2
ค ำน ำ
รายงานการนิเทศบูรณาการเพื่อพฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ของโรงเรียนในสหวิทยาเขต กัลยาณี
ั
ื
สหวิทยาเขตทุ่งสง และสหวิทยาเขตต้นน ้าตาปี สังกัดส้านักงานเขตพนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 12 โดยมี
ั
กรอบการนิเทศ ด้านการพฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา การพฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
ั
การนิเทศการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) การจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อเทคโนโลยีทางไกล DLIT
/DLTV การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และการน้าหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปใช้ในสถานศึกษา โดยใช้
รูปแบบกระบวนการนิเทศแบบ PAORE โดยมีขั นตอนของการนิเทศ การวางแผนการนิเทศ การก้าหนด
เครื่องมือส้าหรับการนิเทศ ติดตาม การนิเทศติดตามการด้าเนินงานและการสังเกตชั นเรียน การให้ข้อมูล
สะท้อนกลับแก่ผู้รับการนิเทศ และการประเมินผลการนิเทศเพื่อพัฒนาการนิเทศการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561
รายงานการนิเทศฉบับนี้ เป็นผลจากการด าเนินการนิเทศบูรณาการ โดยใช้รูปแบบกระบวนการนิเทศ
แบบ PAORE ผลการด าเนินงานของโรงเรียนในสหวิทยาเขต กัลยาณี สหวิทยาเขตทุ่งสง และสหวิทยาเขต
ั
ื
ต้นน ้าตาปี สังกัดส้านักงานเขตพนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 12 ด้านการพฒนาระบบประกันคุณภาพ
ภายในสถานศึกษา การพฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การนิเทศการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
ั
การจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อเทคโนโลยีทางไกล DLIT /DLTV การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และการน้า
หลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปใช้ในสถานศึกษา เพื่อใช้เป็นส่วนหนึ่งของการรายงานผลการนิเทศตามแผนบูรณาการ
และสอดคล้องกับนโยบายของส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน “ปี 2562 ปีทองแห่งการนิเทศ
ั
ห้องเรียนคุณภาพ” และใช้เป็นแนวทางในการพฒนากระบวนการนิเทศของศึกษานิเทศก์ วางแผนการนิเทศ
ั
ื่
เพอพฒนาคุณภาพของสถานศึกษา และหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานการนิเทศฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการ
จัดการศึกษาผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอน และผู้เกี่ยวข้อง
( นายสุยรรณ์ เกราะแก้ว )
ศึกษานิเทศก์ช้านาญการพเศษ
ิ
ื
ส้านักงานเขตพนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12
3
สำรบัญ
เรื่อง หน้ำ
รายงานผลการนิเทศติดตามการด้าเนินงานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 1
ุ
การพัฒนาระบบประกันคณภาพภายในสถานศึกษา 2
การพัฒนาหลักสูตรสถานศกษา 4
ึ
การจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อเทคโนโลยีทางไกล (DLTV / DLIT) 6
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 7
การน้าหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปใช้ 9
ภาคผนวก 12
4
รำยงำนผลกำรนิเทศติดตำมกำรด ำเนินงำนพัฒนำคุณภำพกำรจัดกำรศึกษำ
ึ
ของสถำนศึกษำในสังกัดส ำนักงำนเขตพื้นที่กำรศกษำมัธยมศึกษำ เขต 12
ตำมแผนนิเทศแบบบูรณำกำร ภำคเรียนที่ 1 ปีกำรศึกษำ 2562
********************************************************************
กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ส้านักงานเขตพื นที่การศึกษามัธยมศกษา เขต 12
ึ
ั
ั
ได้ด้าเนินการพฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัด ปีงบประมาณ 2562 โดยการพฒนา
ั
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การพฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา การพฒนาวิชาการและวิชาชีพ
ั
ส้าหรับนักเรียน มุ่งเน้นการพัฒนาจัดการเรียนรู้ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติและมีการพัฒนาการวัดและประเมินผล
ตามสภาพจริง โดยมุ่งเน้นให้สถานศึกษาพฒนาระบบบริหารจัดการที่มีคุณภาพตามระบบประกันคุณภาพ
ั
การศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาขั นพนฐาน กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
ื
ส้านักงานเขตพนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 ได้มอบหมายให้ศึกษานิเทศก์ได้นิเทศ ติดตาม การพฒนา
ื
ั
คุณภาพการจัดการศึกษา ในระหว่างวันที่ 1 กรกฎาคม 2562 ถึงวันที่ 27 สิงหาคม 2562 โดยใช้กระบวนการ
นิเทศแบบ PAORE มีวัตถุประสงค์ของ การนิเทศการศึกษา ดังนี 1) เพอนิเทศ ติดตามการพฒนาคุณภาพ
ื่
ั
ื
การศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดส้านักงานเขตพนที่การศึกษามัธยมศกษา เขต 12 และ 2) เพื่อน้าข้อมูลจาก
ึ
ื
ั
การนิเทศมาใช้ในการวางแผนการพฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพนที่การศึกษา มีกรอบการนิเทศ ดังนี
ั
(1) การพฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา (2) การพฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดการ
ั
เรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)และการสังเกตชั นเรียน (3) การจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อเทคโนโลยีทางไกล
(DLTV / DLIT) (4) การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ (5) การน้าหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปใช้
้
โดยมีเครื่องมือที่ใช้ในการนิเทศเป็นแบบบันทึกขอมูลการนิเทศ จ้านวน 6 ฉบับ ดังนี (1) แบบบันทึกขอมูลการ
้
ั
ั
นิเทศการพฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา (2) แบบนิเทศ ติดตามการพฒนาหลักสูตร
สถานศึกษา (3) แบบนิเทศ ติดตามการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)และแบบสังเกตการสอนใน
ชั นเรียน (4) แบบติดตาม การจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อเทคโนโลยีทางไกล (DLTV / DLIT) (5) แบบนิเทศ
ติดตามการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ (6) แบบติดตามการน้าหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปใช้
ในการนิเทศครั งนี มีเป้าหมายสถานศึกษาในความรับผิดชอบจ้านวน 3 สหวิทยาเขต จ้านวน 14 โรงเรียน
ได้แก่ โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย นครศรีธรรมราช โรงเรียน
โยธินบ้ารุง โรงเรียนท่านครญาณวโรภาสอทิศ โรงเรียนตรีนิมิตรวิทยา โรงเรียนทุ่งสง โรงเรียนก้างปลา
ุ
ิ
วิทยาคม โรงเรียนบางขันวิทยา โรงเรียนวังหินวิทยาคม โรงเรียนฉวางรัชดาภิเษก โรงเรียนพปูนสังฆรักษ์
ประชาอุทิศ โรงเรียนละอายพิทยานุสรณ์ โรงเรียนนางเอื อยวิทยา และโรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บ้ารุง
5
ผลกำรนิเทศ ติดตำมกำรด ำเนินงำนตำมแผนกำรนิเทศ ดังนี้
1) กำรพัฒนำระบบประกันคุณภำพภำยในสถำนศึกษำ การด้าเนินการก้าหนดมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา การจัดท้าแผนพฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐาน
ั
ั
การศึกษา การด้าเนินงานตามแผนพฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา การประเมินผลและตรวจสอบ
คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา การจัดให้มีการติดตามผลการด้าเนินงานเพอพฒนาสถานศึกษา และ
ั
ื่
การจัดท้ารายงานผลการประเมินตนเอง (SAR) โรงเรียนด้าเนินการตามกระบวนการของการประกันคุณภาพ
ภายในสถานศึกษาครบทุกขั นตอน
สหวทยำเขตกัลยำณี ได้แก่ โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราช
ิ
วิทยาลัย นครศรีธรรมราช โรงเรียนโยธินบ้ารุง โรงเรียนท่านครญาณวโรภาสอทิศ โรงเรียนตรีนิมิตรวิทยา
ุ
ื
โรงเรียนมีการด้าเนินการก้าหนดมาตรฐานการศึกษาขั นพนฐานของสถานศึกษาทุกโรงเรียน แต่ยังไม่สอดคล้อง
กับบริบทของสถานศึกษาเนื่องจากขอมูลสารสนเทศทางการศึกษาของสถานศึกษาที่ขาดความชัดเจน สมบูรณ์
้
ี
ื่
เพยงพอในการใช้เพอการบริหารจัดการ โรงเรียนขาดการมีส่วนร่วมของบุคลากรในการก้าหนดมาตรฐานของ
ั
สถานศึกษา การจัดท้าแผนพฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ยังไม่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา เนื่องจากไม่ได้เอามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาไปก้าหนดเป็นเป้าหมาย ตัวชี วัด
ความส้าเร็จของโครงการ/กิจกรรม การประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาทุก
โรงเรียนมีการด้าเนินการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการด้าเนินงาน แต่ขาดการวางแผนการตรวจสอบ
ประเมินผลเพอให้ได้ข้อมูลสารสนเทศเพอการบริหารจัดการ และการจัดท้ารายงานผลการประเมินตนเอง
ื่
ื่
ั
(SAR) โรงเรียนยังคงใช้รูปแบบการรายงานประเมินตนเองตามแบบการพฒนาคุณภาพภายในสถานศึกษา
แบบเดิม(รอบที่ 3) ขาดข้อมูลที่เป็นรูปธรรมและผลการด้าเนินงานไม่สอดคล้องกับการด้าเนินงาน ร่องรอย
เอกสาร/หลักฐาน ไม่ชัดเจน
ั
โรงเรียนที่มีการด้าเนินงานครบตามกระบวนการของการพฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษา ตามกฎกระทรวงฯ พ.ศ.2561 มีความสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาได้อย่างชัดเจน
สามารถเป็นแบบอย่างได้ในสหวิทยาเขตกัลยาณี ได้แก โรงเรียนโยธินบ้ารุง
่
ิ
สหวทยำเขตทุ่งสง ได้แก่ โรงเรียนทุ่งสง โรงเรียนก้างปลาวิทยาคม โรงเรียนบางขันวิทยา
โรงเรียนวังหินวิทยาคม โรงเรียนมีการด้าเนินการก้าหนดมาตรฐานการศึกษาขั นพนฐานของสถานศึกษาทุก
ื
โรงเรียน แต่ยังไม่สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาเนื่องจากข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาของสถานศึกษา
ที่ขาดความชัดเจน สมบูรณ์ เพียงพอในการใช้เพื่อการบริหารจัดการ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษายังคง
ใช้กรอบมาตรฐานการศึกษาขั นพนฐานของกระทรวงศึกษาธิการ ประกาศเป็นมาตรฐานการศึกษาของ
ื
สถานศึกษา การจัดท้าแผนพฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ยังไม่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา
ั
ของสถานศึกษา เนื่องจากไม่ได้เอามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาไปก้าหนดเป็นเป้าหมาย ตัวชี วัด
ความส้าเร็จของโครงการ/กิจกรรม การประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาทุก
โรงเรียนมีการด้าเนินการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการด้าเนินงาน แต่ขาดการวางแผนการตรวจสอบ
ประเมินผลเพอให้ได้ข้อมูลสารสนเทศเพอการบริหารจัดการ และการจัดท้ารายงานผลการประเมินตนเอง
ื่
ื่
6
ั
(SAR) โรงเรียนยังคงใช้รูปแบบการรายงานประเมินตนเองตามแบบการพฒนาคุณภาพภายในสถานศึกษา
แบบเดิม(รอบที่ 3) ขาดข้อมูลที่เป็นรูปธรรมและผลการด้าเนินงานไม่สอดคล้องกับการด้าเนินงาน ร่องรอย
เอกสาร/หลักฐาน ไม่ชัดเจน
ั
โรงเรียนที่มีการด้าเนินงานครบตามกระบวนการการของการพฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษา ตามกฎกระทรวงฯ พ.ศ.2561 มีความสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาได้อย่างชัดเจน
สามารถเป็นแบบอย่างได้ในสหวิทยาเขตทุ่งสง ได้แก โรงเรียนทุ่งสง และโรงเรียนวังหินวิทยาคม
่
ุ
ิ
ิ
สหวทยำเขตต้นน้ ำตำปี ได้แก่ โรงเรียนฉวางรัชดาภิเษก โรงเรียนพปูนสังฆรักษ์ประชาอทิศ
ื
โรงเรียนละอายพทยานุสรณ์ โรงเรียนนางเออยวิทยา และโรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บ้ารุง โรงเรียนมีการ
ิ
ด้าเนินการก้าหนดมาตรฐานการศึกษาขั นพื นฐานของสถานศึกษาทุกโรงเรียน การก้าหนดมาตรฐานการศึกษา
ขั นพนฐานไม่สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาเนื่องจากข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาของสถานศึกษาที่
ื
ี
ื่
ขาดความชัดเจน สมบูรณ์ เพยงพอในการใช้เพอการบริหารจัดการ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษายังคง
ใช้กรอบมาตรฐานการศึกษาขั นพนฐานของกระทรวงศึกษาธิการ ประกาศเป็นมาตรฐานการศึกษาของ
ื
ั
สถานศึกษา การจัดท้าแผนพฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ยังไม่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา เนื่องจากไม่ได้เอามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาไปก้าหนดเป็นเป้าหมาย ตัวชี วัด
ความส้าเร็จของโครงการ/กิจกรรม การประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาทุก
โรงเรียนมีการด้าเนินการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการด้าเนินงาน แต่ขาดการวางแผนการตรวจสอบ
ื่
ประเมินผลเพอให้ได้ข้อมูลสารสนเทศเพอการบริหารจัดการ และการจัดท้ารายงานผลการประเมินตนเอง
ื่
ั
(SAR) โรงเรียนยังคงใช้รูปแบบการรายงานประเมินตนเองตามแบบการพฒนาคุณภาพภายในสถานศึกษา
แบบเดิม(รอบที่ 3) ขาดข้อมูลที่เป็นรูปธรรมและผลการด้าเนินงานไม่สอดคล้องกับการด้าเนินงาน ร่องรอย
เอกสาร/หลักฐาน ไม่ชัดเจน
โรงเรียนที่มีการด้าเนินงานครบตามกระบวนการการของการพฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน
ั
สถานศึกษา ตามกฎกระทรวงฯ พ.ศ.2561 มีความสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาได้อย่างชัดเจน
่
สามารถเป็นแบบอย่างได้ในสหวิทยาเขตต้นน ้าตาปี ได้แก โรงเรียนฉวางรัชดาภิเษก
สภำพปัญหำ
ุ
1. ครูขาดความรู้ความเข้าใจในการด้าเนินงานระบบประกันคณภาพภายในสถานศึกษา
2. ครูขาดการมีส่วนร่วมในการก้าหนดมาตรฐานการศึกษาขั นพื นฐานของสถานศึกษา
3. โรงเรียนขาดระบบการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพเพียงพอ
ั
4. โรงเรียนจัดท้าแผนพฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจ้าปีไม่สอดคล้องกับ
มาตรฐานการศึกษาขั นพื นฐานของสถานศึกษา
5. ผู้บริหารโรงเรียนยังขาดความตระหนักในการด้าเนินงานระบบประกันคุณภาพภายใน
ั
สถานศึกษาและส่งเสริมให้ครูมีส่วนร่วมในการรับรู้ สร้างความเข้าใจให้แก่ครูในโรงเรียนเพอด้าเนินการพฒนา
ื่
ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
7
ข้อเสนอแนะเพื่อกำรพัฒนำ
1. สร้างความรู้ความเข้าใจ ให้เกิดความตระหนักในความส้าคัญของการด้าเนินงานระบบประกัน
คุณภาพภายในสถานศึกษา
2. ผู้บริหารโรงเรียนควรเปิดโอกาสให้ครูทุกคน ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ร่วมกันก้าหนดมาตรฐาน
ั
ื
การศึกษาขั นพนฐานของสถานศึกษาและจัดท้าแผนพฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจ้าปี ที่
สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
3. ผู้บริหารโรงเรียนร่วมกับผู้รับผิดชอบ ร่วมกันก้าหนด วางแผนการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
ึ
อย่างเป็นระบบตั งแต่เริ่มการก้าหนดมาตรฐานการศึกษาขั นพื นฐานของสถานศกษา
4. โรงเรียนควรมีการติดตามตรวจสอบการด้าเนินงานโครงการเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานของสถานศึกษา และน้าผลการติดตามไปใช้ในการปรับปรุงพัฒนา
5. ผู้บริหารโรงเรียนทุกโรง ต้องสร้างความตระหนักในการด้าเนินงานระบบประกันคุณภาพภายใน
ื่
ั
สถานศึกษาและส่งเสริมให้ครูมีส่วนร่วมในการรับรู้ สร้างความเข้าใจให้แก่ครูในโรงเรียนเพอด้าเนินการพฒนา
ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ั
6. ประชาสัมพนธ์การด้าเนินงานตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ให้ครูและ
ผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบเป็นระยะ และต่อเนื่อง
ั
2) กำรพัฒนำหลักสูตรสถำนศึกษำ การด้าเนินการพฒนา องค์ประกอบของหลักสูตรสถานศึกษา
โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั นพนฐาน 2551 (ฉบับปรับปรุงพทธศักราช
ุ
ื
2560) การจัดท้าโครงสร้างรายวิชา ครอบคลุมมาตรฐานและตัวชี วัด การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ การ
จัดท้าแผนการจัดการเรียนรู้ (Active Learning) การวิเคราะห์ผู้เรียนเพื่อวางแผนการจัดการเรียนรู้ มีการวัด
และประเมินผลที่หลากหลาย การใช้สื่อ/แหล่งเรียนรู้ที่สอดคล้องกบกิจกรรมการเรียนรู้ การบันทึกหลังการ
ั
สอนเพื่อการวิจัยในชั นเรียน การนิเทศการใช้หลักสูตรสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง การประเมินการใช้หลักสูตร
อย่างต่อเนื่อง และการน้าผลการประเมินมาใช้วางแผนการพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง
ิ
สหวทยำเขตกัลยำณี ได้แก่ โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราช
ุ
วิทยาลัย นครศรีธรรมราช โรงเรียนโยธินบ้ารุง โรงเรียนท่านครญาณวโรภาสอทิศ โรงเรียนตรีนิมิตรวิทยา
โรงเรียนทุกโรงมีการด้าเนินการพฒนาหลักสูตรสถานศึกษา มีองค์ประกอบของหลักสูตรสถานศึกษา
ั
ื
ุ
โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั นพนฐาน 2551 (ฉบับปรับปรุงพทธศักราช
2560) มีการวิเคราะห์หลักสูตรตามมาตรฐาน ตัวชี วัด /ผลการเรียนรู้และการจัดท้าโครงสร้างรายวิชา จัดท้า
แผนการจัดการเรียนรู้ และระบบการวัดและประเมินผล ได้ถูกต้อง โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราช
วิทยาลัย นครศรีธรรมราช ใช้หลักสูตรเดียวกับโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ และในสหวิทยาเขตกัลยาณี
โรงเรียนโยธินบ้ารุง สามารถเป็นแบบอย่างได้
สหวทยำเขตทุ่งสง ได้แก่ โรงเรียนทุ่งสง โรงเรียนก้างปลาวิทยาคม โรงเรียนบางขันวิทยา
ิ
โรงเรียนวังหินวิทยาคม โรงเรียนทุกโรงมีการด้าเนินการพฒนาหลักสูตรสถานศึกษา มีองค์ประกอบของ
ั
8
ื
หลักสูตรสถานศึกษา โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั นพนฐาน 2551
(ฉบับปรับปรุงพทธศักราช 2560) มีการวิเคราะห์หลักสูตรตามมาตรฐาน ตัวชี วัด /ผลการเรียนรู้และการ
ุ
ิ
จัดท้าโครงสร้างรายวิชา จัดท้าแผนการจัดการเรียนรู้ และระบบการวัดและประเมนผล ได้ถูกต้อง โดยโรงเรียน
ทุ่งสง สามารถเป็นแบบอย่างได้
ุ
ิ
สหวทยำเขตต้นน้ ำตำปี ได้แก่ โรงเรียนฉวางรัชดาภิเษก โรงเรียนพปูนสังฆรักษ์ประชาอทิศ
ิ
ื
โรงเรียนละอายพทยานุสรณ์ โรงเรียนนางเออยวิทยา และโรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บ้ารุง โรงเรียนทุกโรงมี
ิ
การด้าเนินการพฒนาหลักสูตรสถานศึกษา มีองค์ประกอบของหลักสูตรสถานศึกษา โครงสร้างหลักสูตร
ั
ุ
ื
สถานศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั นพนฐาน 2551 (ฉบับปรับปรุงพทธศักราช 2560) มีการ
วิเคราะห์หลักสูตรตามมาตรฐาน ตัวชี วัด /ผลการเรียนรู้และการจัดท้าโครงสร้างรายวิชา จัดท้าแผนการจัดการ
เรียนรู้ และระบบการวัดและประเมินผล ได้ถูกต้อง โดยโรงเรียนนางเอื อยวิทยา สามารถเป็นแบบอย่างในการ
ั
ั
พฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และโรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บ้ารุงสามารถเป็นแบบอย่างได้ในการพฒนา
หลักสูตรสถานศึกษา และการจัดท้าแผนการจัดการเรียนรู้ (Active Learning)
กำรจัดกำรเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)และกำรสังเกตชั้นเรียน โรงเรียนทุกโรงเรียนได้มี
การนิเทศ ติดตาม ให้ครูจัดส่งแผนการเรียนรู้ การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ เป็นรายภาคเรียน ๆ ละ 1 ครั ง
ั
มีการนิเทศ ติดตาม โดยหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ครูนิเทศครู ผู้บริหารโรงเรียนร่วมกบรองวิชาการ นิเทศ
ติดตาม เป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้ ครูยังต้องมีปรับปรุง การจัดท้าแผนการจัดการเรียนรู้ (Active Learning)
ที่ต้องเน้นให้นักเรียนเกิดกระบวนการคิด และได้ปฏิบัติจริง โดยไม่ได้วิเคราะห์หลักสูตรเพอใช้ในการออกแบบ
ื่
์
การจัดการเรียนรู้ ส่วนใหญ่ครูคัดลอกแผนการจัดการเรียนรู้จากส้านักพิมพ ขาดการวิเคราะห์ผู้เรียนเพอวาง
ื่
แผนการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลไม่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี วัด การใช้สื่อ/
แหล่งเรียนรู้ที่สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ไม่ชัดเจน การใช้สื่อที่ทันสมัยยังใช้น้อย ไม่สอดคล้องกับ
เป้าหมายของหลักสูตรและครูที่มีอายุน้อยจะใช้สื่อที่ทันสมัยในการจัดการเรียนรู้มากกว่าครูที่มีอายุ/
ื่
ประสบการณ์ในการสอนมาก ขาดการบันทึกหลังการสอนเพอการวิจัยในชั นเรียนและใช้ในการประชุมเพอ
ื่
ื่
ั
พฒนาปรับปรุงการเรียนการสอน ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) ขาดระบบนิเทศภายในสถานศึกษาเพอ
ติดตามการใช้หลักสูตรสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง และขาดการน้าผลการประเมินมาใช้วางแผนการพฒนา
ั
หลักสูตรอย่างต่อเนื่อง
สภำพปัญหำ
1. ครูบางคนขาดความมุ่งมั่นในการพัฒนาตนเองและการพัฒนาวิชาชีพให้เป็นครูมืออาชีพ
2. ครูขาดการวิเคราะห์หลักสูตรเพื่อใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
3. ครูผู้ช่วย ยังขาดความรู้ความเข้าใจในการวิเคราะห์หลักสูตรเพื่อน้าไปใช้ในการวางแผนการจัดการ
เรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
4. ครูยังสอนหนังสือตามต้ารา ไม่ได้ออกแบบการจัดการเรียนรู้ตามมาตรฐานและตัวชี วัด/ผลการ
จัดการเรียนรู้ในแผนการจัดการเรียนรู้
9
5. โรงเรียนบางโรงเรียน เช่น โรงเรียนตรีนิมิตรวิทยา โรงเรียนวังหินวิทยา และโรงเรียนนางเออย
ื
วิทยา มีระบบอินเตอร์เน็ตที่ไม่มีประสิทธิภาพ ท้าให้การใช้สื่ออินเตอร์เน็ตไม่สามารถด้าเนินการได้
6. การวัดและประเมินผลในชั นเรียน ยังไม่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี วัด
7. การบันทึกหลังสอน ไม่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี วัด และไม่สะท้อนผลการจัดการ
เรียนรู้ในชั นเรียน
8. ขาดระบบนิเทศภายในสถานศึกษาที่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากผู้บริหารโรงเรียนและครูขาดความรู้
่
ความเข้าใจในการด้าเนินการนิเทศภายในสถานศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม จึงไมสามารถน้าสภาพปัญหาจากการ
ั
นิเทศภายในสถานศึกษามาใช้ในการวางแผนพฒนาบุคลากรให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการ
ของครู
ข้อเสนอแนะเพื่อกำรพัฒนำ
ั
1. ส่งเสริม สนับสนุน นิเทศ ติดตาม การด้าเนินงานการพฒนาระบบนิเทศภายในสถานศึกษาอย่าง
ต่อเนื่อง
ื่
2. พัฒนาครูผู้ช่วย ให้สามารถวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา เพอวางแผนการจัดการเรียนรู้อย่างเป็น
ระบบตามมาตรฐานและตัวชี วัดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั นพื นฐาน พุทธศักราช 2551
ื่
3. ติดตาม การวัดและประเมินผลในชั นเรียน เพอให้ครูสามารถน้าผลการวัดและประเมินผลมาใช้ใน
การพฒนา ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน พฒนาผู้เรียน พฒนาสื่อการเรียนรู้และพฒนานวัตกรรมการ
ั
ั
ั
ั
จัดการเรียนรู้
4. ส่งเสริม สนับสนุน นิเทศ และติดตามให้ผู้บริหารโรงเรียนและครูผู้สอน ได้ด้าเนินการพัฒนาชุมชน
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
5.คัดเลือกโรงเรียนที่มีการด้าเนินงานระบบนิเทศภายในสถานศึกษาที่มีประสิทธิภาพมาถอดบทเรียน
และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นแบบอย่างให้แก่โรงเรียนในสหวิทยาเขต
3) กำรจัดกำรเรียนรู้โดยใช้สื่อเทคโนโลยีทำงไกล (DLTV / DLIT) การวางแผนพฒนาระบบ
ั
เทคโนโลยีสารสนเทศและการใช้สื่อ (DLTV / DLIT) เพื่อการจัดการเรียนรู้ การด้าเนินการจัดท้า Log file
สหวทยำเขตกัลยำณี ได้แก่ โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราช
ิ
วิทยาลัย นครศรีธรรมราช โรงเรียนโยธินบ้ารุง โรงเรียนท่านครญาณวโรภาสอทิศ โรงเรียนตรีนิมิตรวิทยา
ุ
ื่
มีการวางแผนพฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการใช้สื่อ (DLTV / DLIT) เพอการจัดการเรียนรู้ การ
ั
ด้าเนินการจัดท้า Log file แต่โรงเรียนตรีนิมิตรวิทยา มีระบบอินเตอร์เน็ตไม่เพียงพอ
สหวทยำเขตทุ่งสง ได้แก่ โรงเรียนทุ่งสง โรงเรียนก้างปลาวิทยาคม โรงเรียนบางขันวิทยา
ิ
โรงเรียนวังหินวิทยาคมโรงเรียนทุกโรงมีการการวางแผนพฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการใช้สื่อ
ั
(DLTV / DLIT) เพอการจัดการเรียนรู้ การด้าเนินการจัดท้า Log file แต่โรงเรียนวังหินวิทยาคมมีระบบ
ื่
อินเตอร์เน็ตไม่เพียงพอ
ุ
ิ
ิ
สหวทยำเขตต้นน้ ำตำปี ได้แก่ โรงเรียนฉวางรัชดาภิเษก โรงเรียนพปูนสังฆรักษ์ประชาอทิศ
โรงเรียนละอายพทยานุสรณ์ โรงเรียนนางเออยวิทยา และโรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บ้ารุง โรงเรียนทุกโรง
ื
ิ
10
มีการด้าเนินการการวางแผนพฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการใช้สื่อ (DLTV / DLIT) เพอการจัดการ
ื่
ั
ื
เรียนรู้ การด้าเนินการจัดท้า Log file แต่โรงเรียนนางเออยวิทยา โรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บ้ารุง มีระบบ
อินเตอร์เน็ตไม่เพียงพอ
ข้อเสนอแนะเพื่อกำรพัฒนำ
1. นิเทศ ติดตาม การใช้สื่อ DLTV / DLIT เพื่อการจัดการเรียนรู้
2. ควรส่งเสริมการใช้งานในเรื่อง DLIT Assessment ซึ่งเป็นคลังข้อสอบเพอเป็นการลดภาระ
ื่
การออกข้อสอบของครู รวมทั งสามารถน้าข้อมูลไปใช้ในการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลได้
ื่
ิ่
3. ส่งเสริมให้ครูท้าวิจัยในชั นเรียนเกี่ยวกับการใช้ DLIT เพมมากขึ น เพอศึกษาถึงผลดี ผลเสีย
หรือผลกระทบทั งในข้อดีและข้อเสีย รวมทั งศึกษาความพึงพอใจ ของผู้เรียนและผู้เกี่ยวข้องใน
มิติต่างๆ มากขึ น
4. ควรให้โรงเรียนดาวน์โหลดสื่อการสอนเก็บไว้ หรือส้ารองไว้ส่วนตัวเพอป้องกันการเกิดกรณี
ื่
เครือข่ายอินเตอร์เน็ต หรืออินทราเน็ตมีปัญหา
4) กำรยกระดับผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียน การด้าเนินการแจ้งผลคะแนน O-NET ปีการศึกษา
2562 ให้ผู้บริหารโรงเรียน ครู นักเรียนทราบ โรงเรียนน้าผลคะแนนมาวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาและ
วิธีการแก้ไขร่วมกัน มีแผนปฏิบัติการในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ น้าผลมาใช้ในการปรับปรุงและพฒนาการ
ั
ื่
เรียนการสอนเพอยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ครู ผู้บริหารโรงเรียน ได้แจ้งให้นักเรียนเห็นความส้าคัญ
ื่
ของการสอน O-NET มีโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ร่วมกับสหวิทยาเขตหรือกลุ่มเครือข่ายอน ๆ โรงเรียนใช้
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นส่วนหนึ่งของการประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิผลการปฏิบัติงานประจ้าปีของ
ครู ส่งเสริม สร้างขวัญก้าลังใจให้ครู/นักเรียนที่มีการพฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ น มีการวิเคราะห์
ั
ผลสอบ ข้อสอบกลาง PISA, O-NET ทุกระดับชั นที่มีการทดสอบ และมีการพฒนาครูทุกกลุ่มสาระวิชาและ
ั
ทุกคน
สหวทยำเขตกัลยำณี ได้แก่ โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราช
ิ
วิทยาลัย นครศรีธรรมราช โรงเรียนโยธินบ้ารุง โรงเรียนท่านครญาณวโรภาสอทิศ โรงเรียนตรีนิมิตรวิทยา
ุ
โรงเรียนได้ด้าเนินการดังนี :-
1) โรงเรียนจัดท้าแผนงานโครงการในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีผู้รับผิดชอบด้าเนินการ
เน้นการมีส่วนร่วมของทุกคน
2) สร้างความตระหนักและความส้าคัญในการสอบ O-NET ให้กับครูผู้สอนและนักเรียนในทุกวิชา
ที่สอบ O-NET
3) โรงเรียนน้าผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ(O-NET) มาวิเคราะห์เพอใช้ในการพฒนาการ
ื่
ั
จัดการเรียนการสอนของครู
4) โรงเรียนพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้อง ตามมาตรฐานและตัวชี วัด
5) ใช้ Test Blueprint ในการสอนเสริมและออกแบบการวัดและประเมินผล
11
6) สร้างเครือข่ายการยกระดับผลสัมฤทธิ์โดยให้โรงเรียนพในสหวิทยาเขต เป็นพเลี ยงให้โรงเรียนน้อง
ี่
ี่
ในสหวิทยาเขต
7) ติวข้อสอบ O-NET กับหน่วยงานภายนอกจากติวเตอร์ เช่น มาม่า ส้านักพิมพ์ พว. เป็นต้น
สหวทยำเขตทุ่งสง ได้แก่ โรงเรียนทุ่งสง โรงเรียนก้างปลาวิทยาคม โรงเรียนบางขนวิทยา โรงเรียน
ั
ิ
วังหินวิทยาคมโรงเรียนมีการด้าเนินการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยด้าเนินการดังนี
1) โรงเรียนจัดท้าแผนงานโครงการในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีผู้รับผิดชอบด้าเนินการ
เน้นการมีส่วนร่วมของทุกคน
2) โรงเรียนน้าผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ(O-NET) มาวิเคราะห์เพอใช้ในการพฒนาการ
ั
ื่
จัดการเรียนการสอนของครู
3) โรงเรียนพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้อง ตามมาตรฐานและตัวชี วัด
4) ใช้ Test Blueprint ในการสอนเสริมและออกแบบการวัดและประเมินผล
5) ใช้ข้อสอบ O-NET ในกิจกรรมการเรียนรู้และการวัดผลและประเมินผล
6) ติวข้อสอบ O-NET กับหน่วยงานภายนอกจากติวเตอร์ เช่น มาม่า ส้านักพิมพ์ พว. เป็นต้น
ุ
ิ
สหวทยำเขตต้นน้ ำตำปี ได้แก่ โรงเรียนฉวางรัชดาภิเษก โรงเรียนพปูนสังฆรักษ์ประชาอทิศ
ิ
โรงเรียนละอายพทยานุสรณ์ โรงเรียนนางเออยวิทยา และโรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บ้ารุง โรงเรียน
ิ
ื
ด้าเนินการดังนี
1) โรงเรียนโดยผู้บริหารโรงเรียน ท้าข้อตกลง MOU กับครูผู้สอนในการพัฒนาการเรียนการสอนเพอ
ื่
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พร้อมก้าหนดเป้าหมายในการพัฒนา
2) จัดให้นักเรียนสอบ PRE – O-NET เพื่อคัดกรองนักเรียน
ื่
3) น้าผลการทดสอบระดับชาติมาวิเคราะห์ หาปัญหา สาเหตุและวิธีแก้ปัญหาร่วมกันเพอใช้ในการ
พัฒนาการจัดการเรียนการสอน
4) สร้างความตระหนักให้กับนักเรียนเห็นความส้าคัญในผลสอบ O-NET
5) หาแนวข้อสอบหรือสอนเสริม
ข้อเสนอแนะเพื่อกำรพัฒนำ
ื่
1. พฒนาระบบนิเทศภายในสถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพ เพอปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน
ั
และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
2. พฒนาครูผู้นิเทศภายใน ให้มีความรู้ความเข้าใจ ในการวิเคราะห์หลักสูตรและการออกแบบการ
ั
จัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี วัด รวมทั งพัฒนาผู้นิเทศให้มีทักษะในการนิเทศ
3. ใช้ Test Blueprint ในการสอนเสริมและออกแบบการวัดและประเมินผล
ื่
ั
4. ใช้กระบวนการ PLC เพอปรับปรุงและพฒนาการจัดการเรียนการสอนและยกระดับผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน
12
5. ใช้สารสนเทศผลการทดสอบระดับชาติ (O - NET) ระดับชั นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และระดับชั น
มัธยมศึกษาปีที่ 6 และผลการวัดผลและประเมินผลทางการเรียนระดับสถานศึกษา มาทบทวนเพอปรับปรุง
ื่
การจัดการเรียนเรียนรู้
ั
6. สร้างเครือข่ายความเข้มแข็งทางวิชาการในระดับสหวิทยาเขต ร่วมกันพฒนายกระดับผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน
7. สร้างเครือข่ายกับหน่วยงานภายนอกในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
5)กำรน ำหลักสูตรต้ำนทุจริตศึกษำไปใช้ การบริหารจัดการหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา
แนวทางการน้าหลักสูตรต้านทุจริตไปใช้ในสถานศึกษา แนวทางการน้าหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปใช้ การจัด
กิจกรรมการเรียนรู้หลักสูตรต้านทุจริตศึกษาของครูผู้สอน
สหวทยำเขตกัลยำณี ได้แก่ โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราช
ิ
วิทยาลัย นครศรีธรรมราช โรงเรียนโยธินบ้ารุง โรงเรียนท่านครญาณวโรภาสอุทิศ โรงเรียนตรีนิมิตรวิทยา
กำรจัดกิจกรรมของสถำนศึกษำ
เปิดรำยวิชำเพิ่มเติม บูรณำกำร กำรเรียน บูรณำกำรกำรเรียนกำร จัดกิจกรรม จัดเป็นกิจกรรมเสริม
โรงเรียน กำรสอนกับกลุ่ม สอนกับกลุ่มสำระกำร พัฒนำผู้เรียน หลักสูตรหรือบูรณำ
สำระกำรเรียนรู้ เรียนรู้อื่น ๆ กำรกับวิถีชีวิตใน
สังคมศึกษำฯ สถำนศึกษำ
กัลยาณีศรีธรรมราช
(ระดับมัธยมศึกษา (ระดับมัธยมศึกษา
ตอนต้น) ตอนปลาย)
วิทยาศาสตร์จุฬา (หน้าที่พลเมือง)
ภรณราชวิทยาลัย
นครศรีธรรมราช
โยธินบ้ารุง
ท่านครญาณวโรภาส (หน้าที่พลเมือง)
อุทิศ
ตรีนิมิตรวิทยา (หน้าที่พลเมือง)
13
สหวทยำเขตสตรีทุ่งสง ได้แก่ โรงเรียนทุ่งสง โรงเรียนก้างปลาวิทยาคม โรงเรียนบางขันวิทยา
ิ
โรงเรียนวังหินวิทยาคม
กำรจัดกิจกรรมของสถำนศึกษำ
เปิดรำยวิชำเพิ่มเติม บูรณำกำร กำรเรียน บูรณำกำรกำรเรียนกำร จัดกิจกรรม จัดเป็นกิจกรรมเสริม
โรงเรียน กำรสอนกับกลุ่ม สอนกับกลุ่มสำระกำร พัฒนำผู้เรียน หลักสูตรหรือบูรณำ
สำระกำรเรียนรู้ เรียนรู้อื่น ๆ กำรกับวิถีชีวิตใน
สังคมศึกษำฯ สถำนศึกษำ
ทุ่งสง (หน้าที่พลเมือง)
ก้างปลาวิทยาคม
บางขันวิทยา (หน้าที่พลเมือง)
วังหินวิทยาคม (หน้าที่พลเมือง)
ุ
ิ
ิ
สหวทยำเขตต้นน้ ำตำปี ได้แก่ โรงเรียนฉวางรัชดาภิเษก โรงเรียนพปูนสังฆรักษ์ประชาอทิศ
โรงเรียนละอายพิทยานุสรณ์ โรงเรียนนางเอื อยวิทยา และโรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บ้ารุง
กำรจัดกิจกรรมของสถำนศึกษำ
เปิดรำยวิชำเพิ่มเติม บูรณำกำร กำรเรียน บูรณำกำรกำรเรียนกำร จัดกิจกรรม จัดเป็นกิจกรรมเสริม
โรงเรียน กำรสอนกับกลุ่ม สอนกับกลุ่มสำระกำร พัฒนำผู้เรียน หลักสูตรหรือบูรณำ
สำระกำรเรียนรู้ เรียนรู้อื่น ๆ กำรกับวิถีชีวิตใน
สังคมศึกษำฯ สถำนศึกษำ
ฉวางรัชดาภิเษก (หน้าที่พลเมือง)
พิปูนสังฆรักษ์ประชา (หน้าที่พลเมือง)
อุทิศ
ละอายพิทยานุสรณ์ (หน้าที่พลเมือง)
นางเอื อยวิทยา (หน้าที่พลเมือง)
ประสาธน์ราษฎร์
บ้ารุง
สภำพปัญหำ
1. ครูขาดความรู้ความเข้าใจในการจัดท้าแผนการเรียนรู้บูรณาการหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา
และการออกแบบเครื่องมือวัดผลและประเมินผลกับสาระอื่น
2. การบูรณาการหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา ยังไม่สอดคล้องกับเนื อหาสาระวิชาและการวัดผล
และประเมินผลไม่ชัดเจน
3. ใช้ครูผู้สอนหลายคนในการจัดการเรียนการสอนแต่ละระดับชั น บางโรงเรียนให้ครูที่ปรึกษา
เป็นผู้สอน จึงท้าให้การวัดและประเมินผลเกิดความไม่เสถียร
ข้อเสนอแนะเพื่อกำรพัฒนำ
1. ผู้บริหารโรงเรียน รองผู้อานวยการโรงเรียนฝ่ายวิชาการ หัวหน้างานวิชาการ สร้างความรู้
้
ความเข้าใจการใช้หลักสูตรต้านทุจริตศึกษาให้กับครูผู้รับผิดชอบ
ื่
2. นิเทศ ติดตาม ร่วมวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ หลักสูตรต้านทุจริตศึกษาเพอบูรณาการการจัด
กิจกรรมให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา
14
3. นิเทศ ติดตาม การวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา การวัดและประเมินผลกลุ่มสาระการเรียนรู้
ึ
สังคมศกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยน้าผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้และสาระการเรียนรู้ ในหน่วย
การเรียนรู้ต้านทุจริต แต่ละระดับชั นไปบูรณาการกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี วัดของหลักสูตรการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมของแต่ละระดับชั น
………………………………………………………