The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คำศัพท์หนังสือราชการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by saowanee554f, 2021-10-15 03:49:33

คำศัพท์หนังสือราชการ

คำศัพท์หนังสือราชการ

เ รื่ อ ง น่ ารู้

คำ ศั พ ท์
ใ น ห นั ง สื อ ร า ช ก า ร

เ ส า ว นี ย์ ต า ทิ พ ย์
ร หั ส 6 1 0 4 0 3 3 4 1 2 3 ห้ อ ง 4 / 8



ห นั ง สื อ ร า ช ก า ร

เอกสารที่เป็นหลักฐานในทางราชการ เช่น หนังสือที่มี
ไปมาระหว่างส่วนราชการหนังสือ ที่ส่วนราชการมีไปถึงหน่วย
งานอื่นซึ่งไม่ใช่ส่วนราชการ หนังสือที่หน่วยงานอื่นซึ่งไม่ใช่
ส่วนราชการมีไปถึงส่วนราชการ เป็นต้น





ห นั ง สื อ ภ า ย น อ ก
ห นั ง สื อ ภ า ย ใ น

หนังสือติดต่อราชการที่เป็ นแบบพิธีโดย หนังสือติดต่อราชการที่เป็ นแบบพิธีการ
ใช้กระดาษตราครุฑ เป็นหนังสือติดต่อ น้ อยกว่าหนังสือภายนอก เป็นหนังสือ
ระหว่างส่วนราชการหรือส่วนราชการมี ติดต่อภายในกระทรวง ทบวง กรม
ถึงหน่วยงานอื่นใดซึ่งมิใช่ส่วนราชการ หรือจังหวัดเดียวกัน ใช้กระดาษบันทึก
หรือที่มีถึงบุคคลภายนอก ข้อความ

ห นั ง สื อ ป ร ะ ทั บ ต ร า ห นั ง สื อ สั่ ง ก า ร

หนังสือที่ใช้ประทับตราแทนการลงชื่อของ หนังสือสั่งการ ให้ใช้ตามแบบที่กำหนด
หัวหน้ าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไป โดยให้ ไว้ หนังสือสั่งการมี 3 ชนิด ได้แก่ คำสั่ง
หัวหน้ าส่วนราชการระดับกองหรือผู้ที่ได้รับ ระเบียบ และข้อบังคับ
มอบหมายจากหัวหน้ าส่วนราชการระดับกรม
ขึ้นไปเป็ นผู้รับผิดชอบลงชื่ อย่อกำกับตรา

ห นั ง สื อ ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ ห นั ง สื อ ที่ เ จ้ า ห น้ า ที่ ทำ ขึ้ น ห รื อ รั บ
ไ ว้ เ ป็ น ห ลั ก ฐ า น ใ น ร า ช ก า ร
หนังสือประชาสัมพันธ์ ให้ใช้ตามแบบที่
กำหนดไว้ หนังสือประชาสัมพันธ์มี หนังสือที่ทางราชการทำขึ้นนอกจากที่กล่าวแล้ว
3ชนิด ได้แก่ ประกาศ แถลงการณ์และ ข้างต้น หรือหนังสือที่หน่วยงานอื่นใดซึ่งมิใช่
ข่าว ส่วนราชการหรือบุคคลภายนอกมีมาถึงส่วน
ราชการและส่วนราชการรับไว้เป็ นหลักฐานของ
ทางราชการ มี 4 ชนิด คือ หนังสือรับรอง
รายงานการประชุม บันทึก และหนังสืออื่น

ภาษา
ใ น ห นั ง สื อ ร า ช ก า ร

การใช้ภาษาในการเขียนหนังสือราชการในการเขียนหนังสือราชการ
นอกจากรูปแบบจะถูกต้องตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ
แล้วยังจำเป็นต้องมีความชัดเจนถูกต้องสมเหตุสมผล มีการจัดลำดับเนื้อหาเป็น
ระเบียบ นอกจากนี้จำต้องมีการใช้ถ้อยคำภาษาที่ถูกต้องชัดเจนเหมาะสมและสละ
สลวยน่าอ่านอีกด้วยดังนั้นการเขียนหนังสือราชการจึงเป็ นทั้งศาสตร์และศิลป์ ใน
ด้านศาสตร์คือการมีหลักการในการเขียนที่ชัดเจนการใช้ภาษาถูกต้องตามหลัก
การใช้ภาษาใช้ให้เหมาะสมกับบุคคลและโอกาสส่วน ในด้านศิลป์มีการใช้ภาษาที่
นุ่มนวลสำนวนไพเราะที่ทำให้บรรลุวัตถุประสงค์การเป็ นผู้สนใจอ่านคือการอ่าน
มาก และการฝึกการเขียนคือการเขียนมากย่อมทำให้เขียนหนังสือได้ดียิ่งขึ้น
เรื่อยๆ เนื่องจากเป็นการเพิ่มทักษะจนเกิดเป็นความชำนาญในการเขียนหนังสือ

ภ า ษ า ร า ช ก า ร คือภาษาที่มีการกำหนดให้เป็นภาษาหลักในการ

ติดต่อสื่อสารภายในประเทศและเขตแดนที่ติดต่อกับประเทศนั้น บางครั้งภาษา
ท้องถิ่นถูกเข้าใจผิดว่าเป็ นภาษาทางการเพราะมีการใช้การติดต่อกับทางส่วนการ
ปกครองของท้องที่นั้น สำหรับประเทศไทยนั้น ใช้ภาษาไทยมาตรฐาน เป็น "ภาษา
กลาง" ที่ได้พัฒนารูปแบบขึ้นมาจากภาษาไทยถิ่นกลางมาโดยลำดับ จนมีลักษณะ
เฉพาะที่แตกต่างจากภาษาไทยถิ่นกลางอื่น ๆ เรียกอีกอย่างว่าเป็นภาษาหนังสือ
เป็นภาษาที่ใช้ในเอกสารราชการ การประชุมที่เป็นทางการ หนังสือ และตำราต่าง


คำ ศั พ ท์ คำ ที่ ไ ม่ ค ว ร ใ ช้

คำ ที่ ค ว ร ใ ช้ ภ า ษ า พู ด

ภ า ษ า เ ขี ย น

ถ้า
หาก



เดี๋ยวนี้
ขณะนี้



เหมือนกัน
เช่นเดียวกัน



ยังไง
เช่นใด ประการใด



ได้ไหม
ได้หรือไม่



บอก
แจ้ง



ทำ
ดำเนินการ



ตรวจดู
ตรวจสอบ

คำ ศั พ ท์

คำ ที่ ค ว ร ใ ช้ คำ ที่ ไ ม่ ค ว ร ใ ช้

ภ า ษ า เ ขี ย น ภ า ษ า พู ด

อนุเคราะห์

มิได้ หาได้ไม่ มีอาจ... ได้ ช่วย

มิชอบ ไม่สมควร ไม่ได้
เหตุใด
ไม่ดี
สิ่งใด อันใด

ขอรับการสนับสนุน
ประสานงานไปยัง ทำไม

ในกรณีนี้ อะไร



ขอยืม



ติดต่อไปยัง



ในเรื่องนี้

คำ ศั พ ท์ คำ ที่ ไ ม่ ค ว ร ใ ช้

คำ ที่ ค ว ร ใ ช้ ภ า ษ า พู ด

ภ า ษ า เ ขี ย น

ผูใ ด ใคร




ที่ใด ที่ไหน




แบบใด แบบไหน




เมื่อใด เมื่อไหร




เพราะอะไร, เหตุใด ทําไม


ขณะนี้ บัดนี้

เดี๋ยวนี้


(มีความ)ประสงค, อนุเคราะห

ตองการ


มิใช

ไมใ ช

คำ ศั พ ท์













คำ ที่ ค
ว ร ใ ช้
คำ ที่ ไ ม่
ค ว ร ใ ช้
ภ า ษ า
เ ขี ย น
ภ า ษ
า พู ด
ขอเชิญไป






ยังไมไ ดด ําเนินการแตอ ยา งใด
ขอเชิญมา



แลว เสร็จ
ยังไมไดทําเลย
ขอเรียนใหทราบวา



เรียบรอยแลว
ขาดความรูความเขาใจ



ขอเตือนวา
ยังบกพรอง , ยังตองปรับปรุง



ปญ ญาทึบ, โง
โปรดพิจารณาดําเนินการ


โปรดพิจารณาอนุมัต ใชไมได, เลว





ขอใหด ําเนินการ



โปรดอนุมัต

คำ ศั พ ท์









คำ ที่ ไ ม่
ค ว ร ใ ช้
คำ ที่ ค
ว ร ใ ช้
ภ า ษ
า พู ด
ภ า ษ า
เ ขี ย น



ประเด็ดต่อมา



เรื่องต่อไป
ข้อเท็จจริง



ความจริง
ประสงค์


แล้วเสร็จ เรียบร้อยแล้ว ใคร่




เรื่อง (กรณี) ดังกล่าว เสร็จแล้ว


พิจารณาแล้วเห็นว่า

เรื่องนั้น




คิดว่า

การเขียนหนังสือราชการเปนทั้ง
ศาสตรแ ละศิลป ทางดานศาสตรคือการมีหลักการ

ใน การเขียนที่ชัดเจน การใชภ าษาถูกตองตาม
หลักการใชภาษา ใชใหเ หมาะสมกับบุคคลและ
โอกาส สว นทางดา นศิลป คือการใชภาษาใหม ี

สํานวนไพเราะ นุมนวล
จึงควรศึกษาและฝกใหเกิดความ ชํานาญ โดยใน
การใชภาษาในการเขียนหนังสือราชการจะตอ งคํา

นึงถึงการใชค ํา ไดแก การสะกด คํา การใชค ํา
เชื่อม การใชค ําใหเหมาะสม การใชเ ครื่องหมาย

ไดแ ก ไปยาลนอ ย และ เครื่องหมายอื่น ๆ
นอกจากนี้ยังตอ งใชประโยคตามประเภท
ใหถ ูกตอง มีการยอ หนา การใชเ ลขไทย และ
ใชภาษาของทางราชการใหถูกตอ งอีกดวย



ห นั ง สื อ เ ล่ ม เ ล็ ก

คำ ศั พ ท์ ใ น ห นั ง สื อ
ราชการ




เ ส า ว นี ย์ ต า ทิ พ ย์


Click to View FlipBook Version