1
ญ
โรงเรยี นบา้ นขน้ี าก (ศรธี รรมวัฒนร์ าษฎรอ์ นุกูล)
สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐ
โรงเรียนบ้านขี้นาก (ศรธี รรมวัฒน์ราษฎรอ์ นกุ ลู )
2
ส่วนท่ี 1
ข้อมูลพนื้ ฐานของสถานศึกษา
1. ขอ้ มูลทั่วไป
โรงเรียนบ้านขี้นาก(ศรีธรรมวัฒน์ราษฎร์อนุกูล) ตั้งอยู่หมู่ที่ 7 ตำบลบ้านใหม่ อำเภอระโนด
จังหวดั สงขลา
E-mail : [email protected]
Website : http://bankheenak.ac.th
https://sites.google.com/site/bankheenak,
http://data.bopp-obec.info/web/index.php?School_ID=1090550116
Facebook : โรงเรียนบา้ นขนี้ าก ระโนด https://www.facebook.com/k.heenak
YouTube : โรงเรียนบา้ นข้ีนาก ระโนด สงขลา
https://www.youtube.com/channel/UCeZ3dy3NKoyXBUUBVCiwSyw
2. ข้อมลู บคุ ลากรของสถานศึกษา
ที่ ช่ือ - สกลุ ตำแหนง่ วฒุ ิ วิชาเอก
1 นางสาวศรีสุดา โมสโิ ก ผู้อำนวยการ ศษ.ม การบริหารการศึกษา
โรงเรียนราชประชา
นเุ คราะห์ 11
รก.ในตำแหน่ง
ผูอ้ ำนวยการ
2 นางอบุ ลรตั น์ ห้องชู ครู ค.บ. การศกึ ษาปฐมวยั
3 นางสาวอรวรรณ สัจจาวงศ์วณชิ ย์ ครู ค.บ. คอมพวิ เตอร์ศึกษา
4 นางสาวกุลธดิ า ศกั ดนิ์ ุกูล ครู ค.บ. วิทยาศาสตรท์ ่ัวไป
5 นางสาวณาณกร ขุนชมุ เจา้ หนา้ ทีธ่ รุ การ ค.อ.บ. วิศวกรรมอตุ สาหการ
6. นายนพชยั เทพไชย ชา่ งไม้ 4 อนุปรญิ ญา การพฒั นาชุมชน
2.1 สาขาวชิ าท่จี บการศึกษาและภาระงานสอน
สาขาวิชาเอก จำนวน(คน) ภาระงานสอนเฉล่ียของครู 1 คน
ในแต่ละสาขาวชิ า (ชม./สัปดาห)์
ปฐมวัย 1
วิทยาศาสตร์ 1 30
คอมพิวเตอร์ศึกษา 1 30
3 30
รวม 30
โรงเรยี นบา้ นขน้ี าก (ศรีธรรมวฒั น์ราษฎร์อนกุ ลู )
3
สรปุ อัตราส่วน
ระดับปฐมวยั
อัตราสว่ นของจำนวนผเู้ รยี น : ครู เท่ากบั 2 : 1
อตั ราสว่ นของจำนวนผ้เู รียน : หอ้ ง เท่ากับ 2 : 1
มีจำนวนครู □ ครบช้นั ไม่ครบชั้น ในระดบั ชัน้ อนบุ าล 2
ภาระงานสอนของครู โดยเฉลย่ี ชวั่ โมง : สัปดาห์ เท่ากับ 30 : 1
ระดับประถมศกึ ษา
อัตราสว่ นของจำนวนผูเ้ รียน : ครู เท่ากบั 12 : 1
อัตราสว่ นของจำนวนผูเ้ รียน : หอ้ ง เท่ากับ 4 : 1
มีจำนวนครู □ ครบช้ัน ไม่ครบช้นั ในระดบั ช้ัน ประถมศกึ ษาปที ่ี 2, 3 , 5 และ 6
ภาระงานสอนของครู โดยเฉลีย่ ชวั่ โมง : สัปดาห์ เท่ากบั 30 : 1
3. ขอ้ มูลผเู้ รียน ปกี ารศกึ ษา 2565
ระดับช้นั อ.1 อ.2 อ.3 รวม ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 รวม
เรยี น
จำนวน - 1 - 111 1 1 1 1 6
หอ้ ง
เพศ ชาย - 1 - 122 4 4 6 3 19
หญงิ - 1 - 11 - 1 1 - 15
รวม - 2 - 2 3 2 6 5 6 5 24
เฉล่ยี ตอ่ - 2 - 232 5 5 6 5 7
ห้อง
ปรชั ญาของโรงเรยี น
ประชารว่ มสร้าง เปิดโอกาสทางการศึกษา
วิสัยทศั น์ (VISION) ของโรงเรยี น
สงั คมแหง่ การเรยี นรู้ สู่มาตรฐานการศึกษา น้อมนำศาสตรพ์ ระราชาค่หู ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
โรงเรียนบา้ นขนี้ าก (ศรธี รรมวฒั นร์ าษฎรอ์ นุกลู )
4
พันธกจิ (MISSION STATEMENT)
1. พัฒนาแหลง่ เรียนรู้ สอื่ เทคโนโลยี และสภาพแวดล้อมให้เออื้ ต่อการจดั การเรยี นรู้
2. พัฒนาผ้เู รียนใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
3. สง่ เสริมผเู้ รยี นให้มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและคณุ ลักษณะอนั พึงประสงคต์ ามหลักสตู รสถานศึกษา
4. สง่ เสริม สนบั สนุนให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา จดั การเรยี นรูโ้ ดยน้อมนำศาสตร์พระราชา
และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
5. พฒั นาระบบการบริหารจดั การอยา่ งเป็นระบบและมสี ว่ นรว่ มจากทุกภาคส่วนอยา่ งมคี ุณภาพ
เปา้ ประสงค์
1. สถานศกึ ษามแี หล่งเรยี นรทู้ ีเ่ หมาะสมและหลากหลาย
2. สถานศึกษามีสื่อ เทคโนโลยีทันสมยั เพียงพอต่อการเรียนรู้
3. สถานศกึ ษามีสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการจดั การเรียนรู้
4. ผเู้ รยี นมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา ทักษะชวี ติ และทักษะการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21
5. ผ้เู รยี นมคี ณุ ธรรม จริยธรรมและคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ตามหลักสูตรสถานศึกษา
6. ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา จัดการเรียนรูโ้ ดยน้อมนำศาสตรพ์ ระราชา และหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
7. สถานศกึ ษาบรหิ ารจดั การอย่างเปน็ ระบบและมสี ว่ นร่วมจากทุกภาคส่วนอย่างมีคณุ ภาพ
กลยุทธ์
1. จัดแหลง่ เรียนรู้ท่ีเหมาะสมและหลากหลาย
ตวั ช้ีวัด
1. จำนวนแหลง่ เรียนรทู้ ี่เหมาะสมและหลากหลายภายในสถานศกึ ษา(5,8,10)
2. จัดให้มกี ารศึกษาแหล่งเรียนรูน้ อกสถานศึกษา(1,1,1)
2. จัดสอ่ื เทคโนโลยีทันสมัยเพียงพอต่อการเรียนรู้
ตัวชี้วดั
1. ร้อยละของส่ือ เทคโนโลยที ่ีทันสมัยในการเรียนรู้ (70,80,90)
2. ร้อยละของผ้เู รยี นที่ใชส้ ่ือ เทคโนโลยีในการเรียนรู้ (70,80,90)
3. ร้อยละของครูท่ีใชส้ ่อื เทคโนโลยใี นการจัดการเรียนการสอน(80,90,100)
3. พฒั นาการจัดการศึกษาทุกระดับตามมาตรฐานการศึกษา
ตัวช้วี ดั
1. รอ้ ยละของเด็กท่ีมพี ฒั นาการ 4 ดา้ นในระดับ 3 ข้นึ ไป (100,100,100)
2. ร้อยละของผูเ้ รียนที่มผี ลการเรยี นเฉลย่ี ทุกกลุ่มสาระในระดับ 3 ข้นึ ไป (20,30,40)
3. รอ้ ยละของผู้เรียนท่ีจบการศึกษาระดับชั้น ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 และมัธยมศกึ ษาตอนตน้
ศกึ ษาตอ่ (100,100,100)
4. ร้อยละของผลการทดสอบระดับชาติเพิม่ ข้นึ (3,4,5)
โรงเรียนบ้านขน้ี าก (ศรธี รรมวฒั น์ราษฎรอ์ นกุ ลู )
5
4. พัฒนาศักยภาพผู้เรยี นอยา่ งหลากหลาย
ตัวชว้ี ัด
1. รอ้ ยละของผูเ้ รียนท่ีมีคณุ ลักษณะและทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 (80,90,90)
2. ร้อยละของผูเ้ รียนท่ีไดร้ บั การพัฒนาตามความถนัดและตามศักยภาพ(100,100,100)
3. ร้อยละของผเู้ รียนเข้ารว่ มการแขง่ ขนั ในกจิ กรรมระดบั ต่าง ๆ (70,80,90)
5. ปลกู ฝังผเู้ รียนดา้ นคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงคแ์ ละหลักของปรัชญาเศรษฐกจิ
พอเพยี ง
ตัวชว้ี ดั
1. รอ้ ยละของผเู้ รียนที่ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรมและคณุ ลักษณะอันพงึ
ประสงค์ (100,100,100)
2. รอ้ ยละของผเู้ รยี นน้อมนำหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชวี ิตประจำวัน
(80,80,80)
6. พฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
ตวั ชวี้ ัด
1. ร้อยละของครูและบคุ ลากรสรา้ งองค์ความรไู้ ปใช้ในการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน ถ่ายทอด
แลกเปลี่ยนและเผยแพร่ (90,90,90)
2. ร้อยละของครแู ละบุคลากรทีม่ กี ารพฒั นาตนเองได้ตรงตามศักยภาพ(100,100,100)
3. ร้อยละของครแู ละบคุ ลากรท่ีได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ (30,30,30)
7. พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ
ตวั ชี้วดั
1. ร้อยละของผู้บริหารสามารถใชเ้ ทคโนโลยใี นการบรหิ ารจัดการได้ (100,100,100)
2. รอ้ ยละของสถานศึกษามีระบบการประกนั คุณภาพภายในท่ีเข้มแข็ง ครบองคป์ ระกอบตาม
กฎกระทรวง (80,85,90)
3. สถานศึกษามีการบริหารจัดการด้านบคุ ลากร งบประมาณ ทเ่ี ปน็ ระบบและมีประสิทธิภาพ
(100,100,100)
4. ร้อยละของความพึงพอใจในการบรหิ ารจัดการองคก์ ร (70,80,90)
โรงเรียนบา้ นข้นี าก (ศรธี รรมวัฒนร์ าษฎรอ์ นกุ ลู )
6
ส่วนที่ 2
ขอ้ มูลผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระดบั สถานศึกษาและการดำเนินงาน
ข้อมูลผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นระดับสถานศกึ ษา
ตารางเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน 5 กลมุ่ สาระการเรียนรูห้ ลกั
ของผู้เรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1 – 6 ปกี ารศึกษา 2562 – 2564
รายวชิ า ปีการศึกษา 2564 ค่าพัฒนา สรุป
2562 2563 62.56 -13.77
ภาษาไทย 70.79 75.66 63.40 -16.28 ลดลง
คณิตศาสตร์ 71.35 73.70 64.21 -19.12 ลดลง
วิทยาศาสตร์ 74.09 69.16 63.75 -9.92 ลดลง
สงั คมศึกษาฯ 73.03 75.42 61.28 0.73 ลดลง
ภาษาองั กฤษ 70.18 69.09 63.04 -11.67 เพิ่มขน้ึ
71.89 72.61 ลดลง
เฉลยี่
จากตารางเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธิ์ ปรากฏวา่ ผลการเรียนเฉลีย่ รวมของช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1-6
ปีการศกึ ษา 2562 – 2564 ใน 5 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้หลกั พบว่ามคี ่าเฉลย่ี ลดลงรอ้ ยละ -11.67
90
80
70
60
50
40
30 2562
20
10 2563
0 2564
โรงเรียนบ้านขี้นาก (ศรีธรรมวฒั น์ราษฎรอ์ นกุ ลู )
7
5. ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผ้เู รยี นระดับชาติ
5.1 ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผเู้ รยี นระดับชาติ (RT) ชั้นประถมศึกษา
ปีท่ี 1 ประจำปกี ารศึกษา 2564
- ไม่มีนักเรยี นเข้ารับการทดสอบ
5.2 ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผเู้ รียนระดบั ชาติ (NT) ช้ันประถมศึกษา
ปีที่ 3 ประจำปีการศกึ ษา 2564
- ไม่มีนกั เรียนเขา้ รับการทดสอบ
5.3 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ น้ั พืน้ ฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2564
รายวชิ า ปกี ารศึกษา 2562 – 2564 คา่ พัฒนา สรปุ
ภาษาไทย ปีการศึกษา 12.17 เพิ่มข้ึน
คณิตศาสตร์ 2561 2562 2564 7.46 เพิ่มข้ึน
วทิ ยาศาสตร์ 43.90 48.39 57.92 7.99 เพม่ิ ขนึ้
ภาษาอังกฤษ 25.00 30.00 37.46 10.75 เพ่ิมขน้ึ
31.00 36.18 44.17 9.59 เพม่ิ ขนึ้
เฉล่ีย 30.00 25.71 36.46
32.48 35.07 44.00
70.00
60.00 57.92
50.00 52.5 47.5 36.18 37.4644.1736.46
30.00 25.71
40.00 25.0031.0030.00 ภาษาไทย
30.00 คณติ ศาสตร์
20.00 วทิ ยาศาสตร์
10.00 ภาษาองั กฤษ
0.00
2561 2562 2564
โรงเรยี นบ้านข้นี าก (ศรธี รรมวฒั น์ราษฎร์อนกุ ลู )
8
จำนวน คะแนน
นกั เรียน
วิชา (คน) สงู สดุ ตำ่ สุด เฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
ภาษาไทย 3 (MAX) (Min) (Mean) (S.D.)
* อตั นยั
* ปรนัย 3 69.75 51.25 57.92 8.39
ภาษาองั กฤษ 3
คณติ ศาสตร์ 3 12.75 7.25 9.92 3.39
วิทยาศาสตร์
60.00 40.00 48.00 14.02
43.75 25 36.46 8.20
39.63 33.13 37.46 3.06
55.00 32.50 44.17 9.20
จากตารางเปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขัน้ พน้ื ฐาน (O - NET) ปรากฏวา่
จากตารางที่ 7 พบว่า ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขั้นพืน้ ฐาน (O-NET) ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ปี
การศกึ ษา 2564 โรงเรยี นบา้ นขนี้ าก(ศรธี รรมวัฒนร์ าษฎร์อนุกูล) เป็นดงั น้ี
วชิ าภาษาไทย พบวา่ มีนกั เรียนเข้าสอบ 3 คน คะแนนรวมสูงสุด 69.75 คะแนน ตำ่ สดุ 51.25
คะแนน และคะแนนเฉลี่ย (Mean) เท่ากับ 57.92 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 8.39 เม่ือ
พิจารณาผลสอบอัตนัย คะแนนสูงสุด 12.75 คะแนน ต่ำสุด 7.25 คะแนน และคะแนนเฉลี่ย (mean)
เท่ากับ 9.92 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 3.39 ส่วนผลสอบปรนัย คะแนนสูงสุด 60.00
คะแนน ต่ำสุด40.00 คะแนน มีคะแนนเฉลี่ย (Mean) เท่ากับ 48.00 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)
เทา่ กับ 14.02
วิชาภาษาอังกฤษ พบว่า มีนักเรียนเข้าสอบ 3 คน คะแนนสูงสุด 43.75 คะแนน ต่ำสุด 25
คะแนน และคะแนนเฉลีย่ (Mean) เทา่ กับ 36.46 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เทา่ กับ 8.20
วิชาคณิตศาสตร์ พบว่า มีนักเรียนเข้าสอบ 3 คน คะแนนสูงสุด 39.63 คะแนน ต่ำสุด37.46
คะแนน และคะแนนเฉลีย่ (Mean) เท่ากบั 37.46 สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) เทา่ กับ 3.06
วิชาวิทยาศาสตร์ พบว่า มีนักเรียนเข้าสอบ 3 คน คะแนนสูงสุด 55.00 คะแนน ต่ำสุด 32.50
คะแนน และคะแนนเฉลีย่ (Mean) เท่ากบั 44.17 สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากบั 9.20
เปรียบเทียบคะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขัน้ พ้นื ฐาน (O-NET)
ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2564 ระดบั โรงเรียน กับระดับเขตพ้ืนที่ และระดับประเทศ
วชิ า คะแนนเฉล่ยี (Mean)
ระดับโรงเรียน ระดบั เขตพื้นท่ี ระดับประเทศ
ภาษาไทย 57.92 49.75 50.38
* อตั นยั 9.92 11.43 11.63
* ปรนัย 48.00 38.32 38.75
ภาษาอังกฤษ 36.46 39.21 39.22
คณติ ศาสตร์ 37.46 36.95 36.83
วทิ ยาศาสตร์ 44.17 33.53 34.31
โรงเรยี นบา้ นขน้ี าก (ศรธี รรมวัฒน์ราษฎร์อนกุ ลู )
9
เปรียบเทยี บคะแนนเฉลีย่ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET)
ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2564 ระดบั โรงเรียน กบั ระดบั เขตพื้นที่ และระดับประเทศ
จากตารางพบวา่ การเปรยี บเทยี บคะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้ันพืน้ ฐาน (O-NET) ชัน้
ประถมศึกษาปที ี่ 6 ปีการศึกษา 2564 ของโรงเรียนบ้านขน้ี าก(ศรธี รรมวัฒนร์ าษฎร์อนกุ ลู ) กับระดับเขต
พนื้ ท่ี และระดับประเทศ เปน็ ดังนี้
วิชาภาษาไทย คะแนนเฉลี่ย ระดบั โรงเรียน 57.92 มคี ะแนนเฉลย่ี สูงกวา่ ท้งั ระดับเขตพ้นื ท่แี ละ
ระดบั ประเทศ
วชิ าภาษาองั กฤษ คะแนนเฉลี่ย 36.46 ต่ำกวา่ คะแนนระดบั เขตพืน้ ทแ่ี ละระดับประเทศ
วิชาคณิตศาสตร์ คะแนนเฉล่ีย 37.46 ต่ำกวา่ คะแนนระดับเขตพ้ืนท่แี ละระดับประเทศ
วชิ าวิทยาศาสตร์ คะแนนเฉล่ีย 44.17 สงู กวา่ คะแนนระดับเขตพนื้ ทแ่ี ละระดับประเทศ
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน
ระดบั คณุ ภาพ ดเี ลิศ
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผ้เู รียน : ระดับคณุ ภาพ ดีเลศิ
สถานศกึ ษามีการดำเนินการ จำแนกตามประเด็นพิจารณา ดังน้ี
1.1ผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการของผู้เรยี น
1. มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสอื่ สารและการคดิ คำนวณ
ค่าเปา้ หมายของสถานศึกษา ผู้เรยี นร้อยละ 72 มีคณุ ภาพอยใู่ นระดับ ดี ผลการประเมิน
คุณภาพภายใน โดยใช้เครื่องมือในการประเมิน ได้แก่ แบบทดสอบการอ่านออกเขียนได้ แบบเก็บข้อมูล
มาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน พบวา่ ผู้เรยี นร้อยละ 74.64 มคี ณุ ภาพอยูใ่ นระดบั ดี เมอื่ เทียบกับ
ค่าเปา้ หมาย สูงกว่าค่าเปา้ หมาย ผลการประเมินมีคณุ ภาพในระดบั ดี
วธิ ีการดำเนนิ งานของสถานศึกษา
ดำเนินโครงการและกิจกรรมส่งเสริมให้ผูเ้ รียนสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและ
การคิดคำนวณ ด้วยโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน การเขียน การ
สื่อสาร ในคาบสุดท้ายของทุกวัน และการคิดคำนวณให้กับผู้เรียนทุกระดับชั้น มีการวัดและประเมินผลที่
หลากหลาย
จัดกิจกรรมเล่าขา่ วเชา้ น้ี กจิ กรรมหนา้ เสาธง เพ่อื ส่งเสรมิ ใหผ้ ูเ้ รียนรูจ้ ักสบื ค้น รู้ความสารรอบ
ด้านและสามารถสอื่ สารสรปุ เนอื้ หา ประโยชนจ์ ากเร่ืองท่นี ำมาเสนอได้
กิจกรรมผลิตคลิปผลงานการเรียนรขู้ องตนเอง ในแตล่ ะรายวชิ า เพอ่ื ให้ผู้เรียนสามารถสอ่ื สาร
และสรุปองค์ความรจู้ ากการเรยี นได้ ทัง้ ในรปู แบบการจดั การเรียนรู้ On line, On hand และ On demand
ผลการดำเนนิ การ
นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศึกษา มีความสามารถในการอ่าน การ
เขียน การส่ือสาร ความสามารถคดิ คำนวณได้ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด
โรงเรียนบ้านข้นี าก (ศรีธรรมวัฒน์ราษฎรอ์ นกุ ลู )
10
2. ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยน
ความคดิ เหน็ และแกป้ ัญหา
ค่าเป้าหมายของสถานศึกษา ผู้เรียนรอ้ ยละ 72 มีคุณภาพอยู่ในระดับ ดี ผลการประเมนิ
คุณภาพภายใน โดยใช้เครื่องมือในการประเมิน ได้แก่ แบบเก็บข้อมูลมาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน
พบว่า ผู้เรียนร้อยละ 85.28 มีคุณภาพอยู่ในระดับ ดีเลิศ เมื่อเทียบกับค่าเป้าหมาย สูงกว่าค่าเป้าหมาย ผล
การประเมินมคี ณุ ภาพในระดบั ดีเลศิ
วิธกี ารดำเนนิ งานของสถานศึกษา
สถานศึกษาจัดกิจกรรมและโครงการท่ีสง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมี
วิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา เช่น ผู้เรียนได้รับการเสริมทักษะผ่านกิจกรรม
การจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ วิชาวิทยาศาสตร์ นักเรียนสรปุ ความรู้จากบทเรียน โดยทำคลิปทดลอง
และสรุปส่ง, โครงการโรงเรียนคุณธรรม ทั้งในระดับห้องเรียนและระดับโรงเรียน กิจกรรมทักษะอาชีพ
กจิ กรรมเลา่ ขา่ วเชา้ นหี้ น้าเสาธง เปน็ การนำข่าวท่ีนกั เรยี นสนใจมาเล่าให้ฟัง และสรุปขอ้ คิด ประโยชน์ ของขา่ ว
ท่ีนำมากจิ กรรมหนา้ เสาธง
ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์การจากการเรียนรู้และการปฏิบัติ โครงการศาสตร์
พระราชากบั การพัฒนาทักษะอาชีพ โดยจดั ให้ผู้เรยี น 1 หอ้ งเรียน 1 อาชีพตัง้ แตร่ ะดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 4
– 6 กจิ กรรมโครงการคณุ ธรรม สพฐ. ในระดบั ห้องเรียนและระดบั โรงเรียน
ผลการดำเนินการ
ผู้เรียนได้รับการเสริมทักษะผ่านกิจกรรมต่างๆ ผ่านการปฏิบัติและการทดลอง โครงการ
โรงเรียนคุณธรรม ทั้งในระดับห้องเรียนและระดับโรงเรียน กิจกรรมทักษะอาชีพ กิจกรรมรายวิชาเรียน
กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ นักเรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดี มีส่วนร่วมในกิจกรรมประเพณีของ
ท้องถน่ิ และมีความภูมใิ จในความเป็นไทย อยู่รว่ มกนั อยา่ งมีความสุขบนความแตกตา่ งทางวัฒนธรรมและความ
หลากหลาย
3. ผู้เรียนมีความสามารถในการสร้างนวตั กรรม
ค่าเป้าหมายของสถานศกึ ษา ผู้เรียนร้อยละ 60 มีคุณภาพอยู่ในระดับ ปานกลาง ผลการ
ประเมินคุณภาพภายใน โดยใช้เครื่องมือในการประเมิน ได้แก่ แบบเก็บข้อมูลมาตรฐานการประกันคุณภาพ
ภายใน พบว่า ผู้เรียนร้อยละ 84.03 มีคุณภาพอยู่ในระดับ ดีเลิศ เมื่อเทียบกับค่าเป้าหมาย สูงกว่าค่า
เปา้ หมาย ผลการประเมินมีคุณภาพในระดับ ดเี ลิศ
วธิ กี ารดำเนินงานของสถานศกึ ษา
ผู้เรียนมีศึกษาความรู้ มีผลงานจากการปฏิบัติและทดลอง การสร้างนวัตกรรมของตนเองผ่าน
รายวิชาวิทยาศาสตร์และรายวิชาการงานอาชีพ จัดทำจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง, การทำคลิปการทดลองและ
สรุปผลการทดลองง่ายๆ ของนักเรียนในรายวิชาวิทยาศาสตร์ และรายวิชาภาษาไทย สุขศึกษา และการงาน
อาชีพ กิจกรรมทักษะอาชีพ ให้นักเรียนนำเสนอกิจกรรมการทำโครงงานคุณธรรม การสร้างผลงานการ
ประดษิ ฐข์ องเล่น ของใช้ การออกแบบ และการทำรายงาน
ผลการดำเนินการ
ผูเ้ รยี นในการสรา้ งนวัตกรรมของตนเองผา่ นรายวชิ าวิทยาศาสตร์ กจิ กรรม มกี ารแลกเปล่ียน
ความรู้ในกิจกรรมส่งเสรมิ คุณธรรม การศึกษาค้นคว้ากิจกรรมวิทยาการคำนวณ ให้นักเรียนนำเสนอ กิจกรรม
โรงเรียนบา้ นข้ีนาก (ศรธี รรมวฒั น์ราษฎร์อนุกลู )
11
การทำโครงงาน การสร้างผลงานการประดิษฐ์ของเลน่ ของใช้ ในสาระวิชาการงานอาชีพ การออกแบบการทำ
รายงาน ศึกษาคน้ คว้าหาความร้เู พิม่ เติม การทดลอง สรปุ ผลการทดลอง และนำเสนอผลการทดลองได้
4. ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสื่อสาร
ค่าเป้าหมายของสถานศึกษา ผู้เรียนร้อยละ 72 มีคุณภาพอยู่ในระดับ ดี ผลการประเมิน
คุณภาพภายใน โดยใช้เครื่องมือในการประเมิน ได้แก่ แบบเก็บข้อมูลมาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน
พบว่า ผู้เรียนร้อยละ 77.36 มีคุณภาพอยู่ในระดับ ดี เมื่อเทียบกับค่าเป้าหมาย สูงกว่าค่าเป้าหมาย
ผลการประเมินมีคุณภาพในระดบั ดี
วิธีการดำเนนิ งานของสถานศึกษา
สถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการ
สื่อสาร ผ่านกิจกรรมและโครงการ คือ โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้เรียนได้รับการส่งเสรมิ
การเรียนการสอนวิทยาการคำนวณทุกระดับชั้น ผู้เรียน การส่งเสริมการใช้คอมพิวเตอร์ และอินเตอร์เน็ตใน
การเรียนรู้ทั้งออนไลน์และออนแฮนด์ อีกทั้งรู้จักการการสืบค้นข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ ในแต่ระดับชั้นมีการจัด
สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้และจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ DLTV อังกฤษวันละคำ ครูผลิต
และใช้สื่อ ICT DLIT สำหรับการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศให้กับนักเรียน การมีส่วนร่วมในการสร้าง
คลิปวดิ ีโอ แพร่เผยผลงาน กิจกรรมของโรงเรยี น ผ่านทาง YouTube ของโรงเรียน
ผลการดำเนินการ
ผู้เรียนได้รับการส่งเสริมการเรียนการสอนวิทยาการคำนวณทุกระดับชั้น นักเรียนได้รับการ
ส่งเสริมเข้าร่วมกิจกรรมทักษะวิชาการในด้าน ได้รับการส่งเสริมการใช้คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ตในการ
เรยี นรู้ และการสบื คน้ ข้อมูล จัดสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ สำหรบั ใหน้ กั เรยี นเรียนร้ดู ้วยตนเอง และ
จัดกิจกรรมการเรยี นการสอนโดยใช้ DLTV
5. ผเู้ รียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศึกษา
ค่าเป้าหมายของสถานศึกษา ผู้เรียนรอ้ ยละ 72 มีคุณภาพอยู่ในระดับ ดี ผลการประเมนิ
คุณภาพภายใน โดยใช้เครื่องมือในการประเมิน ได้แก่ แบบเก็บข้อมูลมาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน
พบวา่ ผูเ้ รียนร้อยละ 77.19 มีคณุ ภาพอยู่ในระดบั ดี เมื่อเทยี บกบั คา่ เป้าหมาย สงู กวา่ ค่าเป้าหมาย ผล
การประเมินมีคุณภาพในระดบั ดี
วิธีการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษา
จัดโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน การเขียน การ
สื่อสารและการคิดคำนวณให้กับผู้เรียนทุกระดับชั้น มีการวัดและประเมินผลที่หลากหลาย กิจกรรมพัฒนา
ศักยภาพผู้เรียนสู่ความเปน็ เลิศ กิจกรรมสอนซ่อมเสริม พัฒนาทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต ส่งเสริมให้ผู้เรียน
ได้รับประสบการณ์การจากการเรียนรู้และการปฏิบัติ โครงการส่งเสริมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมทัศน
ศึกษา กิจกรรมลูกเสือ ส่งเสริมการใช้สื่อและการเรียน DLTV และ ICT ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ให้กับนักเรียน จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ที่จำเป็นสำหรับนักเรียนทุกคน เช่น เสื้อผ้า
อุปกรณก์ ารเรยี น และจดั กิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ DLTV และกิจกรรมหอ้ งสมุด
ส่งเสริการเรียนรู้ด้านภาษาต่างๆประเทศ โดยประสานขอความร่วมมือจากมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตสงขลา ให้นักศึกษาฝึกสอนวิชาเอกภาษาอังกฤษ ได้ร่วมสอนนักเรียนระดับช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ 2 – 6 และขอความสนับสนุนจากโรงเรียนบ้านระโนต(ธัญเจริญ) ให้ครูภาษาอังกฤษ มาให้
ติวความรูว้ ชิ าภาษาองั กฤษให้กับนกั เรยี น ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 เพื่อเตรยี มตวั ในการสอบวดั ผล O-net
โรงเรยี นบา้ นขน้ี าก (ศรธี รรมวัฒนร์ าษฎร์อนกุ ลู )
12
ผลการดำเนินการ
นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผ่านเกณฑ์ตามที่หลักสูตรสถานศึกษากำหนด รายวิชา
ภาษาองั กฤษ ผลการประเมินในทกุ ระดบั มีผลสมั ฤทธิ์สงู ขึ้น ร้อยละ 61.28 มคี า่ พฒั นาเพมิ่ ขึ้น 0.73 และผล
การทดสอบวัดและประเมินผลสัมฤทธิ์ระดับชาติ O-Net วิชาภาษาอังกฤษ ผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น ร้อยละ 36.46
มคี ่าพฒั นาเพิม่ ขนึ้ 10.75
6. ผ้เู รยี นมคี วามรู้ทักษะพื้นฐานและเจตคติทด่ี ีตอ่ งานอาชพี
ค่าเป้าหมายของสถานศึกษา ผู้เรียนร้อยละ 85 มีคุณภาพอยู่ในระดับ ดีเลิศ ผลการ
ประเมินคุณภาพภายใน โดยใช้เครื่องมือในการประเมิน ได้แก่ แบบเก็บข้อมูลมาตรฐานการประกันคุณภาพ
ภายใน พบว่า ผู้เรียนร้อยละ 88.15 มีคุณภาพอยู่ในระดับ ดีเลิศ เมื่อเทียบกับค่าเป้าหมาย สูงกว่าค่า
เปา้ หมาย ผลการประเมนิ มีคณุ ภาพในระดบั ดเี ลิศ
วิธีการดำเนินงานของสถานศกึ ษา
ดำเนินการส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่ออาชีพ โดยจัดโครงการ
ศาสตร์พระราชากับการพัฒนาทักษะอาชีพ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ ในการประกอบอาชีพ นักเรียน
ระดับชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 4 – 6 ทำกจิ กรรมทักษะอาชีพ 1 ห้องเรยี น 1 อาชพี โครงการฐานการเรียนรมู้ ีชีวติ
เพื่ออาหารกลางวัน สร้างฐานการเรียนรู้ตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมการเลี้ยงไก่
ไข่ การเลี้ยงแหนแดงเพ่ือเปน็ ลดต้นทุนอาหารไก่ไข่ และใช้ปรับปรงุ ดิน สง่ เสรมิ กจิ กรรมจิตอาสาให้ผู้เรียนรู้จัก
เปน็ ผใู้ หก้ ับเปน็ ผู้รับที่ดี สามารถปรับตวั ในอยู่ในสงั คมได้อย่างมีคุณค่า มคี ณุ ภาพ และมคี วามสุข
ผลการดำเนนิ การ
นักเรียนมีความรู้และมีเจคติที่ดีต่องานอาชีพ มีแนวทางและทักษะปฏิบัติกิจกรรม ผู้เรียนมี
ความร้ทู ักษะในการแสดงรำมโนราห์ มีทกั ษะในการประกอบอาชีพการขายขนมในตอนพักกลางวนั และนำผล
กำไรในแตล่ ะชน้ั มาแบ่งปนั ผลกำไรในแต่ละภาคเรียน ทำขนมบรกิ ารชมุ ชนในโอกาสวันสำคัญตา่ งๆ ของชุมชน
การผลิตภาพยนตร์สั้น ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในการนำผลผลิตจากธรรมชาติมาใช้ในการเกษตรเพื่อลด
ต้นทุนในการเลี้ยง เช่น วิธีการเลีย้ งแหนแดง ประโยชน์และการนำแหนแดงไปใชป้ ระโยชน์ทางเกษตร การทำ
กิจกรรมทักษะอาชีพ เพื่อสร้างแรงบันดาลใจในการพัฒนาทักษะอาชีพ ความคิดสร้างสรรค์ และการกล้า
แสดงออกของผ้เู รยี นทางช่อง YouTube ของโรงเรยี น
1.2 คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงคข์ องผูเ้ รยี น
1. ผเู้ รยี นมีคุณลักษณะคา่ นยิ มทด่ี ตี ามท่ีสถานศกึ ษากำหนด
ค่าเป้าหมายของสถานศึกษา ผู้เรียนร้อยละ 80 มีคุณภาพอยู่ในระดับ ดีเลิศ ผลการ
ประเมินคุณภาพภายใน โดยใช้เครื่องมือในการประเมิน ได้แก่ แบบเก็บข้อมูลมาตรฐานการประกันคุณภาพ
ภายใน พบว่า ผเู้ รยี นรอ้ ยละ 91.27 มีคุณภาพอยู่ในระดับ ยอดเยย่ี ม เม่อื เทียบกับค่าเปา้ หมาย สูงกว่า
ค่าเปา้ หมาย ผลการประเมนิ มีคุณภาพในระดบั ยอดเยีย่ ม
วิธีการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษา
สง่ เสรมิ ให้ผู้เรียนมีคุณลกั ษณะคา่ นยิ มทีด่ ีตามทส่ี ถานศึกษากำหนด โดยดำเนนิ โครงการสง่ เสริม
คุณธรรม จริยธรรม กิจกรรมธรรมประจำสัปดาห์ โดยพรอาจารย์ไพโรจน์ อุดมรัตน์ เจ้าอาวาสวัดมงคลนิมิต
(วัดขี้นาก) มาให้ความรูก้ ับนักเรียนและกวดขนั หัความรู้สำหรับการสอนนักธรรมของนักเรยี น การจัดกิจกรรม
โรงเรยี นบา้ นขนี้ าก (ศรธี รรมวัฒนร์ าษฎร์อนุกลู )
13
ส่งเสริมด้านคุณธรรมตามโครงการคุณธรรม สพฐ. การเรียนรู้ธรรมะในวันพระ ออมบุญ จิตอาสาพัฒนา
โรงเรียน พัฒนาชุมชน ส่งเสริมให้ผู้เรียนน้อมนำศาสตร์พระราชามาปรับใช้ในชีวิต กิจกรรมพอเพียง (ออม
ทรัพย์) นำผู้เรียนเข้าร่วมการแข่งขันด้านต่างๆ เช่น เข้าร่วมการแข่งขันระโนดวิทยาวิชาการ ’65 การขับร้อง
เพลงประสานเสยี ง เพลงบา้ นเกิดเมอื งนอน
ผลการดำเนินการ
โครงการส่งเสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม กิจกรรมวันพระและออมบุญ กจิ กรรมธรรมประจำสัปดาห์
โดยมีเจ้าอาวาสวัดมงคลนิมิต(วัดขี้นาก) เป็นครูพระให้ความรู้แก่นักเรียนทุกวันศุกร์ ผู้เรียนมีคุณลักษณะ
ค่านิยมทีด่ ีตามท่ีสถานศกึ ษากำหนด มีความรู้และนำศาสตร์พระราชามาปรับใช้ในชีวติ ใชจ้ ่ายอย่างพอเพียง มี
คุณธรรม มีน้ำใจ ช่วยเหลือแบ่งปัน ผลการแข่งขันประกวดร้องเพลงประสานเสียง ได้ลำดับที่ 3 ระดับ
ประถมศึกษา
2. ผู้เรียนมีความภูมิใจในท้องถน่ิ และความเปน็ ไทย
ค่าเป้าหมายของสถานศึกษา ผู้เรียนร้อยละ 80 มีคุณภาพอยู่ในระดับ ดีเลิศ ผลการ
ประเมินคุณภาพภายใน โดยใช้เครื่องมือในการประเมิน ได้แก่ แบบเก็บข้อมูลมาตรฐานการประกันคุณภาพ
ภายใน พบว่า ผู้เรียนร้อยละ 91.42 มีคุณภาพอยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม เมื่อเทียบกับค่าเป้าหมาย สูงกว่า
คา่ เป้าหมาย ผลการประเมินมีคณุ ภาพในระดบั ยอดเยยี่ ม
วิธีการดำเนินงานของสถานศึกษา
สถานศึกษาจัดกิจกรรมและโครงการท่ีส่งเสริมผู้เรียนมีความภมู ิใจในท้องถ่ินและความเป็นไทย
โดยดำเนินกจิ กรรม โครงการส่งเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรม เพอ่ื พัฒนาคณุ ธรรม จริยธรรมและค่านยิ มท่ีดงี าม ให้
นกั เรียน กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ เชน่ กิจกรรมวนั สำคัญของชาติ วนั สำคญั ทางศาสนา วันสำคัญด้าน
ประเพณีของชาตแิ ละของท้องถน่ิ ส่งเสริมให้นักเรยี นศกึ ษาและสำรวจแหล่งเรียนรู้ ภมู ปิ ัญหาทอ้ งถ่ิน
ผลการดำเนินการ
ผู้เรยี นมีเจคตทิ ดี่ ี มีความภูมใิ จในท้องถิ่น และความเปน็ ไทย เขา้ รว่ มกจิ กรรมของชุมชน ท้องถน่ิ
และอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีของท้องถิ่น ผู้เรียนร่วมกิจกรรมของชุมชนจิตอาสาทำขนมให้บริการแก่
ผ้รู ่วมงานบุญตา่ งๆ ของชมุ ชน
3. ผูเ้ รียนยอมรับที่จะอยบู่ นความแตกตา่ งและหลากหลาย
ค่าเป้าหมายของสถานศึกษา ผู้เรียนร้อยละ 80 มีคุณภาพอยู่ในระดับ ดีเลิศ ผลการ
ประเมินคุณภาพภายใน โดยใช้เครื่องมือในการประเมิน ได้แก่ แบบเก็บข้อมูลมาตรฐานการประกันคุณภาพ
ภายใน พบว่า ผู้เรียนร้อยละ 88.07 มีคุณภาพอยู่ในระดับ ดีเลิศ เมื่อเทียบกับค่าเป้าหมาย สูงกว่าค่า
เป้าหมาย ผลการประเมนิ มคี ณุ ภาพในระดบั ดเี ลศิ
วธิ กี ารดำเนนิ งานของสถานศึกษา
สถานศึกษาจัดกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมผู้เรียนยอมรับที่จะอยู่บนความแตกต่างและ
หลายหลาย โดยดำเนินกิจกรรม โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เพื่อพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมและ
ค่านิยมที่ดีงาม ให้กับนักเรียน เช่น กิจกรรมโครงการคุณธรรม สพฐ. ทั้งในระบบห้องเรียนและระดับโรงเรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมทักษะอาชีพ เข้าร่วมการแข่งขันต่างๆ เช่น กิจกรรมแข่งขันวิชาการระโนด
วิทยาวิชาการ’65 การเข้าคา่ ยอนรุ กั ษณส์ ่ิงแวดลอ้ ม และคา่ ยความรดู้ ้านความปลอดภยั ในทอ้ งถนน เพ่อื ร้จู ัก
ระวังอันตรายและการป้องกันอันตรายที่จะเกิดกับตนเองและผู้อื่นบนท้องถนน โดยผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรม
โรงเรียนบา้ นขีน้ าก (ศรธี รรมวฒั น์ราษฎร์อนกุ ลู )
14
ด้วยตนเอง มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเหน็ ในระบบกลุ่ม ยอมรับฟังความคิดเห็น แก้ปัญหาและสรุปผล
กจิ กรรมของนกั เรียน
ผลการดำเนนิ การ
ผู้เรียนยอมรับที่จะอยู่บนความแตกต่างและหลากหลาย ยอมรับฟังความคิดเห็น สามารถ
ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมและอยรู่ ว่ มกันไดอ้ ย่างมีความสุข
4. ผู้เรียนมสี ขุ ภาวะทางร่างกายและจติ สงั คม
ค่าเป้าหมายของสถานศึกษา ผู้เรียนร้อยละ 80 มีคุณภาพอยู่ในระดับ ดีเลิศ ผลการ
ประเมินคุณภาพภายใน โดยใช้เครื่องมือในการประเมิน ได้แก่ แบบเก็บข้อมูลมาตรฐานการประกันคุณภาพ
ภายใน พบว่า ผ้เู รยี นร้อยละ 94.98 มีคุณภาพอยู่ในระดับ ยอดเยีย่ ม เมือ่ เทยี บกับค่าเป้าหมาย สูงกว่า
ค่าเปา้ หมาย ผลการประเมนิ มีคณุ ภาพในระดบั ยอดเย่ียม
วิธกี ารดำเนนิ งานของสถานศกึ ษา
ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีสุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม โดยดำเนิน ทดสอบสมรรถนะร่างกาย
การเก็บและประเมินผลผู้เรียน SQL ดำเนินโครงการอาหารกลางวัน อาหารเสริม(นม) โครงการส่งเสริม
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โครงการศาสตร์พระราชากับการพัฒนาทักษะอาชีพ ส่งเสริมให้ผู้เรียนน้อมนำศาสตร์
พระราชามาปรับใช้ในชีวิต กิจกรรมพอเพียง (ออมทรัพย์) โครงการฐานการเรียนรู้มีชีวิตเพื่ออาหารกลางวัน
กิจกรรมจิตอาสาพัฒนาโรงเรียน พัฒนาชุมชน โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เพื่อพัฒนาคุณธรรม
จริยธรรมและค่านิยมที่ดงี าม ส่งเสริมใหน้ กั เรยี นได้เขา้ ร่วมกิจกรรมวันสำคัญของชาติ วนั สำคญั ทางศาสนา วัน
สำคัญดา้ นประเพณขี องชาติและของท้องถนิ่
ผลการดำเนินการ
ผู้เรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีสมรรถภาพทางกายและน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ และ
แสดงออกอย่างเหมาะสมตามชว่ งวยั
แนวทางการพัฒนาให้สูงข้นึ
1. การปรบั ปรงุ เทคโนโลยีสารสนเทศ อปุ กรณ์ใหม้ ีความพร้อมสามารถจดั การเรยี นรู้ให้กบั นักเรยี นได้
อย่างเพยี งพอ
2. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร ควรส่งเสริมให้นกั เรียนรูเ้ ท่าทัน
เหตุการณแ์ ละคุณธรรมในการใช้อนิ เตอรเ์ น็ต
3. สง่ เสริมแนวทางการพฒั นาทกั ษะอาชีพให้กบั นกั เรียนอย่างตอ่ เนื่อง
4. พฒั นาแหล่งเรยี นร้กู บั นักเรยี นอย่างหลากหลาย
5. กจิ กรรมส่งเสริมใหผ้ ูเ้ รยี นไดเ้ รียนรูแ้ ละปฏิบตั ิกรรม การจัดกระบวนการเรยี นรู้ให้ผูเ้ รยี นตามแนว
ทางการเรียนรู้ ในศตวรรษท่ี 21
5. ส่งเสรมิ ความสามารถความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ อภปิ ราย
แลกเปล่ยี นความคิดเห็น ตอ้ งพัฒนากิจกรรมทส่ี ่งเสริมทกั ษะการคดิ ใหเ้ ช่อื มโยงความคิดและสามารถอธบิ าย
ความอยา่ งสมเหตสุ มผล
โรงเรยี นบา้ นข้นี าก (ศรีธรรมวฒั นร์ าษฎร์อนกุ ลู )
15
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและจดั การ : ระดับคุณภาพ ดเี ลศิ
สถานศึกษามีการดำเนินงาน จำแนกตามประเดน็ พจิ ารณา ดงั น้ี
2.1มเี ปา้ หมาย วิสัยทศั น์ และพันธกจิ ทสี่ ถานศึกษากำหนดชัดเจน
วิธดี ำเนนิ งานของสถานศกึ ษา
สถานศึกษามีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ โดยผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เครือข่ายการพัฒนา
คุณภาพสถานศึกษา มีส่วนร่วมในการร่วมวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีการประชุมปรึกษาวางแผนการ
ดำเนินงาน กำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจที่ชัดเจน เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา วางแผนระบบ
บริหารจดั การ มีการกำหนดโครงสร้างบริหารงาน กำหนดผู้รบั ผิดชอบงานอย่างชัดเจน ส่งเสริมด้านวชิ าการ
เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบดา้ นตามหลกั สตู รสถานศึกษา ซึ่งกำหนดไว้ในแผนปฏิบตั ิงานประจำปีของสถานศึกษา
เช่น โครงการศาสตร์พระราชากับการพัฒนาทักษะอาชีพ โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โครงการส่งเสริมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ส่งเสริมให้บุคลากรเข้ารับการประชุม อบรมสัมมนาทางวิชาการอย่าง
สม่ำเสมอตามที่ต้องการและตามที่ต้นสังกัดกำหนด จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการ
จัดการเรียนรู้ตามโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์และสนามกีฬา ส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนรู้กับวิทยากรภายนอก
จาก รพ.สต. ผักกูดและวิทยากรท้องถิ่น สถานีตำรวจภูธรอำเภอระโนด พร้อมทั้งจัดระบบข้อมูลสารสนเทศ
ให้เป็นปัจจบุ ันพร้อมท่ีนำข้อมลู มาใช้งานตามทตี่ ้องการได้อยา่ งถูกต้องรวดเรว็
ผลการดำเนนิ งาน
สถานศึกษามีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน และดำเนินการ
ตามเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนด สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน ความต้องการ
ชุมชน มรี ะบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษาทีช่ ดั เจน มปี ระสทิ ธิภาพ สง่ ผลต่อคณุ ภาพตามมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา โดยความร่วมมือของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพ
ผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุกกลุ่มเป้าหมาย เชื่อมโยงกับชีวิตจริง ครูและบุคลากรได้รับ
การพัฒนาให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพตรงตามความต้องการของครูและสถานศึกษา มีการจัด
สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ สะอาด สวยงามและมีความ
ปลอดภัย มีจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ที่มี
ประสทิ ธิภาพเหมาะสมกบั บริบทของโรงเรยี น
2.2 มรี ะบบบริหารการจัดการคุณภาพสถานศึกษา
วธิ ีดำเนนิ งาน
โรงเรียนมีการบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เครือข่ายการพัฒนา
คุณภาพสถานศึกษา มีส่วนร่วมในการร่วมวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และรับทราบ รับผิดชอบต่อผล
การจัดการศึกษา ยดึ หลักธรรมาภบิ าล และแนวคดิ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง พัฒนาผู้เรียนตามแนว
ทางการปฏิรูปการศึกษา ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ มีการนิเทศ กำกับ ติดตาม และ
ประเมินผลการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษาที่เหมาะสม เป็นระบบและตอ่ เนือ่ ง
ผลการดำเนินงาน
สถานศกึ ษามีการบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ ผเู้ กยี่ วขอ้ งทุกฝ่าย เครอื ขา่ ยการพัฒนา
คณุ ภาพสถานศกึ ษา มีส่วนร่วมในการรว่ มวางแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา สร้างเครือขา่ ยความรว่ มมือของผู้
โรงเรียนบา้ นขี้นาก (ศรีธรรมวัฒนร์ าษฎร์อนกุ ลู )
16
มสี ่วนเก่ยี วข้องในการจดั การศึกษาของโรงเรยี นใหม้ ีความเข้มแขง็ มสี ว่ นรว่ มรับผดิ ชอบตอ่ ผลการจัดการศึกษา
และการขับเคล่ือนคุณภาพการจัดการศกึ ษา พฒั นาผู้เรียนตามแนวทางการปฏิรปู การศึกษา ครูผู้สอนสามารถ
จัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ มีการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาที่
เหมาะสม เปน็ ระบบและต่อเนอ่ื ง
2.3 ดำเนนิ งานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคณุ ภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสตู รสถานศึกษาและทุก
กลุ่มเปา้ หมาย
วธิ ีการดำเนนิ งานของสถานศึกษา
สถานศึกษาดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา
และทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยดำเนินการพัฒนาเพื่อให้สถานศึกษามีหลักสูตรกระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรม
พัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างรอบด้านโดยได้จัดกิจกรรมต่างๆ เช่น กิจกรรมเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรม สื่อการเรียน ICT ส่งเสริมให้ครูผู้สอน ผลิต และใช้สื่อที่หลากหลาย เช่น การ
ผลิตสื่อการสอนให้กับนักเรียนและเผยแพร่ทางเว็บไซต์โรงเรียนและช่อง YouTube ของโรงเรียน กิจกรรม
ส่งเสริมการอ่าน กิจกรรมค่ายโครงงานคุณธรรม สพฐ. กิจกรรม ห้องสมุด กิจกรรมระบบดูแลช่วยเหลือ
นักเรียน กิจกรรมเยี่ยมบ้าน กิจกรรมประชาธิปไตยในโรงเรียน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้นอกห้องเรียน
ผ่านประสบการณต์ า่ งๆ เช่น เข้ารว่ มการแขง่ ขนั ต่างๆ ตามโอกาส
ผลการดำเนนิ การ
ผ้เู รียนมคี วามสามารถในการคดิ อย่างเปน็ ระบบ คดิ สรา้ งสรรค์ ตดั สนิ ใจแก้ปัญหาไดอ้ ยา่ งมีสติ
มเี หตุผล ผ่านกิจกรรมวนั ภาษาไทย กิจกรรมวันสุนทรภู่ กจิ กรรมทกั ษะอาชีพ และโครงงานคุณธรรม สพฐ. ใน
ระดับห้องเรียนและสถานศึกษา ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนแสดงความสามารถในการเข้าร่วมกิจกรรม
การแข่งขันทักษะทางวิชาการ ทั้งในระดับศูนย์เครือข่าย ระดับอำเภอ ระดับเขตพื้นที่ และอื่นๆ ศึกษาแหล่ง
เรียนรู้นอกสถานศึกษากิจกรรมศึกษาแหล่งเรียนรู้ มีระเบียบวินัย ผู้เรียนมีทักษะอาชีพสามารถนำไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ ผลการแข่งขันประกวดร้องเพลงประสานเสียง เพลงบ้านเกิดเมืองนอน ได้
ลำดับที่ 3 ระดับประถมศกึ ษา
2.4 พัฒนาครแู ละบุคลากรให้มีความเชยี่ วชาญทางวิชาชพี
วธิ กี ารดำเนินงานของสถานศึกษา
ดำเนินกิจกรรมตามโครงการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ที่
ยั่งยืน สนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาตนเองของครูผู้สอน เช่น กิจกรรมนิเทศติดตาม ช่วยเหลือครูและ
บคุ ลากรทางการศกึ ษา กจิ กรรมยกยอ่ ง เชดิ ชเู กียรติ กจิ กรรมประชุมครู อบรม ทง้ั ภายในและภายนอกสังกดั
ผลการดำเนนิ การ
สถานศึกษามีการสรา้ งเครือขา่ ยชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพ่ือสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ท่ี
ยั่งยืน ร่วมกับบุคลากรโรงเรียนบ้านแม่ใหญ่ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 11 มีการดำเนินงานพัฒนาครูและ
บุคลากรใหม้ ีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพอยา่ งต่อเนือ่ ง โดยการส่งเสริมสนับสนุนครูในการเลื่อนหรอื มีวิทยฐาน
ที่สูงขึ้น การส่งเสริมให้ครูเข้ารับการพัฒนาตนเองด้วยการเข้าร่วมประชุม อบรมกับหน่วยงานต่างๆ ร่วมท้ัง
คน้ คว้าหาความรูเ้ พิ่มเติมด้วยตนเองทเี่ กยี่ วข้องกับการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนและงานท่ีได้รับมอบหมาย
ครเู ขา้ รว่ มกิจกรรมพัฒนาตนเองโดยเขา้ รว่ มเครือขา่ ยชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชีพแบบออนไลน์
โรงเรยี นบ้านขีน้ าก (ศรีธรรมวัฒน์ราษฎรอ์ นกุ ลู )
17
ครูมคี วามต้ังใจและมงุ่ ม่ันในการพฒั นาการจัดกจิ กรรมการสอน จัดกจิ กรรมใหน้ กั เรียนแสวงหา
ความร้จู ากแหลง่ เรียนรู้ตา่ งๆ ด้วยตนเอง ส่งเสรมิ ใหน้ ักเรียนมสี ว่ นร่วมในการจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อมที่
เออ้ื ต่อการเรียนรู้ จัดกิจกรรมให้นกั เรยี นได้เรยี นรโู้ ดยการคิด วเิ คราะห์ ลงมือปฏิบตั ิจริงดว้ ยวิธกี ารจากแหลง่
เรียนร้ทู ี่หลากหลาย และแก้ปัญหาผเู้ รียนผ่านกระบวนการวจิ ยั
2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมท่เี อ้อื ต่อการจัดการเรยี นรู้อย่างมคี ุณภาพ
วิธีการดำเนนิ งานของสถานศึกษา
สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
โดยดำเนินโครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้และภูมิทัศน์ ตัดหญ้า / ตัดแต่งต้นไม้บริเวณโรงเรียน ซ่อมแซมอาคาร
เรียนและอาคารประกอบ ปรบั ปรุงสวนหย่อมให้มีความรม่ รน่ื ปลอดภัย โครงการฐานการเรยี นรู้มชี วี ติ จัดฐาน
แหล่งเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้กับนักเรียน ครู/บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง
ชุมชน และหน่วยงานอื่นๆ เช่น ฐานกล้วยน้ำว้า ฐานมะพร้าวน้ำหอม ฐานเลี้ยงไก่ไข ฐานการเลี้ยงแหนแดง
และการเรียนรู้มะนาวบ่อท่อซีเมนต์ ดูแลความสะอาดบริเวณโรงเรียน โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้น
พน้ื ฐานดำเนินการจดั บรรยากาศหอ้ งเรียน ป้าย/แผนภมู ิความรู้ สือ่ ตา่ งๆ ให้เอ้ือต่อการเรยี นรู้
ผลการดำเนินการ
มีการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพท่ีส่งเสรมิ ให้ครู บุคลากรและผู้เรียนอนุรกั ษ์สิ่งแวดลอ้ ม มี
การสง่ เสริมใหบ้ คุ ลากรและนักเรยี นรว่ มกันปลูกต้นไม้เพ่ือเพม่ิ ความร่มร่นื ให้กับบริเวณโรงเรยี น เนน้ ไม้ผล เช่น
กลา้ วนำ้ ว้า มะพรา้ วน้ำหอม มะม่วง และแก้วมังกร มกี ารใหค้ วามรใู้ นการคัดแยกและจดั การขยะ จดั กิจกรรม
ลด เลกิ การใชพ้ ลาสติกและโฟม รณรงค์การใชถ้ งุ ผ้าทดแทนการใช้ถงุ พลาสติก พฒั นาแหล่งเรียนร้ใู นโรงเรียน
ให้เปน็ แหลง่ เรยี นรูฐ้ านธรรมชาติ เป็นมติ รกับส่งิ แวดล้อมและสภาพแวดล้อมเอ้ือต่อการเรียนรู้ รม่ รื่นและน่าอยู่
บรรยากาศหอ้ งเรียน ปา้ ย/แผนภูมิความรู้ ส่ือตา่ งๆ ทเ่ี ออ้ื ตอ่ การเรียนรูไ้ ด้ตลอดเวลา
2.6 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพ่ือสนบั สนนุ การบริหารจัดการและจดั การเรยี นรู้
วธิ ีการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษา
สถานศึกษาจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและจัดการเรียนรู้
โดยดำเนินโครงการส่งเสริมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ส่งเสริมการใช้ ICT ในการจัดการเรียนรู้ สนับสนุนให้ครูใช้
และผลิตสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการ
ค้นคว้าหาความรู้ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศติดต่อสื่อสารระหว่างครู ผู้ปกครองและนักเรียน และเสริมการ
จัดการเรียนรู้ DLTV
ผลการดำเนินการ
มีการดำเนินการจัดหาระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตพื้นฐานให้เอื้อต่อการใช้งานและการจัดการ
เรยี นการสอน การจัดการเรียนรู้ DLTV และ DLTI พฒั นาระบบการบนั ทกึ ผลการเรียน (ปพ.5) ดว้ ยโปรแกรม
Microsoft Excel , การรายงานผลการเรียนของผู้เรยี นรายบคุ คล ด้วยระบบเว็บไซต์โรงเรียน และการสรุปผล
แบบสอบถามกิจกรรมต่างๆ ด้วย Google Form มีการเผยแพร่ผลงานกิจกรรมของโรงเรียนผ่านสื่อโซเซียล
มีเดีย เช่น Website, Facebook และ YouTube ของโรงเรียน ครูจัดหาและผลิตสื่อและคลิปการเรียนการ
สอน ผู้เรียนสามารถศึกษาค้นคว้าและเรียนได้สื่อที่ครูจัดหาและผลิตได้ด้วยตนเองทั้งในเวลาและนอกเวลา
เรียนผ่านชอ่ งทางเว็บไซตแ์ ละชอ่ ง YouTube ของโรงเรยี น
โรงเรียนบ้านข้ีนาก (ศรธี รรมวฒั น์ราษฎรอ์ นุกลู )
18
แนวทางการพัฒนาให้สงู ข้ึน
1. พัฒนาวิชาการที่เนน้ คณุ ภาพผ้เู รียนรอบด้านตามหลกั สูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมายเพื่อให้
ทันตอ่ การเปลยี่ นแปลงอย่างสมำ่ เสมอ
2. ขยายชุมชนแหง่ การเรียนรูท้ างวชิ าชพี เพ่ือสร้างวัฒนธรรมการเรียนรูท้ ย่ี ่ังยืน
3. ปรับปรงุ พฒั นาสภาพแวดล้อม อาคาร ห้องเรยี น ใหเ้ อื้อต่อการเรยี นรู้อย่างปลอดภยั
4. สนับสนุนการพัฒนาตนเองของขา้ ราชการครูและบุคลากร ในการอบรมพัฒนาตนเอง ส่งเสริม
สนับสนุนครูในการเลอ่ื นหรือมวี ิทยฐานะท่สี ูงขนึ้
5. สนับสนุนการใช้สอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ DLTV DLIT หรอื ส่อื ท่ีหลากหลายในการสง่ เสรมิ และ
พัฒนาผลสมั ฤทธข์ิ องผู้เรียน
6. สร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มีความ
เข้มแข็ง มีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา และการขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษาอย่าง
ตอ่ เนอ่ื ง
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทีเ่ น้นผ้เู รียนเป็นสำคญั : ระดับคุณภาพ ดเี ลิศ
3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
ได้
วธิ ีการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษา
สถานศึกษาจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง ในสาระ
วิชาและกจิ กรรมตามโครงการต่าง ๆ ซง่ึ นักเรยี นสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ ได้ โดยจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
แบบ STEM ศึกษา กิจกรรมโครงงานคุณธรรม สพฐ. การเรียนรู้แบบ Active Learning รู้จักการศึกษาหา
ความรู้ ปฏบิ ัติ ทดลองและสรุปการทดลองไดด้ ว้ ยตนเอง ดำเนินโครงการศาสตร์พระราชากับการพัฒนาทักษะ
อาชีพ โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรียนรู้การทำงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง โครงการศาสตร์พระราชากับการพัฒนาทักษะอาชีพ กิจกรรมทักษะอาชีพ 1 ห้องเรียน 1 อาชีพ
กิจกรรมฐานการเรียนรู้การเลี้ยงไก่ไข และการเลี้ยงแหนแดง กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาศักยภาพ
ผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศ กิจกรรมทัศนศึกษา ตลอดจนส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะความสามารถทาง
เทคโนโลยีสารสนเทศ การใช้อินเตอร์เนต็ ในการค้นคว้าหาความรู้ การใชอ้ ินเตอรเ์ นต็ ในการเรยี นรู้
ผลการดำเนินการ
ผเู้ รียนสามารถนำความรู้ ทกั ษะ ประสบการณ์ไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้ นักเรียนรู้ด้วย
การปฏิบัติกิจกรรม ทางด้านการเรียน การสร้างทักษะอาชีพของตนเอง สามารถสร้างรายได้ให้แก่ตนเองใน
ระหว่างได้ มีทักษะ ในการปฏิบัติงาน สามารถเรียนรู้และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างไม่ความสุข สืบทอดรักษา
วัฒนธรรมการแสดงรำมโนราห์ และสง่ เสรมิ ทักษะอาชีพให้กบั ผู้เรียนเพ่ือเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพใน
อนาคต โดยกิจกรรมทักษะอาหาร การฝึกทำและขายขนมของนักเรียนในเวลาพักกลางวัน ตั้งแต่ระดับชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 สลับหมุนเวียนกันขายในแต่ละวัน และการทำจุลินทรีย์สังเคราะห์เพื่อปรับปรุงดิน
และลดการใชส้ ารเคมีในการปลูกพชื
ผเู้ รยี นสามารถนำเสนอความรู้ ผา่ นคลิปวีดโี อท่ีผเู้ รียนผลิต ในการปฏิบตั ิและสรปุ ผลการเรียนรู้
ของตนเอง ในช่วงการจัดการเรียนรู้ทั้งรูปแบบ On line , On hand , On site และ On demand ได้ โดย
โรงเรียนบ้านขนี้ าก (ศรธี รรมวัฒน์ราษฎร์อนกุ ลู )
19
เรียนนำผลการคลิปวีดีโอของนักเรียนเผยแพร่ทาง Social Media ต่างๆ YouTube Facebook และเว็บของ
โรงเรียน
3.2 ใช้ส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง่ เรียนรทู้ เ่ี อ้ือตอ่ การเรียนรู้
วิธีการดำเนินงานของสถานศกึ ษา
สถานศึกษาสนับสนุนการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้โดย
ดำเนินโครงการส่งเสริมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดยส่งเสริมให้ครูผู้สอนใช้สื่อการเรียน ICT DLTV DLIT ในการ
จัดการเรียนรู้ ให้กับผู้เรียน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนใช้สื่อ ICT และอินเตอร์เน็ตในการสืบค้น ค้นหาความรู้เพ่ือ
การเรียนรู้ มีห้องสมุดเพื่อการค้นคว้าความรู้ ตามโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้วยระบบ
เทคโนโลยี
- ดำเนินโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน กิจกรรมห้องเรียนคุณภาพ โครงการ
พฒั นาแหล่งเรียนรู้และปรับปรุงภมู ิทัศน์ โครงการฐานการเรียนรู้มชี วี ิต (เกษตรเพื่ออาหารกลางวัน ) กิจกรรม
มะนาวบ่อท่อ กิจกรรมแปลงผักอินทรีย์ กิจกรรมปลูกกล้วยน้ำว้า กิจกรรมมะพร้าวน้ำหอม กิจกรรมปลูกแกว้
มังกร กิจกรรมการเลย้ี งไก่ไข กจิ กรรรมการเล้ยี งแหนแดง และผักสวนครัว
- ดำเนินโครงการศาสตร์พระราชากบั การพัฒนาทกั ษะอาชีพ กจิ กรรมเกษตรพอเพียง กจิ กรรม
ตลาดนัดอาชีพ กิจกรรมสหกรณ์โรงเรียน เพื่อให้นักเรียนนำหลักการไปปฏิบัติสามารถลดรายจ่ายในครัวเรือน
ได้รับการฝึกทักษะอาชีพ การทำขนมเพื่อเป็นอาหารว่าง เช่น ขนมโตเกียว ขนมโดนัทจิ๋ว ขนมเค้ก ขนม
ทองมว้ นสด
- ส่งเสริมการเผยแพร่ผลงาน ประชาสัมพันธ์กิจกรรมข่าวสารของโรงเรียนผ่านสื่อต่างๆ เช่น
Website , Facebook และ YouTube ของโรงเรียน
ผลการดำเนินการ
ผเู้ รียนสามารถใชส้ อ่ื ICT ในการสืบค้น ค้นหาความรู้เพื่อการเรียนร้แู ละรู้จักป้องกันตนเองให้
มคี วามปลอดภยั ในการใช้ส่ือเทคโนโลยี
- ผู้เรียนสามารถปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างถูกต้อง ครู/บุคลากร
ทางการศึกษา ผปู้ กครอง ใช้ศนู ย์การเรียนรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้านข้ีนากเป็น
แหล่งเรยี นรู้
- นักเรยี นรู้จกั การใชช้ ีวิตทพี่ อเพยี ง นำหลกั การไปปฏิบตั ิสามารถลดรายจ่ายในครัวเรอื น จัดทำ
บัญชีรายรับรายจ่ายในการขายขนมตอนพักกลางวันของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 ได้รับการฝึก
ทักษะอาชีพและกล้าแสดงออก โดยให้นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 ขายขนมตอนพักกลางวัน
กิจกรรม 1 ห้องเรียน 1 อาชีพ ผู้เรียนและบุคลากรในโรงเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และฝึกทักษะ
อาชพี ในระหว่างเรียนนำผลกำไรท่ไี ด้จากการขายขนมมาเฉลยี่ ให้กบั สมาชิกในแต่ละชน้ั เรียน
- นกั เรียนความรู้ ทักษะการเลย้ี งแหนแดง สำหรบั การเลยี้ งเพ่อื เป็นอาหารให้กับไกไ่ ข่
- นกั เรียนทักษะความรกู้ ารทำจลุ นิ ทรยี เ์ คราะห์แสดง เพื่อการนำมาใชใ้ นพืชผลการเกษตร และ
ปรับสภาพดินใหส้ มบรู ณเ์ หมาะสำหรับการเพาะปลูกพืช
- นักเรียนมีส่วนในการผลิตคลิปวิดีโอสั่นในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์กิจกรรมของโรงเรียน
ทาง YouTube
- นักเรยี นมที กั ษะในการทำขนม สร้างรายไดร้ ะหว่างเรียน
โรงเรยี นบ้านขีน้ าก (ศรธี รรมวฒั น์ราษฎรอ์ นุกลู )
20
- โรงเรียนประชาสัมพันธ์ กิจกรรม ข่าวสาร ต่างๆ ผ่านสื่อ เช่น Website, Facebook และ
YouTube ของโรงเรียน
3.3 มกี ารบริหารจดั การชนั้ เรยี นเชิงบวก
วธิ กี ารดำเนินงานของสถานศึกษา
สถานศึกษาดำเนนิ โครงการและกิจกรรมเพื่อการบรหิ ารจัดการชั้นเรยี นเชิงบวก โครงการพัฒนา
คุณภาพการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน กิจกรรมห้องเรียนคณุ ภาพ ส่งเสรมิ ใหค้ รสู รา้ งบรรยากาศช้นั เรียนและปฏสิ มั พันธ์
ที่ดีต่อผู้เรียน มีการติดต่อประสานกับผู้ปกครองเพื่อสรา้ งความเข้าใจระหว่างครูกับผู้ปกครองในการสนับสนนุ
การเรียนของนักเรียน ทั้งโดยทางตรง ตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน พร้อมทั้งสร้างโอกาสให้นักเรียนได้
แสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากสื่อที่หลากหลาย เน้นให้ครูประจำชั้นดูแลนักเรียนให้รักสามัคคี รู้จัก
เออ้ื เฟื้อเผือ่ แผ่ ช่วยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั การพูดหรอื การลงโทษควรหลีกเลีย่ งถ้อยคำและวิธีการท่ีรนุ แรง ควรใช้
เหตุผลและให้สำนกึ ยอมรบั ในความผิดนนั้ ๆ
ผลการดำเนินการ
สถานศึกษามีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวกส่งเสริมให้ครูบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
โดยสร้างบรรยากาศ และปฏิสัมพันธ์ที่ดี ดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรยี น ออกเยี่ยมบ้าน รู้จักและ
วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ดำเนินการตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลการพัฒนา
ผู้เรียน มาแลกเปลี่ยนข้อมูล เพื่อพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพของผู้เรียน มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
นักเรยี นรกั สามัคคกี นั ชว่ ยเหลอื กัน ไมร่ งั แกและเรยี นรู้ร่วมกนั อย่างมคี วามสุข
3.4 ตรวจสอบและประเมินผูเ้ รียนอยา่ งเปน็ ระบบ และนำผลมาพัฒนาผูเ้ รียน
วธิ ีการดำเนินงานของสถานศึกษา
สถานศึกษาดำเนินโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน กิจกรรมเพิ่มผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน และกิจกรรมพัฒนาศักยภาพผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศ การใช้เครื่องมือวัดและประเมินผลที่
หลากหลาย ผูเ้ รียนมีการปฏิบตั ิ ทดลอง และนำเสนอผลงานของตนเอง ในการเรียนรู้ ส่งเสรมิ ใหผ้ ูเ้ รียนเขา้ รว่ ม
การแข่งขันด้านทักษะวิชาการ ดำเนินโครงการประกันคุณภาพภายในการวางระบบและดำเนินงานประกัน
คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา การวดั ผลและประเมนิ ผลให้ครูประจำวิชาหรือประจำชั้นจัดทำแผนการเรียนรู้
ให้สอบคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา และประเมินผู้เรียนอย่างสม่ำเสมอตาม
สภาพจริงโดยใช้วิธีการที่หลากหลาย เช่นการปฏิบัติ การสอบปรนัยและอัตนัย การสัมภาษณ์ ครูนำผลการ
ประเมินให้ขอ้ มูลนกั เรยี นได้รบั ทราบเพือ่ ใหต้ ระหนักและปรบั ปรงุ ตนเองที่จะพฒั นาความรตู้ ่อไป
ผลการดำเนนิ การ
สถานศึกษามีเครื่องมือวัดและประเมินผลผู้เรียนที่หลากหลายและตามศักยภาพ ผู้เรียนได้รับ
ความรู้และประสบการณ์ตามวัตถุประสงค์ นำผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปใช้วางแผน
พฒั นาคุณภาพการศึกษาอยา่ งต่อเนื่อง ส่งผลใหผ้ ู้เรียนมีคุณภาพและศักยภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ครูมีแผนการจัดการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการคิดและปฏิบัติจริงตามมาตรฐาน
การเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศกึ ษา มีการใชส้ ่ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ มเี ครือ่ งมือใน
การตรวจสอบและประเมินผู้เรียนตามขั้นตอนโดยใช้วิธีการวัดและประเมินผลที่หลากหลายเหมาะสมกับ
นักเรียนรายบุคคล ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนเพื่อนักเรียนได้พัฒนาการเรียน มีชุมชนแห่งการเรียนรู้ทาง
วชิ าชพี ระหวา่ งครู เพ่ือพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรยี นรู้
โรงเรยี นบ้านขน้ี าก (ศรีธรรมวัฒนร์ าษฎรอ์ นุกลู )
21
ผ้เู รยี นมีการนำเสนอองคค์ วามรู้ของตนเอง สามารถปฏิบตั ิและสรปุ ผลการเรยี นรู้ ได้ดว้ ยตนเอง
ในรูปแบบ On line และเผยแพรผ่ ลงานของผเู้ รียนผ่าน Website , YouTube และ Facebook ของโรงเรยี น
3.5 มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้และใหข้ ้อมลู สะท้อนกลบั เพอ่ื พัฒนาและปรับปรุง
วิธกี ารดำเนนิ งานของสถานศึกษา
สถานศกึ ษามีการแลกเปลย่ี นเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับ เพ่อื พฒั นาและปรับปรุงโดยดำเนิน
โครงการประกันคุณภาพภายในเป็นประจำทุกปี ดำเนินโครงการส่งเสริมและพัฒนาครูและบุคลากรทางการ
ศกึ ษาสนับสนนุ ให้ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาเขา้ รบั การอบรม ประชมุ สมั มนา ศึกษาดูงาน และ
พัฒนาตนเองตามศักยภาพ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและ ปรับปรุงการจัดการ
เรียนรู้
ผลการดำเนนิ การ
โรงเรียนนำผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปใช้วางแผนพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาอย่างต่อเนื่อง ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษานำผลที่ได้จากการประชุม อบรม สัมมนา
ศึกษาดูงานมาพัฒนาผู้เรียน พัฒนาตนเอง และหน่วยงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนสร้างเครือข่าย
ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทั้งแบบออนไลน์และสร้างเครือข่ายกบั ต่างโรงเรียนในการพัฒนาผูเ้ รียนและพัฒนาตนเอง
จัดทำวิจัยชั้นเรียนและนำผลการประเมินแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับครูและบุคลากรทางการศึกษา(PLC) เพื่อที่จะ
เปน็ แนวทางแก้ไขปญั หาตอ่ ไปได้
แนวทางการพัฒนาให้สูงข้นึ
1. การนำภูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ หรอื ปราชญ์ชาวบ้านเขา้ มามีสว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรแู้ ละให้
ข้อมลู ย้อนกลบั แกผ่ เู้ รยี นเพื่อจะได้นำมาพัฒนาการเรียนร้ขู องตนเองอย่างสม่ำเสมอ
2. ประสานขอรบั การสนบั สนนุ งบประมาณและทรัพยากรตา่ งๆในการพฒั นาผู้เรียนตามมาตรฐาน
การศกึ ษา
3. สง่ เสรมิ ใหข้ า้ ราชการครแู ละบุคลากรสรา้ งเครือขา่ ยชุมชนแห่งการเรยี นรู้ในการพฒั นาผู้เรยี น
4. ดำเนินการประกนั คุณภาพภายในอย่างเป็นระบบและตอ่ เนื่อง
โรงเรยี นบ้านข้นี าก (ศรธี รรมวฒั นร์ าษฎรอ์ นกุ ลู )
22
ส่วนท่ี 3
สรปุ ประเด็นปัญหาและกำหนดแนวทางการพัฒนา
จากการวิเคราะห์ประเด็นปัญหาและแนวทางการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และการทดสอบ
ทางการศึกษาระดับชาติ สรปุ ได้ดงั นี้
ประเดน็ ปัญหาท่ีพบ สาเหตุของปัญหา แนวทางการแกป้ ญั หา
ด้านผู้เรยี น
- การจัดการเรยี นการสอนแบบ - นกั เรียนขาดอปุ กรณ์ในการเรยี น นดั นกั เรยี นรายบุคคลมาซ่อมเสรมิ
ออนไลน์ นักเรยี นไม่เข้าเรียน ออนไลน์ เชน่ โทรศพั ท์ สญั ญาณ ทโี่ รงเรยี น
อินเตอร์เน็ตไม่มี
- นกั เรียนเป็นนักเรียน 2 ภาษา - นักเรียนไมก่ ล้าทจ่ี ะพดู สอ่ื สาร จดั ทำและจัดหาคลิป VDO รายวชิ า
ภาษาไทย และมีกลา้ ปฏิสัมพันธ์ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์
- นกั เรยี นไมม่ ีความสนใจในช่ัวโมง กบั คณุ ครู คณิตศาสตร์ใหก้ ับนักเรยี นได้เสริม
เรยี นออนไลน์ไดน้ าน - ท่บี า้ นนักเรยี นใช้ภาษาอังกฤษ ระบชุ วั่ โมงสอนแนน่ อน
สือ่ สารเป็นส่วนใหญ่ และขอความร่วมมอื ให้ผู้ปกครอง
ช่วยสอนเพิ่มเตมิ
ขอความช่วยเหลอื จากผูป้ กครองให้
อยูด่ ูแลด้วยขณะเรียนออนไลน์
โครงการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา
ขัน้ พ้นื ฐาน
- กจิ กรรมเพม่ิ ผลสัมฤทธิท์ างการ
เรียน , RT , NT และ O-net
- มเี คร่อื งมือวัดผลและประเมินผล
ทห่ี ลากหลายโดยยึดผ้เู รียนเปน็
สำคญั
กจิ กรรมพัฒนาศกั ยภาพผเู้ รียนสู่
ความเปน็ เลิศ
- นำนักเรยี นเขา้ รว่ มกิจกรรม
ตา่ งๆ ท้ังของหนว่ ยงานต้นสังกดั
และหนว่ ยงานภายนอก
- จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนท่ี
เน้นผเู้ รียนเป็นสำคัญ ผ้เู รียนทม่ี ี
คณุ ลกั ษณะและทักษะการเรียนรู้ใน
ศตวรรษที่ 21
โรงเรียนบ้านข้ีนาก (ศรีธรรมวัฒน์ราษฎรอ์ นุกลู )
ประเด็นปัญหาท่ีพบ สาเหตขุ องปัญหา 23
ดา้ นผ้สู อน แนวทางการแกป้ ัญหา
ไม่ความถนดั ในการสอน - จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน
ด้านทกั ษะอาชีพให้กับผู้เรียน
ด้านการบริหารจัดการ
ขาดแคลนบุคลากร ครมู วี ชิ าเอกไมต่ รงกบั ชั้นเรียน ครพู ัฒนาตนเองดว้ ยการอบรม
ครตู ้องสอนทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้ เพ่ิมเติม ศกึ ษาคน้ คว้า และ
สอบถามเพ่ือนร่วมงาน
มคี รูไม่เพียงพอกบั ชนั้ เรยี นครูไม่ - โรงเรียนจัดจ้างบุคลากร(ครูอัตรา
ครบชัน้ จ้าง) เพิ่มเพ่ือแก้ปัญหา
- จัดการเรยี นการสอนแบบบูรณา
การ, Active Learning และอื่นๆ
เพ่มิ ให้นักเรียนรู้จกั มปี ฏสิ ัมพันธ์
และไว้วางใจครูผสู้ อนใหม้ ากขน้ึ
- สอนคละชั้น
ประเดน็ ปญั หาและกำหนดแนวทางแก้ไข การประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผู้เรยี น
ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2564
ประเด็นปัญหาท่ีพบ สาเหตขุ องปัญหา แนวทางการแก้ปญั หา
ดา้ นผเู้ รียน
จากการจัดการเรยี นการสอนแบบ - นักเรียนขาดอุปกรณ์ในการเรยี น นัดนกั เรียนรายบุคคลมาซ่อมเสริม
ออนไลน์ นักเรียนไม่เข้าเรยี น ออนไลน์ เชน่ โทรศัพท์ สัญญาณ ทีโ่ รงเรยี น
อนิ เตอรเ์ น็ตไม่มี
นกั เรยี นเปน็ นักเรียน 2 ภาษา - นกั เรยี นไมก่ ลา้ ที่จะพดู สอ่ื สาร จดั ทำและจัดหาคลิป VDO รายวิชา
ภาษาไทย และมีกลา้ ปฏสิ ัมพันธ์ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์
กบั คณุ ครู คณติ ศาสตร์ใหก้ ับนักเรียนไดเ้ สรมิ
- ทีบ่ ้านนักเรยี นใชภ้ าษาอังกฤษ ระบุช่วั โมงสอนแนน่ อน
ส่อื สารเป็นสว่ นใหญ่ และขอความรว่ มมือใหผ้ ปู้ กครอง
ช่วยสอนเพิม่ เติม
นักเรียนไม่มีความสนใจในช่ัวโมง นักเรียนมีปญั หาสมาธิส้นั 1 คน ขอความช่วยเหลอื จากผู้ปกครองให้
เรยี นออนไลนไ์ ดน้ าน (LD) อยูด่ ูแลดว้ ยขณะเรยี นออนไลน์
ด้านผู้สอน
ไมค่ วามถนดั ในการสอน ครมู วี ิชาเอกไมต่ รงกบั ชัน้ เรียน ครูพัฒนาตนเองดว้ ยการอบรม
ได้รบั การมอบหมายเป็น ปแี รก เพ่ิมเติม ศกึ ษาค้นคว้า และ
ด้านการบริหารจดั การ สอบถามเพ่ือนร่วมงาน
ขาดแคลนบุคลากร มคี รไู มเ่ พยี งพอกบั ชั้นเรยี นครูไม่ - โรงเรยี นจัดจา้ งบุคลากร(ครูอตั รา
ครบชน้ั จ้าง) เพิ่มเพ่ือแก้ปัญหา
โรงเรยี นบา้ นขน้ี าก (ศรธี รรมวัฒน์ราษฎร์อนุกลู )
ประเด็นปัญหาที่พบ สาเหตุของปญั หา 24
แนวทางการแกป้ ญั หา
- จัดการเรยี นการสอนแบบบูรณา
การ, Active Learning และอน่ื ๆ
เพ่ิมให้นักเรยี นรู้จัก มีปฏสิ มั พันธ์
และไว้วางใจครูผสู้ อนใหม้ ากขน้ึ
- สอนคละชน้ั
ประเดน็ ปญั หาและกำหนดแนวทางแก้ไข การประเมนิ คุณภาพผู้เรยี น ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 3
ปกี ารศึกษา 2564
ประเดน็ ปญั หาท่ีพบ สาเหตขุ องปญั หา แนวทางการแกป้ ญั หา
ดา้ นผเู้ รยี น
จากการจดั การเรยี นการสอนแบบ นกั เรียนขาดอปุ กรณใ์ นการเรียน นดั นักเรยี นรายบคุ คลมาซ่อมเสรมิ
ออนไลน์ นักเรียนไม่เข้าเรียน ออนไลน์ เชน่ โทรศพั ท์ สัญญาณ ท่โี รงเรียน
อนิ เตอรเ์ น็ตไม่มี
ดา้ นผสู้ อน ผูป้ กครองไม่มเี วลาว่าง ตอ้ งทำงาน - สอนแบบบรู ณาการในห้องเรียน
สอนคละช้ัน ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 2 โทรศัพทผ์ ู้ปกครองตอ้ งใชง้ าน และสอนซ่อมเสริมนอกเวลาเรยี น
และ 3 ในภาคเรยี นที่ 1/2564 - จดั การเรยี นการสอนแบบบูรณา
จำนวนครูไม่เพียงพอ การ, Active Learning
ครูไมต่ รงสาขาวิชาเอก
ด้านการบรหิ ารจัดการ มีครูไม่เพียงพอกบั ช้ันเรยี นครูไม่ - โรงเรียนจดั จา้ งบคุ ลากร(ครูอัตรา
ขาดแคลนบุคลากร ครบช้ัน จ้าง) เพม่ิ เพ่ือแก้ปัญหา
- สอนคละช้นั
ประเดน็ ปัญหาและกำหนดแนวทางแก้ไข การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้นั พ้นื ฐาน
ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 ปีการศกึ ษา 2564
ประเดน็ ปญั หาท่ีพบ สาเหตุของปญั หา แนวทางการพัฒนา
ด้านผเู้ รยี น นักเรยี นตอ้ งช่วยเหลือผปู้ กครอง ตดิ ตามนกั เรียนรายบุคคลมาซ่อม
จากการจัดการเรียนการสอนแบบ ทำงาน เสริมทโี่ รงเรยี น
ออนไลน์ นกั เรียนตอ้ งช่วยเหลือ ใหเ้ พือ่ นชว่ ยเพ่ือน ติดตามภาระ
ผู้ปกครองทำงาน งาน
- ดำเนินงานตามโครงการพัฒนา
ไมม่ ีครตู รงสาขาวิชา คุณภาพการศึกษาข้ันพื้นฐาน
โรงเรยี นบ้านข้นี าก (ศรีธรรมวัฒน์ราษฎรอ์ นุกลู )
ประเดน็ ปญั หาที่พบ สาเหตุของปญั หา 25
เนือ่ งจากนักเรยี นมีความรูค้ วาม แนวทางการพฒั นา
เข้าใจในรายวชิ าภาษาองั กฤษ ปาน กจิ กรรมเพ่มิ ผลสัมฤทธ์ทิ างการ
กลาง เรียน เชิญวิทยากรท่มี ตี รงสาขา
วิชาเอกภาษาอังกฤษ มาสอนเสรมิ
ดา้ นผสู้ อน จำนวนครูไม่เพยี งพอ ให้กับนกั เรยี น ตัง้ แต่ระดับชนั้ ป.4-
สอนคละชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 5 ป.6
และ 6 มีครไู ม่เพยี งพอกบั ช้นั เรยี นครูไม่
ครบชนั้ สอนแบบบรู ณาการในห้องเรียน
ดา้ นการบรหิ ารจดั การ และสอนซ่อมเสรมิ นอกเวลาเรยี น
ขาดแคลนบุคลากร
- โรงเรยี นจัดจา้ งบุคลากร(ครูอตั รา
จา้ ง) เพ่ิมเพื่อแก้ปัญหา
- ดำเนนิ งานตามโครงการพัฒนา
คณุ ภาพการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
กิจกรรมเพ่ิมผลสมั ฤทธทิ์ างการ
เรยี น เชญิ วิทยากรทม่ี ีตรงสาขา
วชิ าเอกภาษาองั กฤษ มาสอนเสริม
ให้กบั นกั เรียน ตงั้ แตร่ ะดับช้นั ป.4-
ป.6
- กิจกรรมเขา้ ค่ายภาษาองั กฤษ
- สอนคละช้ัน
โรงเรยี นบา้ นข้นี าก (ศรธี รรมวฒั นร์ าษฎร์อนุกลู )
26
สว่ นที่ 4
เปา้ หมายการยกระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน ปีการศึกษา 2565
การประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ นของผ้เู รียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
สมรรถนะ คะแนนเฉลย่ี ร้อยละ เปา้ หมาย เพมิ่ ขึ้นจากปีฐาน
รอ้ ยละ
ปีการศกึ ษา 2564 ปกี ารศึกษา 2565
1.50
ระดับโรงเรยี น ระดับโรงเรยี น 1.00
การอ่านออกเสียง - 47.83
การอ่านร้เู ร่ือง - 58.00
การประเมินคณุ ภาพผเู้ รยี น (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
ความสามารถ คะแนนเฉลย่ี ร้อยละ เป้าหมาย เพ่ิมข้นึ จากปฐี าน
ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ
ปีการศกึ ษา 2564
ระดบั โรงเรยี น 1.50
ระดบั โรงเรยี น 41.68 1.50
34.50
ดา้ นคณติ ศาสตร์ -
ด้านภาษาไทย -
การทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้ันพน้ื ฐาน (O-NET) ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6
กลุม่ สาระการเรยี นรู้ คะแนนเฉล่ียร้อยละ เปา้ หมาย เพม่ิ ข้ึนจากปีฐาน
รอ้ ยละ
ปกี ารศกึ ษา 2564 ปีการศึกษา 2565
1.50
ระดับโรงเรียน ระดับโรงเรียน 0.50
1.00
ภาษาไทย 57.92 59.42 1.00
ภาษาองั กฤษ 37.46 37.96
คณติ ศาสตร์ 44.17 45.17
วทิ ยาศาสตร์ 36.46 37.46
โรงเรยี นบ้านขนี้ าก (ศรธี รรมวัฒน์ราษฎรอ์ นกุ ลู )
27
แนวทางการพัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ปีการศึกษา 2565
ยุทธศาสตร์ กลุ่มเป้าหมาย ตวั ชวี้ ัด/ เกณฑ์ โครงการ/กิจกรรม
ยกระดับผลสมั ฤทธิ์ นักเรยี นชั้น ป.1-
ทางการเรยี นของ ป.6 1. รอ้ ยละของผูเ้ รียนท่มี ี โครงการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาขั้น
นักเรียน
นกั เรยี นชนั้ ป.1 คณุ ลกั ษณะและทกั ษะการ พ้นื ฐาน
เรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21
- กิจกรรมเพ่ิมผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น
2. ร้อยละของผเู้ รยี นทีไ่ ด้รับ , RT , NT และ O-net
การพฒั นาตามความถนัดและ
ตามศกั ยภาพ - มีเคร่อื งมือวดั ผลและประเมินผลที่
3. ร้อยละของผเู้ รียนเขา้ รว่ ม หลากหลายโดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
การแข่งขันในกจิ กรรมระดบั กิจกรรมพัฒนาศักยภาพผเู้ รยี นสูค่ วาม
ต่าง ๆ เปน็ เลศิ
4. ร้อยละของผเู้ รียนที่มีผลการ - นำนักเรียนเขา้ รว่ มกจิ กรรมต่างๆ ท้งั
เรียนเฉลี่ยทกุ กลุ่มสาระในระดบั ของหน่วยงานต้นสังกดั และหนว่ ยงาน
ภายนอก
3 ขนึ้ ไป
5. รอ้ ยละของผลการทดสอบ - จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนทเ่ี น้น
ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ ผเู้ รยี นทม่ี ีคุณลกั ษณะ
ระดับชาติเพิ่มขน้ึ
และทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21
- จัดกจิ กรรมการเรียนการสอนดา้ น
ทกั ษะอาชพี ให้กับผเู้ รยี น
- กจิ กรรม Take it easy นำเสนอ
คำศัพท์ และ ขา่ ว หรือ เรอ่ื งที่นักเรียน
สนใน ประจำวัน
1. นักเรยี นชั้น ป.1 ได้รับ โครงการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา
การพฒั นาความสามารถ แนวทางการจดั กจิ กรรม
ด้านการอ่านออกเสียงและ 1. เพมิ่ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน
อ่านรเู้ ร่ือง 1.1 สร้างเคร่อื งมอื วดั ผลและ
2. ผลการประเมิน ประเมินผล
ความสามารถด้านการอา่ น 1.2 จัดทำเอกสารประกอบการเรียน
ของผู้เรียน ปีการศึกษา 2565 การสอน
เพิม่ ขึ้นอยา่ งน้อยร้อยละ 3 - สอนซ่อมเสรมิ /ชดเชยให้กบั นักเรยี น
ฯลฯ - RT
2. พัฒนาศักยภาพผู้เรยี นสคู่ วามเปน็
เลศิ
3. กจิ กรรมห้องเรยี นคณุ ภาพ
โรงเรียนบ้านขนี้ าก (ศรีธรรมวัฒนร์ าษฎร์อนุกลู )
28
ยุทธศาสตร์ กลุ่มเปา้ หมาย ตัวช้ีวัด/ เกณฑ์ โครงการ/กิจกรรม
นกั เรยี นชนั้ ป.3 3.1 สำรวจความตอ้ งการแต่ละ
1. นักเรียนชั้น ป.3 ได้รับ หอ้ งเรยี น
นักเรียนชนั้ ป.6 การพัฒนาความสามารถ 3.2 จดั ซื้อวสั ดุ/อุปกรณ์ในการจดั
ด้านคณิตศาสตรแ์ ละ บรรยากาศชน้ั เรียน
ดา้ นภาษาไทย
2. ผลการประเมนิ คุณภาพ โครงการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา
ผูเ้ รียน ปีการศึกษา 2565 แนวทางการจดั กิจกรรม
เพิม่ ข้ึนอย่างน้อยร้อยละ 3 1. เพ่มิ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
ฯลฯ 1.1 สรา้ งเคร่อื งมือวดั ผลและ
ประเมนิ ผล
1. นกั เรียนชน้ั ป.6 ไดร้ ับ 1.2 จดั ทำเอกสารประกอบการเรียน
การพัฒนาความสามารถ การสอน
4 กล่มุ สาระการเรียนรฯู้ - สอนซ่อมเสริม/ชดเชยให้กบั นกั เรียน
2. ผลการทดสอบทาง - NT
การศึกษาระดับชาติขัน้ พ้นื ฐาน 2. พฒั นาศักยภาพผ้เู รยี นสคู่ วามเป็น
(O-NET) ปกี ารศึกษา 2565 เลศิ
เพมิ่ ขึ้น อย่างน้อย รอ้ ยละ 3 3. กจิ กรรมห้องเรียนคณุ ภาพ
ฯลฯ 3.1 สำรวจความต้องการแต่ละ
ห้องเรียน
3.2 จดั ซื้อวสั ดุ/อุปกรณ์ในการจดั
บรรยากาศชน้ั เรยี น
โครงการพฒั นาคุณภาพการศึกษา
แนวทางการจดั กิจกรรม
1. เพิ่มผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น
1.1 สร้างเคร่อื งมอื วัดผลและ
ประเมนิ ผล
1.2 จดั ทำเอกสารประกอบการเรยี น
การสอน
- สอนซ่อมเสริม/ชดเชยให้กับนักเรียน
- O-NET
2. พฒั นาศักยภาพผู้เรยี นส่คู วามเปน็
เลิศ
3. กจิ กรรมหอ้ งเรียนคณุ ภาพ
3.1 สำรวจความตอ้ งการแต่ละ
ห้องเรยี น
โรงเรยี นบา้ นขนี้ าก (ศรธี รรมวัฒน์ราษฎรอ์ นุกลู )
ยทุ ธศาสตร์ กลมุ่ เป้าหมาย ตวั ชวี้ ัด/ เกณฑ์ 29
โครงการ/กิจกรรม
3.2 จัดซ้ือวสั ด/ุ อุปกรณ์ในการจดั
บรรยากาศช้ันเรียน
โรงเรยี นบา้ นข้นี าก (ศรีธรรมวฒั น์ราษฎร์อนกุ ลู )
30
ภาคผนวก
โรงเรยี นบา้ นขนี้ าก (ศรธี รรมวัฒนร์ าษฎร์อนกุ ลู )
31
การกำหนดค่าเปา้ หมายการพัฒนาตามมาตรฐาน ระดับการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
ประจำปีการศึกษา 2565
มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด คา่ เป้าหมาย
มาตรฐานตัวบ่งช้ี
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน ดี
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผเู้ รียน ดี
1) มคี วามสามารถในการอา่ น การเขียน การส่ือสาร และการคดิ คำนวณ รอ้ ยละ 77
2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลยี่ นความ ร้อยละ 77
คดิ เห็น และแก้ปญั หา
3) มคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรม ร้อยละ 66
4) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร ร้อยละ 77
5) มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลักสตู รสถานศึกษา รอ้ ยละ 77
6) มคี วามรู้ ทักษะพ้นื ฐาน และเจคติทดี่ ีต่องานอาชีพ ร้อยละ 85
1.2 คณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ของผเู้ รียน ดเี ลศิ
1) การมีคุณลกั ษณะและค่านิยมท่ีดตี ามสถานศึกษากำหนด รอ้ ยละ 81
2) ความภมู ิใจในท้องถนิ่ และความเป็นไทย ร้อยละ 86
3) การยอมรับที่จะอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย ร้อยละ 86
4) สุขภาวะทางรา่ งกาย และจติ สงั คม ร้อยละ 86
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดเี ลศิ
2.1 มีเปา้ หมายวสิ ยั ทัศน์และพนั ธกจิ ท่ีสถานศกึ ษากำหนดชัดเจน ร้อยละ 86
2.2 มรี ะบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา รอ้ ยละ 86
2.3 ดำเนนิ งานพัฒนาวิชาการที่เนน้ คณุ ภาพผูเ้ รียนรอบด้านตามหลกั สตู รสถานศึกษา รอ้ ยละ 86
และทกุ กลุ่มเป้าหมาย
2.4 พฒั นาครูและบคุ ลากรให้มคี วามเช่ียวชาญทางวชิ าชีพ ร้อยละ 86
2.5 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายและสงั คมทเี่ อ้ือต่อการจดั การเรยี นรูอ้ ย่างมีคุณภาพ รอ้ ยละ 86
2.6 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนับสนนุ การบรหิ ารจดั การและการจดั การ ร้อยละ 86
เรยี นรู้
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญ ดเี ลิศ
3.1 จัดการเรียนรู้ผา่ นกระบวนการการคิดและปฏิบตั ิจริง และสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ รอ้ ยละ 86
ในชวี ติ ประจำวนั ได้
3.2 ใชส้ ื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ที่เอ้ือต่อการเรยี นรู้ รอ้ ยละ 85
3.3 มกี ารบรหิ ารจัดการชนั้ เรียนเชงิ บวก ร้อยละ 85
3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอยา่ งเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผเู้ รยี น รอ้ ยละ 85
3.5 มีการแลกเปลยี่ นเรยี นรูแ้ ละให้ข้อมลู สะท้อนกลบั เพ่ือพัฒนาและปรบั ปรุงการ รอ้ ยละ 86
จัดการเรียนรู้
โรงเรียนบา้ นขี้นาก (ศรธี รรมวัฒน์ราษฎร์อนกุ ลู )
32
โรงเรยี นบ้านขนี้ าก (ศรีธรรมวฒั น์ราษฎร์อนุกลู )
33
โรงเรยี นบ้านขนี้ าก (ศรีธรรมวฒั น์ราษฎร์อนุกลู )
34
กจิ กรรมการเรยี นรู้
การเพาะเล้ยี งแหนแดง
การเรยี นออนไลน์
โรงเรียนบา้ นขี้นาก (ศรีธรรมวฒั นร์ าษฎรอ์ นกุ ลู )
35
การเย่ยี มบา้ น
การประชุมครู สร้างเครือขา่ ยโรงเรยี นบ้านแมใ่ หญ่และโรงเรยี นบ้านขี้นาก
โรงเรียนบ้านข้ีนาก (ศรีธรรมวัฒนร์ าษฎรอ์ นกุ ลู )
36
การประชมุ ครู สร้างเครอื ข่ายโรงเรยี นบ้านแม่ใหญแ่ ละโรงเรยี นบา้ นขน้ี าก
โรงเรียนบา้ นข้นี าก (ศรีธรรมวัฒนร์ าษฎรอ์ นกุ ลู )
37
คำนำ
เอกสารฉบับนี้ จัดทำขึ้นเพื่อจัดการข้อมูลสารสนเทศและภาระงาน ตลอดจนแนวทางการบริหาร
จัดการส่งเสริมพัฒนาศกั ยภาพของผูเ้ รียน และการยกระดับคุณภาพผู้เรยี นในระดับประถมศึกษาของโรงเรยี น
บ้านขี้นาก(ศรีธรรมวัฒนร์ าษฎร์อนุกูล) ประจำปีการศึกษา ๒๕๖5 ตามมาตรฐานการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน โดยได้
รายงานทั้ง ๓ ด้าน คือ มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา มาตรฐานด้าน
กระบวนการการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ น้นผู้เรยี นเปน็ สำคญั
โรงเรียนบ้านขี้นาก(ศรีธรรมวัฒน์ราษฎร์อนุกูล) ได้จัดการศึกษาโดยให้คณะกรรมการสถานศึกษา
ผู้ปกครอง นักเรียน และชุมชน ได้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา และร่วมประเมินผลการดำเนินงานของ
โรงเรียนเพื่อร่วมกันหาแนวทางในการพัฒนา ปรับปรุงการดำเนินการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มี
ประสิทธิภาพต่อไป
ขอขอบคุณคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครอง ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และคณะครูโรงเรียน
บ้านขี้นาก(ศรีธรรมวัฒน์ราษฎร์อนุกูล) ทุกท่าน ที่ได้ให้ความร่วมมือและสนับสนุนในการจัดการศึกษาของ
โรงเรียนพร้อมทั้งนำเสนอข้อมูลในการจัดทำเอกสารการบริหารจัดการข้อมูลสนเทศของโรงเรียนฉบับนี้จน
สำเร็จลลุ ่วงด้วยดี
(นางสาวศรสี ดุ า โมสโิ ก)
ผู้อำนวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๑๑ รกั ษาการในตำแหนง่
ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นขีน้ าก(ศรธี รรมวฒั นร์ าษฎรอ์ นุกลู )
โรงเรยี นบา้ นข้ีนาก (ศรีธรรมวฒั น์ราษฎร์อนกุ ลู )
38
สารบญั
เรือ่ ง หนา้
คำนำ 1
สารบญั 5
ส่วนท่ี 1 ข้อมลู พื้นฐานของสถานศกึ ษา
ส่วนท่ี 2 ข้อมลู ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนระดบั สถานศึกษาและการดำเนนิ งาน 21
25
ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาระดบั การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผู้เรียน
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผ้เู รียนเปน็ สำคญั
สว่ นที่ 3 สรุปประเดน็ ปญั หาและกำหนดแนวทางการพฒั นา
ส่วนท่ี 4 เปา้ หมายการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น
และแนวทางการพัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น
ภาคผนวก
โรงเรยี นบ้านข้นี าก (ศรธี รรมวัฒน์ราษฎร์อนกุ ลู )
39
สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสงขลา เขต 1
ญ
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
โรงเรยี นบ้านขนี้ าก (ศรธี รรมวัฒน์ราษฎรอ์ นุกลู )