The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการใช้หลักเกณฑ์มาตรฐานอัตรากำลังในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือหลักเกณฑ์มาตรฐานอัตรากำลัง สอศ.

คู่มือการใช้หลักเกณฑ์มาตรฐานอัตรากำลังในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

(2)

คำนำ

สานักงาน ก.ค.ศ. ได้ประกาศใช้เกณฑ์มาตรฐานอัตรากาลังในสถานศึกษาในสังกัด
สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาใหม่ ตามหนังสือที่ ศธ 0206.6/55 ลงวันท่ี 22 มกราคม 2557
โดยมวี ธิ ีคดิ คานวณที่สอดคล้องกบั สถานการณป์ จั จุบนั และมีความแตกต่างไปจากแนวทางการกาหนด
อตั รากาลงั ไวเ้ ดมิ

ดังน้ัน เพ่ือให้การคิดคานวณอัตรากาลังในสถานศึกษาได้ถูกต้องตามเจตนารมณ์
ของ ก.ค.ศ. และเพื่อให้ส่วนราชการและเจ้าหน้าที่สานักงาน ก.ค.ศ. ที่นาเกณฑ์มาตรฐานอัตรากาลัง
ไปใช้ในการปฏิบัติงานมีความรู้ความเข้าใจถูกต้องตรงกัน สานักงาน ก.ค.ศ. จึงได้ดาเนินการจัดทา
คู่มือการใช้เกณฑ์มาตรฐานอัตรากาลังในสถานศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ขึ้น และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือดังกล่าวนี้จะสามารถนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการบริหาร
ทรัพยากรบุคคลในสถานศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา อันจะส่งผลต่อ
การจดั การศึกษาทม่ี คี ณุ ภาพตอ่ ไป

(นางศิริพร กจิ เกื้อกลู )
เลขาธกิ าร ก.ค.ศ.
เมษายน 2557

(3)

สำรบัญ

คานา............................................................................................................................... หนา้
สารบญั ............................................................................................................................ (2)
(3)

ตอนที่ 1 หลกั การกาหนดเกณฑม์ าตรฐานอัตรากาลังในสถานศกึ ษา............................... 1
1. สภาพปจั จุบันและปัญหา........................................................................... 1
2. หลกั การและแนวคิดของเกณฑ์มาตรฐานอัตรากาลงั ................................. 2
3. กรอบแนวคดิ ในการพฒั นาเกณฑ์มาตรฐานอัตรากาลังในสถานศึกษา
สงั กัดสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา .......................................... 3

ตอนท่ี 2 เกณฑ์มาตรฐานอตั รากาลังในสถานศึกษา 5
สังกัดสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ................................................. 5
1. ข้อตกลงเบอ้ื งต้น (Assumption) ในการกาหนดเกณฑม์ าตรฐานอัตรากาลัง....
2. เกณฑม์ าตรฐานอตั รากาลงั ในสถานศกึ ษา 7
1) การคานวณจานวนอตั รากาลังที่ทาหน้าที่สอนในสถานศึกษา.............. 7
1.1) หลกั สตู รปกติ.............................................................................
1.1.1) หมวดวิชาสามัญทกุ สถานศึกษา และหมวดวิชาชพี ประเภท 7
วิชาพาณิชยกรรม และอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ ว .........
1.1.2) หมวดวชิ าชพี ประเภทวิชาอตุ หกรรม คหกรรม 8
และอตุ สาหกรรมส่งิ ทอ ..................................................
1.1.3) หมวดวชิ าชพี ประเภทวิชาศลิ ปกรรม เกษตรกรรม 9
และประมง .................................................................... 9
1.2) หลกั สตู รระยะสัน้ ....................................................................... 11
2) การกาหนดจานวนอตั รากาลงั ท่ีทาหนา้ ท่บี ริหารในสถานศึกษา .......... 12
3) การคานวณจานวนอัตรากาลังทท่ี าหนา้ ท่ีสนับสนนุ การสอน...............

(4)

สำรบัญ (ตอ่ )

ตอนท่ี 3 ตัวอย่างการคานวณอตั รากาลงั ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา หน้า
ในสถานศึกษา ................................................................................................. 13
1. ตัวอยา่ งการคานวณอตั รากาลังในสถานศึกษา 13
ประเภทวทิ ยาลัยเทคนิค............................................................................ 27
2. ตวั อย่างการคานวณอตั รากาลังในสถานศึกษา 42
ประเภทวิทยาลัยอาชีวศึกษา ..................................................................... 61
3. ตวั อยา่ งการคานวณอตั รากาลังในสถานศกึ ษา 79
ประเภทวิทยาลยั การอาชพี .......................................................................
4. ตวั อย่างการคานวณอตั รากาลงั ในสถานศึกษา
ประเภทวทิ ยาลยั สารพัดช่าง......................................................................
5. ตัวอย่างการคานวณอัตรากาลังในสถานศกึ ษา
ประเภทวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยี .....................................................

ภาคผนวก
หนงั สือท่ี ศธ 0206.6/55 ลงวนั ที่ 22 มกราคม 2557
เรือ่ ง เกณฑ์มาตรฐานอตั รากาลังในสถานศึกษา
สังกดั สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

คณะทางาน

ตอนท่ี 1
หลกั การกาหนดเกณฑม์ าตรฐานอัตรากาลังในสถานศกึ ษา

1. สภาพปจั จุบันและปญั หา

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 มาตรา
19 (2) กาหนดให้ ก.ค.ศ. มีอานาจและหน้าที่ในการกาหนดเกณฑ์อัตรากาลังของข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา ประกอบกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 10
กาหนดให้การจัดการศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการได้รับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
ไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ แต่ในขณะเดียวกันรัฐบาลมีนโยบาย
ลดขนาดกาลงั คนภาครัฐ ต้งั แต่ปี พ.ศ. 2540 ทาให้เกดิ สภาพการจัดอัตรากาลังข้าราชการครูในปัจจุบัน
ไมส่ อดคลอ้ งกับเกณฑม์ าตรฐานอตั รากาลงั ที่ ก.ค.ศ. กาหนดทาให้เกิดสภาวะขาดแคลนอัตรากาลังครู
ในสถานศึกษาทั้งระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานและการศึกษาระดับอาชีวศึกษาอย่างรุนแรงเมื่อคานวณ
อัตรากาลังโดยใช้เกณฑ์มาตรฐานอัตรากาลังที่ ก.ค.ศ. กาหนด ทาให้เกิดประเด็นคาถามว่าเกณฑ์
มาตรฐานอัตรากาลังที่ ก.ค.ศ. กาหนดมีความเหมาะสมกับสภาพในปัจจบุ ันหรือไม่ อยา่ งไร

รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ (นายวิจิตร ศรีสอ้าน) ได้มอบหมายให้ส่วนราชการ
ที่เกี่ยวข้องทาการศึกษา วิเคราะห์ จัดประชุมเสวนา และได้ข้อสรุปว่า เกณฑ์มาตรฐานอัตรากาลัง
ในสถานศึกษาที่ ก.ค.ศ. กาหนดไม่สอดคล้องกับการจัดการศึกษาในปัจจุบัน จึงได้ให้ส่วนราชการ
ทร่ี บั ผิดชอบดาเนนิ การยกรา่ งเกณฑ์มาตรฐานอัตรากาลังในสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ
ท่ีเหมาะสมนาเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อนามาใช้ในการแก้ปัญหาขาดแคลนครูในสถานศึกษาสังกัด
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารตอ่ ไป

ก.ค.ศ. ได้ตั้ง อ.ก.ค.ศ.วิสามัญเฉพาะกิจเก่ียวกับการพัฒนาเกณฑ์มาตรฐานอัตรากาลัง
ในสถานศึกษาระดบั อนุปริญญาและสายอาชีพ ดาเนินการศึกษาจัดทา (ร่าง) เกณฑ์มาตรฐานอัตรากาลัง
ในสถานศึกษาสังกัดสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาโดยใช้ข้อมูลจากผลการศึกษาเปรียบเทียบ
กับการใช้อัตรากาลังจากเกณฑ์มาตรฐานอัตรากาลังในสถานศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการ
การอาชีวศึกษาท่ี ก.ค.ศ. กาหนด ร่างเกณฑ์มาตรฐานอัตรากาลังในสถานศึกษา สังกัดสานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษาที่คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ ซึ่งต่อมา ก.ค.ศ. พิจารณาอนุมัติ
เกณฑ์มาตรฐานอัตรากาลังในสถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาท่ี อ.ก.ค.ศ.
วิสามัญเฉพาะกิจเกี่ยวกับการพัฒนาเกณฑ์มาตรฐานอัตรากาลังในสถานศึกษาระดับอนุปริญญาและ
สายอาชีพได้จัดทาขึ้น แต่เน่ืองจากเกณฑ์มาตรฐานอัตรากาลังในสถานศึกษาดังกล่าว เป็นเกณฑ์
มาตรฐานอัตรากาลังท่ีเกิดข้ึนใหม่อาจทาให้เกิดความเข้าใจและนาไปใช้ในการบริหารงาน
ทรัพยากรบุคคลคลาดเคลื่อนไป สานักงาน ก.ค.ศ. จึงได้จัดทาคู่มือการใช้เกณฑ์มาตรฐานอัตรากาลัง
ในสถานศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาขึ้นเพ่ือใช้เป็นคู่มือในการปฏิบัติงาน
ของเจ้าหน้าทใี่ นสานกั งาน ก.ค.ศ.และสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

2

2. หลักการและแนวคิดของเกณฑ์มาตรฐานอตั รากาลัง

ในการจัดทาร่างเกณฑ์มาตรฐานอัตรากาลังฯ มีแนวทางในการดาเนินงานตั้งแต่การ
รวบรวมข้อมูล ศึกษาวิเคราะห์แนวคิด ทฤษฎีเก่ียวกับการกาหนดเกณฑ์มาตรฐานอัตรากาลัง
ตลอดจนเทคนิควิธีการต่าง ๆ ท่ีได้มีการศึกษารวบรวมไว้แล้ว เพื่อให้ได้แนวคิดและรูปแบบ
ที่เหมาะสมกับสภาพปัญหามากที่สุดมาใช้เป็นข้อมูลในการจัดทาร่าง เกณฑ์มาตรฐานอัตรากาลังฯ
ซ่ึงแนวคิดทฤษฎีท่ีเกย่ี วข้องกับการกาหนดเกณฑ์มาตรฐานอัตรากาลงั ฯ มดี งั น้ี

2.1 การคาดการณ์ความตอ้ งการดา้ นทรัพยากรมนษุ ย์
(1) การคาดการณ์จากสมการพื้นฐาน วิธีการน้ีจะเป็นการคานวณหาจานวนบุคลากร

ทอี่ งค์การตอ้ งการในแต่ละชว่ งเวลา จากสูตรพื้นฐานทางคณิตศาสตรต์ ่อไปน้ี

จานวนบคุ ลากรทีต่ อ้ งการเพม่ิ ข้ึน = จานวนบุคลากรทตี่ อ้ งการทง้ั หมด – จานวนบคุ ลากรคงเหลอื
จานวนบุคลากรทต่ี ้องการท้งั หมด = จานวนงานทงั้ หมดหารดว้ ยอตั ราสว่ นของงานตอ่ บุคลากร

(2) การใช้แบบจาลองการวางแผนรวม (Aggregate Planning Model) วิธีการนี้
จะคาดการณ์ปริมาณความต้องการบุคลากรขององค์การในช่วงระยะเวลาหนึ่ง เพ่ือให้สามารถ
นามาใช้งานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ

(3) การใช้วิธีการทางสถิติ (Statistical Forecasting Methods) วิธีการนี้จะนา
หลักการทางสถิติและคณิตศาสตร์ เช่น สมการเส้นตรง (Linear Programming) และการวิเคราะห์
การถดถอย (Regression Technique) มาช่วยในการพยากรณ์ความต้องการทรัพยากรบุคคลของ
องค์การในช่วงระยะเวลาทส่ี นใจ

(4) การใช้แบบจาลองของมาร์คอฟ (Markov-model) วิธีการนี้นาหลักการคณิตศาสตร์
ขั้นสูงมาประยุกต์ในการศึกษาและวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรมนุษย์ในอนาคต
เพื่อองค์การจะได้จัดเตรียมแผนในการสรรหา การคัดเลือก การฝึกอบรมและการพัฒนาบุคลากร
ใหม้ ีความพรอ้ มในการปฏิบตั หิ น้าทใี่ นแต่ละตาแหน่ง

2.2 มาตรการเลอื กเทคนิคในการพยากรณ์
(1) ระยะเวลา (Time Horizon) ปัจจุบันเวลาเป็นปัจจัยสาคัญในการดาเนินธุรกิจ

ดังน้ัน ผู้ท่ีทาหน้าที่ด้านการพยากรณ์ความต้องการทรัพยากรมนุษย์จะต้องเลือกวิธีการท่ีมีระยะเวลา
เหมาะสมกับความต้องการของงาน โดยใหผ้ ลลพั ธท์ ี่ได้มีระดับของความถูกต้องและเชื่อถือได้ เหมาะสม
กับการใชง้ าน โดยไม่เสียเวลาในการประเมนิ ผลมากเกนิ ไป

(2) ลักษณะของข้อมูล (Pattern of Data) นักพยากรณ์ท่ีมีความสามารถจะต้อง
คานึงถึงธรรมชาติหรือลักษณะของข้อมูลทั้งในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณเป็นสาคัญ เพื่อให้สามารถ
คัดเลือกเครือ่ งมอื ในการพยากรณ์ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม และสามารถคาดการณ์เหตุการณ์ท่ีจะเกิดได้อย่าง
ใกล้เคยี ง

3

(3) ค่าใช้จา่ ย (Cost) ค่าใช้จ่ายเปน็ ปจั จยั สาคญั ในการดาเนินงานทุกประเภท ดังน้ัน
นักพยากรณ์ต้องพิจารณาค่าใช้จ่ายท่ีเกิดข้ึนท้ังทางตรงและทางอ้อมของการพยากรณ์แต่ละวิธีว่ามี
ความเหมาะสมอยา่ งไร โดยเปรียบเทียบระหวา่ งกนั เอง หรอื เปรยี บเทียบกบั ความต้องการของงาน

(4) ความแม่นยา (Accuracy) ความถูกต้องและแม่นยาของเครื่องมือท่ีใช้เป็นหัวใจ
สาคัญของการพยากรณ์ ดังน้ัน นักพยากรณ์ควรต้องเลือกใช้วิธีการที่มีความถูกต้องและแม่นยาในระดับ
ที่ยอมรบั ได้สาหรบั งานแต่ละชนดิ

(5) ความง่ายในการนาไปใช้ (Ease of Application) เนื่องจากสมาชิกแต่ละคน
ของหน่วยงานวางแผนทรัพยากรมนุษย์ต่างมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ท่ีแตกต่างกัน ดังนั้น
นักพยากรณจ์ ึงตอ้ งเลือกวิธีการท่ีมีความง่ายในการนามาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือที่สมาชิกทุกคน
ในทีมงานจะไดส้ ามารถปฏิบัตงิ านได้อยา่ งราบร่นื และมีอปุ สรรคนอ้ ยท่ีสุด

3. กรอบแนวคิดในการพัฒนาเกณฑ์มาตรฐานอัตรากาลังในสถานศึกษา สังกัดสานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
สานักงาน ก.ค.ศ. ได้นารูปแบบการประเมินผลโครงการ (CIPP Model) และหลักการ

แนวคิดของเกณฑ์มาตรฐานอัตรากาลัง มาสร้างเป็นกรอบแนวคิดในการพัฒนาเกณฑ์มาตรฐาน
อตั รากาลังในสถานศกึ ษา สงั กดั สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ไดด้ งั นี้

3.1 ปจั จัยนาเข้า
3.2 กระบวนการดาเนินการ
3.3 ผลผลิต/ผลลพั ธ์

4

INPUT

ปัญหาอัตรากาลังในปจั จุบัน

เกณฑม์ าตรฐานอัตรากาลงั ปัจจบุ นั แนวคดิ ในการปรบั ปรุงอัตรากาลัง

PROCESS
จดั ทาร่างเกณฑ์มาตรฐานอัตรากาลังในสถานศึกษาโดยใชแ้ นวคดิ ดังตอ่ ไปนี้
1. จัดอัตรากาลังออกเป็น 3 กลุ่ม คือ (1) กลุ่มผู้บริหารสถานศึกษา (2) กลุ่มครูผู้สอน
และ (3) กลมุ่ สนับสนนุ การสอน
2. คิดจานวนอตั รากาลงั จากภาระงาน (Work Loads)

OUTPUTS
เกณฑ์มาตรฐานอตั รากาลังในสถานศกึ ษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

OUTCOMES
1. เกณฑ์ฯ มจี านวนอตั รากาลังสอดคลอ้ งกับสภาพการทางานในสถานศึกษา
2. สามารถนามาใชเ้ ปน็ แนวทางในการแก้ไขปัญหาขาดแคลนอัตรากาลังในสถานศึกษา

ตอนที่ 2
เกณฑ์มาตรฐานอตั รากาลังในสถานศึกษา
สังกดั สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา

ก.ค.ศ. ได้กาหนดเกณฑ์มาตรฐานอัตรากาลังในสถานศึกษา สังกัดสานักงาน
คณะกรรมการการอาชวี ศึกษาใหม่ เนอื่ งจากเกณฑ์มาตรฐานอัตรากาลังในสถานศึกษาเดิมประกาศใช้
มาเป็นเวลานาน และในปัจจุบันไม่สอดคล้องกับสภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัด
สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา โดยมีรายละเอยี ดของเกณฑม์ าตรฐานอัตรากาลังดังนี้

1. ข้อตกลงเบ้ืองต้น (Assumption) ในการกาหนดเกณฑม์ าตรฐานอัตรากาลงั
1.1 กาหนดกลมุ่ อตั รากาลัง ออกเป็น 3 กลุม่ คือ กลุ่มครูผู้สอน กลุ่มผู้บริหารสถานศึกษา

และกลุม่ สนบั สนุนการสอน
1.2 กลุ่มครูผู้สอน คิดอัตรากาลังจากจานวนชั่วโมงการปฏิบัติงาน (Work Loads) ใน

หนงึ่ สัปดาห์ ดงั นี้
1) กลุ่มงานสอนในหมวดวิชาสามัญ และหมวดวิชาชีพประเภทวิชาพาณิชยกรรม

ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเท่ียว ประเภทวิชาอุตสาหกรรม ประเภทวิชาคหกรรม ประเภทวิชา
อตุ สาหกรรมสงิ่ ทอ และกลุ่มงานสอนหลักสูตรระยะส้นั

1.1) ปฏิบัติงานสอนตามตารางสอน
– ระดับ ปวช. สัปดาหล์ ะ 18 ชว่ั โมง
– ระดับทสี่ งู กว่า ปวช. สปั ดาหล์ ะ 15 ช่วั โมง

1.2) ปฏบิ ัตงิ านเกยี่ วเน่ืองกับงานสอน หมายถึง การปฏิบัตงิ านท่ีไม่ใช่งานสอน
ตามตารางสอน แต่เป็นงานท่ีจะต้องให้ครูเป็นผู้ปฏิบัติเท่าน้ัน ได้แก่ การทาแผนการสอน
การเตรียมการสอน การสร้างสื่อ/เครื่องมือประเมิน การตรวจสอบผลการสอนและรายงานผล
การสอนเสรมิ ฯลฯ สปั ดาหล์ ะ 10 - 13 ชวั่ โมง

1.3) ปฏิบัติงานอื่นท่ีไม่ใช่งานของกลุ่มสนับสนุนการสอนแต่เป็นงาน
ที่ผู้บังคับบัญชามอบหมาย เช่น ปฏิบัติงานหัวหน้ากลุ่ม การประชุมต่าง ๆ เป็นต้น สัปดาห์ละ
2 ชั่วโมง

รวมจานวนชัว่ โมงการปฏิบตั ิงาน (Work Loads) 30 ชัว่ โมงในหนึ่งสัปดาห์
2) กลุ่มงานสอนในหมวดวิชาชีพประเภทวิชาศิลปกรรม ประเภทวิชาเกษตรกรรม
และประเภทวชิ าประมง

2.1) ปฏบิ ัตงิ านสอนตามตารางสอน
– ระดบั ปวช. สปั ดาหล์ ะ 15 ชว่ั โมง
– ระดับท่สี งู กวา่ ปวช. สัปดาห์ละ 10 ชั่วโมง

6

2.2) ปฏบิ ัติงานเก่ียวเนือ่ งกับงานสอน หมายถงึ การปฏิบตั ิงานที่ไม่ใช่งานสอน
ตามตารางสอน แต่เป็นงานท่ีจะต้องให้ครูเป็นผู้ปฏิบัติเท่าน้ัน ได้แก่ การทาแผนการสอน
การเตรียมการสอน การสร้างส่ือ/เครื่องมือประเมิน การตรวจสอบผลการสอนและรายงานผล
การสอนเสรมิ ฯลฯ สัปดาหล์ ะ 13–18 ชัว่ โมง

2.3) ปฏิบัติงานอื่นที่ไม่ใช่งานของกลุ่มสนับสนุนการสอนแต่เป็นงานท่ี
ผบู้ งั คับบญั ชามอบหมาย เช่น ปฏิบัติงานหัวหน้ากลุ่มสาระ การประชุมต่าง ๆ เป็นต้น สัปดาห์ละ 2 ชั่วโมง

รวมจานวนชั่วโมงการปฏิบตั ิงาน (Work Loads) 30 ชัว่ โมงในหนง่ึ สปั ดาห์
3) กลมุ่ งานสอนหลักสูตรระยะสน้ั

3.1) ปฏบิ ตั ิงานสอนตามตารางสอน สัปดาหล์ ะ 18 ช่วั โมง
3.2) ปฏบิ ตั งิ านเก่ยี วเน่ืองกับงานสอน หมายถงึ การปฏบิ ตั งิ านท่ีไม่ใช่งานสอน
ตามตารางสอน แต่เป็นงานท่ีจะต้องให้ครูเป็นผู้ปฏิบัติเท่าน้ัน ได้แก่ การเตรียมการสอน การเตรียมสื่อ/
เครอื่ งมือประเมนิ การตรวจสอบผลการสอนและรายงานผลการสอนเสรมิ ฯลฯ สปั ดาห์ละ 10 ชั่วโมง
3.3) ปฏิบัติงานอ่ืนท่ีไม่ใช่งานของกลุ่มสนับสนุนการสอนแต่เป็นงาน
ทผ่ี ้บู ังคับบัญชามอบหมาย เช่น ปฏิบตั งิ านหัวหนา้ หลกั สตู ร การประชมุ ต่าง ๆ เป็นตน้ สปั ดาห์ละ 2 ชวั่ โมง
รวมจานวนชว่ั โมงการปฏิบัติงาน (Work Loads) 30 ช่ัวโมงในหน่ึงสปั ดาห์
1.3 กลุ่มผู้บริหารสถานศึกษา คิดอัตรากาลังจากภาระงานบริหารสถานศึกษา โดย
การเปรียบเทยี บจากจานวนห้องเรยี น
1.4 กลุ่มสนับสนุนการสอน คิดจากปริมาณงานสนับสนุนกิจกรรมของสถานศึกษา
ทีส่ ง่ ผลตอ่ คณุ ภาพการจดั การศกึ ษา แต่ไมใ่ ชเ่ ป็นลกั ษณะงานทีเ่ กย่ี วขอ้ งกับการจดั การศึกษา
1.5 การคดิ หอ้ งเรียน
1) ปจั จัยที่ใช้นามากาหนดเป็นหอ้ งเรียน มดี ังน้ี
1.1) ระดบั การศึกษา เช่น ระดบั ปวช. , ระดบั สูงกว่า ปวช. เป็นต้น
1.2) ประเภทหมวดวิชาท่ีศึกษา เช่น หมวดวิชาสามัญ หมวดวิชาประเภทวิชาชีพ
เป็นตน้
1.3) ประเภทหลกั สูตร เชน่ หลกั สตู รระยะส้นั เปน็ ต้น
2) การคิดจานวนหอ้ งเรียน
2.1) กรณีท่ีมีจานวนนักเรียนน้อยกว่าขนาดห้องเรียนที่กาหนด หากมีจานวน
ไมต่ า่ กว่า 15 คน ใหน้ ับเป็นหนึ่งหอ้ งเรยี น
2.2) กรณีท่ีมีนักเรียนจานวนเท่ากับหรือมากกว่าขนาดห้องเรียนท่ีกาหนดให้
นาจานวนนักเรียนท้ังหมดหารด้วยขนาดห้องเรียนที่กาหนด หากมีจานวนนักเรียนเหลือเศษไม่ต่ากว่า
10 คน ใหน้ ับเพิม่ ได้อีกหนงึ่ ห้องเรยี น
1.6 จานวนชั่วโมงเรียนต่อสัปดาห์ของผู้เรียนยึดตามโครงสร้างหลักสูตรการศึกษาของ
สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

7

2. เกณฑ์มาตรฐานอัตรากาลังในสถานศกึ ษา
1) การคานวณจานวนอัตรากาลังทท่ี าหน้าทสี่ อนในสถานศึกษา
1.1) หลกั สูตรปกติ
1.1.1) หมวดวิชาสามัญทุกสถานศึกษา และหมวดวิชาชีพประเภทวิชา

พาณชิ ยกรรม และอุตสาหกรรมการทอ่ งเท่ียว

T = GC
L
โดยที่ T (Teacher)
G (Group) = จานวนอตั รากาลังบุคลากรทท่ี าหน้าทสี่ อน
= จานวนห้องเรยี น กาหนดดังน้ี

(1) ปวช. จานวนนักเรียน 40 คน เท่ากับ 1 หอ้ งเรยี น
(2) สูงกว่า ปวช. จานวนนกั เรยี น 30 คน เท่ากับ 1หอ้ งเรียน
(3) เศษของจานวนนกั เรยี นตัง้ แต่ 10 คนขน้ึ ไป

คดิ เพิ่มข้นึ อกี 1 หอ้ งเรยี น
(4) หากสถานศึกษาเปิดสอนในหมวดวิชาไม่สอดคล้อง

กับประเภทสถานศึกษา จะคิดจานวนห้องเรียนได้
ต่อเม่ือมีจานวนนักเรียนห้องแรกไมต่ ่ากว่า 15 คน
C (Curriculum) = จานวนชวั่ โมงทนี่ ักเรียนตอ้ งเรยี นตามหลักสูตร
ใน 1 สัปดาห์ ดงั นี้
(1) หมวดวชิ าสามัญ
– ระดบั ปวช. เท่ากับ 7 ชั่วโมง
– ระดับสงู กว่า ปวช. เท่ากับ 6 ชวั่ โมง
(2) หมวดวชิ าชีพ
–ระดับ ปวช. เท่ากบั 21 ชวั่ โมง
–ระดับ ปวส. เทา่ กับ 25 ชวั่ โมง
–ระดบั ปวส.พเิ ศษ เทา่ กับ 20 ชั่วโมง
L (Teaching Load) = จานวนชัว่ โมงสอนของครู 1 คน ที่ต้องสอนในหนึ่งสัปดาห์
กาหนดดงั นี้
(1) ระดับ ปวช. เท่ากบั 18 ชวั่ โมง
(2) ระดับสูงกวา่ ปวช. เท่ากบั 15 ชั่วโมง

8

1.1.2) หมวดวิชาชพี ประเภทวิชาอุตสาหกรรม คหกรรม และ อตุ สาหกรรมสงิ่ ทอ

T = GC
L

โดยท่ี T (Teacher) = จานวนอตั รากาลังบคุ ลากรที่ทาหน้าทสี่ อน

G (Group) = จานวนห้องเรยี น กาหนดดังน้ี

(1) จานวนนกั เรียน 30 คน เท่ากบั 1 หอ้ งเรยี น

(2) เศษของจานวนนักเรียนตั้งแต่ 10 คนข้ึนไป

คดิ เพ่มิ ข้ึนอีก 1 หอ้ งเรยี น

(3) หากสถานศึกษาเปิดสอนในหมวดวิชาไม่สอดคล้อง

กับประเภทสถานศึกษา จะคิดจานวนห้องเรียนได้

ตอ่ เม่อื มีจานวนนักเรยี นหอ้ งแรกไม่ตา่ กว่า 15 คน

C (Curriculum) = จานวนชวั่ โมงท่นี ักเรยี นต้องเรยี นตามหลกั สูตร

ใน 1 สัปดาห์ ดังน้ี

(1) ระดบั ปวช. เทา่ กบั 21 ช่วั โมง

(2) ระดับ ปวส. เทา่ กับ 25 ช่วั โมง

(3) ระดบั ปวส.พเิ ศษ เท่ากบั 20 ชวั่ โมง

L (Teaching Load) = จานวนช่วั โมงสอนของครู 1 คน ท่ีต้องสอนในหน่ึงสัปดาห์

กาหนดดงั น้ี

(1) ระดับ ปวช. เทา่ กบั 18 ชว่ั โมง

(2) ระดบั สูงกวา่ ปวช. เทา่ กบั 15 ชวั่ โมง

9

1.1.3) หมวดวชิ าชพี ประเภทวิชาศิลปกรรม เกษตรกรรม และประมง
T = GC
L

โดยท่ี T (Teacher) = จานวนอัตรากาลังบคุ ลากรทท่ี าหนา้ ทีส่ อน

G (Group) = จานวนห้องเรยี น กาหนดดังน้ี

(1) จานวนนกั เรยี น 30 คน เทา่ กบั 1 ห้องเรียน

(2) เศษของจานวนนักเรยี นตั้งแต่ 10 คนขนึ้ ไป

คิดเพมิ่ ข้ึนอีก 1 ห้องเรยี น

(3) หากสถานศึกษาเปิดสอนในหมวดวิชาไม่สอดคล้อง

กับประเภทสถานศึกษา จะคิดจานวนห้องเรียนได้

ต่อเมอ่ื มีจานวนนักเรยี นหอ้ งแรกไมต่ า่ กวา่ 15 คน

C (Curriculum) = จานวนชว่ั โมงท่นี กั เรยี นต้องเรยี นตามหลกั สตู ร

ใน 1 สัปดาห์ ดังนี้

(1) ระดับ ปวช. เท่ากับ 21 ชัว่ โมง

(2) ระดบั ปวส. เท่ากับ 25 ชั่วโมง

(3) ระดบั ปวส.พิเศษ เทา่ กบั 20 ช่วั โมง

L (Teaching Load) = จานวนชัว่ โมงสอนของครู 1 คน ท่ีต้องสอนในหน่ึงสัปดาห์

กาหนดดังนี้

(1) ระดบั ปวช. เทา่ กบั 15 ชั่วโมง

(2) ระดบั สงู กว่า ปวช. เทา่ กบั 10 ชั่วโมง

1.2) หลักสูตรระยะสั้น

มขี ้นั ตอนการหาอัตรากาลงั ดงั นี้

1.2.1) หาจานวนห้องเรียนในแต่ละหลักสตู ร

หอ้ งเรียนแตล่ ะหลกั สตู ร = จานวนผเู้ ขา้ รบั การอบรมแตล่ ะหลักสตู ร
30
โดยที่

(1) จานวนผู้เขา้ รับการอบรมในแตล่ ะหลักสูตรต่ากว่า 15 คน ไม่นามา

คานวณหาอตั รากาลังครูใหใ้ ชว้ ธิ กี ารจ้างผเู้ ชี่ยวชาญ

(2) เศษของจานวนผู้เข้ารับการอบรมตั้งแต่ 10 คนขึ้นไปให้ปัดเพิ่มข้ึนอีก

1 หอ้ งเรยี น

10

1.2.2) หาจานวนช่ัวโมงสอนท้ังปเี พ่ือนามาใชค้ านวณอัตรากาลงั ครูและผู้บริหาร

จาก ช่ัวโมงสอนท้ังปี = G1C1+G2C2+G3C3+…+GnCn

หรอื = GiCi เมอื่ i = 1, 2, 3,…,n

โดยที่

(1) G1 คือ ห้องเรียนหลกั สตู รท่ี 1
G2 คอื ห้องเรยี นหลักสตู รท่ี 2
G3 คือ หอ้ งเรยี นหลักสูตรที่ 3
Gn คือ ห้องเรยี นหลกั สูตรที่ n

(2) C1 คอื จานวนชัว่ โมงสอนหลักสตู รที่ 1
C2 คือ จานวนชั่วโมงสอนหลักสูตรที่ 2
C3 คือ จานวนชว่ั โมงสอนหลกั สูตรที่ 3
Cn คือ จานวนชั่วโมงสอนหลกั สตู รท่ี n

ดงั นั้น ชว่ั โมงสอนท้งั ปี = ผลรวมของผลคณู ระหว่างห้องเรยี นกับจานวนชั่วโมงสอนในแต่ละหลักสตู ร

1.2.3) หาอัตรากาลังครผู ูส้ อนในหลักสูตรระยะส้ัน

อัตรากาลงั ครผู ู้สอน = ชวั่ โมงสอนทงั้ ปี

Ly

Ly = จานวนชว่ั โมงสอนของครูหนึ่งคนทส่ี อนในหน่ึงปี

(กาหนด 828 ชัว่ โมง มาจาก 18x1,380 ชั่วโมง)
30
เง่อื นไขการใช้อัตรากาลงั กลุ่มครทู าหน้าท่ีสอน

(1) เมื่อคานวณจานวนอัตรากาลังที่ทาหน้าท่ีสอนได้เท่าใดแล้ว ในจานวนดังกล่าว

ใหก้ าหนดเป็นอัตรากาลังข้าราชการครูได้ไมเ่ กิน ร้อยละ 90 ส่วนที่เหลือให้กาหนดเป็นพนักงานราชการ

หรือครูอัตราจ้าง

(2) ในจานวนอัตรากาลังท่ีคานวณได้ให้สถานศึกษากาหนดเป็นจานวนอัตรากาลัง

ในแต่ละประเภทวิชา โดยกาหนดจากจานวนช่ัวโมงเรียนในแต่ละประเภทวิชาในสถานศึกษาตาม

โครงสรา้ งหลักสตู รการศกึ ษาของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

11

2) การกาหนดจานวนอตั รากาลงั ที่ทาหนา้ ทบ่ี รหิ ารในสถานศกึ ษา

2.1) กาหนดจากจานวนห้องเรยี น ดังตอ่ ไปนี้

จานวนหอ้ งเรียน (หอ้ ง) ผ้อู านวยการสถานศึกษา (คน) รองผอู้ านวยการสถานศกึ ษา (คน)

1–2 1 –

3 – 15 1 1

16 – 25 1 2

26 – 36 1 3

37 ขน้ึ ไป 1 4

2.2) การกาหนดจานวนห้องเรียน ให้กาหนดจากจานวนนักเรียนตามระดับ

การศกึ ษาและหมวดวชิ าชพี ประเภท

ระดับการศกึ ษา หมวดวิชาชีพประเภท จานวนนักเรยี นต่อห้อง

ปวช. 1. พาณชิ ยกรรม ใชว้ ิธีการคานวณของกลุ่มครผู สู้ อน

2. อตุ สาหกรรมท่องเท่ียว (40 : 1)

3. อ่ืน ๆ

ปวช. 1. อุตสาหกรรม ใช้วธิ กี ารคานวณของกลุ่มครผู สู้ อน

2. คหกรรม (30 : 1)

3. อตุ สาหกรรมสิง่ ทอ

4. ศิลปกรรม

5. เกษตรกรรม และประมง

สงู กวา่ ปวช. ทกุ ประเภท ใชว้ ิธีการคานวณของกลมุ่ ครผู สู้ อน

(30 : 1)

2.3) ในสถานศึกษาที่เปิดหลักสูตรระยะส้ันโดยไม่มีการเปิดสอนหลักสูตร ปวช. หรือ
สงู กว่า ปวช. หาจานวนห้องเรยี นกาหนดจานวนอัตรากาลังผบู้ ริหารไดด้ ังน้ี

จานวนหอ้ งเรียน = ชวั่ โมงสอนทง้ั ปี
1,080

เหลอื เศษ 0.5 ปดั เพิม่ ขน้ึ อีก 1 ห้องเรยี น

(1,080 มาจาก 2 ภาคเรียน x 18 สปั ดาห์ x 30 ชว่ั โมง)

12

3) การคานวณจานวนอัตรากาลังท่ที าหนา้ ท่ีสนับสนนุ การสอน

3.1) แนวคิดในการกาหนดอตั รากาลงั

การคดิ จานวนอัตรากาลังที่ทาหน้าทสี่ นบั สนุนการสอน เป็นการคิดจากจานวน

ช่ัวโมงปฏิบัติงานสนับสนุนการสอนในสถานศึกษาต่อสัปดาห์ โดยจาแนกเป็น (1) จานวนชั่วโมง

ทแ่ี ปรผันตามจานวนหอ้ งเรียน (a) และ (2) จานวนชวั่ โมงท่ไี ม่แปรผนั ตามจานวนห้องเรยี น (b)

เมื่อได้จานวนช่ัวโมงปฏิบัติงานสนับสนุนการสอนในสถานศึกษาดังกล่าวแล้ว

สามารถนามากาหนดเปน็ สมการคานวณจานวนอัตรากาลงั ทีท่ าหน้าทีส่ นับสนนุ การสอนไดด้ ังนี้
aG  b
P = 30

เมื่อ P = จานวนอัตรากาลังท่ที าหนา้ ท่สี นับสนุนการสอนในสถานศกึ ษา

a = จานวนชั่วโมงปฏิบตั ิงานสนบั สนุนการสอนในหนง่ึ สัปดาห์

ทเ่ี พ่มิ ขึน้ หากมจี านวนนักเรยี นเพิ่มขน้ึ (มีค่าเท่ากบั 8.5)

G = จานวนห้องเรยี น (ใชจ้ านวนหอ้ งเรยี นตามผลการคานวณ

ห้องเรยี นจากเกณฑ์คานวณหอ้ งเรียนผ้บู รหิ าร)

B = จานวนชว่ั โมงปฏิบัตงิ านสนับสนนุ การสอนในหนึ่งสัปดาห์

ทไี่ ม่เพม่ิ ขน้ึ หรือเพิม่ ข้นึ เล็กนอ้ ยแมจ้ ะมีจานวนนักเรียนเพ่มิ ขึ้น

(มคี ่าเทา่ กับ 24.5)

30 = จานวนชว่ั โมงที่ปฏิบตั งิ านในหน่งึ สปั ดาห์

เงอ่ื นไขการใช้เกณฑ์

จากจานวนอัตรากาลังท่ีทาหน้าที่สนับสนุนการสอนในสถานศึกษาท่ีคานวณได้

สถานศึกษาสามารถกาหนดเป็นอัตราบุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามมาตรา 38 ค.(2) ได้ก็ต่อเม่ือ

เป็นสถานศึกษาที่มีจานวนนักเรียน ตั้งแต่ 480 คนขึ้นไป และกาหนดได้ไม่เกินก่ึงหนึ่งส่วนท่ีเหลือ

ให้กาหนดเป็นพนักงานราชการหรืออัตราจ้างอ่ืน ในสถานศึกษาท่ีมีจานวนนักเรียนต่ากว่า 480 คน

ใหก้ าหนดอัตรากาลงั ที่ทาหน้าท่ีสนับสนุนการสอนเป็นพนักงานราชการหรืออัตราจ้างเท่านั้น สาหรับ

การทจ่ี ะเลือกกาหนดอัตรากาลังดังกล่าว ให้เป็นไปตามความจาเป็นของสถานศึกษาพิจารณาเลือกจาก

มาตรฐานตาแหน่งของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาประเภทบุคลาก รทางการศึกษาอ่ืน

ตามมาตรา 38 ค.(2) สายงานตา่ งๆ ได้ตามความเหมาะสม

ตอนท่ี 3
ตวั อย่างการคานวณอัตรากาลงั ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาในสถานศึกษา

สานักงาน ก.ค.ศ. ได้จัดทาตัวอย่างเพ่ืออธิบายการคิดอัตรากาลังข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา เพ่ือใช้อธิบายการคานวณอัตรากาลังตามเกณฑ์มาตรฐานอัตรากาลังใน
สถานศกึ ษา สงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาใหม่ ดงั น้ี

1. ตัวอย่างการคานวณอตั รากาลังในสถานศกึ ษา ประเภทวิทยาลัยเทคนคิ
1.1 กรณวี ิทยาลัยทเ่ี ปิดสอนตรงกบั ประเภทวิทยาลยั และมนี ักเรียนตา่ กว่า 480 คน
ตวั อย่างที่ 1.1 วิทยาลัยเทคนิค ก. มผี ู้เรยี น ดังนี้

ที่ หมวดวชิ าชีพประเภทวิชา ปวช.1 ปวช.2 ปวช.3 รวม ปวส.1 ปวส.2 รวม รวม
ทง้ั สิน้
1 อตุ สาหกรรม 48 36 44 128 14 15 29 157
45
2 อุตสาหกรรมสิ่งทอ 16 15 14 45 0 0 0 202

รวม (ใชค้ านวณวชิ าสามญั ) 54 51 58 173 14 15 29

จะมอี ัตรากาลงั ในสถานศึกษาจานวนเทา่ ใด

วธิ ที า

1) อตั รากาลังท่ีทาหน้าทส่ี อน

1.1) หมวดวิชาชพี ประเภทวิชาอุตสาหกรรม (ใช้สตู รภาคผนวก หนา้ 5 ข้อ 1.1.2)

T  GC
L

(1) หาคา่ G (จานวนหอ้ งเรยี น) หมวดวิชาชพี ประเภทวิชาอุตสาหกรรม

– ปวช.1 = 48 = 1 เศษ 18 คน = 2 ห้อง
30

(เศษ 10 คนขึ้นไป คดิ เพ่มิ 1 ห้องเรยี น)

– ปวช.2 = 36 = 1 เศษ 6 คน = 1 หอ้ ง
30

(เศษไมถ่ งึ 10 คน ปัดเศษทงิ้ )

– ปวช.3 = 44 = 1 เศษ 14 คน = 2 หอ้ ง
30

(เศษ 10 คนขึ้นไป คดิ เพ่มิ 1 ห้องเรยี น)

– ปวส.1 = 14 = 0 เศษ 14 คน = 1 ห้อง
30

(กาหนด 1 หอ้ ง เพราะเปิดสอนตรงกบั ประเภทสถานศึกษา)

14

– ปวส.2 = 15 = 0 เศษ 15 คน = 1 ห้อง
30

(กาหนด 1 หอ้ ง เพราะเปิดสอนตรงกับประเภทสถานศึกษา)

ค่า G หมวดวชิ าชพี ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม ระดับ ปวช. = 5 หอ้ ง
ค่า G หมวดวิชาชพี ประเภทวิชาอุตสาหกรรม ระดับ ปวส. = 2 หอ้ ง

(2) คานวณหาอตั รากาลัง

จากสูตร T  GC
L
5 x 21
– ปวช.Tปวช.อตุ สาหกรรม = 18 = 5.8 อัตรา
2 x 25 = 3.3 อตั รา
– ปวส.Tปวส.อุตสาหกรรม = 15

1.2) หมวดวิชาชีพประเภทวชิ าอุตสาหกรรมสงิ่ ทอ (ใช้สูตรภาคผนวก หนา้ 5 ข้อ 1.1.2)

T  GC
L

(1) หาค่า G (จานวนหอ้ งเรียน) หมวดวิชาชพี ประเภทวชิ าอุตสาหกรรมสง่ิ ทอ

– ปวช.1 = 16 = 0 เศษ 16 คน = 1 ห้อง
30

(กาหนด 1 หอ้ ง เพราะเปิดสอนตรงกับประเภทสถานศึกษา)

– ปวช.2 = 15 = 0 เศษ 15 คน = 1 หอ้ ง
30

(กาหนด 1 หอ้ ง เพราะเปิดสอนตรงกับประเภทสถานศึกษา)

– ปวช.3 = 14 = 0 เศษ 14 คน = 1 หอ้ ง
30

(กาหนด 1 หอ้ ง เพราะเปดิ สอนตรงกบั ประเภทสถานศึกษา)

คา่ G หมวดวชิ าชีพประเภทวิชาอตุ สาหกรรมสิ่งทอ ระดบั ปวช. = 3 หอ้ ง

(2) คานวณหาอัตรากาลงั

จากสูตร T  GC
L
3 x 21
– ปวช.Tปวช.อตุ สาหกรรมสงิ่ ทอ = 18 = 3.5 อตั รา

15

1.3) หมวดวชิ าสามัญ (ใช้สูตรภาคผนวก หน้า 4 ขอ้ 1.1.1)

T  GC
L

(1) หาคา่ G (จานวนห้องเรียน) หมวดวชิ าสามัญ

– ปวช.1 = 54 = 1 เศษ 14 คน = 2 หอ้ ง
40

(เศษ 10 คนขนึ้ ไป คดิ เพิ่ม 1 หอ้ งเรยี น)

– ปวช.2 = 51 = 1 เศษ 11 คน = 2 ห้อง
40

(เศษ 10 คนขึ้นไป คดิ เพมิ่ 1 ห้องเรียน)

– ปวช.3 = 58 = 1 เศษ 18 คน = 2 ห้อง
40

(เศษ 10 คนข้นึ ไป คดิ เพิม่ 1 ห้องเรียน)

– ปวส.1 = 14 = 0 เศษ 14 คน = 1 ห้อง
30

(กาหนด 1 หอ้ ง เพราะเป็นวชิ าสามญั ท่บี ังคับเรียนของทุกหมวดวชิ าชพี )

– ปวส.2 = 15 = 0 เศษ 15 คน = 1 หอ้ ง
30

(กาหนด 1 หอ้ ง เพราะเปน็ วชิ าสามญั ท่ีบงั คบั เรยี นของทุกหมวดวชิ าชพี )

ค่า G หมวดวชิ าสามญั ระดับ ปวช. = 6 ห้อง
คา่ G หมวดวิชาสามัญ ระดับ ปวส. = 2 หอ้ ง

(2) คานวณหาอตั รากาลัง

จากสตู ร T  GC
L
6x7
– ปวช.Tปวช.วชิ าสามัญ = 18 = 2.3 อตั รา

– ปวส.Tปวส.วิชาสามัญ 2x6
= 15 = 0.8 อัตรา

16

1.4) รวมอตั รากาลังที่ทาหน้าทส่ี อน

T ปวช.อตุ สาหกรรม = 5.8 อัตรา
T ปวส.อุตสาหกรรม = 3.3 อัตรา
T ปวช.อตุ สาหกรรมสง่ิ ทอ = 3.5 อตั รา
T ปวช.วชิ าสามญั = 2.3 อตั รา
T ปวส.วชิ าสามญั = 0.8 อตั รา
= 15.7 อัตรา
รวม

มอี ตั รากาลงั ท่ีทาหนา้ ท่ีสอน 16 อตั รา (ปดั ตามหลักคณิตศาสตร์)

(1) กาหนดเป็นข้าราชการครไู ด้ไม่เกนิ = 16x90 = 14.4 = 14 อตั รา
100

(ไม่เกนิ ร้อยละ 90 ของอัตรากาลงั ท่ีคานวณได้)

(ภาคผนวกหน้า 7 เงือ่ นไขการใช้ (1))

(2) จะกาหนดเป็นอัตรากาลังครูสาขาใดให้สถานศึกษากาหนดจากจานวน

ช่วั โมงเรยี นในแต่ละประเภทวชิ า (ภาคผนวกหนา้ 7 เงื่อนไขการใช้ (2))

2) อัตรากาลังที่ทาหนา้ ที่บรหิ าร (ภาคผนวกหน้า 7 ข้อ 2.1 - 2.2 )

2.1) หาจานวนหอ้ งเรยี น (ภาคผนวกหน้า 7 ข้อ 2.2)

G ปวช.อตุ สาหกรรม = 05 หอ้ ง
G ปวส.อตุ สาหกรรม = 02 หอ้ ง
G ปวช.อุตสาหกรรมสิ่งทอ = 03 หอ้ ง
= 10 หอ้ ง
รวม

2.2) เทยี บกับตารางในภาคผนวกหนา้ 7 ขอ้ 2.1 จะได้

– ผู้อานวยการสถานศกึ ษา 1 อัตรา

– รองผ้อู านวยการสถานศึกษา 1 อัตรา

รวม 2 อัตรา

3) อตั รากาลังสนบั สนุนการสอน (ภาคผนวกหนา 8 ขอ้ 3.1)

สูตร P= aG  b
30

จาก ค่า G ผบู้ ริหาร = 10 หอ้ ง
= 8.5
คา่ a = 24.5

คา่ b

แทนคา่ ในสูตร P = 8.5(10)  24.5 = 3.6
30

= 4 อตั รา (ปดั เศษตามหลกั คณติ ศาสตร์)

17

อัตรากาลังสนับสนุนการสอนจานวน 4 อัตรา สถานศึกษาสามารถกาหนดเป็นเพียง

พนักงานราชการหรืออัตราจ้างเท่านั้น เน่ืองจากมีจานวนผู้เรียนท้ังหมดน้อยกว่า 480 คน

(ตามภาคผนวกหน้า 8) สาหรบั จะกาหนดเป็นตาแหนง่ ใดขึน้ อยูก่ บั ความต้องการของสถานศึกษา

สรุป วทิ ยาลัยเทคนิค ก. มีอตั รากาลัง ดังนี้

1. ครผู ู้สอน

1.1 ขา้ ราชการครู 14 อัตรา

1.2 พนกั งานราชการหรอื อัตราจ้าง 2 อัตรา

2. ผบู้ รหิ าร

2.1 ผู้อานวยการสถานศกึ ษา 1 อตั รา

2.2 รองผ้อู านวยการสถานศกึ ษา 1 อตั รา

3. บคุ ลากรสนับสนุนการสอน

3.1 บคุ ลากรทางการศึกษาอ่นื ตามมาตรา 38 ค.(2) – อตั รา

3.2 พนักงานราชการหรืออตั ราจา้ ง 4 อัตรา

รวมทงั้ สิน้ 22 อตั รา

1.2 กรณวี ิทยาลัยที่เปิดสอนตรงกบั ประเภทวิทยาลัยและมีนักเรยี น 480 คนข้ึนไป
ตวั อยา่ งท่ี 1.2 วทิ ยาลยั เทคนคิ ข. มีผเู้ รียน ดังนี้

ท่ี หมวดวิชาชีพประเภทวิชา ปวช.1 ปวช.2 ปวช.3 รวม ปวส.1 ปวส.2 รวม รวม
ทง้ั ส้ิน
1 อตุ สาหกรรม 463 470 458 1,391 178 198 376 1,767
2 อุตสาหกรรมสงิ่ ทอ 186 177 168 531 75 77 152 683
649 647 626 1,922 253 275 528 2,450
รวม (ใชค้ านวณวิชาสามญั )

จะมอี ตั รากาลังในสถานศึกษาจานวนเท่าใด
วิธที า
1) อัตรากาลังทที่ าหนา้ ที่สอน
1.1) หมวดวิชาชีพประเภทวชิ าอุตสาหกรรม (ใชส้ ตู รภาคผนวก หน้า 5 ข้อ 1.1.2)

T  GC
L

(1) หาคา่ G (จานวนห้องเรียน) หมวดวชิ าชีพประเภทวิชาอุตสาหกรรม

– ปวช.1 = 463 = 15 เศษ 13 คน = 16 ห้อง
30

(เศษ 10 คนขึ้นไป คดิ เพ่มิ 1 ห้อง)

18

– ปวช.2 = 470 = 15 เศษ 20 คน = 16 ห้อง
30

(เศษ 10 คนขึ้นไป คดิ เพมิ่ 1 หอ้ ง)

– ปวช.3 = 458 = 15 เศษ 8 คน = 15 ห้อง
30
(เศษไมถ่ ึง 10 คน ปดั เศษทิ้ง)

– ปวส.1 = 178 = 5 เศษ 28 คน = 6 ห้อง
30
(เศษ 10 คนขึ้นไป คดิ เพมิ่ 1 ห้อง)

– ปวส.2 = 198 = 6 เศษ 18 คน = 7 ห้อง
30
(เศษ 10 คนขน้ึ ไป คิดเพมิ่ 1 ห้อง)

ค่า G หมวดวิชาชพี ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม ระดับ ปวช. = 47 หอ้ ง

ค่า G หมวดวิชาชีพประเภทวิชาอุตสาหกรรม ระดับ ปวส. = 13 ห้อง

(2) คานวณหาอัตรากาลัง

จากสตู ร T  GC
L
47 x 21
– ปวช.Tปวช.อตุ สาหกรรม = 18 = 54.8 อัตรา

– ปวส.Tปวส.อตุ สาหกรรม = 13 x 25 = 21.6 อตั รา
15

1.2) หมวดวิชาชีพประเภทวิชาอตุ สาหกรรมส่งิ ทอ (ใช้สตู รภาคผนวก หนา้ 5 ข้อ 1.1.2)

T  GC
L

(1) หาค่า G (จานวนห้องเรียน) หมวดวิชาชีพประเภทวชิ าอุตสาหกรรมส่ิงทอ

– ปวช.1 = 186 = 6 เศษ 6 คน = 6 ห้อง
30

(เศษไมถ่ ึง 10 คน ปัดเศษทิง้ )

– ปวช.2 = 177 = 5 เศษ 27 คน = 6 หอ้ ง
30

(เศษ 10 คน ขึน้ ไป คดิ เพมิ่ 1 หอ้ ง)

19

– ปวช.3 = 168 = 5 เศษ 18 คน = 6 ห้อง
30

(เศษ 10 คนขน้ึ ไป คิดเพิ่ม 1 ห้อง)

– ปวส.1 = 75 = 2 เศษ 15 คน = 3 ห้อง
30

(เศษ 10 คนข้นึ ไป คดิ เพ่มิ 1 ห้อง)

– ปวส.2 = 77 = 2 เศษ 17 คน = 3 ห้อง
30

(เศษ 10 คนข้นึ ไป คดิ เพม่ิ 1 หอ้ ง)

ค่า G หมวดวชิ าชีพประเภทวิชาอุตสาหกรรมสงิ่ ทอ ระดับ ปวช. = 18 ห้อง

ค่า G หมวดวิชาชพี ประเภทวชิ าอุตสาหกรรมสง่ิ ทอ ระดบั ปวส. = 06 ห้อง

(2) คานวณหาอัตรากาลัง

จากสูตร T  GC
L
18 x 21
– ปวช.Tปวช.อตุ สาหกรรมสิง่ ทอ = 18 = 21 อัตรา

– ปวส.Tปวส.อตุ สาหกรรมส่งิ ทอ 6 x 25 10 อตั รา
= 15 =
1.3) หมวดวชิ าสามญั (ใช้สตู รภาคผนวก หน้า 4 ข้อ 1.1.1)

T  GC
L

(1) หาคา่ G (จานวนหอ้ งเรียน) หมวดวชิ าสามัญ

– ปวช.1 = 649 = 16 เศษ 9 คน = 16 ห้อง
40

(เศษไมถ่ ึง 10 คน ปัดเศษทิ้ง)

– ปวช.2 = 647 = 16 เศษ 7 คน = 16 หอ้ ง
40

(เศษไมถ่ งึ 10 คน ปัดเศษท้งิ )

– ปวช.3 = 626 = 15 เศษ 26 คน = 16 ห้อง
40

(เศษ 10 คนขน้ึ ไป คดิ เพมิ่ 1 หอ้ ง)

20

– ปวส.1 = 253 = 8 เศษ 13 คน = 09 หอ้ ง
30
(เศษ 10 คนขน้ึ ไป คิดเพ่ิม 1 ห้อง)

– ปวส.2 = 275 = 9 เศษ 5 คน = 09 ห้อง
30

(เศษไมถ่ งึ 10 คน ปัดเศษทิง้ )

คา่ G หมวดวิชาสามญั ระดบั ปวช. = 48 ห้อง

คา่ G หมวดวชิ าสามัญ ระดบั ปวส. = 18 ห้อง

(2) คานวณหาอัตรากาลัง

จากสูตร T  GC
L
48 x 7
– ปวช.Tปวช.วชิ าสามัญ = 18 = 18.6 อตั รา

– ปวส.Tปวส.วิชาสามญั 18 x 6
= 15 = 7.2 อตั รา

1.4) รวมอัตรากาลังทท่ี าหนา้ ที่สอน

T ปวช.อตุ สาหกรรม = 54.8 อตั รา
T ปวส.อตุ สาหกรรม = 21.6 อตั รา
T ปวช.อุตสาหกรรมส่ิงทอ = 21 อัตรา
T ปวส.อุตสาหกรรมสงิ่ ทอ = 10 อัตรา
T ปวช.วชิ าสามัญ = 19 อัตรา
T ปวส.วชิ าสามญั = 7.2 อตั รา
= 133.2 อัตรา
รวม

มีอตั รากาลังที่ทาหนา้ ทีส่ อน 133 อัตรา (ปดั ตามหลักคณติ ศาสตร)์

(1) กาหนดเป็นข้าราชการครูได้ไม่เกิน = 133x90 = 119.7 = 119 อัตรา
100

(ไม่เกนิ รอ้ ยละ 90 ของอัตรากาลงั ทค่ี านวณได้)

(ภาคผนวกหนา้ 7 เง่ือนไขการใช้ (1))

(2) จะกาหนดเป็นอตั รากาลังครูสาขาใดให้สถานศึกษากาหนดจากจานวน

ชั่วโมงเรียนในแตล่ ะประเภทวชิ า (ภาคผนวกหนา้ 7 เงือ่ นไขการใช้ (2))

21

2) อตั รากาลงั ทท่ี าหนา้ ทบี่ ริหาร (ภาคผนวกหนา้ 7 ขอ้ 2.1 - 2.2 )

2.1) หาจานวนหอ้ งเรยี น (ภาคผนวกหน้า 7 ข้อ 2.2)

G ปวช.อุตสาหกรรม = 47 หอ้ ง
G ปวส.อุตสาหกรรม = 13 หอ้ ง
G ปวช.อตุ สาหกรรมสิ่งทอ = 18 หอ้ ง
G ปวส.อตุ สาหกรรมสิ่งทอ = 06 ห้อง
= 84 ห้อง
รวม

2.2) เทยี บกับตารางในภาคผนวกหนา้ 7 ข้อ 2.1 จะได้

– ผู้อานวยการสถานศกึ ษา 1 อตั รา

– รองผอู้ านวยการสถานศกึ ษา 4 อัตรา

รวม 5 อตั รา

3) อตั รากาลังสนบั สนนุ การสอน (ภาคผนวกหน้า 8 ข้อ 3.1)

สตู ร P = aG  b
30
จาก ค่า G ผบู้ ริหาร = 84 ห้อง

ค่า a = 8.5

คา่ b = 24.5

แทนค่าในสูตร P = 8.5(84)  24.5 = 24.6
30
= 25 อัตรา (ปัดเศษตามหลักคณติ ศาสตร)์

อัตรากาลังสนับสนุนการสอน 25 อัตรา สถานศึกษาสามารถกาหนดเป็นอัตรา

บุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค.(2) ได้ไม่เกินกึ่งหนึ่งของอัตรากาลังที่คานวณได้

คือ จานวน 12 อัตรา สาหรับจะกาหนดเป็นตาแหน่งใดขึ้นอยู่กับความต้องการของสถานศึกษา

(ตามภาคผนวกหน้า 8)

สรปุ วทิ ยาลยั เทคนิค ข. มีอตั รากาลงั ดงั น้ี

1. ครูผสู้ อน

1.1 ข้าราชการครู 119 อตั รา

1.2 พนกั งานราชการหรืออัตราจ้าง 014 อตั รา

2. ผู้บริหาร

2.1 ผู้อานวยการสถานศึกษา 001 อตั รา

2.2 รองผู้อานวยการสถานศึกษา 004 อตั รา

3. บุคลากรสนบั สนุนการสอน

3.1 บคุ ลากรทางการศกึ ษาอื่น ตามมาตรา 38 ค.(2) 012 อัตรา

3.2 พนกั งานราชการหรอื อัตราจา้ ง 013 อัตรา

รวมท้ังสน้ิ 163 อัตรา

22

1.3 กรณวี ทิ ยาลัยท่ีเปิดสอนบางหมวดวิชาชีพไมต่ รงกับประเภทวิทยาลัย
ตัวอย่างท่ี 1.3 วิทยาลยั เทคนิค ค. มผี ้เู รียน ดังน้ี

ที่ หมวดวชิ าชีพประเภทวิชา ปวช.1 ปวช.2 ปวช.3 รวม ปวส.1 ปวส.2 รวม รวม
ทัง้ สน้ิ
1 อุตสาหกรรม 156 144 140 440 78 79 157 597
18 14 32 151
2 ศลิ ปกรรม 36 48 35 119 96 93 189 748

รวม (ใช้คานวณวิชาสามัญ) 192 192 175 559

จะมอี ตั รากาลังในสถานศึกษาจานวนเท่าใด
วิธที า
1) อตั รากาลงั ทที่ าหน้าท่ีสอน
1.1) หมวดวิชาชพี ประเภทวิชาอตุ สาหกรรม (ใช้สตู รภาคผนวก หนา้ 5 ขอ้ 1.1.3)

T  GC
L

(1) หาค่า G (จานวนหอ้ งเรยี น) หมวดวชิ าชพี ประเภทวิชาอตุ สาหกรรม

– ปวช.1 = 156 = 5 เศษ 6 คน = 5 หอ้ ง
30

(เศษไมถ่ ึง 10 คน ปัดเศษทิง้ )

– ปวช.2 = 144 = 4 เศษ 24 คน = 5 หอ้ ง
30

(เศษ 10 คนขน้ึ ไป คิดเพิ่ม 1 หอ้ ง)

– ปวช.3 = 140 = 4 เศษ 20 คน = 5 ห้อง
30

(เศษ 10 คนข้ึนไป คดิ เพ่ิม 1 หอ้ ง)

– ปวส.1 = 78 = 2 เศษ 18 คน = 3 หอ้ ง
30

(เศษ 10 คนขึน้ ไป คิดเพ่ิม 1 หอ้ ง)

– ปวส.2 = 79 = 2 เศษ 19 คน = 3 หอ้ ง
30

(เศษ 10 คนขน้ึ ไป คดิ เพม่ิ 1 ห้อง)

คา่ G หมวดวิชาชีพประเภทวิชาอตุ สาหกรรม ระดับ ปวช. = 15 ห้อง

ค่า G หมวดวิชาชีพประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม ระดับ ปวส. = 06 หอ้ ง

23

(2) คานวณหาอตั รากาลงั

จากสูตร T  GC
L
15 x 21
– ปวช.Tปวช.อตุ สาหกรรม = 18 = 17.5 อัตรา

– ปวส.Tปวส.อตุ สาหกรรม = 6 x 25 = 10.0 อัตรา
15

1.2) หมวดวิชาชีพประเภทวชิ าศิลปกรรม (ใช้สตู รภาคผนวก หนา้ 5 ขอ้ 1.1.3)

T  GC
L

(1) หาคา่ G (จานวนห้องเรยี น) หมวดวชิ าชพี ประเภทวชิ าศิลปกรรม

– ปวช.1 = 36 =1 เศษ 6 คน = 1 หอ้ ง
30

(เศษไม่ถึง 10 คน ปดั เศษทงิ้ )

– ปวช.2 = 48 =1 เศษ 18 คน = 2 หอ้ ง
30

(เศษ 10 คนข้นึ ไป คิดเพมิ่ 1 หอ้ ง)

– ปวช.3 = 35 =1 เศษ 5 คน = 1 หอ้ ง
30

(เศษไม่ถึง 10 คน คิดเพมิ่ 1 ห้อง)

– ปวส.1 = 18 =0 เศษ 18 คน = 1 หอ้ ง
30

(ห้องเรียนห้องแรกมีนักเรียน 15 คนข้นึ ไป คิดหอ้ งเรียนให้ 1 ห้อง)

– ปวส.2 = 14 =0 เศษ 14 คน = 0 ห้อง
30

(หอ้ งเรยี นหอ้ งแรกมีนักเรียนไม่ถงึ 15 คน ไม่คดิ ห้องเรยี นให้)

 ค่า G หมวดวิชาชพี ประเภทวิชาศิลปกรรม ระดับ ปวช. = 4 ห้อง

คา่ G หมวดวชิ าชพี ประเภทวิชาศิลปกรรม ระดบั ปวส. = 1 หอ้ ง

24

(2) คานวณหาอัตรากาลัง

จากสตู ร T  GC
L
4 x 21
– ปวช.Tปวช.ศลิ ปกรรม = 15 = 5.6 อัตรา

– ปวส.Tปวส.ศลิ ปกรรม = 1 x 25 = 1.7 อตั รา
15

1.3) หมวดวชิ าสามญั (ใช้สูตรภาคผนวก หนา้ 4 ขอ้ 1.1.1)

T  GC
L

(1) หาค่า G (จานวนหอ้ งเรยี น) หมวดวิชาสามญั

– ปวช.1 = 192 = 4 เศษ 32 คน = 5 หอ้ ง
40

(เศษ 10 คนขนึ้ ไป คิดเพม่ิ 1 หอ้ ง)

– ปวช.2 = 192 = 4 เศษ 32 คน = 5 ห้อง
40

(เศษ 10 คนข้ึนไป คิดเพิ่ม 1 หอ้ ง)

– ปวช.3 = 175 = 4 เศษ 15 คน = 5 ห้อง
40

(เศษ 10 คนขึ้นไป คิดเพม่ิ 1 ห้อง)

– ปวส.1 = 96 =3 เศษ 6 คน = 3 ห้อง
30

(เศษไม่ถงึ 10 คน ปดั เศษทิ้ง)

– ปวส.2 = 93 =3 เศษ 3 คน = 3 ห้อง
30

(เศษไมถ่ งึ 10 คน ปัดเศษทง้ิ )

ค่า G หมวดวชิ าสามญั ระดับ ปวช. = 15 ห้อง

ค่า G หมวดวชิ าสามัญ ระดบั ปวส. = 6 หอ้ ง

25

(2) คานวณหาอัตรากาลงั

จากสตู ร T  GC
L
15 x 7
– ปวช.Tปวช.วิชาสามญั = 18 = 5.8 อัตรา
6x6 2.4 อัตรา
– ปวส.Tปวส.วชิ าสามญั = =
15

1.4) รวมอตั รากาลังทีท่ าหน้าทสี่ อน

T ปวช.อุตสาหกรรม = 17.5 อตั รา
T ปวส.อตุ สาหกรรม = 10.0 อัตรา
T ปวช.ศลิ ปกรรม = 5.6 อัตรา
T ปวส.ศิลปกรรม = 1.7 อตั รา
T ปวช.วชิ าสามัญ = 5.8 อัตรา
T ปวส.วิชาสามญั = 2.4 อตั รา
= 43.0 อัตรา
รวม

มอี ตั รากาลงั ทีท่ าหนา้ ทีส่ อน 43 อัตรา (ปัดตามหลักคณิตศาสตร)์

(1) กาหนดเปน็ ขา้ ราชการครูไดไ้ มเ่ กนิ = 43x90 = 38.7 = 38 อัตรา
100

(ไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 90 ของอตั รากาลังท่คี านวณได้)

(ภาคผนวกหน้า 7 เงอื่ นไขการใช้ (1))

(2) จะกาหนดเปน็ อัตรากาลังครูสาขาใดให้สถานศึกษากาหนดจากจานวน

ชั่วโมงเรียนในแตล่ ะประเภทวิชา (ภาคผนวกหนา้ 7 เง่ือนไขการใช้ (2))

2) อัตรากาลงั ท่ที าหนา้ ทบ่ี รหิ าร (ภาคผนวกหน้า 7 ขอ้ 2.1 - 2.2 )

2.1) หาจานวนห้องเรยี น (ภาคผนวกหน้า 7 ขอ้ 2.2)

G ปวช.อุตสาหกรรม = 15 ห้อง
G ปวส.อตุ สาหกรรม = 06 ห้อง
G ปวช.ศลิ ปกรรม = 04 หอ้ ง
G ปวส.ศิลปกรรม = 01 หอ้ ง
= 26 ห้อง
รวม

2.2) เทียบกบั ตารางในภาคผนวกหน้า 7 ขอ้ 2.1 จะได้

– ผ้อู านวยการสถานศึกษา 1 อัตรา

– รองผูอ้ านวยการสถานศกึ ษา 3 อัตรา

รวม 4 อัตรา

26

3) อตั รากาลังสนบั สนุนการสอน (ภาคผนวกหนา 8 ขอ้ 3.1)

สตู ร P = aG  b = 26 ห้อง
= 8.5
30 = 24.5

จาก คา่ G ผูบ้ ริหาร
ค่า a
ค่า b

แทนค่าในสตู ร P = 8.5(26)  24.5 = 8.1
30

= 8 อัตรา (ปดั เศษตามหลักคณิตศาสตร์)

อัตรากาลังสนับสนุนการสอน 8 อัตรา สถานศึกษาสามารถกาหนดเป็นอัตรา

บุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค.(2) ได้ไม่เกินก่ึงหน่ึงของอัตรากาลังท่ีคานวณได้

คือ จานวน 4 อัตรา สาหรับจะกาหนดเป็นตาแหน่งใดขึ้นอยู่กับความต้องการของสถานศึกษา

(ตามภาคผนวกหนา้ 8)

สรปุ วทิ ยาลยั เทคนิค ค. มีอตั รากาลงั ดงั นี้

1. ครผู สู้ อน

1.1 ขา้ ราชการครู 38 อตั รา

1.2 พนกั งานราชการหรอื อตั ราจา้ ง 05 อัตรา

2. ผ้บู รหิ าร

2.1 ผ้อู านวยการสถานศึกษา 01 อตั รา

2.2 รองผอู้ านวยการสถานศกึ ษา 03 อัตรา

3. บุคลากรสนบั สนุนการสอน

3.1 บุคลากรทางการศึกษาอนื่ ตามมาตรา 38 ค.(2) 04 อัตรา

3.2 พนักงานราชการหรืออตั ราจา้ ง 04 อัตรา

รวมทั้งสน้ิ 56 อตั รา

27

2. ตัวอยา่ งการคานวณอตั รากาลังในสถานศึกษา ประเภทวิทยาลยั อาชีวศกึ ษา
2.1 กรณีวทิ ยาลยั ที่เปดิ สอนตรงกับประเภทวทิ ยาลยั และมีนักเรยี นตา่ กวา่ 480 คน
ตัวอยา่ งที่ 2.1 วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษา ก. มผี เู้ รยี น ดังนี้

ที่ หมวดวิชาชพี ประเภทวิชา ปวช.1 ปวช.2 ปวช.3 รวม ปวส.1 ปวส.2 รวม รวมทง้ั สิ้น

1 พาณชิ ยกรรม 30 48 14 92 38 36 74 166

2 คหกรรม 49 39 28 116 40 42 82 198

รวม (ใชค้ านวณวชิ าสามญั ) 79 87 42 208 78 78 156 364

จะมอี ตั รากาลงั ในสถานศึกษาจานวนเท่าใด
วิธที า
1) อัตรากาลังท่ที าหนา้ ทสี่ อน
1.1) หมวดวิชาชพี ประเภทวิชาพาณชิ ยกรรม (ใชส้ ตู รภาคผนวก หนา้ 4 ข้อ 1.1.1)

T  GC
L

(1) หาค่า G (จานวนหอ้ งเรยี น) หมวดวิชาชีพประเภทวิชาพาณิชยกรรม

– ปวช.1 = 30 = 0 เศษ 30 คน = 1 หอ้ ง
40

(กาหนด 1 หอ้ ง เพราะเปิดสอนตรงกับประเภทสถานศึกษา)

– ปวช.2 = 48 = 1 เศษ 8 คน = 1 ห้อง
40

(เศษไม่ถงึ 10 คน ปดั เศษทิง้ )

– ปวช.3 = 14 = 0 เศษ 14 คน = 1 ห้อง
40

(กาหนด 1 ห้อง เพราะเปิดสอนตรงกับประเภทสถานศกึ ษา)

– ปวส.1 = 38 = 1 เศษ 8 คน = 1 หอ้ ง
30

(เศษไมถ่ งึ 10 คน ปัดเศษท้งิ )

– ปวส.2 = 36 = 1 เศษ 6 คน = 1 ห้อง
30

(เศษไมถ่ ึง 10 คน ปัดเศษท้งิ )

ค่า G หมวดวิชาชพี ประเภทวิชาพาณชิ ยกรรม ระดบั ปวช. = 3 หอ้ ง

คา่ G หมวดวชิ าชีพประเภทวชิ าพาณชิ ยกรรม ระดับ ปวส. = 2 หอ้ ง

28

(2) คานวณหาอตั รากาลัง

จากสูตร T  GC
L
3 x 21
– ปวช.Tปวช.พาณิชยกรรม = 18 = 3.5 อตั รา

– ปวส.Tปวส.พาณชิ ยกรรม = 2 x 25 = 3.3 อตั รา
15

1.2) หมวดวิชาชพี ประเภทวชิ าคหกรรม (ใชส้ ูตรภาคผนวก หนา้ 5 ขอ้ 1.1.2)

T  GC
L

(1) หาค่า G (จานวนห้องเรียน) หมวดวิชาชีพประเภทวิชาคหกรรม

– ปวช.1 = 49 = 1 เศษ 19 คน = 2 ห้อง
30

(เศษ 10 คนข้นึ ไป คิดเพ่มิ 1 หอ้ ง)

– ปวช.2 = 39 = 1 เศษ 9 คน = 1 ห้อง
30

(เศษไม่ถึง 10 คน ปดั เศษทงิ้ )

– ปวช.3 = 28 = 0 เศษ 28 คน = 1 ห้อง
30

(กาหนด 1 หอ้ ง เพราะเปดิ สอนตรงกับประเภทสถานศึกษา)

– ปวส.1 = 40 = 1 เศษ 10 คน = 2 ห้อง
30

(เศษ 10 คนขึ้นไป คดิ เพ่มิ 1 หอ้ ง)

– ปวส.2 = 42 = 1 เศษ 12 คน = 2 ห้อง
30

(เศษ 10 คนขนึ้ ไป คิดเพม่ิ 1 ห้อง)

คา่ G หมวดวิชาชีพประเภทวชิ าคหกรรม ระดบั ปวช. = 4 ห้อง

คา่ G หมวดวิชาชพี ประเภทวชิ าคหกรรม ระดบั ปวส. = 4 ห้อง

29

(2) คานวณหาอัตรากาลงั

จากสตู ร T  GC
L
4 x 21
– ปวช.Tปวช.คหกรรม = 18 = 4.7 อัตรา

– ปวส.Tปวส.คหกรรม = 4 x 25 = 6.7 อตั รา
15

1.3) หมวดวชิ าสามญั (ใช้สตู รภาคผนวก หนา้ 4 ข้อ 1.1.1)

T  GC
L

(1) หาคา่ G (จานวนห้องเรยี น) หมวดวชิ าชีพประเภทวิชาสามญั

– ปวช.1 = 79 = 1 เศษ 39 คน = 2 ห้อง
40

(เศษ 10 คนขน้ึ ไป คดิ เพมิ่ 1 ห้อง)

– ปวช.2 = 87 = 2 เศษ 7 คน = 2 ห้อง
40

(เศษไม่ถึง 10 คน ปดั เศษทง้ิ )

– ปวช.3 = 42 = 1 เศษ 2 คน = 1 หอ้ ง
40

(เศษไม่ถงึ 10 คน ปัดเศษทิ้ง)

– ปวส.1 = 78 = 2 เศษ 18 คน = 3 หอ้ ง
30

(เศษ 10 คนขึ้นไป คิดเพม่ิ 1 หอ้ ง)

– ปวส.2 = 78 = 2 เศษ 18 คน = 3 หอ้ ง
30
5 ห้อง
(เศษ 10 คนข้ึนไป คิดเพิ่ม 1 หอ้ ง) 6 ห้อง

คา่ G หมวดวชิ าสามญั ระดบั ปวช. =

ค่า G หมวดวชิ าสามญั ระดับ ปวส. =

30

(2) คานวณหาอัตรากาลงั

จากสูตร T  GC
L
5x7
– ปวช.Tปวช.วิชาสามญั = 18 = 1.9 อตั รา

– ปวส.Tปวส.วชิ าสามัญ = 6x6 = 2.4 อตั รา
15

1.4) รวมอตั รากาลังทที่ าหน้าท่ีสอน

T ปวช.พาณชิ ยกรรม = 3.5 อัตรา
T ปวส.พาณิชยกรรม = 3.3 อัตรา
T ปวช.คหกรรม = 4.7 อตั รา
T ปวส.คหกรรม = 6.7 อัตรา
T ปวช.วิชาสามญั = 1.9 อัตรา
T ปวส.วชิ าสามญั = 2.4 อตั รา
= 22.5 อัตรา
รวม

มีอัตรากาลังทท่ี าหน้าทีส่ อน 23 อตั รา (ปัดตามหลักคณิตศาสตร์)

(1) กาหนดเป็นขา้ ราชการครไู ด้ไมเ่ กิน = 23x90 = 20.7 = 20 อัตรา
100

(ไม่เกินร้อยละ 90 ของอตั รากาลงั ทคี่ านวณได)้

(ภาคผนวกหนา้ 7 เงอ่ื นไขการใช้ (1))

(2) จะกาหนดเป็นอัตรากาลังครูสาขาใดให้สถานศึกษากาหนดจาก

จานวนชัว่ โมงเรยี นในแต่ละประเภทวชิ า (ภาคผนวกหนา้ 7 เงอ่ื นไขการใช้ (2))

2) อัตรากาลังท่ที าหน้าทบ่ี ริหาร (ภาคผนวกหน้า 7 ขอ้ 2.1 - 2.2 )

2.1) หาจานวนห้องเรียน (ภาคผนวกหนา้ 7 ข้อ 2.2)

G ปวช.พาณชิ ยกรรม = 03 หอ้ ง
G ปวส.พาณิชยกรรม = 02 ห้อง
G ปวช.คหกรรม = 04 หอ้ ง
G ปวส.คหกรรม = 04 ห้อง
= 13 ห้อง
รวม

2.2) เทยี บกับตารางในภาคผนวกหนา้ 7 ขอ้ 2.1 จะได้

– ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา 1 อตั รา

– รองผ้อู านวยการสถานศึกษา 1 อัตรา

รวม 2 อตั รา

31

3) อตั รากาลังสนับสนนุ การสอน (ภาคผนวกหน้า 8 ขอ้ 3.1)

สตู ร P = aG  b

30

จาก คา่ G ผบู้ ริหาร = 13 หอ้ ง
8.5
ค่า a = 24.5

คา่ b =

แทนคา่ ในสตู ร P = 8.5(13)  24.5 = 4.5 อัตรา
30

= 5 อตั รา (ปดั เศษตามหลกั คณติ ศาสตร์)

อัตรากาลงั สนับสนุนการสอนจานวน 5 อัตรา สถานศึกษาสามารถกาหนดเป็นเพียง

พนักงานราชการหรืออัตราจ้างเท่านั้น เน่ืองจากมีจานวนผู้เรียนทั้งหมดน้อยกว่า 480 คน (ตามภาคผนวก

หน้า 8) สาหรับจะกาหนดเป็นตาแหน่งใดข้นึ อยกู่ บั ความต้องการของสถานศกึ ษา

สรุป วิทยาลัยการอาชีพ ก. มีอตั รากาลงั ดงั นี้

1. ครผู ู้สอน

1.1 ขา้ ราชการครู 20 อตั รา

1.2 พนักงานราชการหรอื อัตราจา้ ง 03 อตั รา

2. ผบู้ ริหาร

2.1 ผู้อานวยการสถานศกึ ษา 01 อัตรา

2.2 รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา 01 อตั รา

3. บุคลากรสนับสนุนการสอน

3.1 บคุ ลากรทางการศกึ ษาอื่น ตามมาตรา 38 ค.(2) – อตั รา

3.2 พนักงานราชการหรืออัตราจา้ ง 05 อัตรา

รวมทั้งสนิ้ 30 อตั รา

32

2.2 กรณีวิทยาลัยท่ีเปดิ สอนตรงกบั ประเภทวิทยาลยั และมนี ักเรยี น 480 คนข้ึนไป
ตวั อย่างที่ 2.2 วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษา ข. มีผเู้ รียน ดงั น้ี

ที่ หมวดวิชาชพี ประเภทวิชา ปวช.1 ปวช.2 ปวช.3 รวม ปวส.1 ปวส.2 รวม รวม
ทง้ั ส้ิน
1 พาณิชยกรรม 344 411 322 1,077 88 90 178 1,255
2 คหกรรม 121 122 108 351 76 74 150 501
465 533 430 1,428 164 164 328 1,756
รวม (ใชค้ านวณวชิ าสามัญ)

จะมอี ัตรากาลงั ในสถานศกึ ษาจานวนเทา่ ใด
วิธีทา
1) อตั รากาลังที่ทาหนา้ ท่สี อน
1.1) หมวดวชิ าชพี ประเภทวชิ าพาณชิ ยกรรม (ใชส้ ูตรภาคผนวก หนา้ 4 ข้อ 1.1.1)

T  GC
L

(1) หาคา่ G (จานวนห้องเรยี น) หมวดวชิ าชพี ประเภทวิชาพาณิชยกรรม

– ปวช.1 = 344 = 8 เศษ 24 คน = 09 ห้อง
40

(เศษ 10 คนขึน้ ไป คิดเพิ่ม 1 ห้อง)

– ปวช.2 = 411 = 10 เศษ 11 คน = 11 ห้อง
40

(เศษ 10 คนข้ึนไป คิดเพิม่ 1 ห้อง)

– ปวช.3 = 322 = 8 เศษ 2 คน = 08 หอ้ ง
40

(เศษไม่ถึง 10 คน ปดั เศษทงิ้ )

– ปวส.1 = 88 = 2 เศษ 28 คน = 03 ห้อง
30

(เศษ 10 คนขนึ้ ไป คิดเพมิ่ 1 หอ้ ง)

– ปวส.2 = 90 = 3 เศษ 0 คน = 03 หอ้ ง
30

ค่า G หมวดวิชาชีพประเภทวิชาพาณิชยกรรม ระดับ ปวช. = 28 หอ้ ง

ค่า G หมวดวชิ าชพี ประเภทวิชาพาณชิ ยกรรม ระดับ ปวส. = 06 ห้อง

33

(2) คานวณหาอตั รากาลงั

จากสูตร T  GC
L
28 x 21
– ปวช.Tปวช.พาณิชยกรรม = 18 = 32.6 อัตรา

6 x 25
– ปวส.Tปวส.พาณิชยกรรม = 15 = 10 อตั รา

1.2) หมวดวชิ าชีพประเภทวิชาคหกรรม (ใช้สตู รภาคผนวก หน้า 5 ขอ้ 1.1.2)

T  GC
L

(1) หาคา่ G (จานวนหอ้ งเรยี น) หมวดวิชาชีพประเภทวิชาคหกรรม

– ปวช.1 = 121 = 4 เศษ 1 คน = 4 ห้อง
30

(เศษไม่ถงึ 10 คน ปัดเศษทิ้ง)

– ปวช.2 = 122 = 4 เศษ 2 คน = 4 ห้อง
30

(เศษไม่ถงึ 10 คน ปัดเศษทิง้ )

– ปวช.3 = 108 = 3 เศษ 18 คน = 4 ห้อง
30

(เศษ 10 คนขึ้นไป คิดเพ่ิม 1 หอ้ ง)

– ปวส.1 = 76 = 2 เศษ 16 คน = 3 หอ้ ง
30

(เศษ 10 คนขน้ึ ไป คิดเพิม่ 1 ห้อง)

– ปวส.2 = 74 = 2 เศษ 14 คน = 3 หอ้ ง
30

(เศษ 10 คนขึน้ ไป คิดเพม่ิ 1 ห้อง)

คา่ G หมวดวชิ าชพี ประเภทวิชาคหกรรม ระดับ ปวช. = 12 ห้อง

คา่ G หมวดวชิ าชพี ประเภทวิชาคหกรรม ระดบั ปวส. = 06 หอ้ ง

34

(2) คานวณหาอัตรากาลัง

จากสูตร T  GC
L
12 x 21
– ปวช.Tปวช.คหกรรม = 18 = 14.0 อัตรา

– ปวส.Tปวส.คหกรรม 6 x 25
= 15 = 10.0 อัตรา

1.3) หมวดวิชาสามญั (ใช้สตู รภาคผนวก หน้า 4 ข้อ 1.1.1)

T  GC
L

(1) หาคา่ G (จานวนห้องเรียน) หมวดวิชาสามัญ

– ปวช.1 = 465 = 11 เศษ 25 คน = 12 ห้อง
40

(เศษ 10 คนข้ึนไป คิดเพิ่ม 1 ห้อง)

– ปวช.2 = 533 = 13 เศษ 13 คน = 14 หอ้ ง
40

(เศษ 10 คนขน้ึ ไป คดิ เพ่มิ 1 หอ้ ง)

– ปวช.3 = 430 = 10 เศษ 30 คน = 11 ห้อง
40

(เศษ 10 คนขึ้นไป คิดเพม่ิ 1 หอ้ ง)

– ปวส.1 = 164 = 05 เศษ 14 คน = 06 หอ้ ง
30

(เศษ 10 คนข้นึ ไป คิดเพมิ่ 1 หอ้ ง)

– ปวส.2 = 164 = 05 เศษ 14 คน = 06 ห้อง
30

(เศษ 10 คนขึน้ ไป คิดเพิม่ 1 ห้อง)

ค่า G หมวดวิชาสามัญ ระดบั ปวช. = 37 หอ้ ง

ค่า G หมวดวิชาสามัญ ระดับ ปวส. = 12 ห้อง

35

(2) คานวณหาอัตรากาลงั

จากสตู ร T  GC
L
37 x 7
– ปวช.Tปวช.วิชาสามญั = 18 = 14.3 อัตรา

– ปวส.Tปวส.วชิ าสามัญ 12 x 6
= 15 = 4.8 อตั รา

1.4) รวมอตั รากาลงั ที่ทาหน้าทส่ี อน

T ปวช.พาณชิ ยกรรม = 32.6 อตั รา
T ปวส.พาณชิ ยกรรม = 10.0 อัตรา
T ปวช.คหกรรม = 14.0 อัตรา
T ปวส.คหกรรม = 10.0 อตั รา
T ปวช.วิชาสามัญ = 14.3 อัตรา
T ปวส.วชิ าสามญั = 4.8 อตั รา
= 85.7 อัตรา
รวม

มอี ัตรากาลังทที่ าหนา้ ทสี่ อน 86 อตั รา (ปัดตามหลกั คณิตศาสตร์)

(1) กาหนดเปน็ ขา้ ราชการครูได้ไม่เกิน = 86x90 = 77.4 = 77 อัตรา
100
(ไม่เกนิ รอ้ ยละ 90 ของอัตรากาลงั ทีค่ านวณได้)

(ภาคผนวกหน้า 7 เงื่อนไขการใช้ (1))

(2) จะกาหนดเป็นอัตรากาลังครูสาขาใดให้สถานศึกษากาหนดจาก

จานวนชวั่ โมงเรยี นในแตล่ ะประเภทวิชา (ภาคผนวกหนา้ 7 เงือ่ นไขการใช้ (2))

2) อัตรากาลงั ทีท่ าหนา้ ท่ีบริหาร (ภาคผนวกหน้า 7 ข้อ 2.1 - 2.2 )

2.1) หาจานวนหอ้ งเรยี น (ภาคผนวกหนา้ 7 ขอ้ 2.2)

G ปวช.พาณิชยกรรม = 28 หอ้ ง
G ปวส.พาณิชยกรรม = 06 ห้อง
G ปวช.คหกรรม = 12 ห้อง
G ปวส.คหกรรม = 06 หอ้ ง
= 52 ห้อง
รวม

2.2) เทยี บกบั ตารางในภาคผนวกหนา้ 7 ขอ้ 2.1 จะได้

– ผอู้ านวยการสถานศึกษา 1 อตั รา

– รองผอู้ านวยการสถานศกึ ษา 4 อตั รา

รวม 5 อัตรา

36

3) อตั รากาลังสนบั สนนุ การสอน (ภาคผนวกหนา 8 ข้อ 3.1)

สูตร P = aG  b

30

จาก คา่ G ผ้บู ริหาร = 52 หอ้ ง
8.5
ค่า a = 24.5

ค่า b =

แทนคา่ ในสตู ร P = 8.5(52)  24.5 = 15.5 อัตรา
30

= 16 อตั รา (ปดั เศษตามหลักคณิตศาสตร์)

อัตรากาลงั สนับสนนุ การสอนจานวน 16 อตั รา สถานศึกษาสามารถกาหนดเป็น

อัตราบุคลากรทางการศึกษาอ่ืนตามมาตรา 38 ค.(2) ได้ไม่เกินก่ึงหน่ึงของอัตรากาลังท่ีคานวณได้

คือ จานวน 8 อัตรา สาหรับจะกาหนดเป็นตาแหน่งใดขึ้นอยู่กับความต้องการของสถานศึกษา

(ตามภาคผนวกหนา้ 8)

สรุป วิทยาลยั อาชีวศกึ ษา ข. มอี ัตรากาลัง ดงั นี้

1. ครผู ู้สอน

1.1 ขา้ ราชการครู 077 อัตรา

1.2 พนักงานราชการหรืออตั ราจา้ ง 009 อตั รา

2. ผ้บู ริหาร

2.1 ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา 001 อัตรา

2.2 รองผอู้ านวยการสถานศึกษา 004 อัตรา

3. บุคลากรสนบั สนนุ การสอน

3.1 บุคลากรทางการศึกษาอ่นื ตามมาตรา 38 ค.(2) 008 อัตรา

3.2 พนักงานราชการหรอื อัตราจ้าง 008 อตั รา

รวมท้ังสนิ้ 107 อัตรา

37

2.3 กรณีวทิ ยาลยั ท่เี ปดิ สอนบางหมวดวิชาชพี ไมต่ รงกบั ประเภทวทิ ยาลยั
ตัวอย่างท่ี 2.3 วิทยาลัยอาชีวศกึ ษา ค. มีผเู้ รยี น ดังนี้

ท่ี หมวดวชิ าชพี ประเภทวชิ า ปวช.1 ปวช.2 ปวช.3 รวม ปวส.1 ปวส.2 รวม รวมทั้งสิ้น

1 พาณิชยกรรม 321 400 300 1,021 165 160 325 1,346

2 ศิลปกรรม 45 41 44 130 14 18 32 162

รวม (ใชค้ านวณวชิ าสามัญ) 366 441 344 1,151 179 178 357 1,508

จะมีอัตรากาลังในสถานศกึ ษาจานวนเทา่ ใด
วธิ ีทา
1) อัตรากาลังทที่ าหน้าทีส่ อน
1.1) หมวดวิชาชพี ประเภทวิชาพาณชิ ยกรรม (ใชส้ ตู รภาคผนวก หนา้ 4 ข้อ 1.1.1)

T  GC
L

(1) หาคา่ G (จานวนหอ้ งเรียน) หมวดวชิ าชพี ประเภทวิชาพาณชิ ยกรรม

– ปวช.1 = 321 = 8 เศษ 1 คน = 8 หอ้ ง
40

(เศษไมถ่ งึ 10 คน ปดั เศษทง้ิ )

– ปวช.2 = 400 = 10 เศษ 0 คน = 10 ห้อง
40
300
– ปวช.3 = 40 = 7 เศษ 20 คน = 8 หอ้ ง

(เศษ 10 คนข้ึนไป คดิ เพ่ิม 1 หอ้ ง)

– ปวส.1 = 165 = 5 เศษ 15 คน = 6 หอ้ ง
30

(เศษ 10 คนข้ึนไป คดิ เพ่มิ 1 หอ้ ง)

– ปวส.2 = 160 = 5 เศษ 10 คน = 6 ห้อง
30

(เศษ 10 คนข้นึ ไป คิดเพิ่ม 1 ห้อง)

คา่ G หมวดวิชาชพี ประเภทวชิ าพาณชิ ยกรรม ระดับ ปวช. = 26 ห้อง

ค่า G หมวดวชิ าชพี ประเภทวิชาพาณชิ ยกรรม ระดับ ปวส. = 12 หอ้ ง

38

(2) คานวณหาอตั รากาลัง

จากสตู ร T  GC
L
26 x 21
– ปวช.Tปวช.พาณชิ ยกรรม = 18 = 30.3 อัตรา

– ปวส.Tปวส.พาณชิ ยกรรม = 12 x 25 20 อัตรา
15 =

1.2) หมวดวชิ าชีพประเภทวิชาศิลปกรรม (ใช้สูตรภาคผนวก หนา้ 5 ข้อ 1.1.2)

T  GC
L

(1) หาคา่ G (จานวนหอ้ งเรียน) หมวดวชิ าชีพประเภทวชิ าศลิ ปกรรม

– ปวช.1 = 45 = 1 เศษ 15 คน = 2 หอ้ ง
30

(เศษ 10 คนข้ึนไป คดิ เพิ่ม 1 ห้อง)

– ปวช.2 = 41 = 1 เศษ 11 คน = 2 หอ้ ง
30

(เศษ 10 คนขึ้นไป คิดเพม่ิ 1 หอ้ ง)

– ปวช.3 = 44 = 1 เศษ 14 คน = 2 หอ้ ง
30

(เศษ 10 คนขึน้ ไป คดิ เพมิ่ 1 หอ้ ง)

– ปวส.1 = 14 = 0 เศษ 14 คน = 0 ห้อง
30

(หอ้ งเรียนหอ้ งแรกมนี กั เรียนไม่ถงึ 15 คน ไมค่ ดิ หอ้ งเรียนให้)

– ปวส.2 = 18 = 0 เศษ 18 คน = 1 ห้อง
30

(ห้องเรียนห้องแรกมีนักเรียน 15 คนขึน้ ไป คิดห้องเรยี นให้ 1 ห้อง)

คา่ G หมวดวชิ าชีพประเภทวชิ าศลิ ปกรรม ระดบั ปวช. = 6 ห้อง

ค่า G หมวดวชิ าชพี ประเภทวชิ าศลิ ปกรรม ระดับ ปวส. = 1 ห้อง

39

(2) คานวณหาอัตรากาลัง

จากสตู ร T  GC
L
6 x 21
– ปวช.Tปวช.ศลิ ปกรรม = 15 = 8.4 อตั รา

– ปวส.Tปวส.ศิลปกรรม 1 x 25
= 10 = 2.5 อตั รา

1.3) หมวดวิชาสามัญ (ใชส้ ูตรภาคผนวก หนา้ 4 ข้อ 1.1.1)

T  GC
L

(1) หาคา่ G (จานวนหอ้ งเรยี น) หมวดวชิ าสามญั

– ปวช.1 = 366 = 9 เศษ 6 คน = 9 หอ้ ง
40

(เศษไมถ่ ึง 10 คน ปดั เศษทง้ิ )

– ปวช.2 = 441 = 11 เศษ 1 คน = 11 ห้อง
40

(เศษไมถ่ งึ 10 คน ปัดเศษท้ิง)

– ปวช.3 = 344 = 8 เศษ 24 คน = 9 หอ้ ง
40

(เศษ 10 คนขน้ึ ไป คดิ เพิ่ม 1 ห้อง)

– ปวส.1 = 179 = 5 เศษ 29 คน = 6 ห้อง
30

(เศษ 10 คนขน้ึ ไป คิดเพ่มิ 1 หอ้ ง)

– ปวส.2 = 178 = 5 เศษ 28 คน = 6 ห้อง
30

(เศษ 10 คนขึน้ ไป คิดเพิม่ 1 ห้อง)

ค่า G หมวดวิชาสามัญ ระดบั ปวช. = 29 ห้อง

ค่า G หมวดวชิ าสามญั ระดับ ปวส. = 12 ห้อง

40

(2) คานวณหาอตั รากาลัง

จากสตู ร T  GC
L
29 x 7
– ปวช.Tปวช.วิชาสามญั = 18 = 11.2 อตั รา

– ปวส.Tปวส.วชิ าสามัญ 12 x 6
= 15 = 4.8 อตั รา

1.4) รวมอัตรากาลงั ท่ีทาหนา้ ทส่ี อน

T ปวช.พาณชิ ยกรรม = 30.3 อตั รา

T ปวส.พาณิชยกรรม = 20.0 อัตรา

T ปวช.ศิลปกรรม = 8.4 อัตรา

T ปวส.ศลิ ปกรรม = 2.5 อัตรา

T ปวช.วชิ าสามญั = 11.2 อตั รา

T ปวส.วิชาสามญั = 4.8 อัตรา

รวม = 77.2 อตั รา

มีอัตรากาลงั ทที่ าหน้าที่สอน 77 อตั รา (ปัดตามหลกั คณิตศาสตร)์

(1) กาหนดเปน็ ข้าราชการครไู ด้ไมเ่ กิน = 77x90 = 69.3 = 69 อตั รา
100

(ไม่เกินร้อยละ 90 ของอัตรากาลงั ทคี่ านวณได้)

(ภาคผนวกหน้า 7 เงือ่ นไขการใช้ (1))

(2) จะกาหนดเป็นอัตรากาลังครูสาขาใดให้สถานศึกษากาหนดจาก

จานวนช่วั โมงเรียนในแต่ละประเภทวชิ า (ภาคผนวกหน้า 7 เง่อื นไขการใช้ (2))

2) อตั รากาลังท่ีทาหน้าท่บี ริหาร (ภาคผนวกหนา้ 7 ขอ้ 2.1 - 2.2 )

2.1) หาจานวนหอ้ งเรียน (ภาคผนวกหน้า 7 ข้อ 2.2)

G ปวช.พาณชิ ยกรรม = 26 ห้อง
G ปวส.พาณชิ ยกรรม = 12 หอ้ ง
G ปวช.ศิลปกรรม = 06 หอ้ ง
G ปวส.ศลิ ปกรรม = 01 ห้อง
= 45 หอ้ ง
รวม

2.2) เทยี บกบั ตารางในภาคผนวกหนา้ 7 ข้อ 2.1 จะได้

– ผอู้ านวยการสถานศึกษา 1 อัตรา

– รองผอู้ านวยการสถานศึกษา 4 อตั รา

รวม 5 อัตรา

41

3) อัตรากาลังสนบั สนนุ การสอน (ภาคผนวกหน้า 8 ขอ้ 3.1)

สตู ร P = aG  b
30

จาก ค่า G ผบู้ ริหาร = 45 ห้อง
8.5
ค่า a = 24.5

คา่ b =

แทนค่าในสตู ร P = 8.5(45)  24.5 = 13.5 อตั รา
30

= 14 อตั รา (ปดั เศษตามหลกั คณิตศาสตร)์

อัตรากาลังสนับสนุนการสอนจานวน 14 อัตรา สถานศึกษาสามารถกาหนด

เปน็ อัตราบุคลากรทางการศึกษาอ่ืนตามมาตรา 38 ค.(2) ได้ไม่เกินกึ่งหน่ึงของอัตรากาลังท่ีคานวณได้

คือ จานวน 7 อัตรา สาหรับจะกาหนดเป็นตาแหน่งใดขึ้นอยู่กับความต้องการของสถานศึกษา

(ตามภาคผนวกหน้า 8)

สรปุ วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษา ค. มอี ัตรากาลัง ดังน้ี

1. ครผู สู้ อน

1.1 ข้าราชการครู 69 อัตรา

1.2 พนกั งานราชการหรืออตั ราจา้ ง 08 อัตรา

2. ผ้บู ริหาร

2.1 ผูอ้ านวยการสถานศกึ ษา 01 อตั รา

2.2 รองผูอ้ านวยการสถานศึกษา 04 อัตรา

3. บุคลากรสนับสนนุ การสอน

3.1 บคุ ลากรทางการศกึ ษาอื่น ตามมาตรา 38 ค.(2) 07 อัตรา

3.2 พนักงานราชการหรืออตั ราจา้ ง 07 อตั รา

รวมท้งั ส้นิ 96 อตั รา

42

3. ตัวอย่างการคานวณอตั รากาลังในสถานศกึ ษา ประเภทวทิ ยาลัยการอาชพี /วิทยาลัยเทคโนโลยี
และการจดั การ
3.1 กรณีวิทยาลยั ท่ีเปดิ สอนตรงกับประเภทวิทยาลยั และมีนกั เรยี นต่ากวา่ 480 คน
ตวั อยา่ งที่ 3.1 วิทยาลยั การอาชีพ ก. มีผู้เรยี น ดงั นี้

ท่ี หมวดวชิ าชีพประเภทวชิ า ปวช.1 ปวช.2 ปวช.3 รวม ปวส.1 ปวส.2 รวม รวมทัง้ สิ้น

1 พาณิชยกรรม 14 19 8 41 2 19 21 62

2 อตุ สาหกรรม 43 28 24 95 9 22 31 126

รวม (ใช้คานวณวิชาสามัญ) 57 47 32 136 11 41 52 188

จะมอี ัตรากาลังในสถานศึกษาจานวนเท่าใด
วธิ ที า
1) อตั รากาลงั ทท่ี าหนา้ ท่ีสอน
1.1) หมวดวชิ าชีพประเภทวชิ าพาณชิ ยกรรม (ใชส้ ตู รภาคผนวก หน้า 4 ขอ้ 1.1.1)

T  GC
L

(1) หาคา่ G (จานวนห้องเรียน) หมวดวิชาชีพประเภทวิชาพาณชิ ยกรรม

– ปวช.1 = 14 = 0 เศษ 14 คน = 1 หอ้ ง
40

(กาหนด 1 ห้องเรยี น เพราะเปดิ สอนตรงกับประเภทสถานศกึ ษา)

– ปวช.2 = 19 = 0 เศษ 19 คน = 1 ห้อง

40

(กาหนด 1 หอ้ งเรยี น เพราะเปดิ สอนตรงกบั ประเภทสถานศกึ ษา)

– ปวช.3 = 8 = 0 เศษ 8 คน = 1 หอ้ ง
40

(กาหนด 1 ห้องเรียน เพราะเปิดสอนตรงกบั ประเภทสถานศกึ ษา)

– ปวส.1 = 2 = 0 เศษ 2 คน = 1 หอ้ ง
30

(กาหนด 1 หอ้ งเรยี น เพราะเปิดสอนตรงกับประเภทสถานศกึ ษา)

– ปวส.2 = 16 = 0 เศษ 16 คน = 1 ห้อง
30

(กาหนด 1 หอ้ งเรยี น เพราะเปิดสอนตรงกับประเภทสถานศึกษา)

ค่า G หมวดวิชาชีพประเภทวชิ าพาณิชยกรรม ระดบั ปวช. = 3 หอ้ ง

ค่า G หมวดวชิ าชพี ประเภทวชิ าพาณิชยกรรม ระดับ ปวส. = 2 หอ้ ง

43

(2) คานวณหาอัตรากาลงั

จากสตู ร T  GC
L
3 x 21
– ปวช.Tปวช.พาณิชยกรรม = 18 = 3.5 อัตรา

2 x 25
– ปวส.Tปวส.พาณชิ ยกรรม = 15 = 3.3 อัตรา

1.2) หมวดวชิ าชพี ประเภทวิชาอุตสาหกรรม (ใชส้ ูตรภาคผนวก หนา้ 5 ข้อ 1.1.2)

T  GC
L
(1) หาค่า G (จานวนห้องเรียน) หมวดวิชาชีพประเภทวิชาอตุ สาหกรรม

– ปวช.1 = 43 = 1 เศษ 13 คน = 2 ห้อง
30

(เศษ 10 คนข้นึ ไป คิดเพิม่ 1 ห้อง)

– ปวช.2 = 28 = 0 เศษ 28 คน = 1 หอ้ ง
30

(กาหนด 1 หอ้ ง เพราะหอ้ งแรกเปิดสอนตรงกับประเภทสถานศึกษา)

– ปวช.3 = 24 = 0 เศษ 24 คน = 1 ห้อง
30

(กาหนด 1 หอ้ ง เพราะหอ้ งแรกเปิดสอนตรงกับประเภทสถานศึกษา)

– ปวส.1 = 9 = 0 เศษ 9 คน = 1 หอ้ ง
30

(กาหนด 1 หอ้ ง เพราะห้องแรกเปิดสอนตรงกับประเภทสถานศึกษา)

– ปวส.2 = 22 = 0 เศษ 22 คน = 1 ห้อง
30

(กาหนด 1 ห้อง เพราะหอ้ งแรกเปิดสอนตรงกับประเภทสถานศึกษา)

 คา่ G หมวดวิชาชพี ประเภทวชิ าอุตสาหกรรม ระดบั ปวช. = 4 หอ้ ง

คา่ G หมวดวชิ าชีพประเภทวชิ าอุตสาหกรรม ระดับ ปวส. = 2 หอ้ ง

44

(2) คานวณหาอตั รากาลงั

จากสูตร T  GC
L
3 x 21
– ปวช.Tปวช.อุตสาหกรรม = 18 = 4.7 อัตรา

2 x 25
– ปวส.Tปวส.อตุ สาหกรรม = 15 = 3.3 อตั รา

1.3) หมวดวิชาสามญั (ใชส้ ูตรภาคผนวก หนา้ 4 ขอ้ 1.1.1)

T  GC
L

(1) หาค่า G (จานวนหอ้ งเรยี น) หมวดวชิ าสามญั

– ปวช.1 = 57 = 1 เศษ 17 คน = 2 หอ้ ง
40

(เศษ 10 คนข้นึ ไป คดิ เพิ่ม 1 ห้อง)

– ปวช.2 = 47 = 1 เศษ 7 คน = 1 หอ้ ง
40

(เศษไมถ่ งึ 10 คน ปัดเศษทิง้ )

– ปวช.3 = 32 = 0 เศษ 32 คน = 1 หอ้ ง
40

(กาหนด 1 ห้อง เพราะเปน็ วชิ าสามญั ทบี่ งั คับเรยี นของทุกหมวดวิชาชีพ)

– ปวส.1 = 11 = 0 เศษ 11 คน = 1 ห้อง
30

(กาหนด 1 หอ้ ง เพราะเปน็ วชิ าสามญั ทบี่ งั คับเรียนของทกุ หมวดวชิ าชีพ)

– ปวส.2 = 41 = 1 เศษ 11 คน = 2 หอ้ ง
30

(เศษ 10 คนขน้ึ ไป คิดเพ่ิม 1 หอ้ ง)

คา่ G หมวดวชิ าสามัญ ระดับ ปวช. = 4 หอ้ ง

ค่า G หมวดวิชาสามัญ ระดบั ปวส. = 3 ห้อง

45

(2) คานวณหาอตั รากาลัง

จากสตู ร T  GC
L
4x7
– ปวช.Tปวช.วชิ าสามัญ = 18 = 1.6 อตั รา

– ปวส.Tปวส.วชิ าสามัญ = 3x6 = 1.2 อตั รา
15

1.4) รวมอตั รากาลงั ทที่ าหนา้ ที่สอน

T ปวช.พาณชิ ยกรรม = 3.5 อตั รา
T ปวส.พาณิชยกรรม = 3.3 อตั รา
T ปวช.อุตสาหกรรม = 4.7 อัตรา
T ปวส.อุตสาหกรรม = 3.3 อตั รา
T ปวช.วชิ าสามญั = 1.6 อัตรา
T ปวส.วชิ าสามัญ = 1.2 อัตรา
= 17.6 อตั รา
รวม

มีอัตรากาลังทท่ี าหนา้ ทสี่ อน 18 อตั รา (ปดั ตามหลักคณติ ศาสตร)์

(1) กาหนดเป็นข้าราชการครูได้ไม่เกิน = 18x90 = 16.2 = 16 อตั รา
100

(ไม่เกนิ ร้อยละ 90 ของอัตรากาลงั ทีค่ านวณได้)

(ภาคผนวกหนา้ 7 เงือ่ นไขการใช้ (1))

(2) จะกาหนดเป็นอัตรากาลังครูสาขาใดให้สถานศึกษากาหนดจาก

จานวนช่วั โมงเรยี นในแตล่ ะประเภทวชิ า (ภาคผนวกหนา้ 7 เงอ่ื นไขการใช้ (2))

2) อตั รากาลงั ทท่ี าหน้าท่ีบรหิ าร (ภาคผนวกหนา้ 7 ข้อ 2.1 - 2.2 )

2.1) หาจานวนหอ้ งเรยี น (ภาคผนวกหน้า 7 ข้อ 2.2)

G ปวช.พาณิชยกรรม = 03 หอ้ ง
G ปวส.พาณิชยกรรม = 02 ห้อง
G ปวช.อตุ สาหกรรม = 04 หอ้ ง
G ปวส.อตุ สาหกรรม = 02 ห้อง
= 11 หอ้ ง
รวม

2.2) เทียบกบั ตารางในภาคผนวกหนา้ 7 ข้อ 2.1 จะได้

– ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา 1 อตั รา

– รองผ้อู านวยการสถานศึกษา 1 อัตรา

รวม 2 อตั รา

46

3) อตั รากาลงั สนบั สนนุ การสอน (ภาคผนวกหน้า 8 ข้อ 3.1)

สตู ร P = aG  b
30
จาก ค่า G ผู้บรหิ าร = 11 หอ้ ง
8.5
ค่า a = 24.5

คา่ b =

แทนค่าในสตู ร P = 8.5(11)  24.5 = 3.9 อตั รา
30

= 4 อตั รา (ปัดเศษตามหลกั คณิตศาสตร์)

อัตรากาลังสนับสนุนการสอนจานวน 4 อัตรา สถานศึกษาสามารถกาหนด

เป็นเพียงพนักงานราชการหรืออัตราจ้างเท่านั้น เนื่องจากมีจานวนผู้เรียนทั้งหมดน้อยกว่า 480 คน

(ตามภาคผนวกหนา้ 8) สาหรบั จะกาหนดเปน็ ตาแหนง่ ใดขน้ึ อย่กู ับความตอ้ งการของสถานศกึ ษา

สรปุ วทิ ยาลัยการอาชีพ ก. มอี ัตรากาลงั ดังน้ี

1. ครผู สู้ อน

1.1 ขา้ ราชการครู 16 อัตรา

1.2 พนกั งานราชการหรอื อตั ราจา้ ง 02 อตั รา

2. ผู้บรหิ าร

2.1 ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา 01 อัตรา

2.2 รองผู้อานวยการสถานศึกษา 01 อตั รา

3. บุคลากรสนับสนุนการสอน

3.1 บุคลากรทางการศกึ ษาอ่นื ตามมาตรา 38 ค.(2) – อตั รา

3.2 พนักงานราชการหรืออตั ราจ้าง 04 อตั รา

รวมทงั้ สิน้ 24 อัตรา


Click to View FlipBook Version