ ัฒน์ แหวนเพชร กรรมการ

4. มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร

๑. นาย ณ พล คำแก้ว ประธานประเด็นพิจารณา

๒. นางหนเู พียร โกมลสรุ กุล กรรมการ

๓. นายสุรัตน์ สร้อยคำ กรรมการ

๔. นางสาวณฐั นรี ธรรมเลิศหล้า กรรมการ

5. มีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนตามหลักสตู รสถานศึกษา

๑. นางวรี วรรณ คำดี ประธานประเดน็ พิจารณา

๒. นางสาวนาดา ราชแดหวา กรรมการ

๓. นางสาวภัทจิรา แกว้ โยธา กรรมการ

๔. นางสาวณิชานันทร์ ศรจี นั ทร์ กรรมการ

6. มีความรู้ ทกั ษะพื้นฐานและเจตคตทิ ่ดี ตี อ่ งานอาชีพ

๑. นางสาวสมศรี คงเสรี ประธานประเดน็ พจิ ารณา

๒. นางสาวศวิ พร คงสกลุ กรรมการ

๓. นางสาวอารยี า ตระกูลพสทุ พิ ย์ กรรมการ

๔. นางสาวจามจรุ ี เรียงศลิ ปช์ ัย กรรมการ

/1.๒ คณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ของผเู้ รยี น...

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2563) หน้า 57

1.๒ คณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ของผ้เู รียน

๑. นายภาคภมู ิ ทองลาด ท่ีปรึกษาคณะกรรมการ
ประธานกรรมการและหัวหน้ามาตรฐานที่ ๑.๒
๒. นางสาวระววิ รรณ หิรัญสนุ ทร กรรมการ

๓. นางกระจา่ งจิต แก้วชล

๔. นางสาวนนทวรรณ บัวจมู กรรมการและเลขานุการ

ประเด็นพิจารณา ประธานประเดน็ พิจารณา
1. การมีคุณลกั ษณะและค่านยิ มทด่ี ตี ามสถานศกึ ษากำหนด

๑. นางสาวนนทวรรณ บัวจมู

๒. นายวทิ ยา ยวุ ภูษติ านนท์ กรรมการ
กรรมการ
๓. นายกฤษฎา ม้วดหรีด กรรมการ

๔. นางสาวสทุ ธิกา มาเกิด ประธานประเด็นพจิ ารณา

2. ความภูมใิ จในทอ้ งถ่นิ และความเปน็ ไทย

๑. นางสาวสพุ ชิ ยา ชว่ งชัยยะ

๒. นางสาวพรประภา นระแสน กรรมการ

๓. นางสาวคำลอง กลางประพนั ธ์ กรรมการ

๔. นายเกยี รตพิ งศ์ บุญฤทธิ์ กรรมการ

3. การยอมรบั ท่จี ะอย่รู ่วมกนั บนความแตกตา่ งและความหลากหลาย

๑. นางสาวละอองดาว อดทน ประธานประเดน็ พิจารณา

๒. นางสาวจินตจ์ ฑุ า โคตรวทิ ย์ กรรมการ
กรรมการ
๓. นายประมุข โกมลสรุ กลุ กรรมการ

๔. นางสาวสุภัทรา เหรยี ญเกษมสกลุ ประธานประเดน็ พจิ ารณา

4. สุขภาวะทางรา่ งกายและลักษณะจติ สังคม

๑. นางสาวนราทร กุลธนสริ ิ

๒. นางกระจ่างจิต แก้วชล กรรมการ

๓. นางสาวชลธร ถามะพนั ธ์ กรรมการ
๔. นางสาวกนกอร อุน่ สถานนท์ กรรมการ

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ

๑. นายปรเวธฎ์ เกษมโชค ทป่ี รกึ ษาคณะกรรมการ
ประธานกรรมการและหวั หน้ามาตรฐานท่ี ๒
๒. นายจริ ฐั รวยิ ะวงศ์ กรรมการ
๓. นายทศณรงค์ เป้ามจั ฉา กรรมการและเลขานุการ
๔. นางสาววิรดา สิมมา
ประธานประเด็นพจิ ารณา
ประเด็นพจิ ารณา กรรมการ
กรรมการ
1. มีเปา้ หมาย วิสัยทัศน์ และพันธกจิ ทีส่ ถานศึกษากำหนดชัดเจน กรรมการ

๑. นางสาววิรดา สิมมา

๒. นายสมบตั ิ พละศกั ดิ์

๓. นายปรัชญา อาภาวฒั นาสกุล

๔. นางสาวรสมา ลำพทุ ธา

2. มรี ะบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา...

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2563) หน้า 58

2. มรี ะบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา

๑. นางกานตพ์ ิชชา ศิลปวศิ วกุล ประธานประเดน็ พิจารณา

๒. นายธนพล พรมโอก กรรมการ

๓. นางสาวสายใจ ประยรู สุข กรรมการ

๔. Mr. Wilfredo L. Artillaga กรรมการ

3. ดำเนนิ งานพัฒนาวิชาการทีเ่ นน้ คณุ ภาพของผูเ้ รยี นรอบด้านตามหลักสูตรสถานศกึ ษาและกลุ่มเปา้ หมาย

๑. นายสรุ เชษฐ์ ศิลลา ประธานประเดน็ พจิ ารณา

๒. นางสาวรสมา ลำพทุ ธา กรรมการ

๓. นางสาวสุทธิรกั ษ์ นามไพโรจน์ กรรมการ

๔. นางสาวจริ ฏั ฐ์ เสตะพยัคฆ์ กรรมการ

4. พฒั นาครูและบุคลากรใหม้ ีความเชย่ี วชาญทางวิชาชีพ

๑. นายทศณรงค์ เปา้ มจั ฉา ประธานประเดน็ พิจารณา

๒. นายปฏิญญา มขุ สาร กรรมการ

๓. นางสาวพัชรดิ า ศรีเข้ม กรรมการ

๔. นายจริ วฒั น์ นิรนั ดร์วงศ์วาน กรรมการ

5. จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทเ่ี ออื้ ต่อการจัดการเรยี นรู้

๑. นางสาวลัลน์ญดา ยมแดง ประธานประเด็นพจิ ารณา

๒. นางสาวทรัพยท์ วี อภญิ ญาวาท กรรมการ

๓. นายเรวัตร เตรยี มลำ้ เลศิ กรรมการ

๔. วา่ ที่ ร.ต.มาวิน คำดี กรรมการ

6. จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจดั การและการจัดการเรียนรู้

๑. นายเสรี ตระกูลพสุทิพย์ ประธานประเด็นพจิ ารณา

๒. นายนรินทร บญุ ธรรมพาณิชย์ กรรมการ

๓. นายเอก มแี สวง กรรมการ

๔. นายพศิ ษิ ฐ์ ต้ังไชยวรวงศ์ กรรมการ

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ

๑. นายอภิชาต ลำภพู นิ ิจพงศ์ ที่ปรึกษาคณะกรรมการ

๒. นายจกั รพนั ธ์ พานสะอาด ประธานกรรมการและหวั หน้ามาตรฐานที่ ๓

๓. นางบุณยวดี ปึงศิริเจรญิ กรรมการ
๔. นางสาวศิรวิ ิมล สมพร กรรมการและเลขานุการ

ประเดน็ พิจารณา
1. การจดั การเรียนรผู้ ่านกระบวนการคิด และปฏิบัตจิ ริง และสามารถนำไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ได้

๑. นางสาวศิรวิ มิ ล สมพร ประธานประเด็นพจิ ารณา

๒. นางสาวอรอนงค์ วงศา กรรมการ
๓. นางบณุ ยวดี ปงึ ศริ ิเจริญ กรรมการ
๔. นางสาวทิพวรรณ ยินดี กรรมการ

/2. ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ...

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2563) หนา้ 59

2. ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรยี นรทู้ ่ีเอื้อต่อการเรียนรู้

๑. นางสาวแคทรยี า สหุ ญ้านาง ประธานประเด็นพจิ ารณา

๒. นางสาวจิราวรรณ เสยี มภูเขยี ว กรรมการ

๓. นายนพดล สขุ สุพฒุ ิ กรรมการ

๔. นางสาวนนั ทนา บัวงาม กรรมการ

3. มกี ารบริหารจดั การช้นั เรียนเชงิ บวก

๑. นางภัทรพรรณ พงษพ์ ินจิ ประธานประเด็นพจิ ารณา

๒. นางสาวสพุ รรณี แผ่นทอง กรรมการ

๓. นางสาวณฐั ิสา ปัทมาภรณ์พงศ์ กรรมการ

๔. นางสาวสาร่ี วใิ จยา กรรมการ

4. ตรวจสอบและประเมินผเู้ รียนอย่างเปน็ ระบบ และนำผลมาพฒั นาผู้เรยี น

๑. นายเอกลักษณ์ ปนิ่ ดิลกคณุ ประธานประเด็นพจิ ารณา

๒. นางนติ ยา ขนั ธรุ า กรรมการ

๓. นางวมิ ล แจง้ คลอ้ ย กรรมการ

๔. Mr. Josaphat B. Camongol กรรมการ

5. มีการแลกเปลย่ี นเรียนรู้ และใหข้ ้อมูลสะทอ้ นกลบั เพอื่ พฒั นาและปรับปรุงการจดั การเรียนรู้

๑. นายพเิ ชษฐ์ วงศ์อมั พรฉกาจ ประธานประเด็นพจิ ารณา

๒. นางสาวอัยดา้ สะมะแอ กรรมการ

๓. นางสาวกญั ญาภคั เสนจันตะ กรรมการ

๔. นายชัยยา นาเมืองรกั ษ์ กรรมการ

หน้าท่ีของที่ปรึกษาคณะกรรมการ

๑. ประสานงานผู้เกี่ยวข้อง เป็นที่ปรึกษาและให้คำแนะนำ แก่คณะกรรมการมาตรฐาน รวมทั้ง
กำกบั ดแู ลใหก้ ารดำเนนิ งานเป็นไปด้วยความเรียบรอ้ ย บรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์

หนา้ ท่ขี องหัวหนา้ มาตรฐาน
๑. จัดประชุมคณะกรรมการ ทุกประเด็นพิจารณา ในมาตรฐานที่รับผิดชอบ เพื่อกำกับ ติดตาม

และตรวจสอบ ความกา้ วหน้าในการดำเนินงาน ให้เป็นไปดว้ ยความเรียบร้อย
๒. ประสานงานกับฝ่ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และให้คำแนะนำในการเก็บรวบรวมข้อมูล เอกสาร

ร่องรอยหลักฐาน เพื่อนำไปสู่การจัดทำสารสนเทศ ให้ครบถ้วนตามประเด็นพิจารณา
ในมาตรฐานทีร่ ับผิดชอบ
๓. รวบรวมสารสนเทศ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนรายงานสรุปผล เพื่อนำเสนอในประเด็น

ที่เกี่ยวกับกระบวนการพัฒนา ผลการดำเนินงาน จุดเด่น และจุดที่ควรพัฒนา รวมทั้งอ้างอิง
ชื่อโครงการหรือกิจกรรม และร่องรอยหลักฐานต่าง ๆ ให้สอดคล้องตามมาตรฐานที่รับผิดชอบ

พร้อมตรวจสอบความถูกตอ้ งครบถ้วนของขอ้ มูลในแต่ละประเดน็ พิจารณา
๔. จัดเก็บเอกสาร ร่องรอยหลักฐาน และจัดทำแฟ้มมาตรฐาน ให้สอดคล้องกับประเด็นพิจารณา

และมาตรฐานที่รับผิดชอบ พร้อมให้ข้อมูลแก่คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน

ของสถานศกึ ษาและกรรมการผ้ทู รงคณุ วุฒิ
๕. รวบรวมไฟล์ข้อมูล แล้วส่งไปยังคณะกรรมการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา

๖. เข้าร่วมประชุมและนำเสนอ ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา ตามมาตรฐาน
ที่รับผิดชอบ ต่อคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพการศึกษาตามระบบ
การประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา

/หน้าทข่ี องประธานประเด็นพิจารณา...

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2563) หน้า 60

หน้าที่ของประธานประเดน็ พิจารณา / กรรมการ / กรรมการและเลขานกุ าร
๑. ศึกษามาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มาตรฐาน

และประเด็นพจิ ารณา ท่ไี ด้รับมอบหมาย
2. ประชุมวางแผนจัดทำกรอบการประเมินมาตรฐานคุณภาพการศึกษา และจัดทำเครื่องมือ

การประเมินตามกรอบมาตรฐาน
3. ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล เตรียมเอกสารและร่องรอยหลักฐานอ้างอิง วิเคราะห์ อภิปราย

จัดสรปุ ผลการประเมิน ตามมาตรฐานการศึกษา พร้อมจัดทำสารสนเทศ

4. ตรวจติดตาม การดำเนินงานประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ตามแผนการตรวจติดตาม
5. เสนอแนะกระบวนการพัฒนา ผลการดำเนินงาน จุดเด่น และจุดที่ควรพัฒนา ของประเด็น

พจิ ารณา ท่ไี ด้รบั มอบหมาย
6. จดั ทำสารสนเทศสรุปผลการประเมินของประเด็นพิจารณา ทีไ่ ด้รบั มอบหมายใหอ้ ยู่ในรูปของไฟล์
7. นำส่งไฟล์สารสนเทศ ให้กับหัวหนา้ มาตรฐาน เพื่อพจิ ารณาตรวจสอบความถกู ต้องครบถว้ น

๔. คณะกรรมการจดั ทำรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR)

๔.๑. คณะกรรมการจัดทำรปู เลม่ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาและฝ่ายกราฟิก

๑. นางสาวศนั ธวิ า ช้ันกลาง ประธานกรรมการ

๒. นางสาวพรนภา เวยี งวิเศษ กรรมการ

๓. นางสาวรสมา ลำพุทธา กรรมการ

๔. นางสาวชาริณี กาศก้อง กรรมการ

๕. นางสาวอัยด้า สะมะแอ กรรมการและเลขานุการ

หนา้ ที่ ๑. เกบ็ รวบรวมข้อมูลและจัดทำสารสนเทศ ในสว่ นท่เี ก่ยี วขอ้ งกับตอนท่ี 1 ของรายงานการ

ประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) พร้อมออกแบบ และตกแต่งการจัดวางและการ

นำเสนอเนื้อหา ให้สวยงามตามความเหมาะสม

๒. รวบรวมไฟล์สารสนเทศ ที่ได้รับจากหัวหน้ามาตรฐาน ทุกมาตรฐาน พร้อมออกแบบ

และตกแต่งการจดั วางและการนำเสนอเน้ือหาในสว่ นที่เกีย่ วข้องกบั ตอนท่ี ๒ ของรายงาน

การประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ตามความเหมาะสม

๓. รวบรวมไฟล์สารสนเทศ ที่ได้รับจากหัวหน้างานประกันคุณภาพการศึกษา พร้อม

ออกแบบ และตกแต่งการจัดวางและการนำเสนอเน้ือหาในส่วนที่เกี่ยวข้องกับตอนที่ ๓

และ ๔ ของรายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ตามความเหมาะสม

๔. ประสานงานกับฝ่ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดทำรูปเล่มรายงานการประเมินตนเองของ

สถานศึกษา (SAR) พร้อมออกแบบกราฟิกให้กับรูปเล่ม SAR ให้สวยงามตามความ

เหมาะสม โดยทำสำเนารูปเล่ม SAR จำนวน ๓ เล่ม ให้แล้วเสร็จก่อนการประชุมการ

ประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา และทำสำเนารูปเล่ม SAR จำนวน 7 เล่ม

หลังเสร็จสิ้นการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา โดยแจ้งจำนวนค่าใช้จ่ายในการ

ทำสำเนารปู เล่ม SAR ให้กับหัวหน้างานประกันคณุ ภาพการศกึ ษา ทราบลว่ งหนา้

๕. ประสานงานกับฝ่ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำรูปเล่มรายงานการประเมินตนเองของ

สถานศึกษา (SAR) ในรูปแบบของไฟล์ PDF ขึ้นเผยแพร่ต่อสาธารณะชนทางเว็บไซต์

ของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ (www.tupy.ac.th) โดยความ

เห็นชอบของคณะกรรมการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา หลังเสรจ็

ส้ินการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา

/๔.๒. คณะกรรมการพสิ ูจนอ์ ักษร...

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR 2563) หน้า 61

๔.๒. คณะกรรมการพิสูจน์อกั ษร

๑. นางสาวกนกอร อ่นุ สถานนท์ ประธานกรรมการ

๒. นายเกียรติพงศ์ บุญฤทธิ์ กรรมการ

๓. นางสาวสภุ ทั รา เหรียญเกษมสกลุ กรรมการ

๔. นางสาวณชิ านนั ทร์ ศรจี ันทร์ กรรมการ

๕. นางสาวณฐั นรี ธรรมเลิศหล้า กรรมการ

๖. Mr. Wilfredo L. Artillaga กรรมการ

๗. Mr. Josaphat B. Camongol กรรมการ

๘. นางสาวพชั ริดา ศรีเขม้ กรรมการและเลขานุการ

หน้าท่ี ๑. ตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสม ของข้อความ การสะกดคำ การเรียบเรียงเนื้อหา

และระดับของการใช้ภาษา ในรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)

ให้ถูกต้องตามพจนานุกรม หากพบจุดผิดพลาด ให้ทำเครื่องหมายด้วยปากกาแดง

พร้อมระบขุ ้อความใหม่ท่ถี กู ตอ้ ง เพ่อื นำไปส่กู ารแกไ้ ขต่อไป

๒. ส่งคืนต้นฉบับรูปเล่ม SAR ที่ผ่านการตรวจพิสูจน์อักษร และลงชื่อรับรอง

โดยคณะกรรมการแล้ว ไปยังคณะกรรมการตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของรูปเล่ม

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา

๔.๓. คณะกรรมการตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของรูปเล่มรายงานการประเมินตนเอง

ของสถานศกึ ษา

๑. นายธนพล พรมโอก ประธานกรรมการ

๒. นางสาวรสมา ลำพุทธา กรรมการ

๓. นางสาวอัยด้า สะมะแอ กรรมการ

๔. นางสาวศนั ธวิ า ชั้นกลาง กรรมการและเลขานุการ

หน้าที่ ๑. ตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนและความเรียบร้อย ของรายงานผลการประเมินตนเอง

ของสถานศึกษา ที่ได้รับจากหัวหน้ามาตรฐาน และคณะกรรมการจัดทำรูปเล่มรายงาน

การประเมินตนเองของสถานศกึ ษาและฝ่ายกราฟกิ

๒. รวบรวมสารสนเทศ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนรายงานสรุปและอภิปรายผล

เพื่อนำเสนอเนื้อหาส่วนท่ี 3 และ ๔ ของรายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

ในประเด็นที่เกี่ยวกับจุดเด่น จุดควรพัฒนา แนวทางการพัฒนาในอนาคต และความ

ต้องการการช่วยเหลือ ของทั้ง ๓ มาตรฐาน พร้อมตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วน

ของข้อมลู ในแต่ละประเด็นพจิ ารณา

๓. นำส่งไฟล์สารสนเทศทั้งหมด ให้กับคณะกรรมการจัดทำรูปเล่มรายงานการประเมิน

ตนเองของสถานศึกษาและฝา่ ยกราฟิก เพื่อจดั ทำรปู เล่ม SAR

๔. นำส่งรูปเล่ม SAR ให้กับคณะกรรมการพิสูจน์อักษร และแก้ไขจุดบกพร่อง (หากมี)

๕. นำส่งรูปเล่ม SAR ที่ผ่านการพิสูจน์อักษร และแก้ไขแล้ว ไปยังคณะกรรมการจัดทำ

รูปเล่มรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาและฝ่ายกราฟิก เพื่อจัดทำต้นฉบับ

รปู เลม่ SAR และจดั ทำสำเนารปู เล่ม SAR ต่อไป

๖. ดำเนินการเผยแพร่รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment

Report) ให้สาธารณะชนได้รับทราบถึงผลการดำเนินการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

ตลอดทั้งปีการศกึ ษา

/๕. คณะกรรมการฝ่ายต้อนรับและลงทะเบยี น...

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2563) หน้า 62

๕. คณะกรรมการฝา่ ยต้อนรับและลงทะเบียน

๑. นางสาววรรณพร ปิ่นฟ้า ประธานกรรมการ

๒. นางสาวอยั ดา้ สะมะแอ กรรมการ

๓. นางสาวณชิ านันทร์ ศรจี นั ทร์ กรรมการ

๔. นางกานตพ์ ิชชา ศลิ ปวศิ วกลุ กรรมการและเลขานุการ

หน้าท่ี ๑. ให้การต้อนรับคณะผู้ทรงคุณวุฒิ บริเวณหน้าประตูทางเข้าสำนักงานกลุ่มบริหารวิชาการ ชั้น ๑

พรอ้ มแนะนำทางไปยงั หอ้ งประชุมสำเภาทอง

๒. จัดเตรยี มใบลงชือ่ เข้าร่วมประชุม และเอกสารประกอบการประชุม สำหรับคณะกรรมการติดตาม

ตรวจสอบ และประเมนิ คุณภาพภายในของสถานศึกษา ณ ห้องประชุมสำเภาทอง

๓. เตรียมป้ายชื่อ ตามรายนามของคณะผู้ทรงคุณวุฒิ และคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน

สถานศึกษาจดั วางบนโต๊ะ ณ ห้องประชุมสำเภาทอง

๖. คณะกรรมการฝา่ ยอนามัยและพยาบาล

๑. นางสาวละอองดาว อดทน ประธานกรรมการ

๒. นางสาวณัฐนรี ธรรมเลิศหลา้ กรรมการ

๓. นางสาวกัญญาภัค เสนจนั ตะ กรรมการและเลขานุการ

หนา้ ที่ ๑. จัดเตรียมเจลล้างมือ ตรวจวัดอุณภูมิ และแปะสติกเกอร์ ตามแนวทางการดำเนินงานคัดกรอง

เฝ้าระวงั และสอบสวนโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ของกรมควบคุมโรค

๒. เตรียมเจลล้างมอื จดั วางไว้ในบรเิ วณหอ้ งประชุมสำเภาทอง ตามจำนวนทเ่ี หมาะสม

๗. คณะกรรมการฝา่ ยดแู ลอาคารและจัดตกแตง่ สถานท่ี

๑. นายเอก มแี สวง ประธานกรรมการ

๒. นายพเิ ชษฐ์ วงศ์อัมพรฉกาจ กรรมการ

๓. นางสาวสุพชิ ยา ช่วงชัยยะ กรรมการ

๔. นางสาวสรุ ี มลู ราช กรรมการ

๕. นางสาวสทุ ธิกา มาเกิด กรรมการ

๖. นางสาวพรประภา นระแสน กรรมการ

๗. นางสาวชยาพิมล อุ่นเรือน กรรมการ

๘. นายชัยยา นาเมืองรกั ษ์ กรรมการ

๙. นกั พฒั นาและแม่บา้ นทุกคน

๑๐. นายสมบตั ิ พละศักด์ิ กรรมการและเลขานุการ

หน้าท่ี ๑. จัดเตรียมป้ายโฟมที่เขียนข้อความว่า “การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ปีการศึกษา

2563” และนำติดตั้งบนบอร์ดในห้องประชุมสำเภาทอง ให้แล้วเสร็จก่อนวันประชุมการ

ประเมินคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา

๒. จัดเตรียมป้าย “โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ยินดีต้อนรับ ผู้ทรงคุณวุฒิ

และคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ปีการศึกษา 2563” และนำติดต้ัง

บนแสตนดต์ ้ังพ้นื พร้อมตกแต่งให้สวยงามตามความเหมาะสม บริเวณหน้าประตูทางเข้าสำนักงาน

กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ ช้ัน ๑

๓. จัดเก้าอี้ให้เพียงพอสำหรับผู้ทรงคุณวุฒิและคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา

จำนวนประมาณ 35 ทีน่ ่ัง

/๘. คณะกรรมการฝา่ ยโสตทศั นศกึ ษา...

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2563) หน้า 63

๘. คณะกรรมการฝ่ายโสตทศั นศึกษา

๑. นายสุรเชษฐ์ ศิลลา ประธานกรรมการ

๒. นางสาวพรนภา เวยี งวเิ ศษ กรรมการ

๓. นางสาวชารณิ ี กาศก้อง กรรมการและเลขานกุ าร

หน้าที่ ๑. เก็บบันทึกภาพในระหว่างที่มีการประชุมการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา โดยให้เห็น

บรรยากาศในภาพรวม ผู้นำเสนอทุกท่าน ป้ายชื่อซึ่งเป็นจุดประสงค์หลักของการจัดประชุม

และบรรยากาศท่วั ไป เพ่ือใหส้ ามารถนำภาพไปสรา้ งจดหมายขา่ วของสถานศกึ ษาได้อยา่ งรอบด้าน

๙. คณะกรรมการฝ่ายอาหาร

๑. นายนรินทร บุญธรรมพาณชิ ย์ ประธานกรรมการ

๒. นางสาวแคทรียา สหุ ญ้านาง กรรมการ

๓. นางสาวนนทวรรณ บวั จมู กรรมการ

๔. นางสาวรสมา ลำพุทธา กรรมการ

๕. นางสาวศริ ิวมิ ล สมพร กรรมการ

๖. นางสาวลัลน์ญดา ยมแดง กรรมการและเลขานกุ าร

หนา้ ที่ ๑. เตรียมอาหารว่างเพื่อจัดบริการในช่วงเวลา 10.00 น. และ 14.00 น. และเตรียมอาหารเที่ยง

เพื่อจัดบริการในช่วงเวลา ๑๑.๓0 - ๑๒.๓0 น. ของวันที่มีการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการการ

ดำเนินงานประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษา

๒. เตรียมอาหารว่างเพื่อจัดบริการในช่วงเวลา ๐๘.00 น. และเตรียมอาหารกลางวันเพื่อจัดบริการ

ในช่วงเวลา ๑๒.๐0 - ๑๓.๐0 น. ของวันที่มีการจัดประชุมการประเมินคุณภาพภายใน

สถานศึกษา ซงึ่ มกี ารเชญิ คณะผทู้ รงคุณวฒุ ิเขา้ รว่ มด้วย

๑๐. คณะกรรมการฝา่ ยพิธีกรและประชาสมั พันธ์

๑. นางสาวภษู ณิศา นาถธราดล ประธานกรรมการ

๒. นางสาวจริ ัฏฐ์ เสตะพยคั ฆ์ กรรมการ

๓. นายอนุวัฒน์ แหวนเพชร กรรมการและเลขานกุ าร

หนา้ ท่ี ๑. ประกาศเสยี งตามสายต้อนรบั “คณะผทู้ รงคุณวุฒิ และคณะกรรมการประเมนิ คุณภาพภายใน

สถานศกึ ษา” ในช่วงเวลา 7.00 - 8.30 น. โดยประมาณ

๒. เปน็ พธิ ีกร แจง้ กำหนดการ และดำเนินรายการให้การประชมุ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย

๓. ทำจดหมายข่าว เพื่อประชาสัมพันธ์การดำเนินงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา โดยใช้

ภาพถ่ายจากคณะกรรมการฝ่ายโสตทัศนศึกษา และเนื้อข่าวจากงานประกันคุณภาพการศึกษา

ทั้งนี้ ให้คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้ง ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย
มีประสทิ ธภิ าพ บรรลตุ ามวัตถุประสงค์ โดยคำนึงถงึ ประโยชน์ของทางราชการเป็นสำคัญ

ทั้งน้ี ตงั้ แต่ วนั ท่ี ๑ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ เป็นตน้ ไป
ส่งั ณ วนั ที่ ๘ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๔

(นายปรเวธฎ์ เกษมโชค) หน้า 64
ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นเตรยี มอุดมศึกษาพฒั นาการ ยานนาเวศ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2563)

คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพการศึกษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓

คำสัง่ โรงเรยี นเตรยี มอดุ มศกึ ษาพัฒนาการ ยานนาเวศ

ท่ี ๓๘/๒๕๖๔

เรือ่ ง แต่งต้งั คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา
ตามระบบการประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา

---------------------------------------------------------
ตามที่พระราชบญั ญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 47 และ 48 บัญญัตใิ หส้ ถานศึกษา มรี ะบบการ

ประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา เพ่อื นำไปสู่การพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษา และเพือ่ รองรับการประกัน
คุณภาพภายนอก และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา
ที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง และประกาศสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง แนวปฏิบัติการ

ดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖๑ กำหนดให้สถานศึกษาระดับการศึกษา
ข้ันพืน้ ฐาน จดั ให้มีการติดตาม ตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษาพร้อมท้งั จัดทำรายงานผล และนำผลการตดิ ตามตรวจสอบ

คุณภาพการศึกษา ไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงพัฒนาสถานศึกษา โดยให้มีคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน

ที่ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกสถานศึกษาและบุคลากรจากภายในสถานศึกษา ร่วมกันประเมินคุณภาพ
ภายในของสถานศกึ ษา ด้วยวธิ กี ารและเครอ่ื งมอื ทีห่ ลากหลายและเหมาะสม นัน้

เพื่อให้การดำเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเป็นไปด้วยความเรียบร้อย สมตามเจตนารมณ์
ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ และเพื่อสร้างความเชื่อมั่นต่อสังคมว่า การจัดการศึกษาของโรงเรียนเตรียม
อุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาที่ทางราชการกำหนด จึงแต่งตั้งคณะกรรมการ

ติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา ตามระบบการประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา ดงั นี้

นายปรเวธฎ์ เกษมโชค ผู้อำนวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ
นางสาวสุทธนิ ี แก้ววิไล
นายวีระชยั คล้ายทอง รองผู้อำนวยการกล่มุ บรหิ ารวชิ าการ กรรมการ
นางสาวสริ ิลักษณ์ วงศเ์ พชร
ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน กรรมการ
นายนธิ ิวัฒน์ อินทสิทธิ์
ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก (ศึกษานิเทศก)์ กรรมการ

ผู้ทรงคุณวฒุ ิภายนอก (ศึกษานเิ ทศก์) กรรมการ

นายธนพล พรมโอก หวั หนา้ งานประกันคณุ ภาพการศกึ ษา กรรมการและเลขานกุ าร

คณะกรรมการท่ไี ด้รับการแต่งตัง้ มหี นา้ ที่

๑. ติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา และส่งเสริม สนับสนุน อำนวยการ ให้คำปรึกษาทั่วไป
แก่คณะกรรมการดำเนนิ งานประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา

๒. ตรวจสอบ ร่องรอยหลักฐานประกอบการประเมิน และประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา อย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง ด้วยวิธีการและเครื่องมือที่หลากหลายและเหมาะสมตามบริบท
ของสถานศกึ ษา และจัดทำรายงานผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

ทั้งนี้ ให้คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้ง ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย
มีประสิทธิภาพ โดยคำนงึ ถึงประโยชนข์ องทางราชการเป็นสำคัญ

สัง่ ณ วันที่ ๑๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

(นายปรเวธฎ์ เกษมโชค) หน้า 65
ผู้อำนวยการโรงเรยี นเตรียมอดุ มศึกษาพฒั นาการ ยานนาเวศ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2563)

เครื่องมอื การประเมนิ ผลและตรวจสอบคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2563) หนา้ 66

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR 2563) หนา้ 67

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR 2563) หนา้ 68

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR 2563) หนา้ 69

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR 2563) หนา้ 70

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR 2563) หนา้ 71

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR 2563) หนา้ 72

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR 2563) หนา้ 73

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR 2563) หนา้ 74

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR 2563) หนา้ 75

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR 2563) หนา้ 76

เกณฑ์สำหรับการประเมินมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน คะแนน
1. ตารางแสดงน้ำหนกั คะแนนยอ่ ยและคะแนนเตม็ ในประเดน็ การประเมนิ เต็ม
5
มาตรฐานการศกึ ษา
5
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผ้เู รยี น
5
1.1 ผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการของผเู้ รียน 5
5
1. มคี วามสามารถในการอ่าน การเขยี น การส่ือสารและการคิดคำนวณ
1.1 ความสามารถในการอา่ น การเขียน การสอื่ สารภาษาไทยตามเกณฑก์ ารเรยี นรู้ 5
1.1.1 ระดับผลการเรียนรายวชิ าภาษาไทย ต้ังแต่ 2 ข้ึนไป
1.1.2 ผลการประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขียนสอ่ื ความวชิ าภาษาไทยระดบั ดีขึ้นไป 5
1.2 ความสามารถในการอ่าน การเขียน การสอื่ สารภาษาอังกฤษตามเกณฑ์การเรยี นรู้
1.2.1 ระดบั ผลการเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษ ต้ังแต่ 2 ขึ้นไป 5
1.2.2 ผลการประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะห์และเขยี นสอ่ื ความวิชาภาษาอังกฤษระดับดขี ึ้นไป
1.3 ความสามารถในการคำนวณตามเกณฑก์ ารเรียนรู้ 5
1.3.1 ระดับผลการเรียนรายวชิ าคณติ ศาสตรต์ งั้ แต่ 2 ขน้ึ ไป 5
1.3.2 ผลการประเมนิ การอา่ น คิดวิเคราะหแ์ ละเขยี นสื่อความวิชาคณิตศาสตร์ระดับดขี ้ึนไป 5
5
2. มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลี่ยนความคดิ เห็นและแกป้ ัญหา

3. มคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรม

4. มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร
4.1 ผลการจัดการเรียนรู้รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศระดบั ผลการเรยี นตงั้ แต่ 2 ขึ้นไป
4.2 ผลการใช้แหล่งเรียนรู้และเทคโนโลยสี ารสนเทศ

5. มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศกึ ษา
5.1 ผลการเรียนรตู้ ามหลักสูตรสถานศกึ ษาระดบั ผลการเรยี นตัง้ แต่ 2 ข้นึ ไป
5.2 การจบหลักสูตรของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 และ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 6
5.3 ผลการทดสอบวัดความรรู้ ะดับชาติ (O-NET) ของนักเรยี น ม.3 และ ม.6

6. มีความรู้ ทักษะพนื้ ฐานและเจตคตทิ ่ีดตี ่องานอาชีพ

1.2 คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงคข์ องผ้เู รียน

1. การมีคุณลกั ษณะและค่านยิ มท่ีดีตามสถานศกึ ษากำหนด

2. ความภูมใิ จในทอ้ งถ่ินและความเป็นไทย
3. การยอมรบั ทจี่ ะอยู่ร่วมกนั บนความแตกตา่ งและความหลากหลาย

4. สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม

2. การกำหนดระดับคณุ ภาพของคา่ เปา้ หมาย กำหนดเปน็ ระดับคณุ ภาพ 5 ระดับ ดังน้ี
ระดับ 5 ยอดเยยี่ ม ระดับ 4 ดีเลิศ ระดับ 3 ดี ระดับ 2 ปานกลาง ระดับ 1 กำลังพฒั นา

3. การกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน กำหนดเปน็ ชว่ งคะแนน ดงั น้ี

ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ

4.00 – 5.00 ยอดเยย่ี ม (5)

3.50 – 3.99 ดีเลศิ (4)

3.00 – 3.49 ดี (3)

2.50 – 2.99 ปานกลาง (2)

0.00 – 2.49 กำลงั พัฒนา (1)

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2563) หน้า 77

4. ขัน้ ตอนการคำนวณคะแนน คำนวณคะแนนตามลำดับดังน้ี
4.1 คำนวณคะแนนด้านผลสัมฤทธทิ์ างวิชาการของผูเ้ รยี น มี 6 ประเด็นพจิ ารณา คอื
- มคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การสอื่ สารและการคดิ คำนวณ
- มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปลีย่ นความคิดเหน็ และแก้ปญั หา
- มีความสามารถในการสร้างนวตั กรรม
- มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร
- มผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา
- มีความรู้ ทกั ษะพ้ืนฐานและเจตคติทีด่ ตี ่องานอาชีพ
4.2 คำนวณคะแนนด้านคุณลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงคข์ องผูเ้ รยี น มี 4 ประเด็นพิจารณา คือ
- การมคี ณุ ลกั ษณะและค่านยิ มทดี่ ีตามสถานศึกษากำหนด
- ความภูมิใจในท้องถน่ิ และความเปน็ ไทย
- การยอมรบั ท่ีจะอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกต่างและความหลากหลาย
- สขุ ภาวะทางร่างกายและลกั ษณะจติ สังคม
4.3 คำนวณคะแนนรวมด้านผลสัมฤทธ์ทิ างวิชาการ
4.4 คำนวณคะแนนรวมดา้ นคุณลกั ษณะท่พี ึงประสงคข์ องผู้เรยี น
4.5 คำนวณคะแนนรวมทงั้ 2 ด้าน เป็นคะแนนรวมของมาตรฐานท่ี 1

5. วธิ ีการคำนวณคะแนน
5.1 คำนวณคา่ รอ้ ยละของผลการดำเนินงานตามประเดน็ การประเมิน
5.2 ประเดน็ ทม่ี คี ะแนนย่อยจากหลายส่วนใชน้ ้ำหนกั คะแนนคำนวณตามสัดส่วน
5.3 นำค่ารอ้ ยละของผลการดำเนินงานคูณนำ้ หนกั คะแนนแต่ละประเด็นเทียบบัญญัตไิ ตรยางศ์
5.4 รวมคะแนนแตล่ ะประเด็น (หากมปี ระเด็นย่อย)

1.1 ผลสมั ฤทธิท์ างวชิ าการของผู้เรยี น มี 6 ประเด็น ดังนี้
1) ประเดน็ ที่ 1 มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่อื สารและการคิดคำนวณ (5 คะแนน)
ประเดน็ ยอ่ ย 1.1 ความสามารถในการอ่าน การเขยี น การสื่อสารภาษาไทยตามเกณฑก์ ารเรียนรู้
1.1.1 ระดับผลการเรยี นรายวิชาภาษาไทย ตง้ั แต่ 2 ขึน้ ไป
(น้ำหนกั คะแนน 3 คะแนน)

วิธคี ดิ คะแนน

ร้อยละของจำนวนนักเรยี นทมี่ ีระดับผลการเรยี นตั้งแต่ 2 ขน้ึ ไป X 3
100

1.1.2 ผลการประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์และเขยี นสื่อความวชิ าภาษาไทย ระดบั ดขี นึ้ ไป
(นำ้ หนกั คะแนน 2 คะแนน)

วิธีคิดคะแนน

ร้อยละของจำนวนนักเรียนทมี่ รี ะดับผลการประเมนิ การอา่ นฯ ในระดับดี (2) ข้ึนไป X 2
100

คะแนนที่ได้ในประเดน็ ยอ่ ยที่ 1.1 วิชาภาษาไทย (เต็ม 5 คะแนน)
ค่าคะแนนจาก 1.1.1 (3 คะแนน) + คา่ คะแนนจาก 1.1.2 (2 คะแนน) = 5 คะแนน

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2563) หน้า 78

ประเด็นยอ่ ย 1.2 ความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสารภาษาอังกฤษตามเกณฑก์ ารเรยี นรู้
1.2.1 ระดบั ผลการเรียนรายวชิ าภาษาอังกฤษ ตั้งแต่ 2 ขนึ้ ไป
(น้ำหนกั คะแนน 3 คะแนน)

วิธีคิดคะแนน

รอ้ ยละของจำนวนนักเรียนทีม่ ีระดับผลการเรยี นตั้งแต่ 2 ขึ้นไป X 3
100

1.2.2 ผลการประเมินการอา่ น คิดวิเคราะหแ์ ละเขียนสื่อความวิชาภาษาอังกฤษ ระดับดีข้นึ ไป
(นำ้ หนักคะแนน 2 คะแนน)

วธิ คี ดิ คะแนน

ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีระดบั ผลการประเมินการอ่านฯ ในระดับดี (2) ขนึ้ ไป X 2
100

คะแนนท่ีไดใ้ นประเด็นท่ี 1.2 วิชาภาษาองั กฤษ (เต็ม 5 คะแนน)
ค่าคะแนนจาก 1.2.1 (3 คะแนน) + คา่ คะแนนจาก 1.2.2 (2 คะแนน) = 5 คะแนน

ประเด็นยอ่ ย 1.3 ความสามารถในการคำนวณตามเกณฑ์การเรียนรู้ (5 คะแนน)
1.3.1 ระดบั ผลการเรียนรายวิชาคณติ ศาสตร์ ตง้ั แต่ 2 ขึ้นไป
(นำ้ หนกั คะแนน 3 คะแนน)

วิธคี ิดคะแนน

ร้อยละของจำนวนนกั เรยี นทมี่ ีระดบั ผลการเรยี นต้ังแต่ 2 ขน้ึ ไป X 3
100

1.3.2 ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนส่ือความวชิ าคณิตศาสตร์ ระดับดีข้ึนไป
(น้ำหนกั คะแนน 2 คะแนน)

วธิ ีคิดคะแนน

รอ้ ยละของจำนวนนกั เรยี นท่ีมรี ะดับผลการประเมินการอา่ นฯ ในระดับดี (2) ขนึ้ ไป X 2
100

คะแนนท่ีไดใ้ นประเดน็ ยอ่ ยท่ี 1.3 วิชาคณติ ศาสตร์ (เต็ม 5 คะแนน)
ค่าคะแนนจาก 1.2.1 (3 คะแนน) + คา่ คะแนนจาก 1.2.2 (2 คะแนน) = 5 คะแนน

สรุปคะแนนรวมประเด็นท่ี 1 จากประเด็นย่อยทั้งหมด (เตม็ 5 คะแนน)

วธิ คี ดิ คะแนน

ค่าคะแนนจากรายการประเดน็ ย่อย 1.1 + รายการประเดน็ ย่อย 1.2 + รายการประเด็นยอ่ ย 1.3 X 3
100

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2563) หน้า 79

2) ประเด็นที่ 2 มีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คดิ อย่างมวี ิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเหน็
และแกป้ ญั หา (5 คะแนน)

วธิ ีคดิ คะแนน

ร้อยละของจำนวนนักเรียนท่ผี า่ นเกณฑก์ ารประเมินความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดอย่างมวี ิจารณญาณ
อภิปรายแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ และแกป้ ญั หาในระดับดขี น้ึ ไป (2) X 5

100

3) ประเด็นท่ี 3 มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม (5 คะแนน)

วธิ ีคิดคะแนน

ร้อยละของจำนวนนกั เรยี นท่ผี า่ นเกณฑ์การประเมินความสามารถในการสร้างนวัตกรรมในระดบั ดขี ึน้ ไป (2) X 5
100

4) ประเด็นท่ี 4 มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร (5 คะแนน)
ประเดน็ ยอ่ ย 4.1 ผลการจัดการเรยี นรู้รายวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ ต้งั แต่ 2 ข้ึนไป
(น้ำหนกั คะแนน 3 คะแนน)

วิธคี ิดคะแนน

ร้อยละของจำนวนนกั เรยี นทม่ี ีระดบั ผลการเรียนตั้งแต่ 2 ข้นึ ไป X 2
100

ประเด็นย่อย 4.2 ผลการใชแ้ หลง่ เรยี นรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศ (นำ้ หนักคะแนน 2 คะแนน)

วธิ ีคิดคะแนน

ร้อยละของจำนวนนักเรยี นท่ีใชแ้ หลง่ เรยี นรแู้ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการเรียนการสอน X 2
100

คะแนนท่ไี ด้ในประเดน็ ที่ 4 มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร
คา่ คะแนนจาก 4.1 (3 คะแนน) + คา่ คะแนนจาก 4.2 (2 คะแนน) = 5 คะแนน

5) ประเด็นท่ี 5 มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา (5 คะแนน)
ประเด็นยอ่ ย 5.1 ผลการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศกึ ษาฯ ตัง้ แต่ 2 ขน้ึ ไป
(น้ำหนกั คะแนน 2 คะแนน)

วธิ ีคดิ คะแนน

ร้อยละของจำนวนนักเรยี นท่มี รี ะดบั ผลการเรยี นตั้งแต่ 2 ขนึ้ ไป X 2
100

ประเดน็ ย่อย 5.2 การจบหลกั สตู รการศกึ ษาของนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 และ 6
(น้ำหนักคะแนน 1 คะแนน)

วิธีคดิ คะแนน

ร้อยละของจำนวนนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 และชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 6 จบหลักสตู ร X 2
100

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2563) หนา้ 80

ประเดน็ ย่อย 5.3 ผลการทดสอบวดั ความร้รู ะดบั ชาติ (O-NET) ของนักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6
(น้ำหนกั คะแนน 2 คะแนน)

วธิ คี ดิ คะแนน

ร้อยละของคะแนนพัฒนาการจากคะแนนผลการทดสอบวดั ความรรู้ ะดบั ชาติ X 2
100

สรุปคะแนนคะแนนทไี่ ด้ในประเดน็ ท่ี 5 (เตม็ 5 คะแนน)
คา่ คะแนนจาก 5.1 (2 คะแนน) + คา่ คะแนนจาก 5.2 (1 คะแนน) + ค่าคะแนนจาก 5.3 (2 คะแนน) = 5 คะแนน

6) ประเด็นที่ 6 มคี วามรู้ ทักษะพน้ื ฐานและเจตคตทิ ด่ี ีต่องานอาชพี (5 คะแนน)

วธิ ีคิดคะแนน

ร้อยละของจำนวนนกั เรียนที่มีความรู้ทกั ษะพน้ื ฐานและเจตคติทีด่ ตี อ่ งานอาชีพในระดบั ดีขึ้นไป (2) X 5
100

1.2 คุณลักษณะทพี่ งึ ประสงค์ของผูเ้ รยี น มี 4 ประเดน็ ดังน้ี
1) ประเดน็ ท่ี 1 การมีคณุ ลกั ษณะและค่านิยมท่ีดตี ามสถานศกึ ษากำหนด (5 คะแนน)

วธิ ีคิดคะแนน

รอ้ ยละของจำนวนนักเรียนทม่ี คี ณุ ลักษณะและคา่ นิยมท่ีดีตามสถานศึกษากำหนดในระดบั ดขี ้นึ ไป (2) X 5
100

2) ประเดน็ ที่ 2 ความภูมิใจในทอ้ งถิ่นและความเปน็ ไทย (5 คะแนน)

วิธคี ดิ คะแนน

ร้อยละของจำนวนนกั เรยี นท่ีเขา้ รว่ มกิจกรรมและมีความพึงพอใจในความภมู ิใจในท้องถ่ินและความเป็นไทย X 5
100

3) ประเดน็ ที่ 3 การยอมรับทจี่ ะอยูร่ ่วมกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย (5 คะแนน)

วิธีคดิ คะแนน

รอ้ ยละของจำนวนนักเรยี นท่ียอมรบั ท่จี ะอยู่รว่ มกันบนความแตกต่างและหลากหลาย X 5
100

4) ประเดน็ ท่ี 4 สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม (5 คะแนน)
ประเดน็ ย่อย 4.1 สขุ ภาวะทางร่างกาย ท่ีมีผลการประเมนิ ปกติ (น้ำหนกั คะแนน 2.5 คะแนน)

วิธคี ิดคะแนน

ร้อยละของจำนวนนักเรยี นท่มี ีสขุ ภาวะทางร่างกายปกติ X 2.5
100

ประเด็นย่อย 4.2 ลักษณะจิตสงั คม (น้ำหนกั คะแนน 2.5 คะแนน)

วิธีคดิ คะแนน

รอ้ ยละของจำนวนนักเรยี นทม่ี ีลกั ษณะจิตสังคมปกติ X 2.5
100

คะแนนทไ่ี ด้ในประเดน็ ที่ 4 มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร

ค่าคะแนนจาก 4.1 (2.5 คะแนน) + คา่ คะแนนจาก 4.2 (2.5 คะแนน) = 5 คะแนน

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2563) หนา้ 81

6. แหล่งข้อมูล / การเก็บรวบรวมขอ้ มลู
1. แบบรายงานการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี นรายบคุ คล (ปพ.5)
2. รายงานสรปุ การประเมินผลการจดั การเรียนการสอนทุกรายวชิ า
3. รายงานสรปุ การประเมินผลดา้ นการอา่ น คดิ วิเคราะห์และเขียนส่ือความทกุ รายวชิ า
4. รายงานสรปุ การประเมินผลดา้ นคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ทกุ รายวชิ า
5. ตรวจสอบแผนพฒั นาการจัดการศึกษา แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี รายงานสรปุ ผลการดำเนินโครงการ
และกจิ กรรมต่างๆ ทเ่ี กยี่ วข้อง รวมทงั้ รางวัลของผเู้ รยี นสถานศึกษา
6. การสังเกต สอบถาม บันทึกขอ้ มูล
7. งานทะเบยี นโรงเรียน กลุ่มบรหิ ารวชิ าการ
8. อ่ืนๆ (ถา้ ม)ี

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
ประเดน็ ที่ 1 การมีเป้าหมาย วสิ ยั ทศั น์ และพนั ธกจิ ทสี่ ถานศกึ ษากำหนดชัดเจน

ระดบั คำอธิบายระดบั คุณภาพ
5 สถานศึกษามีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่กำหนดไว้ ตรงกับวตั ถุประสงค์ของแผนการศกึ ษา

ยอดเยย่ี ม ชาติ และสอดคล้องกับความต้องการของชมุ ชนอย่างชัดเจน และมีสว่ นร่วม
4 สถานศึกษามเี ป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจทีก่ ำหนดไว้ ตรงกับวัตถุประสงค์ของแผนการศกึ ษา
ดีเลิศ ชาติ และสอดคล้องกับความตอ้ งการของชมุ ชนอย่างชดั เจน และมีสว่ นรว่ มบา้ ง
3 สถานศึกษามีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่กำหนดไว้ ตรงกับวตั ถุประสงค์ของแผนการศกึ ษา
ดี ชาติ และสอดคล้องกับความต้องการของชุมชนอย่างชัดเจน
2 สถานศึกษามเี ป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่กำหนดไว้ ตรงกับวตั ถุประสงค์ของแผนการศกึ ษา

ปานกลาง ชาติ และสอดคล้องกับความต้องการของชมุ ชนขาดความชัดเจน
1 สถานศึกษามเี ป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่กำหนดไว้ ตรงกับวตั ถุประสงค์ของแผนการศกึ ษา

กำลงั พัฒนา ชาติ และสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของชุมชนขาดความชดั เจน และไมม่ ีส่วนรว่ ม

ประเด็นที่ 2 มรี ะบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษา
ระดบั คำอธิบายระดับคุณภาพ
5 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่ชัดเจนมีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อคุณภาพตาม
ยอดเย่ยี ม มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยความร่วมมือของผเู้ กี่ยวข้องทกุ ฝ่ายมกี ารนำข้อมูลมาใช้ใน
การปรบั ปรุง พฒั นางานอย่างต่อเนอื่ งและเป็นแบบอยา่ งได้
4 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่ชัดเจนมีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อคุณภาพตาม
ดีเลิศ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยความรว่ มมอื ของผูเ้ ก่ยี วขอ้ งทุกฝ่าย
3 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่ชัดเจนส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ดี ของสถานศึกษา
2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ปานกลาง ของสถานศึกษา
1 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาแต่ไม่ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา

กำลงั พฒั นา ของสถานศกึ ษา

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2563) หนา้ 82

ประเดน็ ที่ 3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเนน้ คณุ ภาพของผู้เรยี นรอบดา้ นตามหลกั สูตรสถานศึกษาและกลมุ่ เป้าหมาย
ระดบั คำอธบิ ายระดับคุณภาพ
5 มกี ารวางแผนและดำเนินงานพัฒนาวชิ าการทเ่ี น้นคุณภาพผเู้ รียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา
ยอดเย่ยี ม และทกุ กลมุ่ เป้าหมาย เช่อื มโยงกบั ชวี ติ จริง และเปน็ แบบอยา่ งได้
4 มกี ารวางแผนและดำเนินงานพฒั นาวิชาการทเ่ี น้นคุณภาพผ้เู รียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา
ดีเลิศ และทกุ กลมุ่ เป้าหมาย เช่อื มโยงกับชวี ติ จริง
3 มีการวางแผนและดำเนนิ งานพัฒนาวชิ าการที่เนน้ คุณภาพผเู้ รียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา
ดี และทุกกลุ่มเป้าหมาย
2 มีการวางแผนและดำเนินงานพัฒนาวชิ าการที่เน้นคุณภาพผู้เรยี นรอบดา้ นตามหลกั สตู รสถานศึกษา
ปานกลาง
1 มีการวางแผนและดำเนนิ งานพฒั นาวชิ าการตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา

กำลงั พฒั นา

ประเดน็ ท่ี 4 พฒั นาครูและบคุ ลากรให้มคี วามเชีย่ วชาญทางวชิ าชพี
ระดับ คำอธบิ ายระดับคุณภาพ
5 พัฒนาครูและบุคลากรทั้งหมดให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ มีความรู้ ความสามารถและทักษะ
ยอดเยี่ยม ตามมาตรฐานตำแหน่ง
4 พฒั นาครูและบุคลากรทั้งหมดใหม้ ีความรู้ ความสามารถและทกั ษะตามมาตรฐานตำแหน่ง
ดีเลศิ
3 พัฒนาครูและบุคลากรทง้ั หมดใหม้ ีความรู้ ความสามารถตามหน้าท่ี
ดี
2 ครบู างส่วนไดร้ บั การพัฒนาครแู ละบุคลากรให้มีความรู้
ปานกลาง
1 ไมม่ กี ารพัฒนาครูและบคุ ลากรใหม้ คี วามรแู้ ละความสามารถตามหนา้ ที่

กำลังพัฒนา

ประเด็นที่ 5 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมท่เี อือ้ ตอ่ การจัดการเรยี นรู้
ระดบั คำอธิบายระดับคุณภาพ
5 จดั หรอื ปรบั สภาพแวดล้อมทางกายภาพท้งั ภายในและภายนอกสถานศึกษา ให้ปลอดภยั และเอือ้ ต่อ
ยอดเย่ียม การเรยี นรู้ จัดเทคโนโลยี ส่งิ อำนวยความสะดวก สื่อ บรกิ ารและความชว่ ยเหลอื อน่ื ใดทางการศึกษา
ให้ผ้เู รียนไดเ้ ขา้ ถงึ และใชป้ ระโยชน์ไดจ้ ากแหลง่ เรียนรู้ตามศักยภาพและเป็นแบบอย่างได้
4 จดั หรอื ปรบั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษาให้ปลอดภยั และเอื้อต่อ
ดีเลิศ การเรียนรู้ จัดเทคโนโลยี ส่ิงอำนวยความสะดวก สื่อ บริการและความช่วยเหลอื อ่นื ใดทางการศกึ ษา
ให้ผ้เู รียนได้เข้าถงึ และใช้ประโยชนไ์ ด้จากแหล่งเรยี นรู้ตามศกั ยภาพ
3 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมท่ปี ลอดภัยและเออื้ ต่อการจดั การเรยี นรอู้ ย่างมคี ุณภาพ
ดี
2 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ปี ลอดภยั และเออื้ ตอ่ การจดั การเรยี นรู้
ปานกลาง
1 มกี ารจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคม

กำลังพัฒนา

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2563) หน้า 83

ประเด็นที่ 6 จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนบั สนนุ การบรหิ ารจดั การและการจัดการเรียนรู้
ระดบั คำอธิบายระดับคุณภาพ
5 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นำไปประยุกต์ใช้ใน
ยอดเย่ียม การดำเนนิ การอย่างเป็นระบบ และมกี ระบวนการสง่ ตอ่ และเปลี่ยนผ่าน (Transition) สำหรับผู้ท่ีมี
ความต้องการใช้งาน เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพ
ของสถานศกึ ษา
4 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นำไปประยุกต์ใช้ได้
ดีเลศิ และมีกระบวนการส่งต่อและเปลี่ยนผ่าน (Transition) สำหรับผู้ที่มีความต้องการใช้งาน
เพอ่ื สนบั สนุนการบรหิ ารจัดการและการจดั การเรียนรทู้ ่ีเหมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา
3 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีความถูกต้อง หรือครบถ้วน หรือทันสมัย นำไปประยุกต์ใช้ได้
ดี และมีกระบวนการส่งต่อและเปลี่ยนผ่าน (Transition) สำหรับผู้ที่มีความต้องการใช้งาน
เพื่อสนบั สนนุ การบรหิ ารจดั การและการจดั การเรยี นรู้
2 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน แต่ไม่ทันสมัย นำไปประยุกต์ใช้ได้
ปานกลาง ไม่มีกระบวนการส่งต่อและเปล่ียนผา่ น (Transition) สำหรับผ้ทู ม่ี คี วามต้องการใช้งาน
1 ไมม่ ีการจัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ

กำลังพฒั นา

แหลง่ ข้อมลู / การเก็บรวบรวมข้อมูล
ประเด็นพจิ ารณาท่ี 1
๑. การสอบถามและสมั ภาษณ์ คณะกรรมการสถานศกึ ษา ผู้บริหารสถานศกึ ษา ครู และผ้เู ก่ียวขอ้ ง
๒. การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน ร่องรอย เช่น แผนการพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา รายงานประจำปี

แผนปฏิบตั กิ ารประจำปี และรายงานผลการดำเนินงานโครงการและกจิ กรรม
๓. สรุปผลความพงึ พอใจของครูและผู้เกี่ยวขอ้ งตอ่ การพัฒนาคุณภาพสถานศกึ ษา

ประเดน็ พจิ ารณาที่ 2
๑. การสอบถามและสัมภาษณ์ คณะกรรมการสถานศกึ ษา ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ครู และผู้เก่ยี วขอ้ ง
๒. การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน ร่องรอย เช่น แผนการพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา รายงานประจำปี

แผนปฏิบตั ิการประจำปี และรายงานผลการดำเนินงานโครงการและกจิ กรรม
๓. สรปุ ผลการความพงึ พอใจของครูและผู้เกย่ี วข้องตอ่ การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา

ประเดน็ พิจารณาที่ 3
1. การสอบถามและสัมภาษณ์ คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ผู้บริหารสถานศึกษา ครู นักเรยี น และผู้ปกครอง
2. การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน ร่องรอย การบริหารจัดการสถานศึกษา เช่น แผนพัฒนาการจัดการศึกษา

แผนปฏิบัติการประจำปี รายงานประจำปี หลักสูตรสถานศึกษา แผนการจัดการเรียนรู้ การรายงานผลการสำเร็จ
ของการบริหารจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา ผลการประเมินความพึงพอใจของคณะกรรมการสถานศึกษา
ครู บุคลากรและผ้เู ก่ียวข้อง เป็นตน้
3. ประเมินมาตรฐาน อาคารสถานที่ สภาพแวดล้อม ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ห้องสมุด แหล่งเรยี นรู้ และห้องพเิ ศษ
ต่างๆ ของสถานศึกษา

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2563) หน้า 84

ประเด็นพจิ ารณาท่ี 4
๑. การสังเกตพฤติกรรมของครู และการสอบถามสมั ภาษณ์ครู ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา ผู้เรียน ผูป้ กครอง และชมุ ชน

๒. สรุปผลการประเมินและการพัฒนาครตู ามมาตรฐานความรูข้ องมาตรฐานความร้ขู องวิชาชพี พ.ศ. ๒๕๕๖
๓. การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน ร่องรอย การพัฒนาตนเองของครู รายงานผลการปฏิบตั ิงานครูรายบุคคล เป็นต้น

ประเด็นพจิ ารณาที่ 5
๑. การสอบถามและสมั ภาษณ์ คณะกรรมการสถานศกึ ษา ผู้บริหารสถานศกึ ษา ครู และผเู้ กีย่ วขอ้ ง

๒. การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน ร่องรอย เช่น แผนการพัฒนาการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพของสถานศึกษา
รายงานประจำปี และสรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการและกิจกรรม

ประเด็นพิจารณาที่ 6
๑. การสอบถามและสมั ภาษณผ์ บู้ รหิ ารสถานศึกษา ครแู ละผู้เก่ียวขอ้ ง

๒. การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน ร่องรอย หรือข้อมูลเชิงประจักษ์ เช่น ระบบโครงสร้างการบริหารงานเทคโนโลยี
สารสนเทศของสถานศกึ ษา เปน็ ตน้

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ

1. ตารางแสดงนำ้ หนักคะแนนยอ่ ยและคะแนนเตม็ ในประเดน็ การประเมนิ

มาตรฐานการศึกษา น้ำหนกั คะแนน
คะแนน เต็ม
5
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี น้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั 25
5
3.1 จัดการเรียนรูผ้ า่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ตั จิ ริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ 5
5
1. มแี ผนการจดั การเรียนรู้ทเ่ี น้นผู้เรียนเป็นสำคญั ทีก่ ระตุ้นใหผ้ ้เู รียนได้รบั กระบวนการคิดและได้ปฏิบัติจริง

2. มีแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นให้ผู้เรียนเกิดความคิด จนสามารถสรปุ องคค์ วามรู้ดว้ ยตนเองและสามารถ

สือ่ สาร ถ่ายทอด นำเสนอองคค์ วามรู้ได้

3. มแี ผนการจัดการเรียนร้ทู ีช่ ว่ ยส่งเสริมหรอื แกป้ ัญหานกั เรยี นท่ีมผี ลการเรยี นต่ำกว่าเกณฑ์

4. มีแผนการจัดการเรียนรูท้ ่สี ามารถเชือ่ มโยงและประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำวนั

5. มีรูปแบบหรอื วธิ กี ารจัดการเรยี นรู้ทีเ่ ฉพาะสำหรบั นกั เรยี นที่มีปัญหาทางด้านการเรียน

6. มีรูปแบบหรือวิธีการจัดการเรียนรู้ที่เฉพาะสำหรับนักเรียน ที่มีผลการเรียนต่ำกว่าเกณฑ์ระดับดีขึ้นไป

7. มีโครงการหรอื กิจกรรมทีช่ ว่ ยส่งเสริมหรือแกป้ ญั หานักเรียนท่ีมผี ลการเรียนต่ำกว่าเกณฑ์

8. มีรายงานและสรุปผลสำเร็จของโครงการหรือความพึงพอใจต่อกิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมหรือแก้ปั ญหา

นักเรยี นทมี่ ผี ลการเรียนตำ่ กว่าเกณฑ์

3.2 ใช้สือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรียนรทู้ ่เี อ้ือตอ่ การเรยี นรู้ 5

1. จัดโครงสร้างหรือระบบการบริหารงานที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ที่มีคุณภาพ พิจารณาจากการสอนการใช้

เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหลง่ เรยี นรู้

2. มีคณะกรรมการงานพฒั นาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยี เพอื่ การศกึ ษาระดับสถานศกึ ษา

3. การขบั เคลอ่ื นกลไกให้มีการสร้างส่ือ การใชส้ ่อื การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง่ เรยี นรู้

4. การกำหนดผูร้ บั ผดิ ชอบงานทางดา้ นส่ือ นวัตกรรม

5. การจัดระบบการบรกิ าร สะดวกต่อการเข้าถึงและการใหบ้ รกิ าร

6. มขี อ้ มูลสารสนเทศทางด้านสอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหลง่ เรยี นรู้

7. มขี ้อมลู สารสนเทศของผ้เู รียน ครู และผบู้ ริหารเปน็ รายบคุ คลถกู ต้อง ครบถว้ นและเป็นปจั จุบัน

8. การนำสอ่ื การใชส้ ือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรยี นรมู้ าใช้ในการพัฒนาการเรยี นการสอน

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2563) หนา้ 85

มาตรฐานการศกึ ษา นำ้ หนกั คะแนน
คะแนน เต็ม
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ 5
25
3.3 มกี ารบริหารจัดการชั้นเรียนเชงิ บวก 5
1. การวิเคราะหห์ ลกั สตู รเพอ่ื การจัดการเรยี นการสอนท่มี ีประสทิ ธิภาพ 5
2. การวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลและนำข้อมูลมาใช้ในการวางแผน การจัดการเรียนรู้ และจัดทำ 5
5
โครงการสอนรายบุคคล เพอ่ื พัฒนาผู้เรยี นให้สอดคลอ้ งกับความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล 5
3. การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้และการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามโครงการสอน 5

รายบุคคลด้วยกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดการเรียน
การสอน
4. บริหารจัดการชั้นเรียนและจัดบรรยากาศการเรียนรู้ เพื่อให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ ผู้เรียน
เกิดการเรยี นร้อู ย่างมคี วามสขุ
5. การใช้สือ่ นวัตกรรมและเทคโนโลยีภูมปิ ัญญาท้องถิ่น และแหลง่ เรยี นรูภ้ ายในและภายนอกสถานศึกษา
6. การศึกษา ค้นคว้าวิจัยเพื่อพัฒนาสื่อการเรียนการสอน และกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผูเ้ รียนเป็นสำคัญ
โดยมีงานวจิ ยั หรือผลงาน หรอื ส่อื นวัตกรรมอย่างน้อยปลี ะ 1 ชน้ิ
7. มีการประเมินผลและรายงานการจัดรายงานนิทรรศการ ทางวิชาการของโรงเรียน และรายงาน
กจิ กรรม IS
3.4 ตรวจสอบและประเมินผเู้ รียนอยา่ งเปน็ ระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรยี น

1. มกี ารวัดและประเมินผลผู้เรียนตามสมรรถนะสำคัญ ตามหลักสูตรโดยการประเมินผเู้ รียนจากสภาพจริง
2. มีการกำหนดขน้ั ตอนการวัดและประเมนิ ผลอยา่ งเป็นระบบ
3. ใช้เคร่อื งมือและวธิ ีการวดั และประเมินผลทีเ่ หมาะสมกับเป้าหมาย และการจัดการเรยี นการสอน
4. ผเู้ รียนและผเู้ กย่ี วข้องมีส่วนรว่ มในการวดั และประเมินผล
5. ให้ขอ้ มูลย้อนกลบั แก่ผูเ้ รียนและผเู้ รยี นนำไปใชป้ ระโยชน์
3.5 มกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรแู้ ละให้ข้อมูลสะทอ้ นกลบั เพือ่ พัฒนาและปรับปรุงการจดั การเรียนรู้

1. การสร้างเสรมิ แนวคดิ เรอ่ื งการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ เพอ่ื พัฒนาและปรับปรุงการจดั การเรียนรู้ มงุ่ การพฒั นา
คุณภาพจดั การเรยี นร้อู ยา่ งตอ่ เนื่อง

2. การนำผลการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ เพ่ือพฒั นาและปรบั ปรงุ การจดั การเรยี นรู้
3. การวิเคราะห์ สังเคราะห์ วจิ ัย และเลอื กสรรขอ้ มูลสารสนเทศไปใช้พัฒนาคุณภาพการจดั การเรยี นรู้
4. การสร้างวัฒนธรรมคุณภาพให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในสถานศึกษาเป็นการทำงานปกติ

ของสถานศึกษา
5. การจดั กิจกรรมแลกเปลยี่ นเรียนรู้ เพอ่ื การพฒั นาคุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่างตอ่ เนือ่ ง
6. การพัฒนาสถานศึกษาให้เปน็ องคก์ รแห่งการเรยี นรู้
7. การจัดกิจกรรมแลกเปลย่ี นเรยี นรใู้ หส้ อดคลอ้ งกบั ภารกิจการปฏิบัติงานของสถานศกึ ษา
8. การเผยแพร่ ประชาสมั พนั ธ์ผลการดำเนนิ งานอยา่ งตอ่ เน่ือง

2. การกำหนดระดบั คุณภาพของค่าเป้าหมาย กำหนดเปน็ ระดับคุณภาพ 5 ระดับ ดงั น้ี
ระดับ 5 ยอดเยีย่ ม ระดับ 4 ดีเลศิ ระดับ 3 ดี ระดับ 2 ปานกลาง ระดบั 1 กำลงั พัฒนา

เกณฑ์การใหค้ ะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ
สถานศึกษาดำเนนิ การได้จริง 4.00 – 5.00 ยอดเย่ยี ม (5)
3.50 – 3.99
จำนวน 8 ขอ้ 3.00 – 3.49 ดเี ลศิ (4)
จำนวน 7 ขอ้ 2.50 – 2.99 ดี (3)
จำนวน 6 ขอ้ 0.00 – 2.49 ปานกลาง (2)
จำนวน 4 – 5 ข้อ กำลงั พัฒนา (1)
จำนวน 1 – 3 ข้อ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2563) หน้า 86

3. วิธกี ารคำนวณคะแนน
3.1 พจิ ารณาผลการปฏบิ ตั ิงานของโรงเรียนในแตล่ ะประเดน็ โดยพจิ ารณากจิ กรรมท่ีดำเนนิ การในประเด็นตวั ชี้วัด
3.2 นำไปเทียบกับเกณฑก์ ารให้คะแนน พจิ ารณาระดับคุณภาพ
3.3 หาคา่ รอ้ ยละของผลการประเมินโดยใช้สูตร

จำนวนกิจกรรมทด่ี ำเนินการไดจ้ รงิ ในแตล่ ะประเดน็ ตัวช้วี ัด X 100
จำนวนกจิ กรรมทัง้ หมดในแตล่ ะประเดน็ ตวั ชว้ี ดั

4. แหล่งข้อมูล / การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล

๑. การสอบถามและสมั ภาษณผ์ ู้บริหารสถานศึกษา ครูและผู้เกี่ยวข้อง
๒. การตรวจสอบเอกสาร หลกั ฐาน รอ่ งรอย หรือขอ้ มูลเชิงประจักษ์ เชน่ ระบบโครงสรา้ งการบรหิ ารงาน

เทคโนโลยีสารสนเทศของสถานศึกษา เป็นตน้

5. ประเดน็ พิจารณา

ตวั บ่งชท้ี ่ี 3.1 จดั การเรยี นรูผ้ า่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ัติจรงิ และสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในการดำเนนิ ชวี ิต (5 คะแนน)
คำอธิบาย
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีว้ ัดของหลกั สูตรสถานศึกษาทีเ่ น้นให้ผู้เรียนได้

เรียนรู้โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง มีแผนการจัดการเรียนรู้เชิงบวก ท่ีสามารถนำไปจัดกิจกรรมได้จริง
มรี ูปแบบการจดั การเรยี นรู้เฉพาะสำหรับผู้ทมี่ ีความจำเปน็ และตอ้ งการความช่วยเหลือพเิ ศษ ผู้เรยี นได้รับการฝึกทักษะ
การแสดงออก การแสดงความคดิ เห็น สรปุ องค์ความรู้ นำเสนอผลงานและความสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ชไ้ ดจ้ รงิ

เกณฑ์การพจิ ารณา

1. มแี ผนการจัดการเรียนรทู้ เี่ นน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สำคญั ท่ีกระตุน้ ให้ผู้เรียนไดร้ ับกระบวนการคดิ และได้ปฏบิ ัตจิ รงิ
2. มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนเกิดความคิด จนสามารถสรุปองค์ความรู้ด้วยตนเอง และสามารถสื่อสาร

ถา่ ยทอด นำเสนอองค์ความร้ไู ด้
3. มีแผนการจดั การเรียนร้ทู ีช่ ว่ ยสง่ เสริมหรือแก้ปัญหานักเรียนทมี่ ผี ลการเรยี นต่ำกว่าเกณฑ์
4. มแี ผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ีสามารถเชือ่ มโยงและประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำวัน

5. มรี ูปแบบหรือวิธกี ารจดั การเรียนรทู้ ีเ่ ฉพาะสำหรับนักเรียนท่ีมีปญั หาทางดา้ นการเรยี น
6. มีรูปแบบหรือวิธีการจดั การเรียนรทู้ ีเ่ ฉพาะสำหรบั นกั เรียน ทีม่ ีผลการเรียนต่ำกว่าเกณฑ์

7. มีโครงการหรือกจิ กรรมที่ชว่ ยสง่ เสริมหรือแก้ปญั หานักเรยี นทมี่ ีผลการเรียนต่ำกวา่ เกณฑ์
8. มีรายงานและสรุปผลสำเร็จของโครงการหรือความพึงพอใจต่อกิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมหรือแก้ปัญหานักเรียน

ท่ีมผี ลการเรยี นต่ำกวา่ เกณฑ์

เกณฑ์การใหค้ ะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ
สถานศึกษาดำเนนิ การได้จริง 4.00 – 5.00 ยอดเยย่ี ม (5)
3.50 – 3.99
จำนวน 8 ข้อ 3.00 – 3.49 ดเี ลิศ (4)
จำนวน 7 ขอ้ 2.50 – 2.99 ดี (3)
จำนวน 6 ข้อ 0.00 – 2.49 ปานกลาง (2)
จำนวน 4 – 5 ข้อ กำลงั พัฒนา (1)
จำนวน 1 – 3 ขอ้

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2563) หนา้ 87

แหลง่ ขอ้ มูล / การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
1. แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ีเน้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญของทุกกลมุ่ สาระ

2. แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ีชว่ ยส่งเสรมิ หรอื แก้ปญั หานักเรียนทมี่ ีผลการเรยี นต่ำกว่าเกณฑ์
3. บันทึกการจดั การเรยี นรเู้ ฉพาะสำหรบั นกั เรียนท่ีมปี ัญหาทางด้านการเรยี น

4. โครงการหรอื กจิ กรรมทช่ี ว่ ยส่งเสรมิ หรอื แก้ปญั หานักเรียนท่ีมีผลการเรียนต่ำกวา่ เกณฑ์
5. เอกสารประกอบการสอน ร่องรอย รปู ภาพ

ตวั บง่ ชท้ี ี่ 3.2 ใชส้ อื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนร้ทู เี่ อ้ือตอ่ การเรียนรู้ (5 คะแนน)
คำอธบิ าย

มีการใช้สอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหลง่ เรยี นรู้ รวมทัง้ ภูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ มาใช้ในการจัดการเรยี นรู้ โดยสร้าง
โอกาสให้ผ้เู รียนได้แสวงหาความรู้ดว้ ยตนเองจากสือ่ ทหี่ ลากหลาย

เกณฑก์ ารพจิ ารณา
1. จัดโครงสร้างหรือระบบการบริหารงานที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ที่มีคุณภาพ พิจารณาจากการสอน การใช้เทคโนโลยี

สารสนเทศและแหล่งเรยี นรู้
2. มีคณะกรรมการงานพฒั นาสือ่ นวตั กรรมและเทคโนโลยี เพือ่ การศึกษาระดบั สถานศกึ ษา
3. การขบั เคลอื่ นกลไกให้มกี ารสร้างส่อื การใช้สอื่ การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหล่งเรยี นรู้

4. การกำหนดผ้รู บั ผดิ ชอบงานทางด้านสือ่ นวัตกรรม
5. การจดั ระบบการบริการ สะดวกตอ่ การเข้าถึงและการให้บริการ

6. มีขอ้ มลู สารสนเทศทางดา้ นส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหลง่ เรียนรู้
7. มขี ้อมูลสารสนเทศของผู้เรียน ครู และผู้บรหิ ารเปน็ รายบุคคลถูกต้อง ครบถว้ นและเป็นปจั จุบัน
8. การนำสื่อ การใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรยี นรู้มาใช้ในการพฒั นาการเรยี นการสอน

เกณฑ์การใหค้ ะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
สถานศกึ ษาดำเนนิ การได้จริง
4.00 – 5.00 ยอดเยย่ี ม (5)
จำนวน 8 ขอ้
3.50 – 3.99 ดเี ลิศ (4)
จำนวน 7 ขอ้ 3.00 – 3.49 ดี (3)
จำนวน 6 ขอ้ 2.50 – 2.99 ปานกลาง (2)
จำนวน 4 – 5 ข้อ 0.00 – 2.49 กำลงั พฒั นา (1)
จำนวน 1 – 3 ขอ้

แหล่งข้อมูล / การเก็บรวบรวมข้อมลู

1. ข้อมลู สารสนเทศทางดา้ นเทคโนโลยี การใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ และแหล่งเรียนรู้
2. ข้อมูลสารสนเทศทางดา้ นส่อื การเรยี นการสอนของครู การให้บริการทางด้านเทคโนโลยี
3. สรุปผลความสามารถในการใช้เทคโนโลยแี ละการสอื่ สารของผ้เู รียน

ตวั บ่งช้ีที่ 3.3 มีการบรหิ ารจัดการชน้ั เรยี นเชงิ บวก (5 คะแนน)

คำอธิบาย
ครูผู้สอนมีการบริหารจัดการชั้นเรียน โดยการเน้นปฏิสัมพันธ์เชิงบวกให้เด็กรักครู ครูรักเด็กและเด็กรักเด็ก
เดก็ รักท่ีจะเรียนรู้อย่างมีความสขุ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2563) หนา้ 88

เกณฑ์การพจิ ารณา
1. การวเิ คราะหห์ ลักสตู รเพอื่ การจดั การเรียนการสอนทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ

2. การวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลและนำข้อมูลมาใช้ในการวางแผน การจัดการเรียนรู้ และจัดทำโครงการสอน
รายบุคคล เพื่อพฒั นาผ้เู รียนให้สอดคล้องกบั ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล

3. การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้และการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามโครงการสอนรายบุคคลด้วย
กระบวนการเรียนรูท้ ่หี ลากหลาย เปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รยี นมีสว่ นรว่ มในการจดั การเรยี นการสอน

4. บรหิ ารจัดการชั้นเรียนและจัดบรรยากาศการเรียนรู้ เพ่อื ใหก้ ารเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้

อยา่ งมคี วามสุข
5. การใช้สอ่ื นวัตกรรมและเทคโนโลยภี มู ิปัญญาท้องถ่ิน และแหล่งเรยี นรูภ้ ายในและภายนอกสถานศกึ ษา

6. การศึกษา ค้นคว้าวิจัยเพื่อพัฒนาสื่อการเรียนการสอน และกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ
โดยมีงานวจิ ัยหรอื ผลงาน หรือส่อื นวัตกรรมอย่างนอ้ ยปลี ะ 1 ชนิ้

7. มกี ารประเมนิ ผลและรายงานการจดั รายงานนทิ รรศการ ทางวิชาการของโรงเรียน และรายงานกจิ กรรม IS

เกณฑก์ ารให้คะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ
สถานศกึ ษาดำเนินการได้จรงิ 4.00 – 5.00 ยอดเยี่ยม (5)
3.50 – 3.99
จำนวน 7 ขอ้ 3.00 – 3.49 ดีเลิศ (4)
จำนวน 6 ข้อ 2.50 – 2.99 ดี (3)
จำนวน 5 ขอ้ 0.00 – 2.49 ปานกลาง (2)
จำนวน 4 – 5 ข้อ กำลงั พฒั นา (1)
จำนวน 1 – 3 ขอ้

แหล่งข้อมลู / การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
1. การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน ร่องรอยการปฏบิ ตั งิ านของครู เช่น แผนการจัดการเรียนการสอน สื่อ นวัตกรรม

2. การสงั เกตการจดั การเรียนการสอนของครู
3. การสอบถามและการสัมภาษณค์ รู ผูเ้ รียน ผบู้ ริหารสถานศึกษาและผู้ท่ีเกี่ยวข้อง

ตัวบง่ ชที้ ี่ 3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รยี นอยา่ งเปน็ ระบบ และนำผลมาพัฒนาผเู้ รียน (5 คะแนน)
คำอธบิ าย

มีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้ตามสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตร โดยการประเมิน
ผู้เรียนจากสภาพจริง มีขั้นตอนการประเมินอย่างเป็นระบบ ใช้เครื่องมือและวิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสม

โดยผู้เรียนและผู้ที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการประเมิน และมีการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน และผู้เรียนนำไปใช้
ประโยชน์

เกณฑก์ ารพิจารณา
1. มีการวดั และประเมนิ ผลผู้เรียนตามสมรรถนะสำคัญตามหลกั สูตรโดยการประเมนิ ผเู้ รียนจากสภาพจริง

2. มกี ารกำหนดขน้ั ตอนการวดั และประเมินผลอย่างเป็นระบบ
3. ใชเ้ ครอ่ื งมือและวธิ กี ารวัดและประเมินผลท่เี หมาะสมกบั เป้าหมาย และการจดั การเรยี นการสอน
4. ผู้เรยี นและผูเ้ กย่ี วขอ้ งมสี ว่ นร่วมในการวัดและประเมนิ ผล

5. ใหข้ ้อมลู ยอ้ นกลับแกผ่ เู้ รียนและผ้เู รียนนำไปใช้ประโยชน์

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR 2563) หน้า 89

เกณฑ์การใหค้ ะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ
สถานศึกษาดำเนินการได้จริง 4.00 – 5.00 ยอดเยย่ี ม (5)
3.50 – 3.99
จำนวน 5 ข้อ 3.00 – 3.49 ดีเลศิ (4)
จำนวน 4 ข้อ 2.50 – 2.99 ดี (3)
จำนวน 3 ขอ้ 0.00 – 2.49 ปานกลาง (2)
จำนวน 2 ขอ้ กำลงั พัฒนา (1)
จำนวน 1 ขอ้

แหล่งข้อมลู / การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
1. การสอบถามและสมั ภาษณผ์ บู้ ริหารสถานศกึ ษา ครู และผู้ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง

2. การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน รอ่ งรอย รายงานการวัดและประเมนิ
3. การตรวจสอบจากแผนการจดั การเรยี นรู้
4. การประเมนิ สมรรถนะสำคญั ตามหลักสตู ร

5. การสังเกตสภาพบรรยากาศในการจดั การเรยี นรู้

ตัวบ่งชท้ี ี่ 3.5 มกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรูแ้ ละให้ข้อมลู สะท้อนกลับเพือ่ พัฒนาและปรับปรุงการจดั การเรยี นรู้ (5 คะแนน)
คำอธิบาย
สถานศึกษามีกระบวนการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง โดยการจัดให้บุคลากร มีการ

แลกเปล่ียนเรยี นรู้ เพือ่ พัฒนาและปรบั ปรุงการจดั การเรยี นรู้ มงุ่ พัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนือ่ ง ให้เกิดขน้ึ กับครู
และบุคลากรทุกคน และพัฒนาสถานศกึ ษาให้เปน็ องคก์ รแห่งการเรียนรู้จนเปน็ วัฒนธรรมในการทำงาน มีการนำผลการ

ดำเนินงานมาวิเคราะห์ สังเคราะห์ หรือการมีวิจัยและเลือกสรรข้อมูลสารสนเทศมาใช้พัฒนาการจัดการเรียนรู้
มกี ารเผยแพร่และการแลกเปลี่ยนเรียนรเู้ พือ่ ให้เกดิ การพฒั นาอย่างต่อเน่อื ง

เกณฑก์ ารพจิ ารณา
1. การสร้างเสริมแนวคิดเรื่องการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ มุ่งการพัฒนาคุณภาพ

จัดการเรียนรู้อยา่ งตอ่ เน่อื ง
2. การนำผลการแลกเปล่ยี นเรียนรู้ เพ่อื พัฒนาและปรับปรงุ การจัดการเรียนรู้
3. การวิเคราะห์ สงั เคราะห์ วิจยั และเลอื กสรรข้อมูลสารสนเทศไปใช้พัฒนาคณุ ภาพการจดั การเรียนรู้

4. กาสร้างวฒั นธรรมคุณภาพใหม้ ีการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ภายในสถานศึกษาเปน็ การทำงานปกตขิ องสถานศกึ ษา
5. การจดั กจิ กรรมแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ เพ่ือการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรยี นรู้อยา่ งตอ่ เนือ่ ง

6. การพฒั นาสถานศึกษาใหเ้ ปน็ องคก์ รแหง่ การเรยี นรู้
7. การจัดกจิ กรรมแลกเปลย่ี นเรียนร้ใู หส้ อดคล้องกบั ภารกจิ การปฏบิ ัติงานของสถานศกึ ษา
8. การเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ผลการดำเนนิ งานอย่างตอ่ เนอื่ ง

เกณฑ์การใหค้ ะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ
สถานศกึ ษาดำเนนิ การได้จริง 4.00 – 5.00 ยอดเย่ียม (5)
3.50 – 3.99
จำนวน 8 ขอ้ 3.00 – 3.49 ดเี ลิศ (4)
จำนวน 7 ขอ้ 2.50 – 2.99 ดี (3)
จำนวน 6 ข้อ 0.00 – 2.49 ปานกลาง (2)
จำนวน 4 – 5 ข้อ กำลังพฒั นา (1)
จำนวน 1 – 3 ขอ้

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2563) หนา้ 90

แหลง่ ข้อมูล / การเก็บรวบรวมข้อมลู
1. การสอบถามและสัมภาษณ์ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ครู และผทู้ ี่เกย่ี วข้อง
2. การตรวจสอบเอกสาร หลกั ฐาน ร่องรอย หรือขอ้ มูลเชงิ ประจักษ์ เชน่ การใช้ผลการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้
3. การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการ

เรยี นรู้ เป็นต้น

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2563) หนา้ 91

ภาพประกอบการดำเนนิ งานประกนั คุณภาพภายใน

การประชมุ คณะกรรมการดำเนนิ งาน

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2563) หนา้ 92

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผเู้ รียน
1.1 ผลสมั ฤทธิท์ างวิชาการของผูเ้ รียน

ภาพประกอบประเดน็ ที่ 1 มีความสามารถในการอ่าน การเขยี น การสือ่ สารและการคิดคำนวณ

ภาพประกอบประเด็นท่ี 2 มีความสามารถในการวิเคราะหแ์ ละคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ อภปิ ราย แลกเปลย่ี นความคดิ เห็นและแกป้ ญั หา

ภาพประกอบประเดน็ ท่ี 3 มีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม

ภาพประกอบประเดน็ ท่ี 4 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2563) หน้า 93

ภาพประกอบประเดน็ ท่ี 5 มผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรียนตามหลักสตู รสถานศึกษา

ภาพประกอบประเด็นท่ี 6 มคี วามรู้ ทักษะพ้นื ฐานและเจตคติท่ดี ตี ่องานอาชพี

1.2 คุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ของผูเ้ รยี น
ภาพประกอบประเด็นที่ 1 มคี ณุ ลกั ษณะและคา่ นยิ มทีด่ ีตามที่สถานศึกษากำหนด

ภาพประกอบประเดน็ ท่ี 2 มคี วามภูมิใจในทอ้ งถ่นิ และความเปน็ ไทย

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2563) หนา้ 94

ภาพประกอบประเด็นที่ 3 ยอมรับท่ีจะอย่รู ว่ มกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย

ภาพประกอบประเด็นที่ 4 มีสขุ ภาวะทางร่างกายและลกั ษณะจติ สงั คม

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
ภาพประกอบประเดน็ ที่ 1 มีเป้าหมาย วสิ ัยทศั น์ และพันธกจิ ท่สี ถานศกึ ษากำหนดชัดเจน

ภาพประกอบประเดน็ ที่ 2 มีระบบบริหารจดั การคณุ ภาพของสถานศกึ ษา

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2563) หน้า 95


Click to View FlipBook Version