The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษา 64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by laddawan.chaiworn, 2022-04-06 04:26:02

หลักสูตรสถานศึกษา 64

หลักสูตรสถานศึกษา 64

หลกั สตู รสถานศึกษา
โรงเรยี นชมุ ชนวัดสุวรรณรังสรรค์

พทุ ธศักราช ๒๕๖๔

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน
พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาระยอง เขต ๑
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ



ประกาศโรงเรยี นชมุ ชนวดั สวุ รรณรังสรรค์
เร่ือง ใหใ้ ชห้ ลักสูตรโรงเรียนชมุ ชนวัดสุวรรณรังสรรค์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

เพอื่ ให้เป็นไปตามคาสงั่ กระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันท่ี ๗ สงิ หาคม
พ.ศ. ๒๕๖๐ เร่ือง ให้ใช้มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวช้ีวดั กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์
และสาระภมู ศิ าสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ และคาส่ังสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษา
ขนั้ พ้ืนฐาน ท่ี ๓๐/๒๕๖๑ ลงวนั ที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๑ เรอื่ ง ใหเ้ ปลยี่ นแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้วี ดั
กล่มุ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ นอกจากนร้ี ัฐบาลได้มนี โยบาย “ลดเวลาเรยี น เพมิ่ เวลารู้” ตั้งแต่
ภาคเรยี นที่ ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๕๘ เปน็ ต้นไป ดงั นน้ั เพื่อใหส้ อดคลอ้ งกับนโยบายและคาสัง่ หนว่ ยงานตน้ สงั กัด
โรงเรียนชุมชนวัดสุวรรณรังสรรคจ์ ึงได้จัดทาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนชมุ ชนวัดสุวรรณรงั สรรค์ พทุ ธศกั ราช
๒๕๖๓ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ขึ้น

คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพนื้ ฐานโรงเรยี นชมุ ชนวดั สุวรรณรังสรรค์ ในคราวประชุมครั้งท่ี
๑/๒๕๖๔ วนั ที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔ มมี ติเหน็ ชอบให้โรงเรียนใชห้ ลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นชมุ ชน
วดั สุวรรณรังสรรค์พทุ ธศักราช ๒๕๖๑ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
โรงเรียนชุมชนวดั สุวรรณรังสรรคจ์ ึงประกาศใชห้ ลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นชุมชนวัดสุวรรณรังสรรค์
พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ตงั้ แต่บดั น้ีเปน็ ต้นไป

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๕ เดอื น พฤษภาคม พุทธศกั ราช ๒๕๖๔

ลงชอ่ื ลงชือ่
(นางสุนิษฐา เปาอินทร์) (นางพณั ณ์ชติ า กนกพงษเ์ สถียร)

ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ผอู้ านวยการโรงเรยี นชุมชนวัดสุวรรณรังสรรค์
โรงเรียนชมุ ชนวดั สวุ รรณรังสรรค์



คานา

ดว้ ยกระทรวงศกึ ษาธกิ ารได้ประกาศให้ใช้มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชี้วัดกลุ่มสาระการเรยี นรู้
คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภมู ศิ าสตร์ในกล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ตามคาส่ัง
กระทรวงศกึ ษาธิการทีส่ พฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวนั ท่ี ๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ และคาสง่ั สานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ท่ี ๓๐/๒๕๖๑ ลงวนั ที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๑ เรือ่ ง ใหเ้ ปลีย่ นแปลง
มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชี้วดั กลมุ่ สาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.
๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ท้งั นี้ให้โรงเรียนใช้มาตรฐาน
การเรียนรูแ้ ละตัวชว้ี ดั ทป่ี รบั ปรงุ ตง้ั แตศ่ ึกษา ๒๕๖๑ ในชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ และ ๔ และชนั้ มธั ยมศึกษา
ปีที่ ๑ และ ๔ ตัง้ แต่ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ เปน็ ตน้ ไป ส่วนปีการศึกษา ๒๕๖๒ ให้ใช้ในระดบั ชนั้ ประถมศึกษา
ปที ่ี ๑, ๒, ๔ และชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑, ๒, ๔ และ ๕ และใช้ทุกช้ันปตี ้ังแตป่ กี ารศึกษา ๒๕๖๓ การปรับปรุง
หลักสตู รคร้งั นยี้ งั คงหลักการและโครงสรา้ งเดิมของหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช
๒๕๕๑ แตม่ ุ่งเนน้ การปรับปรุงเนื้อหาใหม้ คี วามทันสมัย ทนั ต่อการเปล่ียนแปลงและความเจริญก้าวหนา้
ทางวิทยาการตา่ ง ๆ คานึงถึงการสง่ เสริมให้ผเู้ รียนมที ักษะท่จี าเปน็ สาหรบั การเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑
เป็นสาคญั เตรยี มผเู้ รยี นใหม้ ีความพร้อมทจ่ี ะเรยี นรูส้ ่ิงต่าง ๆ พรอ้ มทจ่ี ะประกอบอาชพี เม่อื จบการศึกษา
หรอื สามารถศกึ ษาต่อในระดบั ท่ีสูงขึน้ สามารถแข่งขันและอยู่รว่ มกบั ประชาคมโลก

คณะกรรมการบริหารหลกั สตู รและงานวชิ าการของโรงเรยี นชุมชนวัดสุวรรณรังสรรค์ ไดด้ าเนนิ การ
ปรบั ปรุงหลักสูตรเดมิ เปน็ “หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนชุมชนวดั สุวรรณรงั สรรค์ พทุ ธศักราช ๒๕๖๓
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑” เล่มนี้มอี งค์ประกอบ ได้แก่ ความนา
วสิ ยั ทศั น์ สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศึกษา คาอธบิ าย
รายวชิ า กิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น และเกณฑก์ ารจบการศกึ ษา โดยมวี ัตถุประสงคข์ องการจัดทาเพอ่ื ให้ครผู สู้ อน
ไดน้ าไปใชเ้ ปน็ แนวทางจัดการเรยี นรแู้ ละพฒั นาผเู้ รยี นให้มคี ณุ ภาพด้านความรู้ ทกั ษะ สมรรถนะสาคญั
คณุ ลักษณะอนั พึงประสงคท์ ี่จาเปน็ สาหรบั ใชเ้ ป็นเครือ่ งมอื ในการดารงชวี ิตในสงั คมที่มีการเปลีย่ นแปลง
และแสวงหาความร้เู พอ่ื พฒั นาตนเองอย่างตอ่ เน่ือง ตลอดจนเพอื่ ให้ผู้มสี ่วนเก่ยี วข้องทกุ ฝ่าย มีความรู้
ความเขา้ ใจแนวทางการจดั การศึกษาของโรงเรียนอยา่ งถกู ตอ้ ง

ขอขอบคุณคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้นื ฐาน คณะกรรมการบริหารหลกั สูตรและวิชาการ
โรงเรยี นชมุ ชนวดั สุวรรณรงั สรรค์ ผอู้ านวยการสานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาและศกึ ษานเิ ทศก์สานกั งาน
เขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต ๑ ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาและผมู้ ีส่วนเกย่ี วขอ้ ง
ทมี่ ีส่วนรว่ มในการจัดทาหลักสตู รเลม่ นีใ้ หส้ าเร็จลุล่วงดว้ ยดี สามารถนาไปใชเ้ พอื่ พฒั นาผเู้ รยี นให้ให้บรรลุ
เป้าหมายของหลักสูตรต่อไป

ผูอ้ านวยการโรงเรียนชุมชนวัดสวุ รรณรงั สรรค์



สารบญั

เร่ือง หนา้
ประกาศโรงเรียนการใชห้ ลักสตู ร ก
คานา ข
สารบัญ ค
ความนา ๑
ความสาคัญ ๓
ลักษณะของหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นชมุ ชนวัดสุวรรณรงั สรรคพ์ ุทธศกั ราช ๔
๒๕๖๓ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
วิสัยทัศน์ ๗
สมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น ๗
คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๘
โครงสร้างหลกั สูตรสถานศึกษา ๙

โครงสร้างเวลาเรียน ๑๑
โครงสรา้ งหลกั สตู รชัน้ ปี ๒๐
คาอธบิ ายรายวิชา ๒๑
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ๓๙
กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ๖๕
กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๖
กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๑๓๐
กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ุขศกึ ษาและพลศึกษา ๑๔๕
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ ๑๗๒
กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชพี ๑๘๔
กลมุ่ สาระภาษาต่างประเทศ(ภาษาองั กฤษ) ๒๒๗
กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน ๒๓๐
การวัดประเมนิ ผลการเรียน ๒๔๓
บรรณานกุ รม ๒๔๔
ภาคผนวก ๒๔๕
๒๔๙
คาสัง่
คณะผู้จัดทา

สว่ นที่ ๑
ส่วนนำ

ควำมนำ

ใชห้ ลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ผลจากการศกึ ษา พบวา่ หลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ มขี ้อดีในหลายประการ เชน่ กาหนดเปา้ หมายการพฒั นา
ไว้ชดั เจน มคี วามยืดหยนุ่ เพียงพอให้สถานศกึ ษาบริหารจัดการหลักสตู รสถานศึกษาได้ ส่วนปญั หาที่พบ
ส่วนใหญเ่ กิดจากการนาหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ สู่การปฏบิ ัติ
ในสถานศึกษาและในหอ้ งเรยี น

นอกจากนกี้ ารศกึ ษาข้อมลู เกี่ยวกบั ทิศทาง กรอบยทุ ธศาสตร์ แผนแม่บท และกฎหมายทเี่ กี่ยวข้อง
กับการพัฒนาประเทศ พบว่า ประเด็นสาคัญเพอ่ื แปลงแผนไปสู่การปฏิบัติให้เกดิ ผลสัมฤทธิ์ได้ อย่างแท้จริง
คอื การเตรยี มพร้อมด้านกาลังคนและการเสรมิ สร้างศกั ยภาพของประชากรในทุกช่วงวัย ม่งุ เนน้ การยกระดับ
คณุ ภาพทุนมนษุ ย์ของประเทศโดยพัฒนาคนให้เหมาะสมตามชว่ งวัยเพ่ือให้เติบโตอย่างมคี ุณภาพการพัฒนา
ทักษะที่สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการในตลาดแรงงานและทักษะทีจ่ าเป็นตอ่ การดารงชีวิตในศตวรรษท่ี ๒๑
ของคนในแต่ละช่วงวัยตามความเหมาะสม การเตรียมความพรอ้ มของกาลงั คนด้านวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ที่เปล่ียนแปลงในอนาคต ตลอดจนการยกระดับคณุ ภาพการศึกษาส่คู วามเปน็ เลศิ

เพอื่ ขบั เคล่ือนยุทธศาสตรช์ าติ และเตรยี มความพรอ้ มคนให้สามารถปรับตวั รองรบั ผลกระทบ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ไดป้ ระกาศใชห้ ลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ให้เป็น
หลกั สูตรแกนกลางของประเทศ เมอ่ื วันที่ ๑๑ กรกฎคม ๒๕๕๑ เริม่ ใช้ในโรงเรยี นตน้ แบบการใชห้ ลักสูตร
และโรงเรยี นทมี่ ีความพรอ้ ม ในปีการศึกษา ๒๕๕๒ และเรมิ่ ใช้ในโรงเรียนท่วั ไปในปีการศึกษา ๒๕๕๓
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน โดยสานกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษาไดด้ าเนินการติดตาม
ผลการนาหลักสูตรไปสกู่ ารปฏิบัติอยา่ งต่อเนอื่ งในหลายรูปแบบ ทง้ั การประชุมรบั ฟังความคิดเหน็ การนิเทศ
ตดิ ตามผลการใช้หลกั สูตรของโรงเรียน การรับฟงั ความคิดเห็นผ่านเว็บไซตข์ องสานักวชิ าการและมาตรฐาน
การศกึ ษา รายงานผลการวจิ ยั ของหน่วยงานและองค์กรที่เก่ียวข้องกบั หลกั สตู รและการจากการเปลี่ยนแปลง
ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม กระทรวงศกึ ษาธกิ ารจึงกาหนดเป็นนโยบายสาคญั และเรง่ ดว่ นใหม้ ีการปรบั ปรงุ หลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ในกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์
และสาระภูมศิ าสตร์ ในกลุ่มสาระการเรยี นรู้ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมรวมท้งั สาระเทคโนโลยี
โดยมอบหมายให้สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ดาเนนิ การปรบั ปรงุ กลมุ่ สาระ
การเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ และสาระเทคโนโลยี และมอบหมายใหส้ านักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานดาเนนิ การ ปรับปรงุ สาระภูมิศาสตร์ ในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา
ศาสนา และวฒั นธรรม



ต่อมากระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใหใ้ ช้มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตวั ชว้ี ัดกลมุ่ สาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภมู ศิ าสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ตามคาสัง่
กระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันท่ี ๗ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ และคาส่งั สานักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ท่ี ๓๐/๒๕๖๑ ลงวนั ท่ี ๕ มกราคม ๒๕๖๑ เร่อื ง ให้เปลี่ยนแปลงมาตรฐาน
การเรยี นรู้และตัวช้ีวดั กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ทง้ั นใ้ี ห้โรงเรยี นใช้มาตรฐานการเรียนรู้
และตัวชีว้ ดั ทีป่ รบั ปรุงต้ังแต่ศึกษา ๒๕๖๑ ในช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๑ และ ๔ และช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ และ ๔
ตัง้ แตป่ กี ารศึกษา ๒๕๖๑ เป็นตน้ ไป สว่ นปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ ใหใ้ ช้ในระดับชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑, ๒, ๔
และช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๑, ๒, ๔ และ ๕ และใช้ทุกชนั้ ปตี งั้ แตป่ กี ารศึกษา ๒๕๖๓

การปรบั ปรุงหลกั สตู รครง้ั น้ี ยังคงหลักการและโครงสร้างเดมิ ของหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษา
ขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ คอื ประกอบด้วย ๘ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ได้แก่ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชพี
และเทคโนโลยี และภาษาตา่ งประเทศ แต่มุ่งเนน้ การปรับปรุงเนือ้ หาใหม้ ีความทนั สมยั ทันต่อการเปล่ียนแปลง
และความเจริญกา้ วหน้าทางวทิ ยาการต่าง ๆ คานึงถงึ การสง่ เสริมให้ผเู้ รียน มีทักษะที่จาเป็นสาหรบั การเรยี นรู้
ในศตวรรษที่ ๒๑ เป็นสาคญั เตรียมผู้เรียนให้มีความพรอ้ มทีจ่ ะเรยี นรสู้ งิ่ ต่าง ๆ พร้อมท่ีจะประกอบอาชพี
เมือ่ จบการศกึ ษา หรอื สามารถศึกษาต่อในระดบั ที่สงู ขึ้น สามารถแขง่ ขันและอย่รู ว่ มกบั ประชาคมโลกได้

กรอบในการปรบั ปรงุ หลกั สตู รครั้งนี้ คือ ให้มอี งค์ความรู้ทีเ่ ป็นสากลเทียบเท่านานาชาติ
ปรับมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้วี ัดให้มีความชัดเจน ลดความซา้ ซอ้ น สอดคล้องและเชอ่ื มโยงกนั ภายในกลมุ่
สาระการเรียนร้แู ละระหว่างกลุม่ สาระการเรียนรู้ ตลอดจนเชื่อมโยงองคค์ วามรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์
และเทคโนโลยีเขา้ ด้วยกัน จัดเรยี งลาดับความยากง่ายของเน้ือหาในแตล่ ะระดบั ช้ันตามพฒั นาการแตล่ ะชว่ งวยั
ใหม้ คี วามเชอื่ มโยงความร้แู ละกระบวนการเรยี นรู้ โดยให้เรยี นรูผ้ า่ นการปฏิบตั ิทีส่ ่งเสรมิ ให้ผู้เรียนพัฒนา
ความคดิ สาระสาคัญของการปรบั ปรงุ หลกั สูตร มีดังนี้

๑. กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
๑.๑ จดั กลมุ่ ความรู้ใหม่และนาทกั ษะกระบวนการไปบรู ณาการกบั ตัวชวี้ ัด

เน้นใหผ้ ูเ้ รยี นเกดิ การคิดวิเคราะห์ คดิ แก้ปญั หา และมีทักษะในศตวรรษท่ี ๒๑
๑.๒ กาหนดมาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชี้วดั สาหรับผูเ้ รยี นทุกคน ท่ีเป็นพน้ื ฐาน

ท่เี กี่ยวขอ้ งกับชวี ิตประจาวนั และเปน็ พ้นื ฐานสาคัญในการศึกษาต่อระดบั ทีส่ งู ขึ้น
๑.๓ ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๔–๖ กาหนดตวั ชี้วัด เป็นรายปี เพื่อเป็นแนวทาง

ใหส้ ถานศึกษาจัดตามลาดบั การเรยี นรู้ อย่างไรก็ตามสถานศึกษาสามารถพจิ ารณาปรับเลือ่ นไหลระหว่างปี
ได้ตามความเหมาะสม



๒. กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ไดเ้ พ่ิมสาระเทคโนโลยี ซึ่งประกอบด้วยการออกแบบ
และเทคโนโลยี และวิทยาการคานวณ ทงั้ นเี้ พ่ือเอ้ือต่อการจัดการเรยี นรู้บูรณาการสาระทางคณติ ศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กบั กระบวนการเชงิ วศิ วกรรม ตามแนวคดิ สะเต็มศกึ ษา

๓. สาระภูมิศาสตร์ ซึ่งเป็นสาระหนงึ่ ในกลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรมไดป้ รับมาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชว้ี ดั ให้มคี วามชัดเจน สอดคลอ้ งกับพัฒนาการตามช่วงวัย
มีองค์ความรูท้ ่เี ปน็ สากล เพมิ่ ความสามารถ ทกั ษะ และกระบวนการทางภูมิศาสตร์ ท่ีชัดเจนข้นึ

โรงเรียนชมุ ชนวดั สุวรรณรังสรรค์ สงั กดั สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาระยอง เขต ๑
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร จึงได้ดาเนินการจดั ทาหลกั สูตร
ใหส้ อดคล้องคาส่งั หนว่ ยงานต้นสังกัด โดยวิเคราะห์สภาพปัจจบุ ัน ปญั หา บรบิ ทของโรงเรยี น และจดั ทา
โครงสร้างหลกั สตู ร กาหนดรายวิชาพืน้ ฐาน และรายวชิ าเพม่ิ เติมในแต่ละระดบั ชน้ั ใหไ้ ดค้ ุณภาพตามมาตรฐาน
การเรยี นรแู้ ละตวั ชวี้ ดั ทก่ี าหนดไวใ้ นหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กาหนด
เกณฑ์การจบการศึกษาของโรงเรยี น

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนชมุ ชนวดั สวุ รรณรงั สรรคพ์ ุทธศกั ราช ๒๕๖๔ ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เปน็ หลักสูตรการจัดการศกึ ษาเพอื่ พฒั นานกั เรียนใหม้ คี ณุ ภาพ
ตามมาตรฐานการเรยี นรู้ มุ่งพัฒนาผ้เู รียนให้เป็นคนดี คนเก่ง และอย่รู ่วมในสงั คมอย่างมีความสขุ มีศกั ยภาพ
ในการศึกษาตอ่ โดยมุ่งหวังใหม้ ีความสมบูรณ์ทัง้ ดา้ นรา่ งกาย จิตใจ และสติปัญญา อีกท้ังมีความรู้และทกั ษะ
ที่จาเปน็ สาหรบั การดารงชวี ิต มีทักษะในการตดิ ต่อสื่อสาร การถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ
การแลกเปลี่ยนขอ้ มูลข่าวสารและประสบการณ์ในการพฒั นาตนเองและสงั คม มีคุณภาพได้มาตรฐานสากล
ในฐานะพลเมอื งไทยและพลโลก ประกอบดว้ ยสาระของหลกั สูตรแกนกลาง สาระความรู้ท่ีเกี่ยวขอ้ งกับชุมชน
ท้องถนิ่ และสาระท่สี ถานศึกษาเพมิ่ เตมิ โดยจัดเป็นสาระการเรยี นรู้รายวชิ าพนื้ ฐานตามมาตรฐานการเรยี นรู้
และตัวชี้วดั สาระการเรยี นรรู้ ายวิชาเพม่ิ เตมิ รายวิชาหนา้ ทีพ่ ลเมอื ง กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น กาหนดคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คา่ นยิ ม ๑๒ ประการ
ของคณะรกั ษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) และคณุ ลักษณะนกั เรียนตามมาตรฐานสากล พัฒนานักเรยี น
ให้มีศกั ยภาพเป็นพลโลก

โรงเรียนชุมชนวดั สุวรรณรังสรรคจ์ งึ จัดทาและเรม่ิ ใช้หลกั สูตรสถานศกึ ษาท่ีสอดคล้องกับหลกั สูตร
แกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ในระดับช้ันประถมศึกษาป่ี ๑ – ๖ ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษา
ปีที่ ๑-๓ และมีการปรบั ปรุงเพมิ่ เตมิ ให้มีความทนั สมยั ทุก ๆ ปีการศึกษาจนถงึ ปจั จุบนั

ควำมสำคญั

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนชุมชนวดั สุวรรณรงั สรรค์พทุ ธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ มีความสาคญั ในการพฒั นาผ้เู รียนใหม้ คี ุณภาพตามมาตรฐาน
การเรยี นรู้ ตัวช้ีวัด และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ตามท่ีกาหนดไว้ เปน็ แนวทางให้ผู้บริหารสถานศึกษา
ครู ตลอดจนผเู้ กี่ยวข้องกบั การจัดการศึกษาของโรงเรียน ในการจดั มวลประสบการณ์ให้แก่ผ้เู รยี นไดพ้ ฒั นา
ใหบ้ รรลุถงึ คุณภาพตามมาตรฐานในการพฒั นาเยาวชนของชาติ นอกเหนือจากการใช้เปน็ แนวทาง หรอื



ข้อกาหนดในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาให้บรรลุตามจุดหมายของการจัดการศึกษาแลว้ หลักสตู ร
สถานศึกษาโรงเรยี นชุมชนวดั สวุ รรณรังสรรค์ พทุ ธศักราช ๒๕๖๑ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน
พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ทพ่ี ัฒนาข้ึนยังเป็นหลักสูตรท่ีมีจุดมงุ่ หมายให้ครอบครัว ชุมชน องค์กรในทอ้ งถ่นิ
ทัง้ ภาครัฐและเอกชนเขา้ รว่ มจดั การศกึ ษาของโรงเรียน โดยมแี นวทางสาคญั ทีโ่ รงเรียนกาหนดไวใ้ นหลกั สตู ร
โรงเรียน ดงั น้ี

๑. หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนชุมชนวดั สวุ รรณรังสรรค์ พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สูตร
แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ มุ่งพฒั นาให้ผเู้ รยี นเกดิ ความสนกุ สนาน ความเพลิดเพลิน
ในการเรยี นรู้เปรียบเสมอื นเปน็ วิธสี รา้ งกาลงั ใจ และเร้าใหเ้ กดิ ความกา้ วหน้าแก่ผู้เรยี นให้มากท่ีสุด มีความรู้
สูงสุด ผู้เรียนทกุ คนมีความเขม้ แข็ง ความสนใจ มีประสบการณ์ และความม่ันใจ เรียนและทางานอยา่ งเป็น
อสิ ระและร่วมใจกัน มีทกั ษะในการอา่ นออกเขยี นได้ คิดเลขเปน็ รู้ข้อมูลสารสนเทศ และเทคโนโลยีส่ือสาร
สง่ เสรมิ จติ ใจที่อยากรอู้ ยากเห็น และมกี ระบวนการคิดอยา่ งมีเหตผุ ล

๒. หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนชุมชนวัดสวุ รรณรังสรรค์ พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ สง่ เสรมิ การพฒั นาดา้ นจติ วิญญาณ จริยธรรม สังคม
และวัฒนธรรม พฒั นาหลกั การในการจาแนกระหว่างถูกและผิด เข้าใจและศรทั ธาในความเชื่อของตน
ความเชื่อและวฒั นธรรมท่แี ตกต่างกัน พฒั นาหลักคณุ ธรรมและความอสิ ระของผู้เรยี น และช่วยให้เปน็ พลเมอื ง
ทม่ี ีความรบั ผิดชอบ สามารถชว่ ยพัฒนาสงั คมให้เปน็ ธรรมขน้ึ มีความเสมอภาค พฒั นาความตระหนัก เขา้ ใจ
และยอมรบั สภาพแวดล้อมที่ตนดารงชีวติ อยู่ ยึดม่ันในขอ้ ตกลงรว่ มกันตอ่ การพฒั นาทย่ี ่ังยืนทั้งในระดับสว่ นตน
ระดบั ท้องถน่ิ ระดบั ชาติ และระดับโลก สรา้ งให้ผู้เรยี นมีความพรอ้ มในการเปน็ ผ้บู รโิ ภคทีต่ ัดสนิ ใจแบบมขี อ้ มลู
เป็นอสิ ระ และมีความรบั ผิดชอบ

๓. หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นชุมชนวัดสวุ รรณรังสรรค์พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สูตร
แกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ สง่ เสริมให้ผเู้ รยี น มีทกั ษะทีจ่ าเป็นสาหรับการเรยี นรู้
ในศตวรรษท่ี ๒๑ เป็นสาคัญ เตรียมผเู้ รยี นให้มีความพรอ้ มทีจ่ ะเรยี นรู้สิง่ ตา่ ง ๆ พรอ้ มท่ีจะประกอบอาชีพ
เม่ือจบการศกึ ษา หรือสามารถศกึ ษาต่อในระดับท่ีสูงข้นึ สามารถแข่งขันและอยู่รว่ มกับประชาคมโลกได้

ลักษณะของหลกั สูตรสถำนศึกษำโรงเรยี นชุมชนวัดสุวรรณรงั สรรค์พุทธศักรำช ๒๕๖๔
ตำมหลกั สตู รแกนกลำงกำรศกึ ษำขั้นพ้ืนฐำน พทุ ธศักรำช ๒๕๕๑

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนชุมชนวัดสุวรรณรงั สรรค์ พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ เป็นหลักสูตรทีโ่ รงเรยี นได้พัฒนาขึ้นเพอื่ พัฒนาผู้เรียนในระดบั
ประถมศกึ ษา โดยยึดองค์ประกอบหลักสาคัญ ๕ ส่วนคือ ๑) หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน
พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ๒) มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวช้วี ดั กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์
และสาระภมู ิศาสตรใ์ นกลุ่มสาระการเรยี นร้สู งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)



ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๓) นโยบายการจดั การเรียนการสอนหน้าที่
พลเมอื ง ๔) กรอบหลกั สูตรระดบั ทอ้ งถน่ิ และ ๕) สาระสาคญั จดุ เนน้ ท่โี รงเรียนพฒั นาเพ่ิมเติม เปน็ กรอบ
ในการจัดทารายละเอียดเพ่อื ให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาข้นั พนื้ ฐานที่กาหนด เหมาะสมกับสภาพชมุ ชน
และท้องถ่ินและจุดเนน้ ของโรงเรียน โดยหลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนชมุ ชนวดั สุวรรณรงั สรรค์ พุทธศักราช
๒๕๖๔ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ทีพ่ ฒั นาขน้ึ มีลักษณะของหลกั สูตร
ดงั น้ี

๑. เป็นหลักสูตรเฉพาะของโรงเรยี นชุมชนวัดสวุ รรณรงั สรรคส์ าหรบั จัดการศกึ ษาในหลกั สูตร
แกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐานจดั ในระดับประถมศึกษา (ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ – ๖)

๒. เปน็ หลักสูตรทม่ี ีความเป็นเอกภาพสอดคลอ้ งกบั หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ สาหรบั ให้ครผู ู้สอนนาไปจัดการเรยี นรไู้ ด้อยา่ งหลากหลาย โดยกาหนดใหม้ ีรายละเอียด
ดงั นี้

๒.๑ สาระการเรียนรู้ทโี่ รงเรียนใช้เป็นหลกั เพ่อื สร้างพืน้ ฐานการคดิ การเรยี นรู้
และการแก้ปัญหาประกอบดว้ ย ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

๒.๒ สาระการเรียนร้ทู เ่ี สริมสร้างความเป็นมนษุ ย์ ศกั ยภาพการคดิ และการทางาน
ประกอบดว้ ย สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ศิลปะ การงานอาชพี และเทคโนโลยี และภาษาอังกฤษ

๒.๓ สาระการเรยี นรู้เพ่มิ เตมิ โดยจดั ทาเปน็ รายวิชา/กจิ กรรมเพม่ิ เตมิ ตาม
ความเหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั โครงสร้างเวลาเรียน สาระการเรยี นรู้ท้องถิ่น ความตอ้ งการของผู้เรียน
และบรบิ ทของโรงเรยี นและเพ่มิ วชิ าหนา้ ทพ่ี ลเมอื งให้สอดคล้องกับนโยบายหนว่ ยเหนอื ดว้ ย

๒.๔ กิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน เพอื่ พัฒนาผ้เู รียนท้ังด้านรา่ งกาย จิตใจ สติปัญญา
อารมณ์ และ สังคม เสริมสร้างการเรยี นรนู้ อกจากกล่มุ สาระการเรยี นรู้ ๘ กล่มุ และการพฒั นาตนตามศักยภาพ

๒.๕ การกาหนดมาตรฐานของโรงเรียนท่ีสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานระดบั ต่าง ๆ
เพ่ือเป็นเป้าหมายของการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรยี น จดั ทารายละเอยี ดสาระการเรยี นรู้ และจัด
กระบวนการเรยี นรู้ให้สอดคลอ้ งกับสภาพในชุมชน สังคม และภมู ิปญั ญาท้องถิ่น

๓. มมี าตรฐานการเรยี นรูเ้ ป็นเป้าหมายสาคัญของการพัฒนาคุณภาพหลักสตู รสถานศกึ ษา
โรงเรยี นชมุ ชนวัดสุวรรณรังสรรค์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ เปน็ หลักสตู รท่มี ีมาตรฐานเป็นตัวกาหนดเกย่ี วกบั ความรู้ ทกั ษะ กระบวนการ สมรรถนะ
และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องผเู้ รยี น เพอ่ื เป็นแนวทางในการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา โดยมีการกาหนด
มาตรฐานไว้ดงั นี้

๓.๑ มาตรฐานหลักสูตร เป็นมาตรฐานด้านผู้เรียนหรอื ผลผลิตของหลกั สตู รโรงเรียน
เกิดขนึ้ จากการจัดกิจกรรมตามโครงสร้างของหลกั สูตรทั้งหมดของครู และใชเ้ ปน็ แนวทางในการตรวจสอบ
คณุ ภาพโดยรวมของการจัดการศึกษาตามหลกั สตู รในทุกระดบั ซง่ึ โรงเรยี นตอ้ งใชส้ าหรับการประเมนิ ตนเอง



เพื่อจดั ทารายงานประจาปีตามบทบัญญตั ใิ นพระราชบัญญัตกิ ารศึกษา เพอื่ นามาเปน็ ขอ้ มูลใน การกาหนด
แนวปฏิบตั ิในการสง่ เสริม กากบั ติดตาม ดูแล และปรบั ปรุงคุณภาพ เพ่อื ใหไ้ ดต้ ามมาตรฐานท่ีกาหนด

๓.๒ มีตวั ชี้วดั ช้ันปี เปน็ เป้าหมายระบุสง่ิ ที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบตั ไิ ด้ รวมท้ัง
คุณลกั ษณะของผูเ้ รยี นในแตล่ ะระดบั ช้นั ซึง่ สะทอ้ นถึงมาตรฐานการเรยี นรู้ มีความเฉพาะเจาะจง และมี
ความเป็นรปู ธรรม นาไปใชใ้ นการกาหนดเนื้อหา จดั ทาหน่วยการเรยี นรู้ จดั การเรียนการสอน และเปน็ เกณฑ์
สาคัญสาหรบั การวดั ประเมนิ ผลเพอื่ ตรวจสอบคุณภาพผู้เรยี น ตรวจสอบพัฒนาการผูเ้ รียน ความรู้ ทักษะ
กระบวนการ คุณธรรม จรยิ ธรรมและค่านยิ มอนั พงึ ประสงค์ และเป็นหลักในการเทียบโอนความรแู้ ละ
ประสบการณจ์ ากการศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศยั

๓.๓ มคี วามเปน็ สากล ความเป็นสากลของหลกั สูตรโรงเรียน คือม่งุ ให้ผู้เรียนมีความรู้
ความสามารถในเรอ่ื งเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาษาองั กฤษ การจัดการส่งิ แวดลอ้ ม ภูมิปญั ญาท้องถิน่
มีคุณลักษณะทจี่ าเป็นในการอยู่ในสงั คมไดแ้ ก่ ความซ่ือสัตย์ ความรับผิดชอบ การตรงตอ่ เวลา การเสียสละ
การเออ้ื เฟือ้ โดยอยูบ่ นพน้ื ฐานของความพอดีระหว่างการเปน็ ผ้นู า และผ้ตู าม การทางานเปน็ ทมี และ
การทางานตามลาพัง การแข่งขนั การรจู้ กั พอ และการรว่ มมอื กนั เพอ่ื สังคม วิทยาการสมัยใหม่ และภูมปิ ญั ญา
ท้องถ่นิ การรับวัฒนธรรมตา่ งประเทศ และการอนรุ กั ษ์วฒั นธรรมไทยการฝึกฝนทักษะเฉพาะทาง และ
การบรู ณาการในลักษณะที่เป็นองค์รวม

๔. มคี วามยดื หยุ่น หลากหลาย หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนชมุ ชนวดั สวุ รรณรงั สรรค์
พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (เป็นหลกั สูตรที่โรงเรยี น
จัดทารายละเอียดต่าง ๆ ขนึ้ เอง โดยยดึ โครงสร้างหลกั ท่ีกาหนดไว้ในหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ กรอบหลกั สตู รระดับทอ้ งถน่ิ เปน็ ขอบขา่ ยในการจัดทา จงึ ทาให้หลกั สูตรของโรงเรียน
มคี วามยดื หย่นุ หลากหลาย สอดคล้องกับสภาพปัญหา และความต้องการของทอ้ งถ่ิน โดยเฉพาะอย่างยิง่
มคี วามเหมาะสมกบั ตัวผู้เรยี น

๕. การวดั และประเมนิ ผลเน้นหลักการพื้นฐานสองประการคอื การประเมินเพอ่ื พฒั นาผูเ้ รียน
และเพ่ือตดั สนิ ผลการเรียน โดยผู้เรียนตอ้ งได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวช้วี ัดเพอื่ ให้บรรลุตามมาตรฐาน
การเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสาคัญ และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ของผู้เรียนเปน็ เป้าหมายหลักในการวัด
และประเมินผลการเรียนรู้ในทกุ ระดับไม่วา่ จะเป็นระดบั ชน้ั เรียน ระดับสถานศกึ ษา ระดับเขตพนื้ ที่การศึกษา
และระดับชาติ การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน และใช้ผลการประเมิน
เป็นข้อมูลและสารสนเทศท่แี สดงพัฒนาการ ความกา้ วหน้า และความสาเรจ็ ทางการเรียนของผเู้ รียน ตลอดจน
ข้อมลู ท่เี ปน็ ประโยชน์ตอ่ การส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นเกิดการพัฒนาและเรยี นร้อู ยา่ งเต็มตามศักยภาพ



วิสยั ทศั น์โรงเรยี น

โรงเรยี นชมุ ชนวดั สุวรรณรังสรรค์ พัฒนานักเรยี นสมู่ าตรฐานการศกึ ษา ใช้ภาษาเพือ่ การสือ่ สาร
สืบสานความเปน็ ไทย ใส่ใจคณุ ภาพชวี ติ ปลอดภยั จากส่ิงเสพติด คิดและทาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพยี ง

สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

หลักสตู รโรงเรียนชุมชนวดั สุวรรณรังสรรค์ พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษา
ขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ม่งุ เน้นพัฒนาผู้เรยี นใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานท่กี าหนด ซ่ึงจะช่วยให้ผเู้ รียน
เกิดสมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ดังน้ี

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญ
๕ ประการ ดังน้ี

๑. ควำมสำมำรถในกำรส่ือสำร เปน็ ความสามารถในการรับและส่งสาร มวี ัฒนธรรมในการใช้ภาษา
ถ่ายทอดความคดิ ความรคู้ วามเข้าใจ ความรู้สึก และทศั นะของตนเองเพอ่ื แลกเปล่ยี นขอ้ มูลข่าวสาร
และประสบการณ์อนั จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การพฒั นาตนเองและสงั คม รวมทั้งการเจรจาตอ่ รองเพือ่ ขจดั
และลดปัญหาความขดั แยง้ ตา่ ง ๆ การเลอื กรับหรือไมร่ ับข้อมูลข่าวสารดว้ ยหลักเหตุผลและความถูกตอ้ ง
ตลอดจนการเลอื กใชว้ ิธกี ารส่ือสาร ท่ีมีประสิทธภิ าพโดยคานึงถึงผลกระทบท่ีมีต่อตนเองและสังคม

๒. ควำมสำมำรถในกำรคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคดิ สังเคราะห์ การคดิ
อยา่ งสร้างสรรค์ การคิดอย่างมวี ิจารณญาณ และการคิดเปน็ ระบบ เพอื่ นาไปสกู่ ารสร้างองคค์ วามรู้
หรอื สารสนเทศเพ่ือการตัดสินใจเก่ียวกบั ตนเองและสงั คมได้อยา่ งเหมาะสม

๓. ควำมสำมำรถในกำรแกป้ ัญหำ เปน็ ความสามารถในการแกป้ ญั หาและอปุ สรรคตา่ งๆ ทเ่ี ผชิญ
ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมลู สารสนเทศ เข้าใจความสัมพนั ธ์
และการเปลยี่ นแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยกุ ตค์ วามรมู้ าใช้ในการปอ้ งกัน
และแกไ้ ขปญั หา และมกี ารตัดสินใจท่มี ีประสทิ ธิภาพโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบท่ีเกดิ ขนึ้ ตอ่ ตนเอง สงั คม
และสิง่ แวดล้อม

๔. ควำมสำมำรถในกำรใช้ทักษะชวี ิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการตา่ ง ๆ ไปใช้
ในการดาเนนิ ชีวิตประจาวนั การเรยี นรู้ด้วยตนเอง การเรยี นรูอ้ ย่างตอ่ เน่ือง การทางาน และการอยรู่ ว่ มกัน
ในสงั คมดว้ ยการสร้างเสรมิ ความสมั พันธ์อนั ดีระหว่างบคุ คล การจดั การปญั หาและความขัดแยง้ ต่าง ๆ
อย่างเหมาะสม การปรบั ตัวใหท้ นั กบั การเปล่ยี นแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ้ ม และการรจู้ ักหลีกเล่ียง
พฤตกิ รรมไม่พงึ ประสงค์ทีส่ ง่ ผลกระทบต่อตนเองและผู้อ่ืน



๕. ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ
และมที กั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพอ่ื การพฒั นาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่อื สาร การทางาน
การแกป้ ัญหาอย่างสรา้ งสรรค์ ถกู ตอ้ ง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม

คุณลักษณะอนั พึงประสงค์

หลักสตู รโรงเรยี นชุมชนวดั สวุ รรณรงั สรรค์ พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษา
ขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาผเู้ รียนใหม้ คี ุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ เพื่อใหส้ ามารถอยู่ร่วมกบั ผูอ้ ืน่
ในสงั คมได้อยา่ งมคี วามสุข ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดงั น้ี

๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
๒. ซอ่ื สัตยส์ จุ ริต
๓. มีวนิ ัย
๔. ใฝ่เรยี นรู้
๕. อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง
๖. มงุ่ มน่ั ในการทางาน
๗. รักความเปน็ ไทย
๘. มีจิตสาธารณะ



โครงสรำ้ งหลกั สูตรสถำนศึกษำ ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๔
โรงเรยี นชุมชนวัดสวุ รรณรงั สรรค์ สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาระยอง เขต ๑

ระดบั ประถมศกึ ษำ ระดับมธั ยมศกึ ษำตอนตน้

ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓

• กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
(๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.)
ภำษำไทย ๑๒๐ ๑๒๐
๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐ (๓ นก.) (๓ นก.)
คณิตศำสตร์ (๓ นก. *๑๒๐ *๑๒๐
(๓ นก.) (๓ นก.)
* วทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี *๘๐ *๘๐ *๘๐ *๑๒๐ *๑๒๐ *๑๒๐ *๑๒๐
(๓ นก.)
สงั คมศึกษำ ศำสนำและวฒั นธรรม
๏ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
๏ หน้าที่พลเมอื ง วฒั นธรรม (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.)
และการดาเนนิ ชีวิตในสงั คม
๏ เศรษฐศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
๏ ภมู ศิ าสตร์ (๑ นก.) (๑ นก.) (๑ นก.)
ประวัติศำสตร์
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
สขุ ศกึ ษำและพลศกึ ษำ (๒ นก.) (๒ นก.) (๒ นก.)

ศิลปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
(๒ นก.) (๒ นก.) (๒ นก.)
* กำรงำนอำชพี
*๔๐ *๔๐ *๔๐ *๔๐ *๔๐ *๔๐ *๘๐ *๘๐ *๘๐
ภำษำต่ำงประเทศ (๒ นก.) (๒ นก.) (๒ นก.)

รวมเวลำเรียน (พนื้ ฐำน) ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
(๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.)
• รำยวิชำเพ่ิมเติม
๏ คณติ คดิ สนกุ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๘๐ ๘๘๐ ๘๘๐
(๒๒ นก.) (๒๒ นก.) (๒๒ นก.)
๏ วิทยาศาสตร์กับชวี ติ
๔๐ ๔๐ ๔๐
๏ คอมพิวเตอร์สารสนเทศ (๑ นก.) (๑ นก.) (๑ นก.)

๏ ภาษาอังกฤษเพือ่ EEC ๔๐ ๔๐ ๔๐
๏ ภาษาองั กฤษเพอื่ การสื่อสาร (๑ นก.) (๑ นก.) (๑ นก.)

๏ หนา้ ท่ีพลเมอื ง ๔๐ ๔๐ ๔๐
(๑ นก.) (๑ นก.) (๑ นก.)
รวมเวลำเรยี น (เพ่มิ เตมิ )
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
๔๐ (๑ นก.) (๑ นก.) (๑ นก.)
๔๐ ๔๐ ๔๐
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ (๑ นก.) (๑ นก.) (๑ นก.)

๔๐ ๔๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐
(๕ นก.) (๕ นก.) (๕ นก.)

๑๐

• กจิ กรรมพฒั นำผ้เู รยี น ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
(๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.)
๏ กจิ กรรมแนะแนว
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
๏ กิจกรรมนักเรยี น (๑ นก.) (๑ นก.) (๑ นก.)
- ลูกเสือ – เนตรนารี – ยวุ กาชาด ๔๐
๔๐ ๔๐
- ชุมนมุ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ (๑ นก.) (๑ นก.) (๑ นก.)
๏ กิจกรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์
๔๐ ๔๐ ๔๐
รวมเวลำเรยี นทั้งหมด ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ (๑ นก.) (๑ นก.) (๑ นก.)
๑,๒๐๐ ๑,๒๐๐
๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๑,๒๐๐

หมำยเหตุ - วิชำหนำ้ ท่พี ลเมืองจัดกำรเรยี นกำรสอนและประเมนิ ผลกำรเรยี นโดยบรู ณำกำรในกล่มุ สำระกำรเรยี นร้วู ชิ ำสงั คมศึกษำ
ศำสนำและวฒั นธรรม

- วชิ ำภำษำองั กฤษ ป.๑-๖ จัดกำรเรยี นกำรสอนเพมิ่ ในกิจกรรม ลดเวลำเรียน เพม่ิ เวลำรู้

๑๑

โครงสรำ้ งหลักสูตรชั้นปี
ชน้ั ประถมศกึ ษำปที ี่ ๑ โรงเรยี นชุมชนวัดสุวรรณรงั สรรค์
สำนกั งำนเขตพื้นทก่ี ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำระยอง เขต ๑

รำยวิชำ / กจิ กรรม ชั่วโมง นำ้ หนกั
รำยวิชำพื้นฐำน ๘๔๐
ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ ๕.๐
ค๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๕.๐
ว๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๘๐ ๒.๐
ส๑๑๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๘๐ ๒.๐
ส๑๑๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔๐ ๑.๐
พ๑๑๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๔๐ ๑.๐
ศ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ๔๐ ๑.๐
ง๑๑๑๐๑ การงานอาชพี ๔๐ ๑.๐
อ๑๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑๒๐ ๓.๐
รำยวชิ ำเพิ่มเติม ๔๐
อ๑๑๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพือ่ EEC ๔๐ ๑.๐
กจิ กรรมพัฒนำผูเ้ รียน ๑๒๐
 ก ๑ กจิ กรรมแนะแนว ๔๐ ๑.๐
ก ๒ ลูกเสอื / เนตรนารี / ยวุ กาชาด ๑.๐
ก ๓ ชมรม / ชุมนมุ ๔๐ ๑.๐
 ก ๔ กิจกรรมเพอ่ื พัฒนาสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๓๐
๑๐
รวมเวลำเรยี น ๑,๐๐๐

หมำยเหตุ - วชิ ำหน้ำทพ่ี ลเมอื งจัดกำรเรยี นกำรสอนและประเมนิ ผลกำรเรยี นโดยบรู ณำกำร
ในกลมุ่ สำระกำรเรยี นรูว้ ชิ ำสงั คมศึกษำ ศำสนำและวฒั นธรรม
- วชิ ำภำษำอังกฤษจดั กำรเรยี นกำรสอนเพิม่ ในกิจกรรม ลดเวลำเรยี น เพม่ิ เวลำรู้
๔๐ ชวั่ โมงต่อปี

๑๒

โครงสรำ้ งหลักสูตรชั้นปี
ชน้ั ประถมศกึ ษำปที ี่ ๒ โรงเรยี นชุมชนวัดสุวรรณรงั สรรค์
สำนกั งำนเขตพื้นทก่ี ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำระยอง เขต ๑

รำยวิชำ / กจิ กรรม ช่ัวโมง นำ้ หนกั
รำยวิชำพื้นฐำน ๘๔๐
ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ ๕.๐
ค๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๕.๐
ว๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๘๐ ๒.๐
ส๑๒๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๘๐ ๒.๐
ส๑๒๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔๐ ๑.๐
พ๑๒๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๔๐ ๑.๐
ศ๑๒๑๐๑ ศิลปะ ๔๐ ๑.๐
ง๑๒๑๐๑ การงานอาชพี ๔๐ ๑.๐
อ๑๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑๒๐ ๓.๐
รำยวชิ ำเพิ่มเติม ๔๐
อ๑๒๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพือ่ EEC ๔๐ ๑.๐
กจิ กรรมพัฒนำผูเ้ รียน ๑๒๐
 ก ๑ กจิ กรรมแนะแนว ๔๐ ๑.๐
ก ๒ ลูกเสอื / เนตรนารี / ยวุ กาชาด ๑.๐
ก ๓ ชมรม / ชุมนมุ ๔๐ ๑.๐
 ก ๔ กิจกรรมเพอ่ื พัฒนาสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๓๐
๑๐
รวมเวลำเรยี น ๑,๐๐๐

หมำยเหตุ - วชิ ำหน้ำทพ่ี ลเมอื งจัดกำรเรยี นกำรสอนและประเมนิ ผลกำรเรยี นโดยบรู ณำกำร
ในกลมุ่ สำระกำรเรยี นรูว้ ชิ ำสงั คมศึกษำ ศำสนำและวฒั นธรรม
- วชิ ำภำษำอังกฤษจดั กำรเรยี นกำรสอนเพิม่ ในกิจกรรม ลดเวลำเรยี น เพม่ิ เวลำรู้
๔๐ ชวั่ โมงต่อปี

๑๓

โครงสรำ้ งหลักสูตรชั้นปี
ชน้ั ประถมศกึ ษำปที ี่ ๓ โรงเรยี นชุมชนวัดสุวรรณรงั สรรค์
สำนกั งำนเขตพื้นทก่ี ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำระยอง เขต ๑

รำยวิชำ / กจิ กรรม ช่ัวโมง นำ้ หนกั
รำยวิชำพื้นฐำน ๘๔๐
ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ ๕.๐
ค๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๕.๐
ว๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๘๐ ๒.๐
ส๑๓๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๘๐ ๒.๐
ส๑๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔๐ ๑.๐
พ๑๓๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๔๐ ๑.๐
ศ๑๓๑๐๑ ศิลปะ ๔๐ ๑.๐
ง๑๓๑๐๑ การงานอาชพี ๔๐ ๑.๐
อ๑๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑๒๐ ๓.๐
รำยวชิ ำเพิ่มเติม ๔๐
อ๑๓๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพือ่ EEC ๔๐ ๑.๐
กจิ กรรมพัฒนำผูเ้ รียน ๑๒๐
 ก ๑ กจิ กรรมแนะแนว ๔๐ ๑.๐
ก ๒ ลูกเสอื / เนตรนารี / ยวุ กาชาด ๑.๐
ก ๓ ชมรม / ชุมนมุ ๔๐ ๑.๐
 ก ๔ กิจกรรมเพอ่ื พัฒนาสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๓๐
๑๐
รวมเวลำเรยี น ๑,๐๐๐

หมำยเหตุ - วชิ ำหน้ำทพ่ี ลเมอื งจัดกำรเรยี นกำรสอนและประเมนิ ผลกำรเรยี นโดยบรู ณำกำร
ในกลมุ่ สำระกำรเรยี นรูว้ ชิ ำสงั คมศึกษำ ศำสนำและวฒั นธรรม
- วชิ ำภำษำอังกฤษจดั กำรเรยี นกำรสอนเพิม่ ในกิจกรรม ลดเวลำเรยี น เพม่ิ เวลำรู้
๔๐ ชวั่ โมงต่อปี

๑๔

โครงสร้ำงหลักสูตรชั้นปี
ชน้ั ประถมศกึ ษำปที ี่ ๔ โรงเรยี นชุมชนวัดสุวรรณรงั สรรค์
สำนกั งำนเขตพื้นทก่ี ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำระยอง เขต ๑

รำยวิชำ / กจิ กรรม ช่ัวโมง นำ้ หนกั
รำยวิชำพื้นฐำน ๘๔๐
ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ ๕.๐
ค๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๕.๐
ว๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๘๐ ๒.๐
ส๑๔๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๘๐ ๒.๐
ส๑๔๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔๐ ๑.๐
พ๑๔๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๔๐ ๑.๐
ศ๑๔๑๐๑ ศิลปะ ๔๐ ๑.๐
ง๑๔๑๐๑ การงานอาชพี ๔๐ ๑.๐
อ๑๔๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑๒๐ ๓.๐
รำยวชิ ำเพิ่มเติม ๔๐
อ๑๔๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพือ่ EEC ๔๐ ๑.๐
กจิ กรรมพัฒนำผูเ้ รียน ๑๒๐
 ก ๑ กจิ กรรมแนะแนว ๔๐ ๑.๐
ก ๒ ลูกเสอื / เนตรนารี / ยวุ กาชาด ๑.๐
ก ๓ ชมรม / ชุมนมุ ๔๐ ๑.๐
 ก ๔ กิจกรรมเพอ่ื พัฒนาสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๓๐
๑๐
รวมเวลำเรยี น ๑,๐๐๐

หมำยเหตุ - วชิ ำหน้ำทพ่ี ลเมอื งจัดกำรเรยี นกำรสอนและประเมนิ ผลกำรเรยี นโดยบรู ณำกำร
ในกลมุ่ สำระกำรเรยี นรูว้ ชิ ำสงั คมศึกษำ ศำสนำและวฒั นธรรม
- วชิ ำภำษำอังกฤษจดั กำรเรยี นกำรสอนเพิม่ ในกิจกรรม ลดเวลำเรยี น เพม่ิ เวลำรู้
๔๐ ชวั่ โมงต่อปี

๑๕

โครงสรำ้ งหลักสูตรชั้นปี
ชน้ั ประถมศกึ ษำปที ี่ ๕ โรงเรยี นชุมชนวัดสุวรรณรงั สรรค์
สำนกั งำนเขตพื้นทก่ี ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำระยอง เขต ๑

รำยวิชำ / กจิ กรรม ช่ัวโมง นำ้ หนกั
รำยวิชำพื้นฐำน ๘๔๐
ท๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ ๕.๐
ค๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๕.๐
ว๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๘๐ ๒.๐
ส๑๕๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๘๐ ๒.๐
ส๑๕๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔๐ ๑.๐
พ๑๕๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๔๐ ๑.๐
ศ๑๕๑๐๑ ศิลปะ ๔๐ ๑.๐
ง๑๕๑๐๑ การงานอาชพี ๔๐ ๑.๐
อ๑๕๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑๒๐ ๓.๐
รำยวชิ ำเพิ่มเติม ๔๐
อ๑๕๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพือ่ EEC ๔๐ ๑.๐
กจิ กรรมพัฒนำผูเ้ รียน ๑๒๐
 ก ๑ กจิ กรรมแนะแนว ๔๐ ๑.๐
ก ๒ ลูกเสอื / เนตรนารี / ยวุ กาชาด ๑.๐
ก ๓ ชมรม / ชุมนมุ ๔๐ ๑.๐
 ก ๔ กิจกรรมเพอ่ื พัฒนาสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๓๐
๑๐
รวมเวลำเรยี น ๑,๐๐๐

หมำยเหตุ - วชิ ำหน้ำทพ่ี ลเมอื งจัดกำรเรยี นกำรสอนและประเมนิ ผลกำรเรยี นโดยบรู ณำกำร
ในกลมุ่ สำระกำรเรยี นรูว้ ชิ ำสงั คมศึกษำ ศำสนำและวฒั นธรรม
- วชิ ำภำษำอังกฤษจดั กำรเรยี นกำรสอนเพิม่ ในกิจกรรม ลดเวลำเรยี น เพม่ิ เวลำรู้
๔๐ ชวั่ โมงต่อปี

๑๖

โครงสรำ้ งหลักสูตรชั้นปี
ชน้ั ประถมศกึ ษำปที ี่ ๖ โรงเรยี นชุมชนวัดสุวรรณรงั สรรค์
สำนกั งำนเขตพื้นทก่ี ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำระยอง เขต ๑

รำยวิชำ / กจิ กรรม ช่ัวโมง นำ้ หนกั
รำยวิชำพื้นฐำน ๘๔๐
ท๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ ๕.๐
ค๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๕.๐
ว๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๘๐ ๒.๐
ส๑๖๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๘๐ ๒.๐
ส๑๖๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔๐ ๑.๐
พ๑๖๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๔๐ ๑.๐
ศ๑๖๑๐๑ ศิลปะ ๔๐ ๑.๐
ง๑๖๑๐๑ การงานอาชพี ๔๐ ๑.๐
อ๑๖๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑๒๐ ๓.๐
รำยวชิ ำเพิ่มเติม ๔๐
อ๑๖๒๐๑ ภาษาองั กฤษเพือ่ EEC ๔๐ ๑.๐
กจิ กรรมพัฒนำผู้เรียน ๑๒๐
 ก ๑ กจิ กรรมแนะแนว ๔๐ ๑.๐
ก ๒ ลูกเสอื / เนตรนารี / ยวุ กาชาด ๑.๐
ก ๓ ชมรม / ชมุ นมุ ๔๐ ๑.๐
 ก ๔ กิจกรรมเพอ่ื พัฒนาสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๓๐
๑๐
รวมเวลำเรยี น ๑,๐๐๐

หมำยเหตุ - วชิ ำหน้ำทพ่ี ลเมอื งจัดกำรเรยี นกำรสอนและประเมนิ ผลกำรเรยี นโดยบรู ณำกำร
ในกลมุ่ สำระกำรเรยี นรูว้ ชิ ำสงั คมศึกษำ ศำสนำและวฒั นธรรม
- วชิ ำภำษำอังกฤษจดั กำรเรยี นกำรสอนเพิม่ ในกิจกรรม ลดเวลำเรยี น เพม่ิ เวลำรู้
๔๐ ชวั่ โมงต่อปี

๑๗

โครงสร้ำงหลักสูตรชน้ั ปี

ชัน้ มธั ยมศกึ ษำปีท่ี ๑ โรงเรียนชมุ ชนวัดสวุ รรณรังสรรค์

สำนักงำนเขตพื้นทกี่ ำรศึกษำประถมศึกษำระยอง เขต ๑

ภำคเรยี นที่ ๑ หน่วยกิต/ชม. ภำคเรยี นที่ ๒ หน่วยกติ /ชม.
๑๑ (๔๔๐)
รำยวิชำพน้ื ฐำน ๑๑ (๔๔๐) รำยวชิ ำพน้ื ฐำน ๑.๕(๖๐)
๑.๕(๖๐)
ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทย๑ ๑.๕(๖๐) ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ๑.๕(๖๐)

ค๒๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ ๑.๕(๖๐) ค๒๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๒ ๑.๕(๖๐)
๐.๕(๒๐)
ว๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑.๕(๖๐) ว๒๑๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ ๑.๐(๔๐)

และเทคโนโลยี ๑ และเทคโนโลยี ๒ ๑.๐(๔๐)
๑.๐(๔๐)
ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษาฯ ๑ ๑.๕(๖๐) ส๒๑๑๐๓ สงั คมศึกษาฯ ๒ ๑.๕(๖๐)
๒.๕(๑๐๐)
ส๒๑๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๑ ๐.๕(๒๐) ส๒๑๑๐๔ ประวัติศาสตร์ ๒ ๐.๕(๒๐)
๐.๕(๒๐)
พ๒๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๑.๐(๔๐) พ๒๑๑๐๓ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๐.๕(๒๐)
๐.๕(๒๐)
๑๒
๐.๕(๒๐)
ศ๒๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ ๑.๐(๔๐) ศ๒๑๑๐๒ ศลิ ปะ ๒
๑.๕(๖๐)
ง๒๑๑๐๑ การงานอาชพี ๑ ๑.๐(๔๐) ง๒๑๑๐๒การงานอาชพี ๒ ๐.๕(๒๐)

อ๒๑๑๐๑ องั กฤษ ๑ ๑.๕(๖๐) อ๒๑๑๐๒ อังกฤษ ๒ ๐.๕(๒๐)
๐.๕(๒๐)
รำยวชิ ำเพิม่ เติม ๒.๕(๑๐๐) รำยวิชำเพิม่ เตมิ
๖๐๐
ค๒๑๒๐๑ คณติ คิดสนกุ ๑ ๐.๕(๒๐) ค๒๑๒๐๒ คณติ คดิ สนุก ๒

ส๒๑๒๓๑ หน้าทีพ่ ลเมือง๑ ๐.๕(๒๐) ส๒๑๒๓๒ หน้าทพี่ ลเมอื ง๒

ว๒๑๒๐๑ วิทยาศาสตรก์ บั ชีวิต ๑ ๐.๕(๒๐) ว๒๑๒๐๒ วิทยาศาสตร์กบั ชีวติ ๒

ง๒๑๒๐๑ คอมพวิ เตอร์สารสนเทศ ๐.๕(๒๐) ง๒๑๒๐๒ คอมพวิ เตอร์สารสนเทศ๒



อ๒๑๒๐๑ อังกฤษเพ่ือการสอ่ื สาร ๐.๕(๒๐) อ๒๑๒๐๒ องั กฤษเพือ่ การสื่อสาร ๒



กจิ กรรมพฒั นำผู้เรียน ๑.๕(๖๐) กิจกรรมพัฒนำผเู้ รยี น

ก ๑ กิจกรรมแนะแนว ๐.๕(๒๐) ก ๑ กจิ กรรมแนะแนว

ก ๒ กิจกรรมลกู เสอื - เนตรนารี ก ๒ กิจกรรมลูกเสอื - เนตรนารี

ก ๓ กจิ กรรมชมุ นมุ ๐.๕(๒๐) ก ๓ กจิ กรรมชุมนมุ

ก ๔ กจิ กรรมเพอื่ เพ่อื สงั คม ๐.๕(๒๐) ก ๔ กิจกรรมเพอ่ื เพือ่ สงั คม

และสาธารณประโยชน์ และสาธารณประโยชน์

รวมเวลำเรียน ๖๐๐ รวมเวลำเรียน

หมำยเหตุ – วิชาหนา้ ที่พลเมืองจัดการเรยี นการสอนและประเมนิ ผลการเรยี นรู้โดยบรู ณาการในกลุ่มสาระ
การเรียนรูว้ ชิ าสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

๑๘

โครงสรำ้ งหลักสตู รช้นั ปี
ชน้ั มธั ยมศึกษำปที ่ี ๒ โรงเรยี นชุมชนวดั สวุ รรณรังสรรค์
สำนกั งำนเขตพนื้ ทก่ี ำรศกึ ษำประถมศึกษำระยอง เขต ๑

ภาคเรยี นท่ี ๑ หน่วยกติ /ชม. ภาคเรยี นที่ ๒ หนว่ ยกติ /ชม.
รำยวิชำพ้ืนฐำน ๑๑ (๔๔๐)
ท๒๒๑๐๑ ภาษาไทย๑ ๑๑ (๔๔๐) รำยวชิ ำพื้นฐำน ๑.๕(๖๐)
ค๒๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ ๑.๕(๖๐)
ว๒๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑ ๑.๕(๖๐) ท๒๒๑๐๒ ภาษาไทย๒ ๑.๕(๖๐)
ส๒๒๑๐๑ สงั คมศึกษา ฯ ๑ ๑.๕(๖๐)
ส๒๒๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๑ ๑.๕(๖๐) ค๒๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๒ ๐.๕(๒๐)
พ๒๒๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๑ ๑.๐(๔๐)
ศ๒๒๑๐๑ ศิลปะ ๑ ๑.๕(๖๐) ว๒๒๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๒ ๑.๐(๔๐)
ง๒๒๑๐๑ การงานอาชีพฯ๑ ๑.๐(๔๐)
อ๒๒๑๐๑ องั กฤษ ๑ ๑.๕(๖๐) ส๒๒๑๐๓สงั คมศกึ ษา ฯ ๒ ๑.๕(๖๐)
รำยวิชำเพ่มิ เติม ๒.๕(๑๐๐)
ค๒๒๒๐๑ คณติ คิดสนกุ ๑ ๐.๕(๒๐) ส๒๒๑๐๔ ประวัติศาสตร์ ๒ ๐.๕(๒๐)
ส๒๒๒๓๓ หนา้ ที่พลเมอื ง๓ ๐.๕(๒๐)
ว๒๒๒๐๑ วิทยาศาสตร์กับชวี ติ ๑ ๑.๐(๔๐) พ๒๒๑๐๓ สุขศึกษาและพลศึกษา ๒ ๐.๕(๒๐)
ง๒๒๒๐๑ คอมพวิ เตอร์สารสนเทศ๑ ๐.๕(๒๐)
อ๒๒๒๐๑ อังกฤษเพ่ือการส่อื สาร ๑ ๑.๐(๔๐) ศ๒๒๑๐๒ ศลิ ปะ ๒ ๐.๕(๒๐)
กจิ กรรมพฒั นำผเู้ รยี น ๑.๕(๖๐)
ก ๑ กิจกรรมแนะแนว ๑.๐(๔๐) ง๒๒๑๐๒การงานอาชีพฯ๒ ๐.๕(๒๐)
ก ๒ กิจกรรมลกู เสือ - เนตรนารี
ก ๓ กิจกรรมชุมนมุ ๑.๕(๖๐) อ๒๒๑๐๒ อังกฤษ ๒ ๐.๕(๒๐)
ก ๔ กิจกรรมเพื่อเพ่อื สังคม ๐.๕(๒๐)
และสาธารณประโยชน์ ๒.๕(๑๐๐) รำยวชิ ำเพมิ่ เติม
รวมเวลำเรียน ๖๐๐
๐.๕(๒๐) ค๒๒๒๐๒ คณติ คิดสนกุ ๒

๐.๕(๒๐) ส๒๒๒๓๔ หน้าทีพ่ ลเมือง๔

๐.๕(๒๐) ว๒๒๒๐๒ วทิ ยาศาสตร์กบั ชวี ติ ๒

๐.๕(๒๐) ง๒๒๒๐๒ คอมพิวเตอร์สารสนเทศ๒

๐.๕(๒๐) อ๒๒๒๐๒ องั กฤษเพ่ือการสือ่ สาร ๒

๑.๕(๖๐) กจิ กรรมพฒั นำผู้เรียน

๐.๕(๒๐) ก ๑ กิจกรรมแนะแนว

ก ๒ กิจกรรมลกู เสือ - เนตรนารี

๐.๕(๒๐) ก ๓ กจิ กรรมชุมนุม

๐.๕(๒๐) ก ๔ กจิ กรรมเพือ่ เพอื่ สงั คม

และสาธารณประโยชน์

๖๐๐ รวมเวลำเรียน

หมำยเหตุ – วิชาหนา้ ท่พี ลเมืองจดั การเรียนการสอนและประเมนิ ผลการเรยี นร้โู ดยบรู ณาการในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้วชิ าสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

๑๙

โครงสร้ำงหลักสตู รชัน้ ปี
ช้ันมัธยมศึกษำปที ี่ ๓ โรงเรียนชุมชนวัดสวุ รรณรังสรรค์
สำนักงำนเขตพืน้ ท่ีกำรศกึ ษำประถมศกึ ษำระยอง เขต ๑

ภาคเรียนท่ี ๑ หนว่ ยกติ /ชม. ภาคเรยี นที่ ๒ หนว่ ยกิต/ชม.
รำยวชิ ำพ้ืนฐำน ๑๑ (๔๔๐)
ท๒๓๑๐๑ ภาษาไทย๑ ๑๑ (๔๔๐) รำยวชิ ำพน้ื ฐำน ๑.๕(๖๐)
ค๒๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑ ๑.๕(๖๐)
ว๒๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๑ ๑.๕(๖๐) ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย๒ ๑.๕(๖๐)
ส๒๓๑๐๑ สงั คมศึกษา ฯ ๑ ๑.๕(๖๐)
ส๒๓๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๑ ๑.๕(๖๐) ค๒๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๒ ๐.๕(๒๐)
พ๒๓๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๑ ๑.๐(๔๐)
ศ๒๓๑๐๑ ศิลปะ ๑ ๑.๕(๖๐) ว๒๓๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ ๒ ๑.๐(๔๐)
ง๒๓๑๐๑ การงานอาชีพฯ ๑ ๑.๐(๔๐)
อ๒๓๑๐๑ อังกฤษ ๑ ๑.๕(๖๐) ส๒๓๑๐๓สังคมศกึ ษา ฯ ๒ ๑.๕(๖๐)
รำยวชิ ำเพม่ิ เตมิ ๒.๕(๑๐๐)
ค๒๓๒๐๑ คณติ คิดสนุก ๑ ๐.๕(๒๐) ส๒๓๑๐๔ ประวตั ศิ าสตร์ ๒ ๐.๕(๒๐)
ส๒๓๒๓๕ หนา้ ทีพ่ ลเมอื ง๕ ๐.๕(๒๐)
ว๒๓๒๐๑ วิทยาศาสตร์กบั ชีวติ ๑ ๑.๐(๔๐) พ๒๓๑๐๓ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๒ ๐.๕(๒๐)
ง๒๓๒๐๑ คอมพวิ เตอรส์ ารสนเทศ๑ ๐.๕(๒๐)
อ๒๓๒๐๑ อังกฤษเพ่ือการสอ่ื สาร ๑ ๑.๐(๔๐) ศ๒๓๑๐๒ ศิลปะ ๒ ๐.๕(๒๐)
กจิ กรรมพฒั นำผ้เู รียน ๑.๕(๖๐)
ก ๑ กจิ กรรมแนะแนว ๑.๐(๔๐) ง๒๓๑๐๒ การงานอาชพี ฯ ๒ ๐.๕(๒๐)
ก ๒ กิจกรรมลกู เสือ - เนตรนารี
ก ๓ กจิ กรรมชุมนุม ๑.๕(๖๐) อ๒๓๑๐๒ อังกฤษ ๒ ๐.๕(๒๐)
ก ๔ กจิ กรรมเพือ่ เพ่ือสังคม ๐.๕(๒๐)
และสาธารณประโยชน์ ๒.๕(๑๐๐) รำยวิชำเพิม่ เติม
รวมเวลำเรยี น ๖๐๐
๐.๕(๒๐) ค๒๓๒๐๒ คณิตคิดสนกุ ๒

๐.๕(๒๐) ส๒๓๒๓๖ หนา้ ที่พลเมอื ง๖

๐.๕(๒๐) ว๒๓๒๐๒ วิทยาศาสตรก์ บั ชวี ติ ๒

๐.๕(๒๐) ง๒๓๒๐๒ คอมพวิ เตอรส์ ารสนเทศ๒

๐.๕(๒๐) อ๒๓๒๐๒ อังกฤษเพ่อื การสือ่ สาร ๒

๑.๕(๖๐) กิจกรรมพฒั นำผเู้ รยี น

๐.๕(๒๐) ก ๑ กจิ กรรมแนะแนว

ก ๒ กจิ กรรมลกู เสือ - เนตรนารี

๐.๕(๒๐) ก ๓ กิจกรรมชุมนุม

๐.๕(๒๐) ก ๔ กิจกรรมเพื่อเพื่อสังคม

และสาธารณประโยชน์

๖๐๐ รวมเวลำเรียน

หมำยเหตุ – วชิ าหนา้ ทพี่ ลเมืองจัดการเรียนการสอนและประเมินผลการเรยี นรโู้ ดยบูรณาการในกลุ่มสาระ
การเรยี นรวู้ ิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

๒๐

คำอธิบำยรำยวิชำ

คาอธิบายรายวชิ า ประกอบด้วยสาระการเรียนรู้ ๘ กล่มุ สาระพนื้ ฐานและสาระเพ่มิ เตมิ
ต้งั แตช่ ้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ถึง ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ ดังน้ี

สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
สาระการเรยี นร้สู ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา
สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ
สาระการเรียนรู้การงานอาชพี
สาระภาษาการเรียนรูภ้ าษาตา่ งประเทศ(ภาษาองั กฤษ)

๒๑

รำยวชิ ำพ้ืนฐำนกลมุ่ สำระกำรเรียนรภู้ ำษำไทย
ระดับประถมศกึ ษำ

รำยวชิ ำพนื้ ฐำน จานวน ๒๐๐ ชว่ั โมง
ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย จานวน ๒๐๐ ชวั่ โมง
ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย จานวน ๒๐๐ ช่ัวโมง
ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย จานวน ๑๖๐ ชัว่ โมง
ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย จานวน ๑๖๐ ช่วั โมง
ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย จานวน ๑๖๐ ชั่วโมง
ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย

๒๒

คำอธิบำยรำยวชิ ำพ้นื ฐำน

ท๑๑๑๐๑ วชิ ำภำษำไทย ๑ กลมุ่ สำระกำรเรยี นรภู้ ำษำไทย

ชนั้ ประถมศึกษำปีที่ ๑ เวลำ ๒๐๐ ชั่วโมง/ปี

*********************************************************************************

ความรู้ ความเข้าใจ คาส่งั คาแนะนา การอ่านออกเสียง บอกความหมายของคา คาคลอ้ งจอง

ข้อความทีป่ ระกอบดว้ ยคาพ้นื ฐาน คือ คาที่ใช้ในชวี ิตประจาวนั ไมน่ ้อยกว่า ๖๐๐ คา รวมทง้ั คาทใ่ี ช้เรยี นรู้

ในกลมุ่ สาระการเรียนรอู้ ่ืนประกอบด้วยคาที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราและไม่ตรงตามมาตราคาท่ีมพี ยัญชนะ

ควบกลา้ คาทีม่ อี กั ษรนา การอา่ นจับใจความจากสื่อต่างๆ ในกลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทยและกลมุ่ สาระ

การเรียนรอู้ ่นื การอา่ นหนงั สอื ตามความสนใจ มารยาทในการอ่าน การคัดลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทัด

ตามรปู แบบการเขียนตัวอักษรไทย การเขียนส่อื สาร คาท่ีใชใ้ นชีวติ ประจาวัน คาพื้นฐานในบทเรียน

คาคล้องจอง ประโยคง่ายๆ มารยาทในการเขยี น ใชภ้ าษาเขียนเหมาะสมกับเวลา สถานท่ี บคุ คล การฟัง ปฏิบัติ

ตามคาแนะนา คาสงั่ งา่ ยๆ การจับใจความและพดู แสดงความคิดเหน็ ความรูส้ ึกจากเรอื่ งท่ฟี งั ดู ทง้ั ทเ่ี ป็นความรู้

ความบนั เทงิ การพูดสือ่ สารในชีวิตประจาวัน มารยาทในการฟัง มารยาทในการดู มารยาทในการพูด เขา้ ใจ

ธรรมชาติของพยญั ชนะ สระ และวรรณยุกต์ เลขไทย การสะกดคา การแจกลูก และการอ่านเป็นคามาตรา

ตัวสะกดทต่ี รงตามมาตราและไม่ตรงตามมาตรา การผันคา ความหมายของคา การแต่งประโยคคาคลอ้ งจอง

เข้าใจและแสดงความคิดเห็นวรรณกรรมร้อยแกว้ และร้อยกรองสาหรบั เดก็ ทอ่ งบทอาขยาน และบทร้อยกรอง

บทอาขยานตามทก่ี าหนดบทรอ้ ยกรองตามความสนใจ

โดยปฏิบัตติ ามคาส่ังงา่ ยๆศึกษาการอา่ น การเขียน การฟัง การดู การพูดและคดั ลายมือตวั บรรจง

เต็มบรรทัดท้ังพยัญชนะ สระ วรรณยกุ ต์ และเลขไทยได้ ตอบคาถาม เลา่ เรอ่ื งท่ฟี ัง ดู ทอ่ งบทรอ้ ยกรองตาม

ความสนใจอ่านออกเสียงคา คาคล้องจอง ข้อความสนั้ ๆ ตอ่ คาคล้องจองง่ายๆสามารถเรียบเรยี งคาเป็นประโยค

งา่ ย ๆ บอกความหมายของคา ขอ้ ความทอ่ี ่าน บอกความหมายของเครื่องหมายหรอื สญั ลกั ษณส์ าคญั ที่มกั พบ

เห็นในชีวิตประจาวนั และอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสมา่ เสมอ เล่าเร่ืองย่อจากเรอื่ งท่ีอ่าน นาเสนอเรอื่ ง

ทีอ่ ่าน ตอบคาถามเกย่ี วกับเร่อื งท่ีอ่าน คาดคะเนเหตกุ ารณจ์ ากเร่ืองทอ่ี า่ น บอกข้อคิดที่ได้จากการอา่ น การฟงั

วรรณกรรมรอ้ ยแก้วและร้อยกรองสาหรบั เดก็ และพูดแสดงความคิดเหน็ ความรูส้ กึ จากเรื่องทฟ่ี ังและดู

พดู สอ่ื สารไดต้ ามวัตถปุ ระสงค์ สะกดคาท่ีเกี่ยวกับประเพณีของทอ้ งถน่ิ

มุ่งหวงั ให้ผูเ้ รียนมเี จตคติที่ดีตอ่ ภาษาไทยเหน็ คุณค่าภาษาบา้ นเกิดของตนเองและนามา

ประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ จริงตามความสนใจได้ แสดงความรู้ ความคิดและความรู้สกึ ในโอกาสตา่ งๆ อย่างมี

วจิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์ นาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปญั หาในการดาเนนิ ชวี ติ มีนิสัยรักการอา่ นการคดิ วิเคราะห์

สังเคราะหค์ วามรจู้ ากส่งิ ท่อี า่ น นาไปปรบั ใช้ในชีวติ ประจาวนั มีวสิ ยั ทัศน์ในการดาเนินชีวิต มีวนิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้

มที ักษะการคดิ ใหเ้ หตผุ ล รักความเปน็ ไทย ซอื่ สัตย์ รบั ผิดชอบ รักการทางาน รกั ความเป็นไทย การอยู่

อยา่ งพอเพียงและมีจติ สาธารณะ

๒๓

รหัสตัวชี้วดั ป๑/๑, ป๑/๒, ป๑/๓, ป๑/๔, ป๑/๕, ป๑/๖, ป๑/๗, ป๑/๘
ท.๑.๑ ป๑/๑, ป๑/๒, ป๑/๓
ท.๒.๑ ป๑/๑, ป๑/๒, ป๑/๓, ป๑/๔, ป๑/๕
ท.๓.๑ ป๑/๑, ป๑/๒, ป๑/๓, ป๑/๔
ท.๔.๑ ป๑/๑, ป๑/๒
ท.๕.๑

รวม ๒๒ ตวั ช้วี ดั

๒๔

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพืน้ ฐำน

ท ๑๒๑๐๑ วิชำภำษำไทย ๒ กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ ภำษำไทย

ช้นั ประถมศึกษำปีท่ี ๒ เวลำ ๒๐๐ ชั่วโมง/ปี

**********************************************************************************

ความรู้ ความเข้าใจ คาสง่ั คาแนะนา การอ่านออกเสยี งและการบอกความหมายของคา คาคลอ้ งจอง

ข้อความ บทร้อยกรองง่าย ๆ ที่ประกอบด้วยคาพื้นฐานเพ่ิมจาก ป. ๑ ไม่น้อยกว่า ๘๐๐ คา รวมทั้งคาที่ใช้

เรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรูอ้ ื่น ประกอบด้วย คาทีม่ รี ูปวรรณยุกต์ ไม่มรี ูปวรรณยกุ ต์ คาท่ีมีตัวสะกดตรงตาม

มาตราและไม่ตรงตามมาตรา คาท่ีมีพยัญชนะควบกล้า คาท่ีมีอักษรนา คาที่มีตัวการันต์ คาท่ีมี รร คาท่ีมี

พยัญชนะสระท่ีไมอ่ อกเสียง การอ่านจับใจความจากส่ือต่าง ๆ ข่าว เหตุการณ์ประจาวัน การอ่านหนังสือตาม

ความสนใจ มารยาทในการอ่าน มารยาทในการเขียน การฟัง ปฏิบัติตามคาแนะนา คาส่ังที่ซับซ้อนการจับ

ใจความ พูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึกจากเรื่องท่ีฟังและดู มารยาทในการดู มารยาทในการพูด เข้าใจ

ธรรมชาติพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ เลขไทย การสะกดคา การแจกลูก การอ่านเปน็ คามาตราตัวสะกดที่ตรง

ตามมาตรา ไม่ตรงตามมาตรา การผันอักษรกลาง อักษรสูง อักษรต่า คาท่ีมีตัวการันต์ คาที่มพี ยัญชนะควบ

กล้า คาที่มีอักษรนา คาท่ีมีความหมายตรงข้ามกัน คาท่ีมี รร ความหมายของคาการแต่งประโยค การเรียบ

เรยี งประโยคเปน็ ข้อความส้นั ๆ คาคล้องจอง ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถนิ่ บทอาขยาน บทรอ้ ยกรอง

โดยปฏิบัติตามคาสั่งท่ีซับซ้อน คาแนะนา คาช้ีแจงง่าย ๆ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน

การฟัง การดู และการพดู การคดั ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย

เล่าเร่ืองท่ีฟังและดทู ้ังท่เี ปน็ ความรู้และความบันเทิง สามารถตั้งคาถามและตอบคาถามเกี่ยวกับเรื่องท่ีฟังและดู

พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู พูดส่ือสารได้ชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค์

บอกสาระสาคัญของเร่ืองที่ฟังและดู เขียนสะกดคา บอกความหมายของคา เรียบเรียงคาเป็นประโยคได้

ตรงตามเจตนาของการสอื่ สาร บอกลกั ษณะคาคลอ้ งจอง เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถน่ิ ได้เหมาะสม

กับกาลเทศะ อ่านออกเสียงคา คาคล้องจอง ข้อความ บทร้อยกรองง่าย ๆ ได้ถูกต้อง สามารถอธิบาย

ความหมายของคาข้อความที่อ่านได้ตั้งคาถามและตอบคาถามเก่ียวกับเร่ืองท่ีอ่าน ระบุใจความสาคั ญ

และรายละเอียดจากเร่ืองที่อ่าน แสดงความคิดเห็นและคาดคะเนเหตกุ ารณ์จากเรื่องท่ีอ่าน เลือกอ่านหนังสือ

ตามความสนใจอย่างสม่าเสมอนาเสนอเร่ืองที่อ่าน ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมสาหรับ

เด็กเพ่ือนาไปใช้ในชีวิตประจาวันร้องบทร้องเล่นสาหรับเด็กในท้องถ่ิน ท่องจาบทอาขยานตามท่ีกาหนด

เขยี นสะกดคา บอกความหมายของคา เขยี นเรือ่ งสนั้ ๆ เกยี่ วกับประสบการณ์ เขียนเรือ่ งสั้นๆ ตามจินตนาการ

มุ่งหวังให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อภาษาไทย เห็นคุณค่า เรียนรู้ อนรุ ักษ์ สืบสานภาษาไทยให้คงอยู่

คู่ชาติไทยตลอดไป มีวิสัยทัศน์ในการดาเนินชีวิต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มีทักษะการคิด ให้เหตุผล รักความเป็นไทย

ซ่ือสัตย์ รับผิดชอบ รกั การทางาน รักความเป็นไทย การอยู่อยา่ งพอเพียงและมีจิตสาธารณะ

๒๕

รหสั ตัวชี้วดั ป๒/๑, ป๒/๒, ป๒/๓, ป๒/๔, ป๒/๕, ป๒/๖, ป๒/๗, ป๒/๘
ท ๑.๑ ป๒/๑, ป๒/๒, ป๒/๓, ป๒/๔
ท ๒.๑ ป๒/๑, ป๒/๒, ป๒/๓, ป๒/๔, ป๒/๕, ป๒/๖, ป๒/๗
ท ๓.๑ ป๒/๑, ป๒/๒, ป๒/๓, ป๒/๔, ป๒/๕
ท ๔.๑ ป๒/๑, ป๒/๒, ป๒/๓
ท ๕.๑

รวม ๒๗ ตวั ชี้วัด

๒๖

คำอธิบำยรำยวชิ ำพนื้ ฐำน

ท ๑๓๑๐๑ วิชำภำษำไทย ๓ กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ภำษำไทย

ช้ันประถมศกึ ษำปีที่ ๓ เวลำ ๒๐๐ ช่ัวโมง/ปี

**********************************************************************************

ความรู้ ความเข้าใจ การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว อธิบายความหมายของคา ข้อความ เรื่องส้ัน

บทรอ้ ยกรอง การอ่านจับใจความ การตั้งคาถาม ตอบคาถาม การเรียงลาดบั เหตุการณ์ การคาดคะเนเหตุการณ์

สรุปความรู้ ข้อคิด การนาเสนอการเลือกอ่านหนังสือ การระบุขอ้ เขียนอธิบายความหมายข้อมูลจากแผนภาพ

แผนที่ แผนภูมิ การคัดลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทัด การเขียนบรรยายภาพ การเขยี นบันทกึ การ

เขียนจดหมายลาครู การเขียนเรื่องตามจินตนาการ การจบั ใจความสาคัญจากเรื่องที่ไดฟ้ ัง ดู พูดเล่าเรื่อง การ

เล่านิทาน การพูดแสดงความคิดเห็น พูดสือ่ สารในชีวิตประจาวัน การเขียนสะกดคา การอธิบายความหมาย

ของคาระบชุ นดิ และหนา้ ท่ขี องคาเรียนรู้คาพืน้ ฐานไม่น้อยกว่า ๑,๒๐๐ คา การใชพ้ จนานุกรม การ

แต่งประโยคการแต่งคาคล้องจอง คาขวัญ สามารถใช้ภาษามาตรฐาน ภาษาถิ่นในการสื่อสาร การอ่านนิทาน

เรื่องสั้น สารคดี บทความ เพลงพื้นบ้าน เพลงกล่อมเด็ก วรรณคดี วรรณกรรมในบทเรยี น บทอาขยาน บทร้อย

กรอง

โดยปฏิบัติตามคาสั่ง คาแนะนา คาช้ีแจงง่าย ๆ รู้จักเพลงพ้ืนบ้าน เพลงกล่อมเด็ก อ่านออกเสียง

ข้อความ เรื่องส้ันๆ บทร้อยกรองง่ายๆ ได้ถูกต้อง คล่องแคล่ว ท่องจาบทอาขยาน บทร้อยกรอง อธิบาย

ความหมายของคาและข้อความท่ีอ่าน สรุปความรู้ ข้อคิดจากเร่ืองที่อ่านเพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน

อ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดีท่ีอ่าน ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณกรรม

อธิบายความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ แผนที่ แผนภูมิ ระบุชนิด หน้าที่ของคาในประโยค ใช้พจนานุกรม

ค้นหาความหมายของคา เขียนสะกดคา บอกความหมายของคา แต่งประโยคง่ายๆ แต่งคาคล้องจอง

คาขวัญ เลอื กใชภ้ าษาไทยมาตรฐาน ภาษาถน่ิ พูดสื่อสารไดช้ ดั เจนตรงตามวัตถุประสงค์

ม่งุ หวังให้ผูเ้ รยี นมเี จตคตทิ ่ีดีตอ่ ภาษาไทย เห็นคณุ คา่ เรยี นรู้ อนุรักษ์ สืบสานภาษาไทยใหค้ งอยู่

คู่ชาติไทยตลอดไป มีวิสัยทัศน์ในการดาเนินชีวิต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มีทักษะการคิด ให้เหตุผล รักความเป็นไทย

ซอื่ สัตย์ รบั ผิดชอบ รกั การทางาน รกั ความเป็นไทย การอยอู่ ย่างพอเพยี งและมีจิตสาธารณะ

รหสั ตัวชีว้ ัด

ท ๑.๑ ป๓/๑, ป๓/๒ ,ป๓/๓, ป๓/๔, ป๓/๕, ป๓/๖, ป๓/๗, ป๓/๘, ป๓/๙

ท ๒.๑ ป๓/๑, ป๓/๒ ,ป๓/๓, ป๓/๔, ป๓/๕, ป๓/๖

ท ๓.๑ ป๓/๑, ป๓/๒ ,ป๓/๓, ป๓/๔, ป๓/๕, ป๓/๖

ท ๔.๑ ป๓/๑, ป๓/๒ ,ป๓/๓, ป๓/๔, ป๓/๕, ป๓/๖

ท ๕.๑ ป๓/๑, ป๓/๒ ,ป๓/๓, ป๓/๔

รวม ๓๑ ตัวช้วี ัด

๒๗

คำอธิบำยรำยวชิ ำพน้ื ฐำน

ท๑๔๑๐๑ วชิ ำภำษำไทย ๔ กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ภำษำไทย

ช้ันประถมศกึ ษำปีที่ ๔ เวลำ ๑๖๐ ชว่ั โมง/ปี

**********************************************************************************
พฒั นาทักษะ ความรแู้ ละความคิดเก่ยี วกบั การอ่านออกเสยี งและการบอกความหมายของบทร้อยแก้ว

และบทร้อยกรองที่ประกอบด้วยคาที่มี ร ล เป็นพยัญชนะต้น คาที่มีพยัญชนะควบกล้าคาที่มีอักษรนา
คาประสม อักษรย่อและเคร่ืองหมายวรรคตอน ประโยคที่มีสานวนเป็นคาพังเพย สุภาษิต ปริศนาคาทาย
และเครื่องหมายวรรคตอน การอ่านบทร้อยกรองเป็นทานองเสนาะ การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆ เรอื่ งเล่า
จากประสบการณ์ นิทานชาดก บทความ บทโฆษณา งานเขียนระเภทโนม้ น้าวใจข่าวและเหตกุ ารณ์ประจาวัน
สารคดแี ละบันเทงิ คดี การอ่านหนังสอื ตามความสนใจ มมี ารยาทในการอา่ น การคดั ลายมือตามรปู แบบการ
เขียนตวั อักษรไทย การเขยี นส่อื สาร การเขียนย่อความจากส่อื ต่างๆนทิ าน ความเรียงประเภทต่าง ๆ ประกาศ
การเขียนจดหมาย เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า การเขียนเร่ืองตามจินตนาการ มี
มารยาทในการเขียน การจาแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเร่ืองที่ฟังและดูในชีวิตประจาวัน การจับ
ใจความสั้นๆ การพูดลาดบั เหตุการณ์ มารยาทในการฟัง การดู และการพูด คาในแม่ ก กา มาตราตัวสะกด
การผันอักษร คาเป็นคาตาย คาพ้อง ชนิดของคา การใช้พจนานุกรม ประโยค คาขวัญ สานวน ท่ีเป็นคา
พงั เพยและสุภาษิต ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถิ่น นิทานพื้นบ้าน นิทานคติธรรมเพลงพ้ืนบ้าน ภาษาไทย
เป็นทักษะท่ีต้องฝึกฝนจนเกิดความชานาญในการใช้ภาษาเพ่ือการส่ือสาร การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ
และเพื่อนาไปใชใ้ นชวี ิตจริงโดยใชท้ ักษะการแสดงหาความรแู้ ละการศึกษาดว้ ยตนเอง เช่น เห็นคุณค่าสิ่งที่อา่ น
วรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน จินตนาการอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์วิจารณ์ และเขียนเชิงสร้างสรรค์
แสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ตามความสนใจได้ แสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
นาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต นอกจากน้ีภาษาไทยยังเป็นส่ือแสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ
ด้านวัฒนธรรม ประเพณี และสุนทรยี ภาพ เป็นสมบัตลิ ้าคา่ ควรแกก่ ารเรียนรู้ อนรุ ักษ์ และสืบสานใหค้ งอยู่
คู่ชาติไทยตลอดไป เพือ่ ใหเ้ กดิ ความซาบซึง้ และภมู ิใจในบรรพบุรุษทไี่ ด้สง่ั สมสืบทอดมาจนถึงปจั จุบนั

รหสั ตัวชี้วัด ป๔/๑, ป๔/๒, ป๔/๓, ป๔/๔, ป๔/๕, ป๔/๖, ป๔/๗, ป๔/๘
ท ๑.๑ ป๔/๑, ป๔/๒, ป๔/๓, ป๔/๔, ป๔/๕, ป๔/๖, ป๔/๗, ป๔/๘
ท ๒.๑ ป๔/๑, ป๔/๒, ป๔/๓, ป๔/๔, ป๔/๕, ป๔/๖
ท ๓.๑ ป๔/๑, ป๔/๒, ป๔/๓, ป๔/๔, ป๔/๕, ป๔/๖, ป๔/๗
ท ๔.๑ ป๔/๑, ป๔/๒, ป๔/๓, ป๔/๔
ท ๕.๑

รวม ๓๓ ตวั ช้วี ัด

๒๘

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพ้นื ฐำน

ท๑๕๑๐๑ วิชำภำษำไทย ๕ กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ภำษำไทย

ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๕ เวลำ ๑๖๐ ชั่วโมง/ปี

**********************************************************************************

พัฒนาทักษะความรูแ้ ละการคิดในการอ่านออกเสียงและการบอกความหมายของบทร้อยแก้วและบท

ร้อยกรอง อ่านทานองเสนาะ และอ่านเร่ืองที่ประกอบด้วยคาท่ีมีพยัญชนะควบกล้า คาที่มีอักษรนา คาท่ีมีตัว

การันต์ อกั ษรยอ่ และเครื่องหมายวรรคตอน ขอ้ ความท่ีเปน็ การบรรยายและพรรณนา ข้อความท่ีมคี วามหมาย

โดยนยั การอ่านบทร้อยกรองเป็นทานองเสนาะ การอ่านจบั ใจความจากส่อื ต่าง ๆ เช่น วรรณคดี ในบทเรียน

บทความ บทโฆษณา งานเขียนประเภทโนม้ น้าวใจ ข่าวและเหตกุ ารณ์ประจาวนั การอ่านงานเขยี นเชิงอธบิ าย

คาส่ัง ข้อแนะนา และปฏิบัตติ าม การใช้พจนานุกรม การใช้วัสดุอุปกรณ์ การอ่านฉลากยา คู่มือและเอกสาร

ของโรงเรียนท่ีเกี่ยวข้องกบั นักเรียน เอกสารทางราชการ การอ่านหนังสือตามความสนใจและเหมาะสมกับวัย

หนังสือท่คี รูและนกั เรยี นกาหนดรว่ มกนั มารยาทในการอา่ น การคัดลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทัดตามอักขรวิธี

ไทย เขียนสื่อสารโดยใช้คาได้ถูกต้อง การนาแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดไปพัฒนางานเขียน

เขียนย่อความจากส่ือต่าง ๆ ความเรียงประเภทต่าง ๆ ประกาศ แจ้งความ แถลงการณ์ จดหมาย คาสอน

โอวาท คาปราศรัย การเขียนจดหมาย การเขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็น การกรอกแบบรายการ

การเขียนเรื่องตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขียน การจับใจความสาคัญและพูดแสดงความรู้ ความคิด

ในเร่ืองท่ีฟังและดูจากสื่อต่าง ๆ การวิเคราะห์ความน่าเช่ือถือจากเร่ืองท่ีฟังและดูในชีวิตประจาวัน การต้ัง

คาถามและตอบคาถาม การรายงาน การพูดลาดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน การพูดลาดับเหตุการณ์ มารยาท

ในการฟัง การดู และการพูด ชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค การเปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐาน

กับภาษาถน่ิ คาราชาศัพท์ คาที่มาจากภาษาต่างประเทศ การแตง่ บทรอ้ ยกรอง การใช้สานวนที่เป็นคาพังเพย

และสภุ าษิต การสรปุ ข้อคิดจากวรรณคดีหรอื วรรณกรรมที่อา่ นตามความสนใจ การท่องจาบทอาขยานและบท

ร้อยกรองท่ีมคี ณุ ค่า

เห็นคุณค่าส่ิงท่ีอ่าน วรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน จินตนาการอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิจารณ์

และเขียนเชิงสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนามา

ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงตามความสนใจได้ แสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมี

วิจารณญาณและสร้างสรรค์ นาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน เพ่ือนาไป

ปรับใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน

พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม

และความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนาไปใช้ในการพัฒนาอาชีพให้มีความม่ันคง

ทางเศรษฐกิจ นอกจากน้ียงั เปน็ สือ่ แสดงภูมปิ ญั ญาของบรรพบรุ ุษดา้ นวฒั นธรรม ประเพณี และสุนทรยี ภาพ

เปน็ สมบตั ลิ า้ ค่าควรแก่การเรียนรู้ อนรุ ักษ์ และสบื สานให้คงอยู่คู่ชาตไิ ทยตลอดไป

๒๙

รหัสตัวชีว้ ดั
ท ๑.๑ ป๕/๑, ป๕/๒, ป๕/๓, ป๕/๔, ป๕/๕, ป๕/๖, ป๕/๗, ป๕/๘
ท ๒.๑ ป๕/๑, ป๕/๒, ป๕/๓, ป๕/๔, ป๕/๕, ป๕/๖, ป๕/๗, ป๕/๘, ป๕/๙
ท ๓.๑ ป๕/๑, ป๕/๒, ป๕/๓, ป๕/๔, ป๕/๕
ท ๔.๑ ป๕/๑, ป๕/๒, ป๕/๓, ป๕/๔, ป๕/๕, ป๕/๖, ป๕/๗
ท ๕.๑ ป๕/๑, ป๕/๒, ป๕/๓, ป๕/๔
รวม ๓๓ ตัวชวี้ ดั

๓๐

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพ้ืนฐำน

ท ๑๖๑๐๑ วิชำภำษำไทย ๖ กลุ่มสำระกำรเรียนร้ภู ำษำไทย
ช้ันประถมศึกษำปที ี่ ๖ เวลำ ๑๖๐ ชั่วโมง/ปี

**********************************************************************************
พัฒนาความรู้และการคิดในการอ่านออกเสียงร้อยแก้วที่เป็นโวหารต่างๆ ประกอบด้วย คาที่มี

พยญั ชนะควบกลา้ คาท่ีมอี ักษรนา คาท่มี ีตัวการนั ต์ คาทมี่ าจากภาษาต่างประเทศ อักษรยอ่ และเครือ่ งหมาย
วรรคตอน วัน เดือน ปีแบบไทย ข้อความท่ีเป็นโวหารต่าง ๆ สานวนไทยท่ีเป็นคาพังเพยและสุภาษิต
และการอ่านทานองเสนาะบทรอ้ ยกรองเปน็ โวหารตา่ งๆ รวมทั้งการอ่านจับใจความจากสอ่ื ต่าง ๆ การอา่ นงาน
เขียนเชิงอธิบาย คาส่ัง ข้อแนะนา และการปฏิบัติตนในการอยู่ร่วมกันในสังคม การอ่านข้อมูลจากแผนผัง
แผนท่ี แผนภูมิ และกราฟ การอ่านหนังสือตามความสนใจ และมีมารยาทในการอ่าน การคัดลายมือตัว
บรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย การเขียนสื่อสาร การเขียนแผนภาพ
โครงเร่ืองและแผนภาพความคิด การเขียนเรียงความ การเขียนย่อความจากวรรณคดีและวรรณกรรม
ในหนังสือเรียนหรือส่อื ต่าง ๆ การเขียนจดหมาย การกรอกแบบรายการ แบบกรอกคารอ้ งตา่ ง ๆ การเขยี น
เร่ืองตามจินตนาการ การเขียนโน้มน้าวใจ และมารยาทในการเขียน การพูดแสดงความรู้ ความเข้าใจ
และวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของเร่ืองที่ฟังและดูจากสื่อต่าง ๆ นิทรรศการ สื่อสังคมออนไลน์ การพูด
นาเสนอรายงานการศึกษา การพูดโน้มน้าวในสถานการณ์ต่าง ๆและ มารยาทในการฟัง การดูและการพูด
ชนิดและหน้าท่ีของคา คาราชาศัพท์ ระดับภาษา คาท่ีมาจากภาษาต่างประเท การวิเคราะห์ส่วนประกอบ
ของประโยค และสานวนไทยทเ่ี ป็นคาพังเพยและสภุ าษิต วรรณคดีและวรรณกรรม

ภาษาไทยเป็นทักษะที่ต้องฝึกฝนจนเกิดความชานาญในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร การเรียนรู้
อย่างมีประสิทธิภาพ และเพ่ือนาไปใช้ในชีวิตจริงโดยใช้ทักษะการแสดงหาความรู้และการศึกษาด้วยตนเอง
และนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงตามความสนใจได้ แสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในโอกาสต่างๆ
อย่างมีวจิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์ นาไปใชต้ ดั สินใจ แกป้ ญั หาในการดาเนินชวี ติ และมนี ิสยั รักการอา่ นการคิด
วิเคราะห์ สังเคราะหค์ วามรจู้ ากส่ิงท่ีอ่าน เพอื่ นาไปปรับใชใ้ นชีวติ ประจาวนั

พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงทางสังคม
และความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนาไปใช้ในการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคงทาง
เศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังเป็นสื่อแสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม ประเพณี และสุนทรียภาพ
เป็นสมบตั ิลา้ ค่าควรแก่การเรียนรู้ อนรุ กั ษ์ และสบื สานให้คงอยู่ค่ชู าตไิ ทยตลอดไป

๓๑

ตวั ชีว้ ดั ป ๖/๑, ป ๖/๒,ป ๖/๓,ป ๖/๔,ป ๖/๕,ป ๖/๖,ป ๖/๗,ป ๖/๘,ป ๖/๙
ท ๑.๑ ป ๖/๑, ป ๖/๒,ป ๖/๓,ป ๖/๔,ป ๖/๕,ป ๖/๖,ป ๖/๗,ป ๖/๘,ป ๖/๙
ท ๒.๑ ป ๖/๑, ป ๖/๒,ป ๖/๓,ป ๖/๔,ป ๖/๕,ป ๖/๖
ท ๓.๑ ป ๖/๑, ป ๖/๒,ป ๖/๓,ป ๖/๔,ป ๖/๕,ป ๖/๖
ท ๔.๑ ป ๖/๑, ป ๖/๒,ป ๖/๓,ป ๖/๔
ท ๕.๑

รวม ๓๔ ตวั ช้ีวัด

๓๒

รำยวิชำพื้นฐำนกล่มุ สำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย
ระดับมธั ยมศกึ ษำตอนตน้

รำยวิชำพน้ื ฐำน หน่วยกิต เวลำ
ท ๒๑๑๐๑ ภาษาไทย จานวน ๑.๕ ๖๐ ชั่วโมง
ท ๒๑๑๐๒ ภาษาไทย จานวน ๑.๕ ๖๐ ชั่วโมง
ท ๒๒๑๐๑ ภาษาไทย จานวน ๑.๕ ๖๐ ชั่วโมง
ท ๒๒๑๐๒ ภาษาไทย จานวน ๑.๕ ๖๐ ชั่วโมง
ท ๒๓๑๐๑ ภาษาไทย จานวน ๑.๕ ๖๐ ช่วั โมง
ท ๒๓๑๐๒ ภาษาไทย จานวน ๑.๕ ๖๐ ชวั่ โมง

๓๓

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพ้ืนฐำน

ท ๒๑๑๐๑ วชิ ำภำษำไทย ๑ กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ภำษำไทย

ชนั้ มัธยมศึกษำปที ่ี ๑ ภำคเรียนที่ ๑ เวลำ ๖๐ ช่ัวโมง/๑.๕ หน่วยกิต

**********************************************************************************

ศึกษาการอ่านออกเสียงบทรอ้ ยแก้วท่เี ปน็ บทบรรยาย บทร้อยกรองทเ่ี ปน็ กลอนสภุ าพ กลอนสกั วา

กาพยย์ านี ๑๑ กาพย์ฉบงั ๑๖ จับใจความสาคัญท่เี ป็นเรื่องเลา่ จากประสบการณ์ เรือ่ งส้ัน บทสนทนา นิทาน

ชาดก วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน งานเขยี นเชิงสร้างสรรค์ ระบุเหตแุ ละผล ขอ้ เทจ็ จรงิ กบั ข้อคิดเหน็

ขอ้ สังเกตและความสมเหตุสมผลของงานเขยี นประเภทชกั จูง โนม้ น้าวใจ อธิบายคาเปรียบเทียบและคาท่ีที

หลายความหมายในบริบทจากการอ่าน ตีความคายากในเอกสารทางวิชาการ โดยพจิ ารณาจากบริบทมมี ารยาท

ในการอา่ น คดั ลายมือตัวบรรจงครง่ึ บรรทดั ตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย เขยี นสอ่ื สารเกี่ยวกับการแนะนา

ตนเอง สถานท่ีสาคัญ เขยี นบนสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เขยี นบรรยายประสบการณ์ โดยใชถ้ ้อยคาถูกต้องชัดเจน

เหมาะสม สละสลวย เรยี งความเชิงพรรณนา ยอ่ ความจากเรื่องสน้ั คาสอน โอวาทคาปราศรัย สุนทรพจน์

รายงาน ระเบียบ คาส่ัง บทสนทนา เรอื่ งเลา่ ประสบการณ์ มมี ารยาทใน การเขียน จบั ใจความสาคัญ สรุปความ

พูดแสดงความรู้ ความคดิ สร้างสรรค์ จากเรื่องทีฟ่ ังและดู พดู ประเมนิ ความน่าเชอ่ื ถอื ของสื่อทมี่ ีเนอ้ื หาโนม้ นา้ ว

มมี ารยาทในการฟงั การดู การพดู อธิบายลักษณะของเสียงในภาษาไทย การสรา้ งคาประสม คาซ้า คาซ้อน

คาพ้อง วเิ คราะหช์ นดิ และหนา้ ท่ีของคาในประโยค สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรม ความรู้ ขอ้ คดิ

จากการอ่านเพอื่ ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ จริง วิเคราะห์คุณค่าและขอ้ คิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมในท้องถิน่ ท่ีอ่าน

พรอ้ มใหเ้ หตผุ ลประกอบทอ่ งจาบทอาขยานท่กี าหนดและบทร้อยกรองทมี่ ีคุณค่าตามความสนใจ

โดยใช้กระบวนการทางภาษา กระบวนการอา่ นคิดวิเคราะห์ การสืบคน้ ความรู้ การจดบนั ทึก

ใชค้ วามสามารถในการคิด การอภปิ ราย การแสดงความคิดเหน็ การลงความคดิ เห็น การตคี วาม การสรุปความ

ฝึกทักษะการอา่ นและการเขยี น การฟงั การดู และการพดู เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจใน การเรียนรู้

ใช้ความสามารถในการส่อื สารกับผู้อนื่ ใหเ้ ข้าใจตรงกนั เหน็ คุณคา่ ของภาษาไทย

เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ผู้มคี ุณลักษณะอนั พึงประสงค์ มมี ารยาทในการอา่ น การเขยี น การฟงั การดแู ละการพูด

เห็นคุณค่าภาษาไทยซง่ึ เป็นเอกลกั ษณ์ของชาติ รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซ่ือสตั ยส์ ุจรติ มวี นิ ัย ใฝ่เรยี นรู้

อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมนั่ ในการทางาน รักความเป็นไทยและมีจิตสาธารณะเพื่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างมี

ประสทิ ธภิ าพ ภาคภมู ใิ จในภาษาไทย และรักษาไว้เป็นสมบัตขิ องชาติ เพ่อื นาความรทู้ ไ่ี ด้ไปใชแ้ กป้ ัญหา

ในการดาเนินชีวติ อย่างมีวิจารณญาณ และสรา้ งสรรค์ สอดคล้องตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รหสั ตวั ชี้วดั

ท ๑.๑ ม๑/๑ ม๑/๒ ม๑/๓ ม๑/๔ ม๑/๕ ม๑/๖ ม๑/๙

ท ๒.๑ ม๑/๑ ม๑/๒ ม๑/๓ ม๑/๔ ม๑/๕ ม๑/๙

ท ๓.๑ ม๑/๑ ม๑/๒ ม๑/๓ ม๑/๔ ม๑/๖

ท ๔.๑ ม๑/๑ ม๑/๒ ม๑/๓

ท ๕.๑ ม๑/๑ ม๑/๒ ม๑/๓ ม๑/๔ ม๑/๕

รวม ๒๖ ตัวช้ีวัด

๓๔

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพน้ื ฐำน

ท ๒๑๑๐๒ วิชำภำษำไทย ๒ กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ภำษำไทย

ช้ันมธั ยมศึกษำปที ่ี ๑ ภำคเรียนท่ี ๒ เวลำ ๖๐ ชั่วโมง/๑.๕ หนว่ ยกติ

**********************************************************************************

ศกึ ษาหลกั การอา่ นจับใจความสาคัญ ระบุขอ้ สังเกตและความสมเหตุสมผลจากการอ่านงานเขียน
ประเภทชกั จงู โน้มน้าวใจ ปฏิบตั ิตามเอกสารคมู่ ือแนะนาต่าง ๆ เลือกอ่านหนงั สือตามความสนใจ วิเคราะห์
คณุ ค่าท่ไี ดร้ ับจากการอา่ น งานเขยี นต่าง ๆ เพ่อื นาไปใชแ้ ก้ปัญหาในชวี ิต เขียนแสดงความคิดเห็น จดหมาย
รายงาน โครงงาน พูดประเมินความนา่ เช่ือถือของสอื่ พูดรายงาน วิเคราะห์ความแตกตา่ งของภาษาพูด
และภาษาเขยี น แต่งกาพยย์ านี จาแนกและใช้สานวนท่ีเป็นคาพังเพยและสุภาษติ สรุปความรู้ ขอ้ คิดจาก
การอ่านวรรณคดแี ละวรรณกรรม รวมท้ังวรรณกรรมพ้นื บา้ น ท่องจาบทอาขยานและบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่า
ตามความสนใจ

โดยใช้กระบวนการทางภาษา กระบวนการกลุ่มสัมพนั ธ์ จดั การเรยี นรู้เพือ่ พฒั นาความคดิ เรยี นรู้
แบบโครงงาน ใหร้ ้วู ธิ กี ารแก้ปัญหาอย่างเปน็ ระบบ วางแผน คิดวเิ คราะห์ ประเมนิ ผล การแสดงความคิดเหน็
การลงความคิดเหน็ การตคี วาม การสรปุ ความ ฝึกทักษะการอา่ นและการเขียน การฟังการดูและการพดู
เพอื่ ใหเ้ กิดความรู้ ความเข้าใจในการเรยี นรู้ ฝึกการเป็นผู้นาและผูต้ าม มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยี
สามารถสรา้ งองค์ความรู้ นาเสนอความรู้

โดยใชก้ ระบวนการฝึกทกั ษะการอา่ น เขียน ฟัง ดู พดู คิดวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ ลง ลงสรุป เพือ่ ให้เกดิ
ความรู้ความคิด ความเขา้ ใจ การวิเคราะห์ การตดั สินใจ และสามารถนาความรู้ทีไ่ ด้ประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตจริง
ให้สอดคลอ้ งกบั หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง แก้ปัญหาในการดาเนินชีวติ อยา่ งมวี ิจารณญาณ และสรา้ งสรรค์
สอดคล้องตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีนสิ ยั รักการอา่ น มีมารยาทที่ดีทง้ั ในด้านการอา่ น เขียน ฟงั ดู
พูด รักและภาคภมู ใิ จในภาษาไทย ใช้ภาษาไทยได้อย่างมวี ัฒนธรรม ถูกต้องสละสลวย เหมาะสมกับกาลเทศะ
และบุคคลท้งั ในการพูดและการเขียน

รหัสตัวชี้วดั
ท ๑.๑ ม๑/๑ ม๑/๒ ม๑/๓ ม๑/๔ ม๑/๕ ม๑/๖ ม๑/๗ ม๑/๘ ม๑/๙
ท ๒.๑ ม๑/๖ ม๑/๗ ม๑/๘ ม๑/๙
ท ๓.๑ ม๑/๕ ม๑/๖
ท ๔.๑ ม๑/๔ ม๑/๕ ม๑/๖
ท ๕.๑ ม๑/๑ ม๑/๒ ม๑/๓ ม๑/๔

รวม ๒๒ ตัวชี้วัด

๓๕

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพ้ืนฐำน

ท ๒๒๑๐๑ วชิ ำภำษำไทย ๓ กล่มุ สำระกำรเรยี นรภู้ ำษำไทย

ชัน้ มัธยมศึกษำปีที่ ๒ ภำคเรยี นท่ี ๑ เวลำ ๖๐ ช่ัวโมง/๑.๕ หน่วยกิต

**********************************************************************************

ศึกษาหลักการอา่ นออกเสียงให้ถูกตอ้ ง จับใจความสาคญั ของเรือ่ งท่ีอา่ น เขียนแผนผังความคดิ
แสดงความคิดเห็นและขอ้ โต้แย้งจากการอ่าน ฝกึ คดั ลายมอื ตัวบรรจงครึง่ บรรทดั เขยี นบรรยาย พรรณนา
เรยี งความ ย่อความ พดู สรุปใจความสาคัญจากการฟังและการดู วเิ คราะหข์ อ้ เท็จจริงและขอ้ คดิ เห็น วจิ ารณ์
เร่อื งท่ฟี ังและดไู ด้อยา่ ง มีเหตุผล สรา้ งคาสมาส วิเคราะหโ์ ครงสรา้ งของประโยค ฝึกการใช้คาราชาศัพท์ สรุป
เน้อื หา วเิ คราะหแ์ ละวจิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมท้องถนิ่ ท่อี ่าน สรุปความร้แู ละขอ้ คิดจากการอ่าน
ไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตจริง

โดยใช้กระบวนการทางภาษา การสบื คน้ ความรู้ การจดบนั ทกึ ใชค้ วามสามารถในการคดิ การอภิปราย
เพอื่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในการเรยี นรู้ ใชค้ วามสามารถในการส่ือสารกบั ผู้อื่นใหเ้ ข้าใจตรงกนั เห็นคุณคา่
ของภาษาไทย นาความรูไ้ ปในการแกป้ ัญหาใหเ้ กิดประโยชนใ์ นชวี ิต เป็นผู้มีคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
มมี ารยาทในการอ่าน การเขยี น การฟงั การดแู ละการพูด เหน็ คุณค่าภาษาไทยซงึ่ เปน็ เอกลักษณข์ องชาติ
รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซ่อื สัตยส์ ุจริต มีวินยั ใฝ่เรียนรู้ อยอู่ ยา่ งพอเพียง มงุ่ มน่ั ในการทางาน รกั ความเปน็ ไทย
และมจี ิตสาธารณะเพ่อื ใหเ้ กดิ การเรียนรอู้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ภาคภูมิใจในภาษาไทย และรักษาไว้เป็นสมบตั ิ
ของชาติ

เพอ่ื ให้เกดิ ความรู้ความคิด ความเข้าใจ การวเิ คราะห์ การตดั สินใจ และสามารถนาความร้ทู ่ีได้
ไปใชแ้ ก้ปัญหาในการดาเนนิ ชวี ติ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ และสรา้ งสรรค์ สอดคล้องตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ
พอเพียง มีนสิ ัยรักการอ่าน มมี ารยาททด่ี ีทั้งในดา้ นการอ่าน เขยี น ฟงั ดู พูด รกั และภาคภูมใิ จในภาษาไทย
ใชภ้ าษาไทยได้อยา่ งมีวัฒนธรรม ถกู ต้องสละสลวย เหมาะสมกบั กาลเทศะและบคุ คลทง้ั ในการพูดและการเขียน

รหัสตวั ชี้วดั
ท ๑.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔
ท ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔
ท ๓.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓
ท ๔.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๔
ท ๕.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓

รวม ๑๗ ตวั ช้ีวดั

๓๖

คำอธิบำยรำยวชิ ำพ้นื ฐำน

ท ๒๒๑๐๒ วชิ ำภำษำไทย ๔ กล่มุ สำระกำรเรียนรภู้ ำษำไทย

ชน้ั มัธยมศึกษำปีท่ี ๒ ภำคเรียนท่ี ๒ เวลำ ๖๐ ชว่ั โมง/๑.๕ หน่วยกติ

**********************************************************************************

ศึกษาหลักการวเิ คราะห์จาแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น ระบขุ อ้ สังเกตการชวนเชือ่ จากเรอ่ื งท่อี า่ น
อา่ นหนงั สอื และประเมินคุณคา่ จากการอา่ นเพอ่ื นาไปใช้แก้ปญั หาในชวี ิต เขียนรายงานจากการศกึ ษาคน้ คว้า
จดหมายกิจธุระ วิเคราะห์วจิ ารณแ์ สดงความคิดเห็นเรอ่ื งที่อ่านอย่างมเี หตผุ ล พูดในโอกาสต่าง ๆ พดู รายงาน
จากการศึกษาคน้ คว้า แตง่ กลอนสุภาพ รวบรวมและอธบิ ายความหมายของคาภาษาต่างประเทศท่ีใช้
ในภาษาไทย อธบิ ายคุณค่าของวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีอา่ น ท่องจาบทอาขยานและบทรอ้ ยกรองทม่ี ีคุณค่า
ตามความสนใจ

โดยใช้กระบวนการทางภาษา กระบวนการกลุม่ สมั พนั ธ์ จัดการเรียนรู้เพื่อพฒั นาความคดิ เรียนรู้
แบบโครงงาน ให้รู้วิธีการแก้ปญั หาอยา่ งเป็นระบบ วางแผน คิดวิเคราะห์ ประเมินผล ฝึกการเป็นผู้นา
และผตู้ าม มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยี สามารถสรา้ งองค์ความร้ไู ปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวติ ประจาวัน
มีคุณธรรม จริยธรรม และมีมารยาทในการใชภ้ าษา เปน็ ผู้มีคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ มมี ารยาทในการอ่าน
การเขียน การฟงั การดแู ละการพดู เหน็ คุณค่าภาษาไทยซ่งึ เป็นเอกลกั ษณข์ องชาติ รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
ซือ่ สัตยส์ ุจรติ มีวินัย ใฝเ่ รียนรู้ อย่อู ย่างพอเพียง มุ่งม่นั ในการทางาน รกั ความเปน็ ไทยและมจี ิตสาธารณะ
เพือ่ ใหเ้ กิดการเรยี นรูอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ภาคภูมิใจในภาษาไทย และรกั ษาไว้เปน็ สมบัตขิ องชาติ

เพ่ือใหเ้ กิดความรู้ความคดิ ความเข้าใจ การวิเคราะห์ การตัดสินใจ และสามารถนาความรทู้ ไ่ี ด้ไปใช้
แก้ปัญหาในการดาเนินชีวติ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ และสรา้ งสรรค์ สอดคล้องตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
มีนิสัยรกั การอ่าน มมี ารยาทท่ดี ีทงั้ ในดา้ นการอา่ น เขยี น ฟงั ดู พูด รักและภาคภมู ิใจในภาษาไทย ใช้ภาษาไทย
ได้อย่างมวี ฒั นธรรม ถกู ต้องสละสลวย เหมาะสมกบั กาลเทศะและบคุ คลท้งั ในการพูดและการเขยี น

รหสั ตัวช้ีวดั
ท ๑.๑ ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘
ท ๒.๑ ม.๒/๒, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘
ท ๓.๑ ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖
ท ๔.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕
ท ๕.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕

รวม ๒๔ ตัวช้ีวดั

๓๗

คำอธิบำยรำยวชิ ำพน้ื ฐำน

ท ๒๓๑๐๑ วิชำภำษำไทย ๕ กลุม่ สำระกำรเรยี นรภู้ ำษำไทย

ชนั้ มธั ยมศึกษำปที ี่ ๓ ภำคเรียนที่ ๑ เวลำ ๖๐ ชั่วโมง/๑.๕ หนว่ ยกิต

**********************************************************************************

ศกึ ษาหลกั การอา่ นออกเสยี งได้ถกู ต้อง เหมาะสม ระบุความแตกต่างของคา ใจความสาคญั
และรายละเอยี ดของข้อมลู ท่ีสนบั สนุนจากเรื่องท่ีอ่าน เขียนกรอบความคดิ วเิ คราะห์วจิ ารณ์และประเมินเรอื่ ง
ท่ีอ่านโดยใชก้ ลวิธีการเปรยี บเทยี บ ประเมินความถกู ตอ้ งของข้อมูลทใ่ี ช้สนบั สนุนในเรอื่ งท่อี า่ น ฝึกการคดั
ลายมอื เขยี นขอ้ ความ ชวี ประวัติ ยอ่ ความ จดหมายกจิ ธุระ อธบิ าย ชแ้ี จงแสดงความคิดเห็น และโต้แย้งอยา่ งมี
เหตุผล พดู แสดงความคิดเหน็ พดู วิเคราะห์ วิจารณ์เรอ่ื งท่ฟี งั และดเู พอ่ื นาข้อคิดมาประยุกตใ์ ช้ในการดาเนิน
ชวี ติ พดู รายงานการศึกษาค้นคว้าเกีย่ วกบั ภมู ิปัญญาท้องถิ่น จาแนกและใชค้ าทมี่ าจากภาษาตา่ งประเทศ
วเิ คราะหป์ ระโยคซบั ซ้อน ระดบั ภาษา สรุปเน้อื หาวรรณคดีและวรรณกรรมทอ้ งถ่นิ วเิ คราะหว์ ิถไี ทยและคณุ คา่
จากการอา่ นวรรณกรรม

โดยใช้กระบวนการทางภาษา การสืบค้นความรู้ การจดบนั ทึก ใช้ความสามารถในการคดิ การอภปิ ราย
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในการเรียนรู้ ใชค้ วามสามารถในการสือ่ สารกับผอู้ ่นื ใหเ้ ข้าใจตรงกนั เหน็ คุณค่า
ของภาษาไทย นาความรูไ้ ปใช้ในการแกป้ ัญหาให้เกิดประโยชน์ในชีวิต เปน็ ผมู้ คี ุณลกั ษณะ อนั พึงประสงค์
มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดูและการพูด เหน็ คณุ ค่าภาษาไทยซ่งึ เป็นเอกลักษณ์ของชาติ
รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ซอื่ สัตยส์ ุจริต มวี นิ ัย ใฝ่เรียนรู้ อยูอ่ ย่างพอเพียง มงุ่ มน่ั ในการทางาน รกั ความเปน็ ไทย
และมจี ติ สาธารณะเพอ่ื ใหเ้ กิดการเรยี นรูอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ภาคภมู ิใจในภาษาไทย และรักษาไวเ้ ป็นสมบัติ
ของชาติ

เพ่อื ให้เกิดความรู้ความคิด ความเขา้ ใจ การวิเคราะห์ การตัดสินใจ และสามารถนาความร้ทู ไ่ี ด้ไปใช้
แก้ปัญหาในการดาเนินชีวิตอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และสรา้ งสรรค์ สอดคลอ้ งตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
มีนิสัยรักการอ่าน มมี ารยาททด่ี ีทงั้ ในดา้ นการอ่าน เขียน ฟงั ดู พูด รกั และภาคภูมิใจในภาษาไทย ใช้ภาษาไทย
ไดอ้ ย่างมีวฒั นธรรม ถูกตอ้ งสละสลวย เหมาะสมกบั กาลเทศะและบุคคลทั้งในการพูดและการเขยี น

รหสั ตัวช้ีวัด ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖
ท ๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖
ท ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓
ท ๓.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓
ท ๔.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒
ท ๕.๑

รวม ๒๐ ตัวชี้วดั

๓๘

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพืน้ ฐำน

ท ๒๓๑๐๒ วิชำภำษำไทย ๖ กลุม่ สำระกำรเรยี นรู้ภำษำไทย

ช้ันมธั ยมศึกษำปที ่ี ๓ ภำคเรยี นที่ ๒ เวลำ ๖๐ ชวั่ โมง/๑.๕ หน่วยกติ

**********************************************************************************

ศกึ ษาหลักการวิเคราะห์ วิจารณ์ ความสมเหตุสมผลของเรื่องท่อี ่าน แสดงความคดิ เหน็ ตคี วาม

ประเมนิ คณุ ค่าแนวคดิ ที่ไดจ้ ากการอา่ นงานเขียน เพือ่ นาไปใช้แกป้ ัญหาในชีวิต เขยี นวจิ ารณ์แสดงความรู้

ความคิดเห็น เขียนรายงาน โครงงาน กรอกแบบสมคั รงาน ฝกึ พดู ในโอกาสตา่ ง ๆ พดู โน้มน้าวอยา่ งมเี หตุผล

และนา่ เชือ่ ถอื ใช้คาทบั ศัพท์ ศัพท์บญั ญัติ ศัพท์ทางวชิ าการและวชิ าชพี แต่งโคลงส่ีสภุ าพ สรุปความรู้ ขอ้ คดิ

จากการอา่ นวรรณคดแี ละวรรณกรรม เพ่อื นาไปใชป้ ระยุกตใ์ นชวี ิตประจาวัน ทอ่ งจาและบอกคุณค่าบท

อาขยานและบทร้อยกรองตามความสนใจและนาไปใช้อา้ งอิง

โดยใช้กระบวนการทางภาษา กระบวนการกล่มุ สัมพนั ธ์ จดั การเรียนรเู้ พือ่ พัฒนาความคดิ เรยี นรู้

แบบโครงงาน ให้รูว้ ิธกี ารแกป้ ัญหาอย่างเป็นระบบ วางแผน คิดวิเคราะห์ ประเมินผล ฝึกการเป็นผู้นาและผู้

ตามมคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี สามารถสร้างองค์ความรู้ไปใช้ประโยชนใ์ นชวี ิตประจาวัน มีคุณธรรม

จรยิ ธรรม และมีมารยาทในการใชภ้ าษา เปน็ ผู้มีคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ มมี ารยาทในการอ่าน การเขยี น

การฟงั การดแู ละการพูด เห็นคณุ ค่าภาษาไทยซึ่งเป็นเอกลกั ษณ์ของชาติ รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซอ่ื สตั ยส์ ุจรติ

มีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ อยู่อยา่ งพอเพยี ง มุง่ มั่นในการทางาน รักความเปน็ ไทยและมีจิตสาธารณะเพ่ือใหเ้ กิด

การเรยี นรูอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ภาคภูมิใจในภาษาไทย และรักษาไวเ้ ปน็ สมบตั ขิ องชาติ

เพอ่ื ให้เกิดความรู้ความคดิ ความเข้าใจ การวเิ คราะห์ การตัดสนิ ใจ และสามารถนาความรู้ทไี่ ด้ไปใช้

แกป้ ัญหาในการดาเนนิ ชวี ติ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ และสรา้ งสรรค์ สอดคลอ้ งตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

มนี สิ ยั รักการอา่ น มีมารยาทที่ดีทงั้ ในดา้ นการอา่ น เขียน ฟงั ดู พูด รักและภาคภูมิใจในภาษาไทย

ใชภ้ าษาไทยไดอ้ ยา่ งมีวฒั นธรรม ถูกต้องสละสลวย เหมาะสมกบั กาลเทศะและบคุ คลทง้ั ในการพดู และการเขียน

รหสั ตัวช้ีวดั
ท ๑.๑ ม.๓/๒, ม.๓/๕, ม.๓/๗, ม.๓/๘, ม.๓/๙, ม.๓/๑๐
ท ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๗, ม.๓/๘, ม.๓/๙, ม.๓/๑๐
ท ๓.๑ ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖
ท ๔.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖
ท ๕.๑ ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔

รวม ๒๔ ตัวช้ีวัด

๓๙

เพิ่มเติม กลุ่มสำระกำรเรียนรคู้ ณิตศำสตร์
ระดบั ประถมศึกษำ

รำยวชิ ำพ้นื ฐำน จานวน ๒๐๐ ช่วั โมง
ค ๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ จานวน ๒๐๐ ชว่ั โมง
ค ๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ จานวน ๒๐๐ ชวั่ โมง
ค ๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ จานวน ๑๖๐ ชว่ั โมง
ค ๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ จานวน ๑๖๐ ชัว่ โมง
ค ๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์ จานวน ๑๖๐ ชั่วโมง
ค ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์

๔๐

คำอธิบำยรำยวชิ ำพืน้ ฐำน

ค๑๑๑๐๑ วชิ ำคณติ ศำสตร์ ๑ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้
คณิตศำสตร์ เวลำเรียน ๒๐๐ ชัว่ โมง
ชนั้ ประถมศึกษำปที ี่ ๑

**********************************************************************************
ศึกษาความรู้เกี่ยวกับเร่ืองการนับทีละ ๑ และทีละ ๑๐ การอ่านและการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิกตัวเลขไทย
แสดงจานวน การแสดงจานวนนับไม่เกิน ๒๐ ในรูปความสมั พันธข์ องจานวนแบบส่วนย่อย ส่วนรวม (Part –
Whole Relationship) การบอกอันดับที่ หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดง

จานวนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบจานวนและการใช้เคร่ืองหมาย =  > < การเรียงลาดับจานวน
ความหมายของการบวก ความหมายของการลบ การหาผลบวก การหาผลลบ และความสัมพนั ธ์ของการบวก
และการลบ การแก้โจทย์ปัญหาการบวก โจทย์ปัญหาการลบ และการสร้างโจทย์ปัญหา พร้อมท้ังหาคาตอบ
แบบรูปของจานวนท่เี พิ่มข้ึนหรือลดลงทลี ะ ๑ และทีละ ๑๐ แบบรูปซ้าของจานวน รปู เรขาคณิตและรูปอน่ื ๆ
การวัดความยาวโดยใช้หน่วยท่ีไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน การวัดความยาวเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร การ
เปรียบเทียบความยาวเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบเก่ียวกับความยาวที่มี
หน่วยเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร การวัดน้าหนักโดยใช้หน่วยท่ีไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน การวัดน้าหนักเป็น
กโิ ลกรัม เป็นขีด การเปรียบเทียบน้าหนักเป็นกิโลกรัม เป็นขีด การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบเก่ียวกับ
น้าหนักที่มหี น่วยเป็นกโิ ลกรัม เปน็ ขีด ลกั ษณะของทรงส่เี หล่ียมมมุ ฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก กรวย ลกั ษณะ
ของรปู สามเหล่ียม รูปส่เี หลี่ยม วงกลม และวงรี การอา่ นแผนภมู ริ ปู ภาพ
โดยจดั ประสบการณ์ กจิ กรรม หรอื โจทยป์ ญั หาทสี่ ่งเสรมิ การพัฒนาทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการ
คดิ คานวณ การแกป้ ัญหา การเช่ือมโยง การให้เหตผุ ล การคิดสร้างสรรค์ การส่ือสารและการสื่อความหมาย
ทางคณติ ศาสตร์
เพ่อื ให้เกดิ ความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รใู้ ฝ่เรยี น มีระเบยี บวนิ ยั มงุ่ ม่นั ในการทางานอยา่ งมีระบบ
ประหยดั ซื่อสัตย์ มวี ิจารณญาณ รู้จกั นาความรไู้ ปประยกุ ตใ์ ช้ในการดารงชวี ติ ไดอ้ ย่างพอเพยี ง รวมทง้ั มเี จตคติ
ท่ดี ตี ่อคณิตศาสตร์
รหัสตวั ชี้วดั
มาตรฐาน ค ๑.๑ ค ๑.๑ ป๑/๑ ค ๑.๑ ป.๑/๒ ค ๑.๑ ป.๑/๓ ค ๑.๑ ป.๑/๔ ค ๑.๑ ป.๑/๕
มาตรฐาน ค ๑.๒ ค ๑.๒ ป.๑/๑
มาตรฐาน ค ๒.๑ ค ๒.๑ ป.๑/๑ ค ๒.๑ ป.๑/๒
มาตรฐาน ค ๒.๒ ค ๒.๒ ป.๑/๑
มาตรฐาน ค ๓.๑ ค ๓.๑ ป.๑/๑
รวมท้งั สน้ิ ๑๐ ตวั ช้ีวัด

๔๑

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพ้นื ฐำน

ค๑๒๑๐๑ วิชำคณติ ศำสตร์ ๒ กลุม่ สำระกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์
ชนั้ ประถมศกึ ษำปที ี่ ๒ เวลำเรยี น ๒๐๐ ชวั่ โมง

**********************************************************************************
ศึกษาความรู้เกีย่ วกบั เรอ่ื งการนบั ทีละ ๒ ทีละ ๕ ทีละ ๑๐ และทีละ ๑๐๐ การอา่ นและการเขียน

ตวั เลขฮนิ ดอู ารบกิ ตัวเลขไทย และตัวหนังสอื แสดงจานวน จานวนคู่ จานวนค่ี หลกั ค่าของเลขโดดในแตล่ ะ
หลกั และการเขียนตัวเลขแสดงจานวนในรปู กระจาย การเปรียบเทียบและเรยี งลาดบั จานวน การบวกและการ
ลบ ความหมายของการคูณ ความหมายของการหาร การหาผลคณู การหาผลหารและเศษ และ
ความสัมพันธข์ องการคูณและการหาร การบวก ลบ คูณ หารระคน การแกโ้ จทยป์ ัญหาและการสรา้ งโจทย์
ปัญหา พร้อมทง้ั หาคาตอบ แบบรูปของจานวนท่ีเพิ่มขน้ึ หรอื ลดลงทีละ ๒ ทลี ะ ๕ และทีละ ๑๐๐ แบบรปู
ซา้ การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที (ช่วง ๕ นาท)ี การบอกระยะเวลาเปน็ ชั่วโมง เป็นนาที การ
เปรียบเทียบระยะเวลาเปน็ ชว่ั โมงเป็นนาที การอ่านปฏทิ ิน การแก้โจทย์ปญั หาเกย่ี วกบั เวลา การวดั ความ
ยาวเปน็ เมตรและเซนติเมตร การคาดคะเนความยาวเปน็ เมตร การเปรยี บเทยี บความยาวโดยใชค้ วามสัมพันธ์
ระหวา่ งเมตรกบั เซนตเิ มตร การแกโ้ จทย์ปัญหาเกยี่ วกับความยาวทีม่ หี น่วยเป็นเมตรและเซนตเิ มตร การวดั
นา้ หนกั เป็นกิโลกรมั และกรมั กิโลกรมั และขดี การคาดคะเนนา้ หนักเปน็ กโิ ลกรมั การเปรยี บเทียบนา้ หนักโดย
ใช้ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งกโิ ลกรมั กับกรัม กโิ ลกรัมกับขดี การแกโ้ จทยป์ ัญหาเก่ียวกับนา้ หนักท่ีมหี น่วยเป็น
กโิ ลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด การวดั ปริมาตรและความจุโดยใชห้ น่วยท่ีไมใ่ ชห่ นว่ ยมาตรฐาน การวัด
ปริมาตรและความจุเปน็ ช้อนชา ชอ้ นโตะ๊ ถ้วยตวง ลิตร การเปรยี บเทียบปรมิ าตรและความจุเป็นช้อนชา
ชอ้ นโต๊ะ ถ้วยตวง ลติ ร การแก้โจทยป์ ญั หาเก่ยี วกบั ปรมิ าตรและความจทุ ่มี ีหน่วยเป็นชอ้ นชา ชอ้ นโต๊ะ ถว้ ย
ตวง ลติ ร ลักษณะของรปู หลายเหล่ยี ม วงกลม วงรี และการเขียนรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใชแ้ บบของรูป
การอ่านแผนภูมริ ปู ภาพ
โดยจัดประสบการณ์ กิจกรรม หรือ โจทย์ปัญหาท่ีส่งเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ใน
การคิดคานวณ การใหเ้ หตผุ ล การวเิ คราะห์ การแกป้ ญั หา การสอ่ื สาร การสอื่ ความหมาย และการนาเสนอ
เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคดิ รวบยอด ใฝ่รู้ใฝเ่ รยี น มีระเบียบวนิ ัยมุ่งมั่นในการทางานอย่างมีระบบ
ประหยัด ซอ่ื สัตย์ มวี ิจารณญาณ รู้จกั นาความรู้ไปประยกุ ต์ใช้ในการดารงชีวิตไดอ้ ย่างพอเพียงรวมทั้งมีเจตคติ
ทีด่ ตี อ่ คณิตศาสตร์

๔๒

รหัสตัวช้ีวัด ค ๑.๑ ป.๒/๑ ค ๑.๑ ป.๒/๒ ค ๑.๑ ป.๒/๓ ค ๑.๑ ป.๒/๔
มาตรฐาน ค ๑.๑ ค ๑.๑ ป.๒/๕ ค ๑.๑ ป.๒/๖ ค ๑.๑ ป.๒/๗ ค ๑.๑ ป.๒/๘
ค ๒.๑ ป.๒/๑ ค ๒.๑ ป.๒/๒ ค ๒.๑ ป.๒/๓ ค ๒.๑ ป.๒/๔
มาตรฐาน ค ๒.๑ ค ๒.๑ ป.๒/๕ ค ๒.๑ ป.๒/๖
ค ๒.๒ ป.๒/๑
มาตรฐาน ค ๒.๒ ค ๓.๑ ป.๒/๑
มาตรฐาน ค ๓.๑

รวมท้ังส้นิ ๑๖ ตวั ชี้วดั

๔๓

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพน้ื ฐำน

ค ๑๓๑๐๑ วชิ ำคณติ ศำสตร์ ๓ กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้คณติ ศำสตร์
ช้นั ประถมศกึ ษำปีที่ ๓ เวลำเรียน ๒๐๐ ชัว่ โมง

**********************************************************************************
ศึกษาความรู้เก่ียวกับ การอ่าน การเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยและตัวหนังสือแสดงจานวน
หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจานวนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบและ
เรียงลาดับจานวน การบวก การลบ การคณู การหารยาวและการหารสนั้ การบวก ลบ คูณ หารระคน การแก้
โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทยป์ ญั หา พรอ้ มทั้งหาคาตอบ ของจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ เศษส่วน
ท่ีตัวเศษน้อยกว่าหรือเท่ากับตัวส่วน การเปรียบเทียบและเรียงลาดับเศษส่วน การบวก และการลบเศษส่วน
การแก้โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหา การลบเศษส่วน แบบรูปของจานวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละ
เทา่ ๆกนั การบอกจานวนเงนิ และเขียนแสดงจานวนเงินแบบใชจ้ ุด การเปรยี บเทยี บจานวนเงินและการแลกเงิน
การอ่านและเขยี นบนั ทึกรายรบั รายจ่าย การแก้โจทยป์ ญั หาเกี่ยวกบั เงิน การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที การ
เขียนบอกเวลาโดยใช้มหัพภาค (.) หรือทวิภาค (:) และการอ่าน การบอกระยะเวลาเป็นช่ัวโมงและนาที การ
เปรยี บเทียบระยะเวลาโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างชั่วโมงกับนาที การอ่านและการเขียนบันทึกกิจกรรมท่ีระบุ
เวลา การแก้โจทย์ปัญหาเกีย่ วกับเวลาและระยะเวลา การวัดความยาวเป็นเซนติเมตรและมิลลเิ มตร เมตรและ
เซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร การเลือกเครื่องวัดความยาวที่เหมาะสม การคาดคะเนความยาวเป็นเมตรและ
เป็นเซนติเมตร การเปรียบเทียบความยาวโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยความยาว การแก้โจทย์ปัญหา
เกย่ี วกับความยาว การเลือกเครอ่ื งชัง่ ท่เี หมาะสม การคาดคะเนนา้ หนักเปน็ กโิ ลกรัมและเป็นขดี การเปรยี บเทียบ
น้าหนักโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตนั กบั กโิ ลกรัม การแก้โจทย์ปญั หาเก่ียวกับน้าหนัก
การวัดปริมาตรและความจุเป็นลิตรและมิลลิลิตร การเลือกเคร่ืองตวงท่ีเหมาะสม การคาดคะเนปริมาตรและความจุ
เป็นลิตร การเปรียบเทียบปริมาตรและความจุโดยใชค้ วามสัมพันธ์ระหว่างลิตรกบั มลิ ลิลติ รช้อนชา ช้อนโต๊ะถ้วยตวง
กบั มิลลิลิตร การแก้โจทย์ปัญหาเกย่ี วกับปริมาตรและความจทุ ่ีมีหน่วยเปน็ ลิตรและมิลลิลิตร รปู เรขาคณติ สองมิติท่ีมี
แกนสมมาตร การเก็บรวบรวมขอ้ มูลและจาแนกข้อมูล การอ่านและการเขียนแผนภูมิรูปภาพ การอ่านและการ
เขยี นตารางทางเดียว(One-Way Table)
โดยจัดประสบการณ์ กิจกรรม หรือโจทยป์ ัญหาท่สี ง่ เสรมิ การพฒั นาทกั ษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ในการ
คดิ คานวณ การแก้ปัญหา การเชอ่ื มโยง การให้เหตุผล การคิดสร้างสรรค์ การส่ือสารและการส่อื ความหมาย
ทางคณติ ศาสตร์
เพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัยมุ่งม่ันในการทางานอย่างมีระบบ
ประหยดั ซื่อสตั ย์ มวี จิ ารณญาณ รจู้ ักนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดารงชวี ิตได้อย่างพอเพียง รวมท้ังมีเจตคติ
ท่ีดีตอ่ คณติ ศาสตร์

๔๔

รหัสตวั ช้ีวัด
มำตรฐำน ค ๑.๑ ป.๓/๑ ค ๑.๑ ป.๓/๒ ค ๑.๑ ป.๓/๓ ค ๑.๑ ป.๓/๔ ค ๑.๑ ป.๓/๕

ค ๑.๑ ป.๓/๖ ค ๑.๑ ป.๓/๗ ค ๑.๑ ป.๓/๘ ค ๑.๑ ป.๓/๙ ค ๑.๑ ป.๓/๑๐
ค ๑.๑ ป.๓/๑๑
มำตรฐำน ค.๑.๒ ค ๑.๒ ป.๓/๑
มำตรฐำน ค ๒.๑ ค ๒.๑ ป.๓/๑ ค ๒.๑ ป.๓/๒ ค ๒.๑ ป.๓/๓ ค ๒.๑ ป.๓/๔ ค ๒.๑ ป.๓/๕
ค ๒.๑ ป.๓/๖ ค ๒.๑ ป.๓/๗ ค ๒.๑ ป.๓/๘
ค ๒.๑ ป.๓/๙ ค ๒.๑ ป.๓/๑๐ ค ๒.๑ ป.๓/๑๑ ค ๒.๑ ป.๓/๑๒ ค ๒.๑ ป.๓/๑๓
มำตรฐำน ค ๒.๒ ค ๒.๒ ป.๓/๑
มำตรฐำน ค ๓.๑ ค ๓.๑ ป.๓/๑ ค ๓.๑ ป.๓/๒

รวมทง้ั ส้ิน ๒๘ ตัวช้ีวดั

๔๕

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพน้ื ฐำน

ค ๑๔๑๐๑ วิชำคณิตศำสตร์ ๔ กลุม่ สำระกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์
ชนั้ ประถมศกึ ษำปีท่ี ๔ เวลำเรียน ๒๐๐ ชั่วโมง

**********************************************************************************

ศึกษาความรู้เก่ียวกับการอ่าน การเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยและตัวหนังสือแสดงจานวน หลัก ค่า
ประจาหลกั และคา่ ของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตวั เลขแสดงจานวนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบ

และเรียงลาดับจานวน คา่ ประมาณของจานวนนับและการใช้เครอื่ งหมาย  การประมาณผลลัพธ์ของการบวก
การลบ การคณู การหาร การบวกและการลบ การคูณและการหาร การบวก ลบ คูณ หารระคน การแกโ้ จทย์
ปัญหาและการสร้างโจทย์ปัญหาพร้อมท้ังหาคาตอบ จานวนนับท่ีมากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ เศษส่วนแท้
เศษเกิน จานวนคละ ความสัมพันธ์ระหว่างจานวนคละและเศษเกิน เศษส่วนที่เท่ากัน เศษส่วนอย่างต่าและ
เศษสว่ นที่เท่ากบั จานวนนับ การเปรียบเทียบ เรยี งลาดับเศษสว่ นและจานวนคละ การบวก การลบเศษส่วนและ
จานวนคละ การแก้โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหา การลบเศษส่วนและจานวนคละ การอ่านและการ
เขียนทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหน่งตามปริมาณที่กาหนด หลัก ค่าประจาหลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลักขอ
ทศนิยม และการเขียนตัวเลขแสดงทศนิยมในรูปกระจาย ทศนิยมที่เท่ากัน การเปรียบเทียบและเรียงลาดับ
ทศนิยม การบวกการลบทศนิยม การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบ ทศนิยมไมเ่ กนิ ๒ ขัน้ ตอน แบบรูปของ
จานวนท่ีเกิดจากการคูณ การหารด้วยจานวนเดียวกันการบอกระยะเวลาเป็นวินาที นาที ชั่วโมง วัน สัปดาห์
เดือน ปี การเปรียบเทียบระยะเวลาโดยใช้ความสัมพนั ธ์ระหว่างหน่วยเวลา การอ่านตารางเวลา การแก้โจทย์
ปญั หาเกย่ี วกบั เวลา การวดั ขนาดของมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร์ การสร้างมมุ เมื่อกาหนดขนาดของมมุ ความยาว
รอบรปู ของรปู ส่เี หล่ียมมุมฉาก พน้ื ท่ีของรูปสี่เหล่ียมมุมฉาก การแก้โจทยป์ ัญหาเก่ียวกับความยาวรอบรูป และ
พ้ืนที่ของรูปส่ีเหล่ียมมุมฉาก ระนาบ จุด เสน้ ตรง รังสี ส่วนของเส้นตรงและสัญลักษณ์แสดงเส้นตรง รังสี ส่วน
ของเส้นตรง มุมส่วนประกอบของมุม การเรียกชื่อมุม สัญลักษณ์แสดงมุม ชนิดของมุม ชนิดและสมบัติของรูป
ส่ีเหล่ียมมุมฉาก การสร้างรูปส่ีเหล่ียมมุมฉาก การอ่านและการเขียนแผนภูมิแท่ง (ไม่รวมการย่นระยะ) การอ่าน
ตารางสองทาง(Two-Way Table)
โดยจดั ประสบการณ์ กจิ กรรม หรือโจทย์ปญั หาท่ีสง่ เสริมการพัฒนาทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการ
คดิ คานวณ การแก้ปญั หา การเช่ือมโยง การให้เหตผุ ล การคิดสร้างสรรค์ การส่ือสารและการส่ือความหมาย
ทางคณิตศาสตร์
เพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัยมุ่งม่ันในการทางานอย่างมีระบบ
ประหยัด ซอื่ สตั ย์ มวี จิ ารณญาณ รจู้ ักนาความรู้ไปประยุกตใ์ ชใ้ นการดารงชวี ติ ได้อย่างพอเพียง รวมท้ังมีเจตคติ
ที่ดตี อ่ คณติ ศาสตร์

๔๖

รหสั ตัวชี้วัด ค ๑.๑ ป.๔/๑ ค ๑.๑ ป.๔/๒ ค ๑.๑ ป.๔/๓ ค ๑.๑ ป.๔/๔
มำตรฐำน ค ๑.๑ ค ๑.๑ ป.๔/๕ ค ๑.๑ ป.๔/๖ ค ๑.๑ ป.๔/๗ ค ๑.๑ ป.๔/๘
ค ๑.๑ ป.๔/๙ ค ๑.๑ ป.๔/๑๐ ค ๑.๑ ป.๔/๑๑ ค ๑.๑ ป.๔/๑๒
มำตรฐำน ค ๒.๑ ค ๑.๑ ป.๔/๑๓ ค ๑.๑ ป.๔/๑๔ ค ๑.๑ ป.๔/๑๕ ค ๑.๑ ป.๔/๑๖
มำตรฐำน ค ๒.๒ ค ๒.๑ ป.๔/๑ ค ๒.๑ ป.๔/๒ ค ๒.๑ ป.๔/๓
มำตรฐำน ค ๓.๑ ค ๒.๒ ป.๔/๑ ค ๒.๒ ป.๔/๒
ค ๓.๑ ป.๔/๑

รวมทั้งสิ้น ๒๒ ตัวช้ีวดั


Click to View FlipBook Version