The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษาสังฆรักษ์ 2565 ล่าสุด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by view_me_it, 2022-06-23 01:57:12

หลักสูตรสถานศึกษา 2565

หลักสูตรสถานศึกษาสังฆรักษ์ 2565 ล่าสุด

หลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรียนสังฆรกั ษบาํ รงุ
พุทธศักราช ๒๕๖5

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑

สํานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต ๑
สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ประกาศโรงเรยี นสังฆรักษบํารุง
เรอื่ ง ใหใชหลกั สตู รโรงเรียนสงั ฆรักษบํารุงพุทธศกั ราช 2565
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐานพุทธศกั ราช ๒๕๕๑

----------------------------------------------------------
พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ (แกไขเพิ่มเติม ๒๕๔๕) มาตรา ๒๗ วรรค ๒
ใหสถานศึกษาข้ันพื้นฐานมีหนาท่ีจัดทําสาระของหลักสูตรตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน
เพือ่ ความเปน ไทย ความเปน พลเมืองท่ีดขี องชาติ การดํารงและการประกอบอาชีพ ตลอดจนเพื่อการศกึ ษาตอ

กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด กลุมสาระการเรียนรู
คณิตศาสตร วิทยาศาสตร และสาระภูมิศาสตรในกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามคําส่ัง
กระทรวงศึกษาธิการท่ี สพฐ.๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันท่ี ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และคําส่ังสํานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพื้นฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ใหเปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัด
กลมุ สาระการเรียนรูคณติ ศาสตร และวิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) โดยมีคําส่ังใหโรงเรียนดําเนินการ
ใชหลักสูตรในปการศึกษา ๒๕๖๑ โดยใหใชในช้ันประถมศึกษาปท่ี ๑ และ ๔ ต้ังแตปการศึกษา ๒๕๖๑ และ
ชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ ๒ และ ๕ ตง้ั แตปก ารศึกษา ๒๕๖๒ เปนตนไปต้งั แตป การศึกษา 2563 เปนตนไปใหใชในทุก
ชั้นเรียน ตามคําส่ังสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ที่ ๙๒๑/๒๕๖๑ ลงวันท่ี ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๑
ใหยกเลิกมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยีและสาระท่ี ๓ เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และเปล่ียนชื่อกลุมสาระการเรียนรู ตั้งแตปการศึกษา ๒๕๖๓ ใหเปลี่ยนช่ือกลุม
สาระการเรียนรูดังนี้ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เปน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ
กลมุ สาระการเรยี นรูว ทิ ยาศาสตร เปนกลมุ สาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

โรงเรยี นสังฆรักษบ าํ รงุ สาํ นักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ไดดําเนินการ
จัดทาํ หลักสูตรโรงเรยี นสังฆรักษบํารงุ พุทธศักราช 2564 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช
๒๕๕๑ ขึ้นคณะกรรมการการบริหารหลักสูตรและคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานโรงเรียนสังฆรักษบํารุง ได
ตรวจสอบ ผูเรียนสามารถนําไปใชในการดํารงชีวิตประจําวันอยางมีคุณคาตอสังคมจึงเห็นสมควรแลววามีความ
เหมาะสมสอดคลอ งกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน ๒๕๕๑ และความตองการของทองถิ่น อนุญาตให
ใชหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนสังฆรักษบํารุงได เพ่ือใชเปนกรอบและทิศทางในการจัดการเรียนการสอนที่มี
ประสทิ ธภิ าพตอไป

ทั้งนี้หลักสูตรโรงเรียนไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน เมื่อวันท่ี
1 พฤษภาคม ๒๕๖4 จึงประกาศใหใชห ลักสตู รโรงเรยี นตัง้ แตบดั นเี้ ปน ตน ไป

ประกาศ ณ วนั ท่ี 1 พฤษภาคม ๒๕๖5

ลงชอ่ื ลงชอื่
(นายสายชล พุกเงิน) (นายศริ พิ งษ เช้อื ดี)

ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ผอู ํานวยการโรงเรียนสังฆรกั ษบ ํารงุ

สารบญั หนา

เรื่อง ๑
ประกาศโรงเรยี น ๓
 คาํ นาํ ๔
 ความนาํ ๔
 วิสยั ทัศน 4
 สมรรถนะสาํ คญั ของผูเ รยี น ๑0
 คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค ๑1
 สาระและมาตรฐานการเรียนรู ๑7
 โครงสรา งหลักสตู รสถานศึกษา ๒7
โครงสรา งหลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียน 33
 คาํ อธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน 43
๕8
กลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย 65
กลมุ สาระการเรยี นรูค ณติ ศาสตร 74
กลุมสาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 80
กลุม สาระการเรียนรสู ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 92
กลุมสาระการเรยี นรูส ุขศึกษาและพลศกึ ษา 103
กลมุ สาระการเรียนรศู ลิ ปะ
กลุม สาระการเรยี นรูก ารงานอาชพี
กลุมสาระการเรยี นรูภ าษาตา งประเทศ
 คําอธบิ ายรายวิชาเพิ่มเติม
กลมุ สาระการเรียนรูส ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
กลุมสาระการเรยี นรูภาษาตา งประเทศ
 กจิ กรรมพฒั นาผูเรียน
กจิ กรรมแนะแนว
กิจกรรมนักเรียน

- กิจกรรมลกู เสือ – เนตรนารี
- กจิ กรรมชมุ นุม
กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน
 แนวทางการประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรยี น
 คาํ อธิบายรายวิชากจิ กรรมพัฒนาผูเรยี น
 เกณฑก ารจบการศึกษา
 ภาคผนวก

คาํ นาํ

กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด กลุมสาระการเรียนรู
คณิตศาสตร วิทยาศาสตร และสาระภูมิศาสตรในกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามคําสั่ง
กระทรวงศึกษาธิการท่ี สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และคําสั่งสํานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑ ลงวันท่ี ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ใหเปล่ียนแปลงมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัด
กลุมสาระการเรยี นรูค ณิตศาสตรและวิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) โดยมีคําสั่งใหโรงเรียนดําเนินการ
ใชหลักสูตรในปการศึกษา ๒๕๖๑ โดยใหใชในช้ันประถมศึกษาปท่ี ๑ และ ๔ ตั้งแตปการศึกษา ๒๕๖๑ และ
ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๒ และ ๕ ในปการศึกษา ๒๕๖๒ เปนตนไปต้ังแตปการศึกษา 2563 เปนตนไปใหใชในทุก
ช้ันเรียน ตามคําส่ังสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ที่ ๙๒๑/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๑
ใหยกเลิกมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยีและสาระที่ ๓ เทคโนโลยี
สารสนเทศและการส่ือสารในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และเปลี่ยนชื่อกลุมสาระการเรียนรู ต้ังแตปการศึกษา ๒๕๖๓ ใหเปลี่ยนช่ือกลุม
สาระการเรียนรูดังน้ี กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เปน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เปนกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีใหเปนหลักสูตรแกนกลาง
ของประเทศ โดยกําหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรูเปนเปาหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพ
ผูเรียนมีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ มีคุณภาพและมีทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ ๒๑ เพ่ือใหสอดคลองกับ
นโยบายและเปา หมายของสํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน

ในปการศึกษา ๒๕๖5 นี้ โรงเรียนสังฆรักษบํารุงไดจัดทําหลักสูตร โรงเรียนสังฆรักษบํารุง พุทธศักราช
๒๕๖5 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ เพ่ือใชเปนกรอบทิศทางในการนํา
หลกั สูตรไปใชอยา งมีประสิทธิภาพและเพอ่ื ใหเ กิดการพฒั นาคุณภาพผเู รยี นใหเปน คนดี มีปญญา มีคุณภาพชีวิตท่ีดี
และมศี กั ยภาพความสามารถในการปรับตัวใหอ ยสู งั คมไดอยางมคี วามสขุ

ขอขอบคุณผูมีสวนเก่ียวของทุกทาน ทุกภาคสวน ท่ีใหความรวมมือและมีสวนรวมในการพัฒนาหลักสูตร
ฉบบั นี้ใหมีความสมบูรณและเหมาะสมตามบริบทตอการจัดการศึกษาในโรงเรียนสังฆรักษบํารุง ตั้งแตปการศึกษา
๒๕๖5 เปนตนไป

โรงเรียนสังฆรักษบาํ รงุ
พฤษภาคม ๒๕๖5



ความนํา

กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
วิทยาศาสตร และสาระภูมิศาสตรในกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามคําส่ังกระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ.
๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวนั ท่ี ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และคาํ ส่งั สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑
ลงวันท่ี ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ใหเปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรและ
วิทยาศาสตร (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐) โดยมีคาํ สัง่ ใหโ รงเรียนดําเนนิ การใชห ลักสูตรในปการศึกษา ๒๕๖๑ โดย
ใหใ ชในชัน้ ประถมศึกษาปท่ี ๑ และ ๔ ต้ังแตป การศึกษา ๒๕๖๑และช้นั ประถมศึกษาปที่ ๒ และ ๕ ในปการศึกษา
๒๕๖๒ เปนตนไป ต้ังแตปการศึกษา 2563 เปนตนไปใหใชในทุกชั้นเรียน ตามคําส่ังสํานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ท่ี ๙๒๑/๒๕๖๑ ลงวันท่ี ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๑ ใหยกเลิกมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัด
สาระท่ี ๒ การออกแบบและเทคโนโลยแี ละสาระที่ ๓ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารในกลุมสาระการเรียนรู
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ และเปลี่ยนช่ือกลุม
สาระการเรียนรู ต้ังแตปการศึกษา ๒๕๖๓ ใหเปลี่ยนช่ือกลุมสาระการเรียนรูดังนี้ กลุมสาระการเรียนรูการงาน
อาชพี และเทคโนโลยี เปน กลุมสาระการเรยี นรกู ารงานอาชีพ กลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร เปนกลุมสาระการ
เรียนรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยีใหเปนหลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดยกําหนดจุดหมาย และมาตรฐานการ
เรียนรูเปนเปาหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผูเรียนมีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ มีคุณภาพและมี
ทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ ๒๑ เพ่ือใหสอดคลองกับนโยบายและเปาหมายของสํานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้นั พื้นฐาน

โรงเรียนสังฆรักษบํารุงจึงไดจัดทําหลักสูตรโรงเรียนสังฆรักษบํารุง พ.ศ.๒๕๖5 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้นั พืน้ ฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ในกลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร วิทยาศาสตร และสาระภูมิศาสตรใน
กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสาระการ
เรียนรูการงานอาชีพ ดังกลาวขางตน อีกท้ังไดมีการสอดแทรกกิจกรรมตานทุจริตตามนโยบายของสํานักงาน
คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ เพ่ือปลูกฝงจิตจิตสํานึกในการแยกประโยชนสวนบุคคล
และประโยชนส วนรวม จิตพอเพียง การไมยอมรับและไมทนตอการทุจริต ซ่ึงทางโรงเรียนไดนํามาปรับตามบริบท
และความเหมาะสม โดยนําไปปรับใชในกิจกรรมพัฒนาผูเรียน(แนะแนวช้ันประถมศึกษาปท่ี ๑-๖) เพ่ือนําไปใช
ประโยชนและเปนกรอบในการวางแผนและพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอน โดยมี
เปาหมายในการพัฒนาคุณภาพผูเรียน ใหมีกระบวนการนําหลักสูตรไปสูการปฏิบัติ โดยมีการกําหนดวิสัยทัศน
จุดหมาย สมรรถนะสําคัญของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด โครงสราง
เวลาเรยี น ตลอดจนเกณฑการวัดประเมินผลใหมีความสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู เปดโอกาสใหโรงเรียน
สามารถกําหนดทิศทางในการจัดทําหลักสูตรการเรียนการสอนในแตละระดับตามความพรอมและจุดเนน โดยมี
กรอบแกนกลางเปนแนวทางท่ีชัดเจนเพื่อตอบสนองนโยบายไทยแลนด ๔.๐ มีความพรอมในการกาวสูสังคม
คณุ ภาพ มคี วามรอู ยางแทจ ริง และมีทกั ษะในศตวรรษที่ ๒๑

มาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัดที่กําหนดไวในเอกสารน้ี ชวยทําใหหนวยงานที่เกี่ยวของ ในทุกระดับเห็น
ผลคาดหวังท่ีตองการในการพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนที่ชัดเจนตลอดแนว ซึ่งจะสามารถชวยใหหนวยงานที่
เก่ียวของในระดับทองถิ่นและสถานศึกษารวมกันพัฒนาหลักสูตรไดอยางมั่นใจ ทําใหการจัดทําหลักสูตรในระดับ
สถานศึกษามีคุณภาพและมีความเปนเอกภาพยิ่งข้ึน อีกทั้งยังชวยใหเกิดความชัดเจนเร่ืองการวัดและประเมินผล
การเรียนรู และชวยแกปญหาการเทียบโอนระหวางสถานศึกษา ดังน้ันในการพัฒนาหลักสูตรในทุกระดับตั้งแต
ระดับชาติจนกระท่ังถึงสถานศึกษา จะตองสะทอนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดท่ีกําหนดไวใน



หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน รวมทั้งเปนกรอบทิศทางในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ และครอบคลุม
ผูเ รียนทุกกลมุ เปาหมายในระดบั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน

การจัดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานจะประสบความสําเร็จตามเปาหมายที่คาดหวังได ทุกฝาย
ท่ีเก่ียวของท้ังระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลตองรวมรับผิดชอบ โดยรวมกันทํางานอยางเปนระบบ
และตอเนื่อง ในการวางแผน ดําเนินการ สงเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแกไข เพื่อพัฒนาเยาวชน
ของชาติไปสคู ณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนรทู ก่ี ําหนดไว
วิสยั ทัศน

โรงเรยี นสังฆรักษบาํ รุง มุงพัฒนานักเรียนทุกระดับ ใหมีคุณภาพตามมาตรฐานสากลอยางทั่วถึงและเสมอ
ภาค บนพื้นฐานของความเปนไทยตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดํารงชีวิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
ภายใตก ารบริหารจดั การ แบบมีสวนรว ม
สมรรถนะสาํ คัญของผเู รยี น และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค

ในการพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรโรงเรียนสังฆรักษบํารุง ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖5 ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุงเนนพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพตามมาตรฐานท่ีกําหนด
ซ่งึ จะชว ยใหผเู รียนเกิดสมรรถนะสําคญั และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค ดังนี้
สมรรถนะสาํ คัญของผเู รียน

หลักสตู รโรงเรียนสงั ฆรักษบ าํ รุง ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖5 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ มุงใหผูเ รียนเกิดสมรรถนะสําคัญ ๕ ประการ ดงั นี้

๑. ความสามารถในการส่ือสาร เปนความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรมในการใชภาษา
ถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารและ
ประสบการณอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสังคม การเลือกรับหรือไมรับขอมูลขาวสารดวยหลัก
เหตผุ ลและความถูกตอง ตลอดจนการเลือกใชวิธีการส่ือสาร ท่ีมีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่มีตอตนเอง
และสงั คม

๒. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิด อยาง
สรางสรรค การคดิ อยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพ่ือนําไปสูการสรางองคความรูหรือสารสนเทศเพื่อ
การตดั สนิ ใจเกีย่ วกบั ตนเองและสังคมไดอ ยา งเหมาะสม

๓. ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ที่เผชิญไดโดย
อาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตรในชีวิตประจําวัน อยางถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรม
และขอมูลสารสนเทศ เขาใจความสัมพันธและการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณตาง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู
ประยุกตความรูมาใชในการปองกันและแกไขปญหาและมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่
เกดิ ขน้ึ ตอตนเอง สงั คมและสิ่งแวดลอม

๔. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถในการนํากระบวนการตาง ๆ ไปใชในการดําเนิน
ชีวิตประจําวัน การเรียนรดู ว ยตนเอง การเรยี นรอู ยางตอ เนอื่ ง การทํางาน และการอยรู วมกันในสังคมดวยการสราง
เสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความขัดแยงตาง ๆ อยางเหมาะสม การปรับตัวใหทัน
กบั การเปลีย่ นแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการรูจักหลีกเล่ียงพฤติกรรมไมพึงประสงคท่ีสงผลกระทบตอ
ตนเองและผูอนื่



๕. ความสามารถในการใชเทคโนโลยีเปนความสามารถในการเลือก และใช เทคโนโลยีดานตาง ๆ และมี
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู การสื่อสาร
การทํางาน การแกปญ หาอยางสรา งสรรค ถูกตอ ง เหมาะสม และมคี ณุ ธรรม

คณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค
หลกั สูตรโรงเรยี นสงั ฆรักษบํารุงฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖5 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

พุทธศักราช ๒๕๕๑ มงุ พัฒนาผูเรยี นใหม คี ุณลักษณะอนั พึงประสงค เพื่อใหสามารถอยรู วมกับผูอื่นในสังคมไดอยาง
มีความสุข ในฐานะพลเมอื งไทยและพลโลก ดังนี้

๑. รกั ษช าติ ศาสน กษตั ริย
๒. ซือ่ สตั ยส จุ ริต
๓. มีวินยั
๔. ใฝเรยี นรู
๕. อยูอยา งพอเพยี ง
๖. มงุ มน่ั ในการทํางาน
๗. รกั ความเปนไทย
๘. มีจิตเปน สาธารณะ
สาระและมาตรฐานการเรยี นรู

หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐานกาํ หนดมาตรฐานการเรยี นรูใ น ๘ กลุมสาระการเรยี นรู จาํ นวน
๓๑ สาระ ๕๕ มาตรฐาน ดังนี้
กลุม สาระการเรียนรูภ าษาไทย (๕ สาระ ๕ มาตรฐานการเรียนรู)

สาระท่ี ๑ การอาน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพ่ือนําไปใช แกปญหา

ในการดําเนินชวี ติ และมีนิสยั รักการอา น
สาระที่ ๒ การเขยี น
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชกระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียน

เร่ืองราวในรปู แบบตา งๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคนควาอยางมีประสทิ ธภิ าพ
สาระท่ี ๓ การฟง การดูและการพดู
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด

ความรสู ึกในโอกาสตางๆ อยา งมวี จิ ารณญาณ และสรางสรรค
สาระที่ ๔ หลกั การใชภ าษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ

ภาษา ภูมิปญ ญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไวเ ปน สมบัติ ของชาติ
สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดี และวรรณกรรมไทยอยางเห็น

คุณคาและนํามาประยุกตใชในชีวิตจริง



กลมุ สาระการเรยี นรูคณิตศาสตร (๓ สาระการเรยี นรู ๗ มาตรฐานการเรียนรู)

สาระท่ี ๑ จาํ นวนและพีชคณติ
มาตรฐาน ค ๑.๑ เขาใจความหลากหลายของการแสดงจํานวน ระบบจํานวน การดําเนินการ

ของจาํ นวน ผลทเี่ กดิ ขนึ้ จากการดาํ เนนิ การสมบัตขิ องการดําเนินการและนาํ ไปใช
มาตรฐาน ค ๑.๒ เขาใจและวเิ คราะหแบบรปู ความสัมพนั ธ ฟง กชนั ลาํ ดบั และอนุกรม และนําไปใช
มาตรฐาน ค ๑.๓ ใชนิพจน สมการ อสมการ และเมทริกซ อธิบายความสัมพันธหรือชวยแกปญหา

ทีก่ าํ หนดให
สาระท่ี ๒ การวดั และเรขาคณติ
มาตรฐาน ค ๒.๑ เขาใจพ้ืนฐานเก่ียวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งท่ีตองการวัด

และนําไปใช
มาตรฐาน ค ๒.๒ เขาใจและวิเคราะหรูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธระหวาง

รูปเรขาคณิตและทฤษฎบี ททางเรขาคณติ และนําไปใช
สาระที่ ๓ สถติ แิ ละความนา จะเปน
มาตรฐาน ค ๓.๑ เขา ใจกระบวนการทางสถิติและใชความรูทางสถติ ใิ นการแกปญ หา
มาตรฐาน ค ๓.๒ เขา ใจหลกั การนับเบื้องตน ความนา จะเปน และนาํ ไปใช

กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี (๔ สาระ ๑๐ มาตรฐานการเรียนรู)

สาระท่ี ๑ วทิ ยาศาสตรช วี ภาพ
มาตรฐาน ว ๑.๑ เขาใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธระหวางสิ่งไมมีชีวิตกับ

ส่งิ มีชวี ติ และความสัมพันธร ะหวา งสงิ่ มีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตตางๆ ในระบบนิเวศการถายทอดพลังงานการเปลี่ยนแปลง
แทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปญหา และผลกระทบที่มีตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
แนวทางในการอนรุ ักษท รพั ยากรธรรมชาติและการแกไขปญ หาสิง่ แวดลอม รวมทัง้ นาความรไู ปใชป ระโยชน

มาตรฐาน ว ๑.๒ เขาใจสมบัติของส่ิงมีชีวิต หนวยพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวิต การลําเลียงสารเขาและออก
จากเซลล ความสัมพันธของโครงสราง และหนาท่ีของระบบตางๆ ของสัตวและมนุษยที่ทํางานสัมพันธกัน
ความสัมพันธของโครงสราง และหนาที่ของอวัยวะตางๆ ของพืชท่ีทํางานสัมพันธกัน รวมทั้งนําความรูไปใช
ประโยชน

มาตรฐาน ว ๑.๓ เขาใจกระบวนการและความสําคัญของการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร
พันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลตอส่ิงมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการของ
ส่ิงมชี วี ติ รวมทง้ั นําความรไู ปใชประโยชน

สาระท่ี ๒ วิทยาศาสตรกายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๑ เขาใจสมบัติของสสาร องคประกอบของสสาร ความสัมพันธระหวางสมบัติของ

สสารกับโครงสรางและแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร
การเกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี

มาตรฐาน ว ๒.๒ เขา ใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจําวัน ผลของแรงที่กระทําตอวัตถุ ลักษณะการ
เคล่ือนท่ีแบบตางๆ ของวตั ถุ รวมทง้ั นําความรไู ปใชประโยชน

มาตรฐาน ว ๒.๓ เขาใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถายโอนพลังงาน
ปฏิสัมพันธระหวางสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจําวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณที่เก่ียวของกับ
เสียง แสง และคลื่นแมเ หล็กไฟฟา รวมทัง้ นาํ ความรไู ปใชประโยชน



สาระท่ี ๓ วทิ ยาศาสตรโลกและอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๑ เขาใจองคประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของ เอกภพ

กาแล็กซี ดาวฤกษ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธภายในระบบสุริยะที่สงผลตอสิ่งมีชีวิตและการประยุกตใช
เทคโนโลยอี วกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๒ เขาใจองคประกอบและความสัมพันธของระบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลง
ภายในโลก และบนผวิ โลก ธรณพี บิ ตั ิภยั กระบวนการเปลี่ยนแปลงลม ฟา อากาศ และภมู อิ ากาศโลก รวมท้ังผลตอ
สง่ิ มชี วี ิตและสงิ่ แวดลอ ม

สาระที่ ๔ เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๔.๑ เขาใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดํารงชีวิตในสังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลง

อยางรวดเร็ว ใชความรูและทักษะทางดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และศาสตรอ่ืนๆ เพ่ือแกปญหาหรือพัฒนา
งานอยางมีความคิดสรางสรรคดวยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสมโดย
คํานงึ ถึงผลกระทบตอชีวิต สังคม และสง่ิ แวดลอ ม

มาตรฐาน ว ๔.๒ เขาใจและใชแนวคิดเชิงคํานวณในการแกปญหาที่พบในชีวิตจริงอยางเปนขั้นตอน
และเปนระบบ ใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู การทํางาน และการแกปญหาไดอยางมี
ประสิทธภิ าพ รเู ทา ทัน และมีจรยิ ธรรม

กลมุ สาระการเรียนรูส ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม (๕ สาระ ๑๑ มาตรฐานการเรียนรู)
สาระท่ี ๑ ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๑ รแู ละเขาใจประวัติ ความสาํ คัญ ศาสดา หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา

ท่ีตนนบั ถือและศาสนาอนื่ มศี รทั ธาทถ่ี ูกตอง ยึดมนั่ และปฏิบัติตามหลักธรรม เพ่ืออยูร ว มกันอยา งสนั ตสิ ขุ
มาตรฐาน ส๑.๒ เขาใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเปนศาสนิกชนที่ดี และธํารงรักษาพระพุทธศาสนา

หรอื ศาสนาทต่ี นนับถอื
สาระท่ี ๒หนาท่ีพลเมืองวัฒนธรรมและการดาํ เนนิ ชวี ติ ในสงั คม
มาตรฐาน ส ๒.๑เขาใจและปฏิบัติตนตามหนาท่ีของการเปนพลเมืองดี มีคานิยมที่ดีงามและธํารง

รกั ษาประเพณแี ละวัฒนธรรมไทย ดํารงชวี ิตอยรู ว มกันในสังคมไทยและสังคมโลกอยา งสนั ติสขุ
มาตรฐาน ส ๒.๒เขา ใจระบบการเมอื งการปกครองในสังคมปจ จบุ ันยึดมั่น ศรัทธา และธํารงรักษาไว

ซ่ึงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยท รงเปนประมขุ
สาระท่ี ๓ เศรษฐศาสตร
มาตรฐาน ส ๓.๑ เขาใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช

ทรัพยากรที่มีอยูจํากัดไดอยางมีประสิทธิภาพและคุมคา รวมทั้งเขาใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการ
ดาํ รงชวี ติ อยางมีดุลยภาพ

มาตรฐาน ส ๓.๒ เขาใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจตาง ๆ ความสัมพันธทางเศรษฐกิจ
และความจาํ เปน ของการรวมมอื กนั ทางเศรษฐกจิ ในสังคมโลก

สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร
มาตรฐาน ส ๔.๑ เขาใจความหมาย ความสําคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร สามารถ

ใชว ธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตรมาวเิ คราะหเ หตกุ ารณตา งๆ อยา งเปน ระบบ
มาตรฐาน ส ๔.๒ เขาใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปจจุบัน ในดานความสัมพันธและ

การเปลย่ี นแปลงของเหตกุ ารณอยา งตอเน่อื ง ตระหนักถึงความสําคัญและสามารถวิเคราะหผลกระทบที่เกิดข้ึน



มาตรฐาน ส ๔.๓ เขาใจความเปนมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปญญาไทยมีความรัก
ความภมู ใิ จและธํารงความเปนไทย

สาระท่ี ๕ภูมิศาสตร
มาตรฐาน ส ๕.๑ เขาใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธของสรรพสิ่งซึ่งมี

ผลตอกัน ใชแผนท่ีและเครื่องมือทางภูมิศาสตรในการคนหา วิเคราะห และสรุปขอมูล ตามกระบวนการทาง
ภมู ิศาสตร ตลอดจนใชภ มู ิสารสนเทศอยา งมีประสทิ ธิภาพ

มาตรฐาน ส ๕.๒ เขาใจปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกับสิ่งแวดลอมทางกายภาพท่ีกอใหเกิดการ
สรางสรรควิถีการดาเนินชีวิต มีจิตสํานึกและมีสวนรวมในการจัดการทรัพยากร และส่ิงแวดลอมเพื่อการพัฒนาที่
ย่ังยนื

กลมุ สาระการเรยี นรูสุขศึกษาและพลศกึ ษา (๕ สาระ ๖ มาตรฐานการเรียนรู)
สาระท่ี ๑ การเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของมนุษย
มาตรฐาน พ ๑.๑ เขา ใจธรรมชาตขิ องการเจริญเติบโตและพฒั นาการของมนุษย
สาระท่ี ๒ ชวี ติ และครอบครวั
มาตรฐาน พ ๒.๑เขาใจและเห็นคุณคา ตนเอง ครอบครวั เพศศกึ ษาและมีทกั ษะในการดําเนนิ ชวี ิต
สาระที่ ๓ การเคลื่อนไหว การออกกาํ ลังกาย การเลนเกม กีฬาไทย และกฬี าสากล
มาตรฐาน พ ๓.๑ เขา ใจ มีทกั ษะในการเคลอื่ นไหว กจิ กรรมทางกาย การเลนเกมและกฬี า
มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกําลังกาย การเลนเกม และการเลนกีฬาปฏิบัติเปนประจํา

อยางสมํ่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีนํ้าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแขงขันและชื่นชมใน
สุนทรยี ภาพของการกฬี า

สาระที่ ๔ การสรา งเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการปองกนั โรค
มาตรฐาน พ ๔.๑ เหน็ คุณคาและมที กั ษะในการสรา งเสรมิ สุขภาพ การดํารงสุขภาพ การปองกันโรค

และการสรา งเสริมสมรรถภาพเพ่ือสุขภาพ
สาระที่ ๕ ความปลอดภยั ในชวี ติ
มาตรฐาน พ ๕.๑ปอ งกนั และหลกี เลย่ี งปจจัยเสีย่ ง พฤติกรรมเสยี่ งตอ สขุ ภาพ อุบัติเหตุ การใชยาสาร

เสพตดิ และความรนุ แรง
กลมุ สาระการเรยี นรูศ ิลปะ (๓ สาระ ๖ มาตรฐานการเรยี นรู)

สาระท่ี ๑ ทศั นศลิ ป
มาตรฐาน ศ ๑.๑ สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห

วิพากษ วิจารณคุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระช่ืนชมและประยุกตใช
ในชวี ิตประจาํ วนั

มาตรฐาน ศ ๑.๒ เขา ใจความสมั พนั ธระหวา งทัศนศิลป ประวตั ิศาสตร และวัฒนธรรมเห็นคุณคางาน
ทัศนศลิ ปท ี่เปนมรดกทางวัฒนธรรมภูมิปญญาทองถนิ่ ภูมิปญ ญาไทยและสากล

สาระท่ี ๒ ดนตรี
มาตรฐาน ศ ๒.๑ เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคา

ดนตรี ถายทอดความรสู ึก ความคิดตอ ดนตรอี ยางอิสระ ชน่ื ชม และประยกุ ตใ ชในชีวติ ประจําวนั



มาตรฐาน ศ ๒.๒ เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคา
ของดนตรีทเ่ี ปน มรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญ ญาทองถิน่ ภมู ปิ ญ ญาไทยและสากล

สาระที่ ๓ นาฏศลิ ป
มาตรฐาน ศ ๓.๑ เขา ใจและแสดงออกทางนาฏศิลปอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคา

นาฏศิลป ถายทอดความรสู ึกความคิดอยา งอิสระชื่นชมและประยุกตใ ชใ นชีวติ ประจําวนั
มาตรฐาน ศ ๓.๒ เขาใจความสัมพันธระหวางนาฏศิลป ประวัติศาสตรและวัฒนธรรม เห็นคุณคา

ของนาฏศิลปท ่ีเปน มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ญ ญาทอ งถ่นิ ภมู ปิ ญ ญาไทยและสากล
กลุม สาระการเรียนรูก ารงานอาชีพ (๒ สาระ ๒ มาตรฐานการเรยี นรู)

สาระท่ี ๑ การดาํ รงชีวติ และครอบครวั
มาตรฐาน ง ๑.๑ เขาใจการทํางาน มีความคิดสรางสรรค มีทักษะกระบวนการทํางาน ทักษะ

การจัดการ ทักษะกระบวนการแกปญหา ทักษะการทํางานรวมกัน และทักษะการแสวงหาความรู มีคุณธรรม
และลักษณะนิสัยในการทํางาน มีจิตสํานึกในการใชพลังงาน ทรัพยากร และส่ิงแวดลอม เพ่ือการดํารงชีวิต และ
ครอบครวั

สาระที่ ๒ การอาชีพ
มาตรฐาน ง ๒.๑ เขาใจ มีทักษะที่จําเปน มีประสบการณ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใชเทคโนโลยี

เพอื่ พัฒนาอาชพี มีคณุ ธรรมและมีเจตคติท่ดี ตี ออาชพี

กลุม สาระการเรยี นรภู าษาตางประเทศ (๔ สาระ ๘ มาตรฐานการเรียนรู)
สาระท่ี ๑ ภาษาเพื่อการส่อื สาร
มาตรฐาน ต ๑.๑ เขาใจและตีความเรื่องที่ฟงและอานจากส่ือประเภทตาง ๆ และแสดงความคิดเห็น

อยา งมเี หตุผล
มาตรฐาน ต ๑.๒ มที กั ษะการสอ่ื สารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร แสดงความรูสึกและ

ความคิดเหน็ อยางมปี ระสทิ ธภิ าพ
มาตรฐาน ต ๑.๓ นําเสนอขอมลู ขาวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องตาง ๆ โดยการ

พูดและการเขียน
สาระท่ี ๒ ภาษาและวฒั นธรรม
มาตรฐาน ต ๒.๑ เขาใจความสัมพันธระหวางภาษากับวัฒนธรรมของเจาของภาษา และนําไปใชได

อยางเหมาะสมกับกาลเทศะ
มาตรฐาน ต ๒.๒ เขาใจความเหมือนและความแตกตางระหวางภาษาและวัฒนธรรมของเจาของ

ภาษากบั ภาษาและวัฒนธรรมไทย และนํามาใชอ ยางถูกตอ งและเหมาะสม
สาระท่ี ๓ ภาษากับความสมั พันธก ับกลมุ สาระการเรยี นรูอ่ืน
มาตรฐาน ต ๓.๑ ใชภาษาตางประเทศในการเชื่อมโยงความรูกับกลุมสาระการเรียนรูอื่น และเปน

พ้นื ฐานในการพฒั นา แสวงหาความรู และเปดโลกทัศนข องตน
สาระท่ี ๔ ภาษากบั ความสมั พนั ธกับชมุ ชนและโลก
มาตรฐาน ต ๔.๑ ใชภ าษาตา งประเทศในสถานการณต างๆท้งั ในสถานศึกษา ชุมชน และสงั คม
มาตรฐาน ต ๔.๒ ใชภาษาตางประเทศเปนเคร่ืองมือพื้นฐานในการศึกษาตอ การประกอบอาชีพ

และการแลกเปล่ยี นเรยี นรกู บั สงั คมโลก



โครงสรางหลกั สตู รสถานศกึ ษา ระดบั ประถมศกึ ษา ปการศึกษา ๒๕๖5
โรงเรียนสังฆรกั ษบํารุง สาํ นักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑
เวลาเรียน

กลมุ สาระการเรียนรู/กจิ กรรม ระดับประถมศกึ ษา

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6

ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160

คณติ ศาสตร 200 200 200 160 160 160

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 80 80 80 120 120 120

สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 80 80 80 120 120 120
ประวตั ิศาสตร (40) (40) (40) (40) (40) (40)

ศาสนาศลี ธรรม จริยธรรม
 หนาท่ีพลเมือง วัฒนธรรม
และการดาํ รงชีวิตในสงั คม (40) (40) (40) (80) (80) (80)

 เศรษฐศาสตร
ภมู ศิ าสตร

สุขศกึ ษาและพลศึกษา 80 80 80 80 80 80

ศิลปะ 40 40 40 80 80 80

การงานอาชีพ 40 40 40 40 40 40

ภาษาตา งประเทศ(ภาษาอังกฤษ) 120 120 120 80 80 80

รวมเวลาเรียนวิชาพนื้ ฐาน 840 840 840 840 840 840

รายวิชา/กิจกรรมที่โรงเรยี นจัดเพ่ิมเตมิ ตาม ปล ะไมน อ ยกวา 40 ช่วั โมง
ความพรอมและจุดเนน

หนาท่พี ลเมือง 40 40 40 40 40 40

ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร 80 80 80 - - -

รวมเวลาเรียนวชิ าเพ่ิมเติม 120 120 120 40 40 40

กิจกรรมพฒั นาผเู รยี น

กจิ กรรมแนะแนว 40 40 40 40 40 40

กจิ กรรมนกั เรยี น 40 40 40 40 40 40
-ลูกเสอื -เนตรนารี
-ชมุ นมุ 30 30 30 30 30 30

-กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน 10 10 10 10 10 10

รวมเวลากจิ กรรมพัฒนาผเู รียน 120 120 120 120 120 120

รวมเวลาท้งั หมด 1,080 1,080 1,080 1,000 1,000 1,000

โครงสรา งหลกั สตู รชนั้ ประถมศึกษาปที่ ๑ ๙
โรงเรียนสงั ฆรกั ษบาํ รุง
เวลาเรยี น
รหสั กลุมสาระการเรยี นรู/กจิ กรรม (ชม./ป)
(๘๔๐)
ท๑๑๑๐๑ รายวชิ าพ้ืนฐาน ๒๐๐
ค๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ๒๐๐
ว๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร ๑
ส๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ๑ ๘๐
ส๑๑๑๐๒ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๑ 4๐
พ๑๑๑๐๑ ประวตั ศิ าสตร ๑ ๔๐
ศ๑๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๑ 8๐
ง๑๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ ๔๐
อ๑๑๑๐๑ การงานอาชพี ๑ ๔๐
ภาษาอังกฤษ ๑ ๑๒๐
ส๑๑๒๓๑ ๑๒๐
อ๑๑๒๐๑ รายวิชาเพิม่ เติม ๔๐
หนา ท่ีพลเมือง ๑ ๘๐
ภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร ๑ (๑๒๐)
๔๐
กจิ กรรมพฒั นาผเู รียน
แนะแนว(สอดแทรกกจิ กรรมตานทจุ ริตศกึ ษา) ๔๐
กจิ กรรมนกั เรยี น ๓๐
๑๐
• ลูกเสือ – เนตรนารี ๑,๐๘๐

• ชมุ นมุ
กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณะประโยชน ๑

รวมเวลาเรียนทัง้ สนิ้

โครงสรางหลกั สตู รช้ันประถมศึกษาปท่ี ๒ ๑๐
โรงเรยี นสังฆรกั ษบํารงุ
เวลาเรียน
รหัส กลมุ สาระการเรยี นรู/กิจกรรม (ชม./ป)
ท๑๒๑๐๑ (๘๔๐)
ค๑๒๑๐๑ รายวชิ าพ้ืนฐาน ๒๐๐
ว๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ ๒๐๐
ส๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร ๒
ส๑๒๑๐๒ วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๒ ๘๐
พ๑๒๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๒ 4๐
ศ๑๒๑๐๑ ประวัตศิ าสตร ๒ ๔๐
ง๑๒๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๒ 8๐
อ๑๒๑๐๑ ศิลปะ ๒ ๔๐
ส๑๒๒๓๒ การงานอาชพี ๒ ๔๐
อ๑๒๒๐๑ ภาษาองั กฤษ ๒ ๑๒๐
๑๒๐
รายวิชาเพมิ่ เติม ๔๐
หนาท่ีพลเมือง ๒ ๘๐
ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร ๒ (๑๒๐)
๔๐
กิจกรรมพฒั นาผูเรียน ๔๐
แนะแนว(สอดแทรกกจิ กรรมตา นทุจริตศกึ ษา) ๓๐
กิจกรรมนกั เรยี น ๑๐
๑,๐๘๐
• ลกู เสอื – เนตรนารี
• ชมุ นุม
กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณะประโยชน

รวมเวลาเรียนทง้ั สนิ้

โครงสรา งหลกั สตู รชนั้ ประถมศึกษาปที่ ๓ ๑๑
โรงเรียนสังฆรกั ษบํารุง
เวลาเรียน
รหัส กลุมสาระการเรยี นรู/กจิ กรรม (ชม./ป)
ท๑๓๑๐๑ (๘๔๐)
ค๑๓๑๐๑ รายวิชาพน้ื ฐาน ๒๐๐
ว๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ๒๐๐
ส๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร ๓
ส๑๓๑๐๒ วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๓ ๘๐
พ๑๓๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๓ 4๐
ศ๑๓๑๐๑ ประวัตศิ าสตร ๓ ๔๐
ง๑๓๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๓ 8๐
อ๑๓๑๐๑ ศลิ ปะ ๓ ๔๐
ส๑๓๒๓๓ การงานอาชพี ๓ ๔๐
อ๑๓๒๐๑ ภาษาองั กฤษ ๓ ๑๒๐
๑๒๐
รายวชิ าเพิ่มเติม ๔๐
หนาท่ีพลเมือง ๓ ๘๐
ภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร ๓ (๑๒๐)
๔๐
กิจกรรมพฒั นาผเู รียน ๔๐
แนะแนว( สอดแทรกกจิ กรรมตานทจุ ริตศกึ ษา) ๓๐
กิจกรรมนักเรยี น ๑๐
๑,๐๘๐
• ลูกเสือ – เนตรนารี
• ชมุ นมุ
กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน

รวมเวลาเรียนทั้งส้นิ

โครงสรา งหลกั สตู รชนั้ ประถมศึกษาปที่ ๔ ๑๒
โรงเรียนสังฆรักษบาํ รุง
เวลาเรียน
รหสั กลุมสาระการเรยี นร/ู กิจกรรม (ชม./ป)
(๘๔๐)
ท๑๔๑๐๑ รายวชิ าพนื้ ฐาน ๑๖๐
ค๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ ๑๖๐
ว๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร ๔ ๑๒๐
ส๑๔๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๔
ส๑๔๑๐๒ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๔ ๘๐
พ๑๔๑๐๑ ประวัติศาสตร ๔ ๔๐
ศ๑๔๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๔ 8๐
ง๑๔๑๐๑ ศลิ ปะ ๔ 8๐
อ๑๔๑๐๑ การงานอาชีพ ๔ 4๐
ภาษาองั กฤษ ๔ 8๐
ส๑๔๒๓๔ ๔๐
รายวิชาเพ่มิ เติม ๔๐
หนาทพ่ี ลเมือง ๔ (๑๒๐)
๔๐
กิจกรรมพัฒนาผเู รียน
แนะแนว(สอดแทรกกจิ กรรมตานทจุ รติ ศกึ ษา) ๔๐
กจิ กรรมนกั เรยี น ๓๐
๑๐
• ลกู เสือ – เนตรนารี ๑,๐๐๐

• ชมุ นมุ
กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน

รวมเวลาเรียนทัง้ สิ้น

โครงสรา งหลกั สตู รชั้นประถมศึกษาปท ี่ ๕ ๑๓
โรงเรยี นสงั ฆรักษบาํ รุง
เวลาเรยี น
รหสั กลมุ สาระการเรียนรู/กจิ กรรม (ชม./ป)
(๘๔๐)
ท๑๕๑๐๑ รายวชิ าพน้ื ฐาน ๑๖๐
ค๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ๑๖๐
ว๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร ๕ ๑๒๐
ส๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๕
ส๑๕๑๐๒ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๕ ๘๐
พ๑๕๑๐๑ ประวตั ิศาสตร ๕ ๔๐
ศ๑๕๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๕ 8๐
ง๑๕๑๐๑ ศิลปะ ๕ 8๐
อ๑๕๑๐๑ การงานอาชีพ ๕ 4๐
ภาษาอังกฤษ ๕ 8๐
ส๑๕๒๓๕ ๔๐
รายวชิ าเพมิ่ เติม ๔๐
หนาที่พลเมือง ๕ (๑๒๐)
๔๐
กิจกรรมพฒั นาผูเ รียน
แนะแนว(สอดแทรกกจิ กรรมตา นทจุ รติ ศกึ ษา) ๔๐
กิจกรรมนักเรียน ๓๐
๑๐
• ลูกเสือ – เนตรนารี ๑,๐๐๐

• ชุมนมุ
กิจกรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณะประโยชน ๑

รวมเวลาเรยี นท้ังสิ้น

โครงสรางหลักสูตรชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ ๑๔
โรงเรียนสงั ฆรกั ษบาํ รงุ
เวลาเรียน
รหสั กลุมสาระการเรยี นร/ู กิจกรรม (ชม./ป)
(๘๔๐)
ท๑๖๑๐๑ รายวิชาพืน้ ฐาน ๑๖๐
ค๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ ๑๖๐
ว๑๖๑๐๑ คณติ ศาสตร ๖ ๑๒๐
ส๑๖๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๖
ส๑๖๑๐๒ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๖ ๘๐
พ๑๖๑๐๑ ประวัติศาสตร ๖ ๔๐
ศ๑๖๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๖ 8๐
ง๑๖๑๐๑ ศลิ ปะ ๖ 8๐
อ๑๖๑๐๑ การงานอาชีพ ๖ 4๐
ภาษาอังกฤษ ๖ 8๐
ส๑๖๒๓๖ ๔๐
รายวิชาเพม่ิ เติม ๔๐
หนาท่ีพลเมือง ๖ (๑๒๐)
๔๐
กิจกรรมพฒั นาผเู รยี น
แนะแนว(สอดแทรกกิจกรรมตา นทุจริตศกึ ษา) ๔๐
กจิ กรรมนกั เรยี น ๓๐
๑๐
• ลกู เสือเนตรนารี ๑,๐๐๐

• ชุมนมุ
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน

รวมเวลาเรยี นท้ังสนิ้

๑๕

คาํ อธิบายรายวิชา
กลุมสาระการเรยี นรูภาษาไทย

๑๖

ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ คําอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน กลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย

ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๑ เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง
...................................................................................................................................................................................

ศึกษาการอานออกเสียงและบอกความหมายของคํา คําคลองจองและขอความส้ันๆ ที่ประกอบดวย คํา
พื้นฐาน คําท่ีใชในชีวิตประจําวันไมนอยกวา 600 คํา รวมทั้งคําที่ใชเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูอื่น คําท่ีมีรูป
วรรณยกุ ตและไมม ีรูปวรรณยกุ ต คาํ ทีม่ ีตัวสะกดตรงตามมาตราและไมต รงตามมาตรา คําที่มีพยัญชนะควบกล้ํา คํา
ท่ีมีอักษรนํา เขาใจความหมายของคําและขอความที่อาน ตอบคําถาม เลาเรื่องยอ คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องท่ี
อาน อานหนังสือตามความสนใจและนําเสนอเร่ืองที่อานได เขาใจเครื่องหมายสัญลักษณตางๆ ที่พบเห็นใน
ชวี ติ ประจําวนั มมี ารยาทในการอา นและมีนสิ ยั รกั การอาน คดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั ตามรปู แบบการเขียนตัว
อักษรไทย เขยี นสื่อสารคําท่ีใชในชีวิตประจําวัน คําพื้นฐานในบทเรียน คําคลองจอง ประโยคงายๆ มีมารยาทใน
การเขียนและมีนิสัยรักการเขียน สามารถฟงและปฏิบัติตามคําแนะนํา คําส่ังงายๆ และปฏิบัติตาม การฝกตอบ
คําถาม เลาเรื่อง แสดงความคิดเห็นและความรูสึกจากเร่ืองท่ีฟงและดูทั้งที่เปนความรูและความบันเทิงและพูด
ส่อื สารในชีวิตประจําวันได มีมารยาทในการฟง การดูและการพดู สามารถบอกและเขียนพยญั ชนะ สระ วรรณยุกต
และเลขไทย อานและเขียนสะกดคํา แจกลูก อานเปนคํา ผันคํา และบอกความหมายของคํา แตงประโยคและคํา
คลองจองท่ีเหมาะสมกับวัย ฝกอาน ทองจําและบอกขอคิดจากนิทาน เรื่องส้ันงายๆ ปริศนาคําทาย ทองจําบท
รองเลน บทรอยกรอง วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน บทอาขยานตามท่ีกําหนดและบทรอยกรองตามความ
สนใจ

โดยใชทักษะการแสดงหาความรูและการศึกษาดวยตนเอง เชน ทักษะการอาน การฟง การดู การพูด
ทักษะการจับใจความสําคัญ ทักษะการเขียน การอธิบายและสรุป กระบวนการสรางความตระหนัก กระบวนการ
ปฏิบัติ กระบวนการสรา งคานิยมประกอบดว ยคานิยม 12 ประการ กระบวนการส่ือความและกระบวนการเรียนรู
อน่ื ทหี่ ลากหมาย

เพ่ือใหผูเรียนมีความรู มีทักษะและพัฒนาการเรียนรูของตนเองตามศักยภาพ สามารถนําเสนอผลการ
เรียนรูของตนเอง ดวยความเชื่อมั่นอยางมีเหตุผล มีความตระหนักในคุณคาของภาษาไทย ในฐานะท่ีเปนคนไทย
พลเมอื งไทยทด่ี ี ตอ งอา นคลอง เขียนคลอง ลายมือสวย มีเจตคติท่ีดีตอภาษาไทย นําภาษาไทยไปใชไดถูกตอง ใช
ภาษาไทยเปนเครื่องมือในการแสวงหาความรู การดํารงชีวิตในสังคมไดอยางมีความสุข ปฏิบัติตนตามแนวพระ
ราชดํารสั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รวมถึงการมีวินัยในการทํางานรวมกันอยาง
เปนระบบ มคี วามละเอยี ดรอบคอบ รับผิดชอบตอ ตนเอง
รหสั ตัวช้ีวัด

ท ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕, ป.๑/๖, ป.๑/๗, ป.๑/๘
ท ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ท ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
ท ๔.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ท ๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
รวมทั้งหมด ๒๒ ตัวชวี้ ดั

๑๗

ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ คาํ อธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน กลมุ สาระการเรียนรูภาษาไทย

ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี ๒ เวลา ๒๐๐ ชัว่ โมง
...................................................................................................................................................................................

ศึกษาการอานออกเสียง และบอกความหมายของคํา คําคลองจอง ขอความและบทรอยกรองที่
ประกอบดวยคา พ้ืนฐานไมน อ ยกวา 800 คํา รวมทงั้ คําทเี่ รยี นรูในกลมุ สาระอืน่ ซึง่ ประกอบดว ยคําที่มีรูปวรรณยุกต
และไมมวี รรณยุกต คําท่ีมีตวั สะกดตรงตามมาตราและไมต รงตามมาตรา คาํ ควบกลํา้ อักษรนํา คําท่ีมีตัวการันต คํา
ท่มี ี รร คาํ ท่มี พี ยญั ชนะและสระท่ีไมออกเสียง อา นจับใจความจากนิทาน เรื่องเลาตํานานทองถิ่น บทเพลงพ้ืนบาน
บทรอยกรองเรื่องราวจากบทเรียน ขาวและเหตุการณประจําวนั เลือกอานหนังสือท่ีมีคุณคาและอานหนังสืออยาง
สมํ่าเสมอ มีมารยาทในการอานการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด ตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย เขียนเรื่อง
สั้นๆ เก่ียวกับประสบการณ เขียนเร่ืองจากจินตนาการ มารยาทในการเขียน การฟงและปฏิบัติตามคําแนะนําพูด
แสดงความคิดเห็น ความรูสึกจากเรื่องท่ีฟงและดู ทั้งที่เปนสารคดีและบันเทิงคดี เชน เร่ืองเลา สารคดีสําหรับเด็ก
นิทาน การตูนและเร่ืองขบขัน รายกายสําหรับเด็ก ขาวและเหตุการณประจําวัน เพลง การพูดส่ือสารใน
ชีวติ ประจําวัน เชน การแนะนําตนเอง การขอความชวยเหลือ การกลาวคําขอบคุณ และการกลาวคําขอโทษ การ
พูดขอรองในโอกาสตางๆ การเลาประสบการณในชีวิต มีมารยาทการฟง การดูและการพูด การบอกและเขียน
พยัญชนะ สระและวรรณยุกต เขียนเลขไทย เขียนสะกดคํา และบอกความหมายของคํา การสะกดคําการแจกลูก
และการอานเปนคํา คําทม่ี ตี ัวสะกดตรงตามมาตราและไมต รงตามมาตรา การผันอกั ษรกลาง อักษรสูงและอักษรต่ํา
คําท่มี ีตวั การันต คําควบกลํ้า คําท่ีมีอักษรนํา คําท่ีมีความหมายตรงกันขาม คําท่ีมี รร ความหมายของคํา การแตง
ประโยค เรียบเรียงประโยค คําคลองจอง ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถิ่น วรรณคดี และวรรณกรรมขอคิดที่ไดจาก
การอานและการฟง วรรณกรรมสําหรับเด็ก เชน นิทาน เรื่องสั้นงายๆ ปริศนาคําทาย บทอาขยาน บทรอยกรอง
วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียนและศึกษาหาความรูเพิ่มเติมเก่ียวกับประชาคมอาเซียน สามรถใชส่ือ ICT ได
เหมาะสมตามวัย

โดยใชทักษะกระบวนการอาน กระบวนการคิดวิเคราะห การตั้งคําถาม การสังเกต การสนทนา ทักษะ
การปฏิบัติการตรวจผลงาน กระบวนการฟง ดู พูด การเลาเรื่อง การแสดงความคิดเห็น การสรุปใจความ การคิด
อยา งมีวจิ ารณญาณ กระบวนการกลมุ

เพ่ือใหผูเรียนเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถนําเสนอผลงาน สามารถปฏิบัติตาม คําแนะนํา
สามารถตัดสินใจรูจักการประเมินคา ใฝรูใฝเรียน อานคลอง เขียนคลอง ลายมือสวย มีความรับผิดชอบรักความ
เปนไทย มคี ุณธรรมจรยิ ธรรม ปฏบิ ตั ิตนตามคณุ ลักษณะอันพึงประสงค อัตลกั ษณข องสถานศึกษา เคารพในระบบ
ประชาธปิ ไตย รกั และเหน็ คุณคา ของภาษาไทย นาํ ความรูไ ปประยกุ ตใ ชในการส่ือสาร และใชชีวิตในสังคมไดอยาง
มีความสขุ ยดึ หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ นการดําเนนิ ชวี ติ ไดอยางเหมาะสม

๑๘

รหสั ตวั ช้ีวดั
ท ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ท ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ท ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗
ท ๔.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕
ท ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓

รวมท้ังหมด ๒๗ ตัวชวี้ ดั

๑๙

ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ คําอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน กลมุ สาระการเรยี นรูภ าษาไทย

ชั้นประถมศึกษาปที่ ๓ เวลา ๒๐๐ ชัว่ โมง
...................................................................................................................................................................................

ศึกษาการอานออกเสียงบทรอยแกว อธิบายความหมายของคํา ขอความ เรื่องส้ัน บทรอยกรอง
การอานจับใจความ การตั้งคําถาม ตอบคําถาม การเรียงลําดับเหตุการณ การคาดคะเนเหตุการณ สรุปความรู
ขอคิด การนําเสนอการเลือกอานหนังสือ การระบุขอเขียนอธิบายความหมายขอมูลจากแผนภาพ แผนที่ แผนภูมิ
การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด การเขียนบรรยายภาพ การเขียนบันทึก การเขียนจดหมายลาครู การเขียน
เร่ืองตามจินตนาการ การจับใจความสําคัญท่ีไดฟงไดดู พูดเลาเร่ือง การเลานิทาน การพูดแสดงความคิดเห็น
พดู สอ่ื สาร การเขยี นสะกดคํา การอธบิ ายความหมายของคาํ ระบุชนิดและหนา ท่ขี องคาํ เรยี นรูคําพ้ืนฐานไมนอยกวา
1,200 คาํ การใชพ จนานุกรม การแตง ประโยค เพื่อการสื่อสาร การแตงคําคลองจองและคําขวัญ สามารถใชภาษา
มาตรฐาน และภาษาถิ่นในการสื่อสาร อานนิทาน เรื่องส้ัน สารคดี บทความ เพลงพื้นบาน เพลงกลอมเด็ก
วรรณคดี วรรณกรรมในบทเรียน บทอาขยานและบทรอยกรองท่ีมีคุณคาศึกษาหาความรูดานประชาคมอาเซียน
ดําเนินชวี ิตตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ใช ICT ไดเหมาะสมตามวยั

โดยใชกระบวนการอาน สรางความรู ความคิด อานออกเสียง อธิบายความหมาย อานจับใจความ
ต้ังคําถามตอบคําถาม ลําดับเหตุการณ คาดคะเนเหตุการณ จากเร่ืองท่ีอาน สรุปความรู ขอคิด อานหนังสือ
ตามความสนใจ อานขอเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติตามคําส่ังหรือขอแนะนํา อานอธิบายความหมายขอมูลจาก
แผนภาพ แผนท่ี และแผนภูมิ มีมารยาทในการเขียน เขียนจดหมายลาครู เขียนเร่ืองตามจินตนาการ จับใจความ
พูดเลาเรื่องท่ีฟง บอกสาระสําคัญ ตั้งคําถามตอบคําถามเร่ืองท่ีฟงและดู พูดแสดงความคิดเห็นและความรูสึก
พูดสื่อสาร มารยาทในการฟงการดู การพูดเขียนสะกดคําและบอกความหมายของคํา ระบุชนิดและหนาที่ของ
คําในประโยค ใชพจนานุกรม คนหาความหมายของคําแตงประโยคเพื่อการส่ือสาร แตงคําคลองจอง คําขวัญ
เลอื กใชภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่น ระบุขอคิดจากการอานวรรณกรรม และเพลงพ้ืนบาน รูจักเพลงพื้นบาน
เพลงกลอมเด็ก โดยอาศัยภูมิปญญาทองถ่ินแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดีทองจําบทอาขยาน ตามที่กําหนด
และบทรอ ยกรองท่ีมีคุณคาตามความสนใจ

เพื่อใหผูเรียนเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ พัฒนาการเรียนรูของตนเองตามศักยภาพเห็นคุณคา
รักการอาน มีมารยาทในการอาน มีมารยาทในการเขียน รักการเขียน มีมารยาทในการฟง การดู การพูดมีเหตุผล
คิดวิเคราะห เขียนสื่อความ การนําไปใชในชีวิตประจําวัน อานคลองเขียนคลอง ลายมือสวยใชภาษาไทยเปน
เคร่ืองมือในการหาความรู การดํารงชีวิตในสังคม การอยูรวมกัน ปฏิบัติตามขอตกลงของโรงเรียนและทองถิ่น มี
คุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค และปฏิบัติตนตามอัตลักษณของสถานศึกษา รักและหวงแหนใน
ระบอบประชาธิปไตย เห็นคุณคาของภาษาไทย สามารถนําความรูท่ีไดไปสรางสรรคช้ินงานและนําไปประยุกตใช
ในชีวติ ประจําวัน

๒๐

รหสั ตัวช้ีวัด
ท ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙
ท ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔

รวมท้ังหมด ๓๑ ตวั ชี้วดั

๒๑

ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ คาํ อธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน กลุม สาระการเรียนรภู าษาไทย

ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๔ เวลา ๑๖๐ ชวั่ โมง
...................................................................................................................................................................................

ศึกษาการอานออกเสียงบทรอยแกวบทรอยกรอง การอานทํานองเสนาะไดถูกตอง อธิบายความหมาย
ของคําประโยค สํานวนจากเรื่องที่อาน การจับใจความจากเรื่องที่อาน การอานหนังสือตามความสนใจและ
เหมาะสมกับวยั มารยาทการอา น การคดั ลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทดั และคร่ึงบรรทัด การเขียนคําขวัญ คําแนะนํา
แผนภาพโครงเรื่อง แผนภาพความคิด การเขียนยอความ จดหมายถึงเพ่ือน จดหมายถึงบิดามารดา การเขียน
บันทึก การเขียนรายงานจากการศึกษาคนควา การเขียนเร่ืองจากจินตนาการ มารยาทการเขียนการจําแนก
ขอ เท็จจรงิ และขอคิดเหน็ จากเรือ่ งที่ฟง การจับใจความ การพูดแสดงความรู ความคิด จากเรื่องท่ีฟงและดู การพูด
รายงาน มารยาทการฟง การดแู ละการพดู การสะกดคํา ชนดิ และหนา ที่ของคําในประโยค การใชพจนานุกรม การ
แตงประโยคไดถูกตองตามหลักภาษา การแตงบทรอยกรองและคําขวัญ การเปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับ
ภาษาถ่ิน สามารถใชภาษาของประเทศสมาชิกอาเซียน สื่อสารประโยคงายๆ วรรณคดีและวรรณกรรม เพลง
พ้ืนบา น ตาํ นานทองถน่ิ การทองจาํ บทอาขยานท่ีกําหนดให

โดยใชทักษะกระบวนการอานสรางความรู ความคิด อานออกเสียงอธิบายความหมายของคํา ประโยค
สาํ นวน อานจบั ใจความ แยกขอ เท็จจรงิ ขอคิดเห็น คาดคะเนเหตุการณเร่ืองท่ีอาน สรุปความรู ขอคิดอานหนังสือ
ที่มีคุณคา มีมารยาทในการอาน รักการอาน คัดลายมือ เขียนสื่อสารเขียนแผนภาพโครงเรื่อง แผนภาพความคิด
เขียนยอความ เขียนจดหมาย เขียนบันทึก เขียนเร่ืองตามจินตนาการ จําแนกขอเท็จจริงพูดสรุปความจับใจความ
พูดแสดงความรู ตั้งคําถามและตอบคําถามพูดรายงาน สะกดคํา บอกความหมายระบุชนิดและหนาที่ของคําใน
ประโยค การใชพจนานุกรม แตงประโยค แตงกลอนส่ี คําขวัญ บอกความหมายของสํานวน เปรียบเทียบ ระบุ
ขอคิด อธิบายขอคิดรองเพลงพื้นบาน ทองอาขยานและบทรอยกรอง กระบวนการแกปญหาใชทักษะสืบคนจาก
ICT กระบวนการคิด การปฏิบัติ กระบวนการกลุม การสื่อความและกระบวนการเรียนรูอ่ืนๆท่ีหลากหลาย การ
สอบแบบโครงงาน การใชส ือ่ อเิ ล็กทรอนกิ ส

เพ่ือใหผเู รียนเกิดความรูความคิดความเขาใจพัฒนาการเรียนรูของตนเองตามศักยภาพสามารถนําเสนอ
ผลการเรียนรูของตนเองดวยความเชื่อมั่นอยางมีเหตุผลเห็นคุณคารักการอานนําภาษาไทยไปใชอยางถูกตองอาน
คลองเขียนคลองลายมือสวยใชภาษาไทยเปนเครื่องมือในการหาความรูการดํารงชีวิตในสังคมปฏิบัติตนเปน
พลเมืองท่ีดีปฏิบัติตามขอตกลงของโรงเรียนและทองถิ่นมีมารยาทในการอานการฟงการดูการพูดการเขียนมี
คณุ ธรรมจริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงคปฏิบัติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนําความรูที่ได
ไปสรา งสรรคช้นิ งานและนําไปประยกุ ตใ ชใ นชีวติ ประจาํ วนั รกั ษแ ละภูมใิ จในภมู ิปญ ญาทางภาษาของคนไทย

๒๒

รหัสตัวช้ีวดั
ท ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ท ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ท ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖
ท ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗
ท ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔

รวมทั้งหมด ๓๓ ตวั ชีว้ ัด

๒๓

ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ คาํ อธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน กลุม สาระการเรยี นรภู าษาไทย

ช้ันประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ เวลา ๑๖๐ ชวั่ โมง
...................................................................................................................................................................................

ศึกษาการอานออกเสียงและการบอกความหมายของบทรอยแกวและบทรอยกรองอานทํานองเสนาะ
และอานเร่ืองที่ประกอบดวยคําท่ีมีพยัญชนะควบกลํ้า คําท่ีมีอักษรนํา คําที่มีตัวการันต อักษรยอและเคร่ืองหมาย
วรรคตอน ขอความที่เปนการบรรยายและพรรณนา ขอความที่มีความหมายโดยนัย การอานบทรอยกรองเปน
ทํานองเสนาะ การอา นจบั ใจความจากสื่อตางๆ เชน วรรณคดีในบทเรียน บทความ บทโฆษณา งานเขียนประเภท
โนม นา วใจ ขา วและเหตุการณประจําวัน การอานงานเขียนเชิงอธิบาย คําส่ัง ขอแนะนํา และปฏิบัติตาม เชน การ
ใชพ จนานุกรม การใชว สั ดุอปุ กรณ การอานฉลากยา คูมือและเอกสารของโรงเรียนที่เกี่ยวของกับนักเรียน เอกสาร
ทางราชการ การอานหนังสือตามความสนใจและเหมาะสมกับวัย หนังสือท่ีครูและนักเรียนกําหนดรวมกัน มี
มารยาทในการอาน คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัดตามรูปแบบอักขระวิธีไทย เขียนสื่อสารโดยใช
คําไดถ ูกตอง ชดั เจนและเหมาะสม เชน คําขวัญ คําอวยพร คาํ แนะนาํ และคําอธิบายแสดงขั้นตอน การนําแผนภาพ
โครงเรื่องและแผนภาพความคิดไปพัฒนางานเขียน เขียนยอความจากส่ือตางๆ เชน นิทาน ความเรียงประเภท
ตางๆ ประกาศ แจงความ แถลงการณ จดหมาย คําสอน โอวาท คําปราศรัยการเขียนจดหมายถึงผูปกครองและ
ญาติ การเขียนแสดงความรูสึกและความคิดเห็นไดตรงตามเจตนา การกรอกแบบรายการ เชน ใบฝากเงินและใบ
ถอนเงิน ธนาณัติ แบบฝากสงพัสดุไปรษณียภัณฑ การเขียนเรื่องตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขียน สามารถ
จับใจความสําคัญและพูดแสดงความรู ความคิดในเรื่องที่ฟงและดูจากสื่อตางๆ เชน เร่ืองเลา บทความ ขาวและ
เหตุการณประจําวัน โฆษณา สื่ออิเล็กทรอนิกส การตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผลจากเร่ืองที่ฟงและดู การ
วิเคราะหความนาเชื่อถือจากเร่ืองท่ีฟงและดูในชีวิตประจําวัน การพูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ฟงและดูใน
ชีวิตประจําวัน การพูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาคนควาจากการฟง การดูและการสนทนา เชน การพูด
ลาํ ดบั ขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ิงาน การพูดลําดับเหตุการณ มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด สามรถระบุชนิดและ
หนาที่ของคําในประโยค ไดแก คําบุพบท คําสันธาน คําอุทาน การจําแนกสวนประกอบของประโยค การ
เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถ่ิน การใชคําราชาศัพทการบอกคําภาษาตางประเทศในภาษาไทย
สามารถใชภาษาประเทศในกลุมอาเซียนในการสื่อสารดวยประโยคงายๆ การแตงบทรอยกรองไดแก กาพยยานี
11 การใชสํานวนที่เปนคําพังเพยและสุภาษิต การสรุปเร่ืองจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมท่ีอาน เชน นิทาน
พื้นบาน นิทานคติธรรม เพลงพื้นบาน วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียนตามความสนใจ การนําความรูและ
ขอคิดจากการอานวรรณคดีและวรรณกรรมไปใชในชีวิตจริงการอธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรมการ
ทอ งจําบทอาขยานตามทกี่ ําหนดและบทรอ ยกรองทม่ี คี ุณคาตามความสนใจ

โดยใชทักษะการแสวงหาความรู การศึกษาดวยตนเอง เชนทักษะการสืบคนขอมูลจากแหลงความรู
ทักษะการอา น ทกั ษะการฟง การดู การพูด ทักษะการตั้งคําถาม ทักษะการจับใจความสําคัญ ทักษะการจดบันทึก
ทักษะการประมวลความรู การจัดทําผังความรูความคิด ทักษะการเขียน การอธิบายและการสรุป กระบวนการ
สรางความตระหนัก กระบวนการแกปญหากระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุม กระบวนการ
สรางคานิยมโดยเนนคานิยม 12 ประการ กระบวนการส่ือความ และกระบวนการเรียนรูอื่น ๆท่ีหลากหลายการ
สอบแบบโครงงาน การใชส่อื ICT

เพ่ือใหผูเรียนเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ เกิดพัฒนาการเรียนรูของตนเองตามศักยภาพสามารถ
นาํ เสนอผลการเรียนรูข องตนเอง ดว ยความเชอ่ื ม่นั อยางมีเหตุผล มีความตระหนักในคุณคาภาษาไทยรักการอาน มี
เจตคติที่ดีตอวิชาภาษาไทย นําภาษาไทยไปใชไดถูกตอง อานคลอง เขียนคลอง ลายมือสวย ภาษาไทยเปน
เครื่องมือในการแสวงหาความรู การดํารงชีวิตในสังคมไดอยางมีความสุข การอยูรวมกันการมีวินัยในการทํางาน

๒๔

รวมกันอยางเปน ระบบ รับผิดชอบตอตนเองสามารถปฏบิ ัตติ ามคําแนะนํา สามารถตัดสินใจรูจักการประเมินคา ใฝ
รูใฝเรียน รักความเปนไทย มีคุณธรรม ปฏิบัติตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง พรอมท้ังสามารถนําความรูท่ีไดไป
สรางสรรคช้ินงาน และนําไปประยกุ ตใ ชในชีวิตประจาํ วนั
รหัสตัวช้ีวดั

ท ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘
ท ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙
ท ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ท ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗
ท ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
รวมท้ังหมด ๓๓ ตัวช้ีวัด

๒๕

ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ คาํ อธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย

ชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ เวลา ๑๖๐ ช่วั โมง
...................................................................................................................................................................................

ศึกษาบทรอยแกวและบทรอยกรอง คํา ประโยค และขอความที่เปนโวหาร อานเรื่องสั้นๆอยาง
หลากหลาย งานเขยี นเชิงอธิบาย คาํ ส่งั ขอ แนะนาํ แผนผัง แผนท่ี แผนภูมิ กราฟ อานหนังสือตามความสนใจและ
อธิบายคุณคาที่ไดรับ มารยาทในการอาน เขียนตัวบรรจงเต็มบรรทัดครึ่งบรรทัด ใชคําเขียนแผนภาพโครงเร่ือง
และแผนภาพความคิด เขียนเรียงความ เขียนยอความ จดหมายสวนตัว แบบรายการ เขียนเร่ืองตามจินตนาการ
มารยาทในการเขียน พูดแสดงความเขาใจจุดประสงคของเร่ืองท่ีฟงและดู วิเคราะหความนาเชื่อถือ ส่ือโฆษณา
สาระสําคญั รายงานเรื่องทศ่ี กึ ษาคน ควา พดู โนมนา ว มมี ารยาทในการฟง การดูและการพูด ศึกษาชนิดและหนาที่
ของคํา ใชคําไดเหมาะสม ไดแกคําภาษาตางประเทศในภาษาไทย ประโยค กลอนสุภาพ สาระสําคัญ สํานวน คํา
พงั เพย สภุ าษิต แสดงความคดิ เหน็ บทอาขยานนิทานพน้ื บา นของวรรณคดแี ละวรรณกรรม

โดยใชทักษะและกระบวนการทางภาษาดานอานออกเสียง อานเร็ว อธิบาย แยกขอเท็จจริง ขอคิดเห็น
คัดลายมือ เขียนสื่อสาร กรอกแบบรายการ ฟง ดู พูด ตั้งคําถาม ตอบคําถาม วิเคราะห เปรียบเทียบการใช
รวบรวม บอก ระบุ แตง ทองจาํ

เพ่ือใหผูเรียนมีทักษะในการสื่อสาร มีมารยาทในดานการอาน การเขียน การฟง การดู และการพูด
และมีทักษะกระบวนการคิด ใฝเรียนรู ขยันหมั่นเพียร มุงมั่นในการทํางาน มีวินัยซื่อสัตยสุจริต รักชาติ ศาสน
กษตั รยิ  รกั ทอ งถ่นิ รกั ความเปนไทยภูมใิ จในความเปน ไทย สบื สานวฒั นธรรมไทย และมจี ติ สาธารณะ
รหสั ตวั ชี้วดั

ท ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ท ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ท ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ท ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ท ๕.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
รวมท้ังหมด ๓๔ ตัวช้วี ดั

๒๖

คาํ อธิบายรายวิชา
กลมุ สาระการเรียนรูคณติ ศาสตร

๒๗

ค๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร ๑ คําอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน กลุมสาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร

ช้นั ประถมศึกษาปท ่ี ๑ เวลา ๒๐๐ ชัว่ โมง
...................................................................................................................................................................................

ศึกษา ทักษะการคิดคํานวณและฝกแกปญหา จํานวนนับ ๑ ถึง ๑๐๐ และ ๐ บอกและแสดงจํานวนสิ่ง
ตาง ๆ ตามจํานวนท่ีกําหนด อานและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย การบอกอันดับที่หลัก คาของเลขโดดใน
แตละหลัก และเขียนแสดงจํานวนในรูปกระจาย เปรียบเทียบจํานวนนับไมเกิน ๑๐๐ และ ๐ โดยใช
เคร่ืองหมาย=≠ >< เรียงลําดับจํานวนต้ังแต ๓ ถึง ๕ จํานวน และหาคาของตัวไมทราบคาในประโยคสัญลักษณ
แสดงการบวก การลบ การแกโจทยปญหาการบวก การลบ ของจํานวนนับไมเกิน ๑๐๐ และ ๐ความยาวและ
นํ้าหนกั

โดยสรางโจทยปญหาพรอมท้ังแสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหาการบวก การลบ ของจํานวนนับไม
เกนิ ๑๐๐ และ ๐ระบุจํานวนที่หายไปในแบบรูปของจํานวนที่เพ่ิมข้ึนหรือลดลงทีละ๑ ทีละ ๑๐ รูปที่หายไปใน
แบบรูปซํ้าของรูปเรขาคณิตและรูปอ่ืน ๆ ที่สมาชิกใน แตละชุดท่ีซ้ํามี ๒ รูป วัดและเปรียบเทียบความยาวเปน
เซนติเมตร เปนเมตร นํ้าหนักเปนกิโลกรัมเปนขีด และใชหนวยท่ีไมใชหนวยมาตรฐาน จําแนกรูปสามเหล่ียม รูป
สี่เหล่ียม วงกลม วงรี ทรงสเ่ี หลย่ี มมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย ใชขอมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหา
คําตอบของโจทยป ญ หา เมอ่ื กาํ หนดรูป ๑ รปู แทน ๑ หนวย

เพ่ือใหสามารถนําประสบการณดานความรู ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ไดไปใชในการเรียนรูส่ิง
ตาง ๆ และใชใ นชวี ิตประจําวันอยา งสรางสรรค เหน็ คุณคาและมีเจตคติท่ีดีตอคณิตศาสตร สามารถทํางานไดอยาง
เปน ระบบ มรี ะเบียบ รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความคิดริเร่ิมสรางสรรคและมีความเช่ือมั่นใน
ตนเอง

รหสั ตัวชี้วัด
ค ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
ค ๑.๒ ป.๑/๑
ค ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ค ๒.๒ ป.๑/๑
ค ๓.๑ ป.๑/๑

รวมทั้งหมด ๑๐ ตัวชี้วัด

๒๘

ค๑๒๑๐๑ คณติ ศาสตร ๒ คําอธิบายรายวิชาพื้นฐาน กลุม สาระการเรยี นรูคณติ ศาสตร

ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๒ เวลา ๒๐๐ ช่วั โมง
...................................................................................................................................................................................

ศึกษาจํานวนของสิ่งตางๆ แสดงสิ่งตางๆ ตามจํานวนที่กําหนด อานและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลข
ไทย ตัวหนังสือแสดงจํานวนนับไมเกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ พรอมท้ังเปรียบเทียบจํานวนนับไมเกิน ๑,๐๐๐ และ ๐
โดยใชเคร่ืองหมาย = ≠ >< และเรียงลําดับจํานวนนับไมเกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ ตั้งแต ๓ ถึง ๕ จํานวนจาก
สถานการณตางๆ หาคาของตัวไมท ราบคา ในประโยคสญั ลักษณแ สดงการบวก และประโยคสัญลักษณแสดงการลบ
ของจํานวนนับไมเกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ หาคาของตัวไมทราบคาในประโยคสัญลักษณแสดงการคูณของจํานวน ๑
หลักกับจํานวนไมเกิน ๒ หลัก หาคาของตัวไมทราบคาในประโยคสัญลักษณแสดงการหารที่ตัวต้ังไมเกิน ๒ หลัก
ตัวหาร ๑ หลัก โดยท่ีผลหารมี ๑ หลักท้ังหารลงตัวและหารไมลงตัว และหาผลลัพธการบวก ลบ คูณ หารระคน
ของจํานวนนับไมเกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ จําแนกและบอกลักษณะของรูปหลายเหลี่ยมและวงกลม ใชขอมูลจาก
แผนภูมิรปู ภาพในการหาคําตอบของโจทยป ญหา เมอ่ื กําหนดรูป ๑ รูป แทน ๑ หนวย

โดยแสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหาเก่ียวกับเวลาที่มีหนวยเด่ียวและเปนหนวยเดียวกัน วัดและ
เปรียบเทียบความยาวเปนเมตรและเซนติเมตร และแสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหาการบวก การลบเก่ียวกับ
ความยาวท่ีมีหนวยเปนเมตรและเซนติเมตร วัดและเปรียบเทียบนํ้าหนักเปนกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด
พรอมทั้งแสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหาการบวก การลบเกี่ยวกับน้ําหนักที่มีหนวยเปนกิโลกรัมและกรัม
กิโลกรัมและขดี วดั และเปรยี บเทียบปริมาตรและความจุเปน ลติ ร

เพื่อใหสามารถนําประสบการณดานความรู และทักษะกระบวนการท่ีไดไปใชในการเรียนรูสิ่งตาง ๆ และ
ใชในชีวิตประจําวันอยางสรางสรรค เห็นคุณคาและมีเจตคติท่ีดีตอคณิตศาสตร สามารถทํางานไดอยางเปนระบบ
มีระเบียบ รอบคอบ มีความรบั ผดิ ชอบ มวี จิ ารณญาณ มคี วามคดิ ริเริ่มสรา งสรรคแ ละมคี วามเชื่อม่นั ในตนเอง

รหัสตัวชี้วัด
ค ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ค ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖
ค ๒.๒ ป.๒/๑
ค ๓.๑ ป.๒/๑

รวมทั้งหมด ๑๖ ตัวชว้ี ัด

๒๙

ค ๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร ๓ คาํ อธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน กลุมสาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร

ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๓ เวลา ๒๐๐ ช่วั โมง
...................................................................................................................................................................................

ศกึ ษาการอานและเขียนตวั เลขฮินดูอารบิกตัวเลขไทยและตัวหนังสือแสดงจํานวนนับไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐
และ ๐เปรียบเทียบและเรียงลําดับจํานวนนับไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ จากสถานการณตาง ๆ บอก อานและ
เขียนเศษสวนที่แสดงปริมาณส่ิงตาง ๆ และแสดงสิ่งตาง ๆ ตามเศษสวนท่ีกําหนด เปรียบเทียบเศษสวนท่ีตัวเศษ
เทากัน โดยที่ตัวเศษนอยกวาหรือเทากับตัวสวน หาคาของตัวไมทราบคาในประโยคสัญลักษณแสดงการบวกและ
การลบของจํานวนนับไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาคาของตัวไมทราบคาในประโยคสัญลักษณแสดงการคูณของ
จาํ นวน ๑ หลกั กับจํานวนไมเ กิน ๔ หลกั และจํานวน ๒ หลักกบั จาํ นวน ๒ หลัก หาคาของตวั ไมท ราบคาในประโยค
สัญลักษณแสดงการหารทต่ี ัวตั้งไมเกิน ๔ หลัก ตวั หาร ๑ หลกั และหาผลลัพธก ารบวก ลบ คูณ หารระคน

โดยแสดงวิธีการหาคําตอบของโจทยปญหา ๒ ข้ันตอนของจํานวนนับไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หา
ผลบวกและแสดงวธิ หี าคาํ ตอบของโจทยปญ หาการบวกของเศษสว นทม่ี ตี ัวสว นเทา กนั และผลบวกไมเกนิ ๑ และหา
ผลลบพรอมท้ังแสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหาการลบของเศษสวนที่มีตัวสวนเทากันระบุจํานวนที่หายไปใน
แบบรูปของจํานวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละเทา ๆ กัน แสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหาเก่ียวกับเงิน เวลาและ
ระยะเวลา เลือกใชเครื่องมือความยาวที่เหมาะสม วัดและบอกความยาวของสิ่งตาง ๆ เปนเซนติเมตรและ
มิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร คาดคะเนความยาวเปนเมตรและเปนเซนติเมตร เปรียบเทียบความยาวและแสดง
วิธีหาคําตอบของโจทยปญหาเก่ียวกับระหวางเซนติเมตรกับมิลลิเมตร เมตรกับเซนติเมตร กิโลเมตรกับเมตร จาก
สถานการณตาง ๆ เลือกใชเครื่องชั่งที่เหมาะสม วัดและบอกนํ้าหนักเปนกิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและกรัม
คาดคะเนนํ้าหนักเปนกิโลกรัมและเปนขีด เปรียบเทียบนํ้าหนักและแสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหาเกี่ยวกับ
น้ําหนักทม่ี หี นวยเปนกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตันกับกิโลกรัม จากสถานการณตาง ๆ เลือกใชเครื่องตวงที่เหมาะสม
วัดและเปรียบเทียบปริมาตร ความจุเปนลิตรและมิลลิลิตร คาดคะเนและแสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหา
เกี่ยวกับปริมาตรและความจุเปนลิตรและมิลลิเมตร ระบุรูปเรขาคณิตสองมิติท่ีมีแกนสมมาตรและจํานวนแกน
สมมาตร เขียนแผนภูมิรูปภาพและใชขอมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคําตอบของโจทยปญหา เขียนตารางทาง
เดยี วจากขอมูลทีเ่ ปนจํานวนนบั และใชข อ มูลจากตารางทางเดยี วในการหาคาํ ตอบของโจทยป ญหา

เพื่อใหส ามารถนาํ ประสบการณด านความรู ความคิด ทักษะและกระบวนการเห็นคุณคาและมีเจตคติท่ีดี
ตอคณิตศาสตร สามารถทํางานไดอยางเปนระบบ มีระเบียบ รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มี
ความคิดรเิ ริม่ สรา งสรรค
รหสั ตัวช้ีวัด

ค ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐, ป.๓/๑๑
ค ๑.๒ ป.๓/๑
ค ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐,

ป.๓/๑๑,ป.๓/๑๒, ป.๓/๑๓
ค ๒.๒ ป.๓/๑
ค ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒
รวมท้ังหมด ๒๘ ตัวช้วี ัด

๓๐

ค ๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร ๔ คําอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน กลุมสาระการเรยี นรูค ณติ ศาสตร

ช้นั ประถมศึกษาปท่ี ๔ เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง
...................................................................................................................................................................................

ศึกษา ฝกทักษะการอานและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิกตัวเลขไทยและตัวหนังสือแสดงจํานวนนับที่
มากกวา๑๐๐,๐๐๐พรอมทั้งเปรียบเทียบและเรียงลําดับจํานวนนับที่มากกวา๑๐๐,๐๐๐จากสถานการณตาง ๆ
บอก อานและเขียนเศษสวน จํานวนคละแสดงปริมาณส่ิงตาง ๆ และแสดงส่ิงตาง ๆ ตามเศษสวน จํานวนคละท่ี
กําหนด เปรียบเทียบ เรยี งลาํ ดบั เศษสวนและจาํ นวนคละท่ีตัวสวนตัวหนึ่งเปน พหูคูณของอีกตัวหนึ่ง อานและเขียน
ทศนิยมไมเกิน ๓ ตําแหนง แสดงปริมาณของส่ิงตาง ๆ ตามทศนิยมที่กําหนด เปรียบเทียบและเรียงลําดับทศนิยม
ไมเกิน ๓ ตําแหนง และประมาณผลลัพธของการบวก การลบการคูณ การหาร จากสถานการณตาง ๆ อยาง
สมเหตุสมผล หาคาของตัวไมทราบคาในประโยคสัญลักษณแสดงการบวก การลบของจํานวนนับท่ีมากกวา
๑๐๐,๐๐๐และ๐แสดงการคูณของจํานวนหลายหลัก๒จํานวนท่ีมีผลคูณไมเกิน๖หลักและแสดงการหารท่ีตัวต้ังไม
เกิน๖หลักตัวหารไมเกิน๒หลักหาผลลัพธการบวกลบคูณหารระคนของจํานวนนับและ๐แสดงวิธีหาคําตอบของ
โจทยปญหา ๒ ขั้นตอนของจํานวนนับที่มากกวา๑๐๐,๐๐๐และ๐ สรางโจทยปญหา ๒ ขั้นตอนของจํานวนนับ
และ ๐ พรอมทั้งหาคําตอบ หาคําตอบและแสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหาการบวก การลบของเศษสวนและ
จาํ นวนคละทต่ี วั สวนตัวหนง่ึ เปน พหคู ณู ของอกี ตวั หน่งึ หาผลบวก ผลลบของทศนิยมไมเกิน ๓ ตําแหนง และแสดง
วธิ หี าคําตอบของโจทยป ญหาการบวก การลบ ๒ ข้ันตอนของทศนิยมไมเกิน ๓ ตําแหนง

โดยแสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหาเก่ียวกับเวลา วัดและสรางมุมโดยใชโพรแทรกเตอรแสดงวิธีหา
คําตอบของโจทยป ญ หาเก่ียวกบั ความยาวรอบรูปและพ้ืนท่ีของรูปส่ีเหล่ียมมุมฉาก จําแนกชนิดของมุม บอกช่ือมุม
สวนประกอบของมุมและเขียนสัญลักษณแสดงมุม สรางรูปสี่เหล่ียมมุมฉากเมื่อกําหนดความยาวของดานและใช
ขอมลู จากแผนภมู แิ ทงตารางสองทางในการหาคําตอบของโจทยปญ หา

เพื่อใหมีความรูความเขาใจและความรูสึกเชิงจํานวนเก่ียวกับทศนิยม เศษสวน พรอมถึงตระหนักถึง
ความสมเหตุสมผลของคําตอบ เห็นคุณคาและมีเจตคติที่ดีตอคณิตศาสตร สามารถทํางานไดอยางเปนระบบ มี
ระเบยี บ รอบคอบ มีความรบั ผิดชอบ มีวจิ ารณญาณ มคี วามคดิ รเิ รมิ่ สรา งสรรค
รหสั ตวั ช้ีวดั

ค ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘, ป.๔/๙, ป.๔/๑๐, ป.๔/๑๑,
ป.๔/๑๒, ป.๔/๑๓, ป.๔/๑๔, ป.๔/๑๕, ป.๔/๑๖

ค ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ค ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒
ค ๓.๑ ป.๔/๑
รวมท้ังหมด ๒๒ ตัวช้วี ัด

๓๑

ค ๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร ๕ คําอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน กลมุ สาระการเรียนรูคณิตศาสตร

ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๕ เวลา ๑๖๐ ช่วั โมง
...................................................................................................................................................................................

ศึกษาการเขียนเศษสวนท่ีมีตัวสวนเปนตัวประกอบของ ๑๐ หรือ ๑๐๐ หรือ ๑,๐๐๐ ในรูปทศนิยม
แสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหาโดยใชบัญญัติไตรยางศ หาผลบวก ผลลบ ผลคูณ ผลหารของเศษสวนและ
จํานวนคละ แสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหาการบวก การลบ การคูณ การหารเศษสวน ๒ ขั้นตอน หาผลคูณ
ของทศนิยม ที่ผลคูณเปนทศนิยมไมเกิน ๓ ตําแหนง หาผลหารท่ีตัวตั้งเปนจํานวนนับหรือทศนิยมไมเกิน ๓
ตาํ แหนง และตวั หารเปนจํานวนนับ ผลหารเปนทศนยิ มไมเ กิน ๓ ตาํ แหนง แสดงวธิ ีหาคาํ ตอบของโจทยปญหาการ
บวก การลบ การคณู การหารทศนิยม ๒ ข้ันตอน และแสดงวธิ ีหาคําตอบของโจทยปญ หารอ ยละไมเกิน ๒ ขนั้ ตอน

โดยแสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหาเกี่ยวกับความยาว น้ําหนัก ที่มีการเปลี่ยนหนวยและเขียนในรูป
ทศนิยม แสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหาเก่ียวกับปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากและความจุของภาชนะทรง
ส่ีเหลย่ี มมมุ ฉาก ความยาวรอบรูปของรูปสเ่ี หล่ียมและพนื้ ท่ขี องรูปส่เี หลยี่ มดานขนานและรูปสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูน
สรางเสนตรงหรือสวนของเสนตรงใหขนานกับเสนตรงหรือสวนของเสนตรงที่กําหนดให จําแนกรูปสี่เหลี่ยมโดย
พิจารณาจากสมบัติของรูป สรางรูปส่ีเหล่ียมชนิดตาง ๆ เม่ือกําหนดความยาวของดานและขนาดของมุมหรือเมื่อ
กําหนดความยาวของเสนทแยงมุม และบอกลักษณะของปริซึมใชขอมูลจากกราฟเสนในการหาคําตอบของโจทย
ปญหา และเขียนแผนภูมิแทงจากขอ มูลที่เปน จาํ นวนนบั

เพ่อื ใหส ามารถนาํ ประสบการณดานความรู ทักษะและกระบวนการที่ไดไปใชในการเรียนรูสิ่งตาง ๆ เห็น
คุณคาและมีเจตคตทิ ่ีดีตอคณติ ศาสตร สามารถทํางานไดอ ยางเปนระบบ มีระเบียบ รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มี
วจิ ารณญาณ มีความคิดรเิ รมิ่ สรา งสรรคและมคี วามเช่ือม่ันในตนเอง

รหัสตัวช้ีวัด
ค ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙
ค ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ค ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ค ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒

รวมทั้งหมด ๑๙ ตัวชี้วดั

๓๒

ค ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร ๖ คําอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน กลมุ สาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร

ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๖ เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง
...................................................................................................................................................................................

ศกึ ษา เปรียบเทียบ เรียงลําดับเศษสวนและจํานวนคละจากสถานการณต าง ๆ เขยี นอัตราสวนแสดงการ
เปรียบเทียบปริมาณ ๒ ปริมาณจากขอความหรือสถานการณ โดยที่ปริมาณแตละปริมาณเปนจํานวนนับ หา
อัตราสวนท่ีเทากับอัตราสวนท่ีกําหนดให หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนนับไมเกิน ๓ จํานวน แสดงวิธีหา
คาํ ตอบของโจทยปญหาโดยใชความรูเกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. หาผลลัพธของการบวก ลบ คูณ หารระคนของ
เศษสวนและจํานวนคละ แสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหาเศษสวนและจํานวนคละ ๒– ๓ ข้ันตอน หาผลหาร
ของทศนิยมที่ตัวหารและผลหารเปนทศนิยมไมเกิน ๓ ตําแหนง แสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหาการบวก การ
ลบ การคูณ การหารทศนิยม ๓ ข้ันตอน แสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหาอัตราสวน ปญหารอยละ ๒– ๓
ขั้นตอน แสดงวิธีคดิ และหาคาํ ตอบของปญ หาเกีย่ วกบั แบบรูป

โดยแสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหาเกี่ยวกับปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติท่ีประกอบดวยทรง
สี่เหล่ียมมุมฉาก และแสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหาเก่ียวกับความยาวรอบรูปและพ้ืนที่ของรูปหลายเหล่ียม
ความยาวรอบรูปและพื้นท่ีของวงกลม จําแนกรูปสามเหลี่ยมโดยพิจารณาจากสมบัติของรูป สรางรูปสามเหล่ียม
เม่ือกําหนดความยาวของดานและขนาดของมุม บอกลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติชนิดตาง ๆ ระบุรูป
เรขาคณิตสามมิติท่ีประกอบจากรูปคล่ีและระบุรูปคล่ีของรูปเรขาคณิตสามมิติ ใชขอมูลจากแผนภูมิรูปวงกลมใน
การหาคําตอบของโจทยป ญหา

เพื่อให เห็นคุณคาและมีเจตคติที่ดีตอคณิตศาสตร สามารถทํางานไดอยางเปนระบบ มีระเบียบ
รอบคอบ มีความรบั ผดิ ชอบ มวี ิจารณญาณ มีความคดิ ริเร่มิ สรา งสรรคแ ละมีความเช่ือมัน่ ในตนเอง
รหัสตัวชี้วดั

ค ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙, ป.๖/๑๐, ป.๖/๑๑
ค ๑.๒ ป.๖/๑
ค ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ค ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
ค ๓.๑ ป.๖/๑
รวมทั้งหมด ๒๐ ตัวชีว้ ัด

๓๓

คําอธิบายรายวิชา

กลมุ สาระการเรียนรู

วทิ ยาศาสตรแลเทคโนโลยี

๓๔

คําอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน

ว๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ๑ กลุมสาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ ๑ เวลา 80 ชวั่ โมง

...................................................................................................................................................................................

ศึกษาการเรียนรูแบบนักวิทยาศาสตร ลักษณะ หนาท่ีและการดูแลรักษาสวนตางๆของรางกายมนุษย
ลักษณะและหนาท่ีของสวนตาง ๆ ของสัตวและพืชรอบตัว และสภาพแวดลอม ในบริเวณที่สัตวและพืชอาศัยอยู
ชนิดและสมบัติของวัสดุที่ใชทําวัตถุรอบตัว การเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนท่ีของเสียง ลักษณะของหิน และ
การมองเห็นดาวบนทองฟาในเวลากลางวัน และกลางคืน การแกปญหาโดยการลองผิดลองถูก การเปรียบเทียบ
การเขียนโปรแกรมอยางงายโดยใชซอฟตแวรหรือสื่อการใชงานอุปกรณเทคโนโลยีเบ้ืองตน การใชงานซอฟตแวร
เบอื้ งตน

โดยใชการสืบเสาะหาความรู สังเกต สํารวจตรวจสอบโดยใชเครื่องมืออยางงาย รวบรวมขอมูล บันทึก
และอธิบายผลการสํารวจตรวจสอบ เพ่ือใหเกิดความรูความเขาใจ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข้ัน
พื้นฐานและมีทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ ๒๑ในดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเบื้องตน
สามารถสือ่ สารส่งิ ที่เรยี นรู มคี วามคิดสรางสรรค สามารถทํางานรวมกับผูอื่น แสดงขั้นตอนการแกปญหาอยางงาย
เขียนโปรแกรมโดยใชสื่อ สรา ง จดั เก็บและเรียกใชไฟลต ามวัตถปุ ระสงค

เพื่อใหตระหนักถึงประโยชนของการใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการดํารงชีวิต ใช
เทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย ปฏิบัติตามขอตกลงในการใชงาน ดูแลรักษาอุปกรณและใชงานเทคโนโลยี
สารสนเทศอยา งเหมาะสม มจี ิตวทิ ยาศาสตร จรยิ ธรรม คุณธรรมและคานยิ มทเี่ หมาะสม

รหัสตัวชี้วดั
ว ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
ว ๑.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
ว ๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
ว ๒.๓ ป.๑/๑
ว ๓.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
ว ๓.๒ ป.๑/๑
ว ๔.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕

รวมทั้งหมด ๑๕ ตัวชวี้ ดั

๓๕

คําอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน
ว๑๒๑๐๑วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี กลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๒ เวลา ๘๐ชัว่ โมง

...............................................................................................................................................................................

ศกึ ษาการเรยี นรูแบบนกั วทิ ยาศาสตร ลักษณะของสิง่ มชี ีวติ และสง่ิ ไมม ีชวี ติ ความจําเปนของแสง และ

นํ้าตอการเจริญเติบโตของพืช วัฏจักรชีวิตของพืชดอก สมบัติการดูดซับน้ําของวัสดุและการนําไปใชประโยชน
สมบตั ิของวสั ดุทเ่ี กดิ จากการนําวัสดมุ าผสมกนั การเลอื กวัสดุมาใชทาํ วัตถตุ ามสมบัติของวัสดุ การนาํ วสั ดุที่ใชแลว
กลับมาใชใหม การเคล่ือนที่ของแสง การมองเห็นวัตถุ การปองกันอันตรายจากการมองวัตถุในบริเวณที่มีแสง
สวางไมเหมาะสม สวนประกอบและการจําแนกชนิดของดิน การใชประโยชนจากดิน การแสดงขั้นตอนการ

แกปญหา การตรวจหาขอผิดพลาดของโปรแกรม การใชงานซอฟตแวรเบื้องตน การจัดการไฟลและโฟลเดอร
การใชงานและดูแลรักษาอุปกรณคอมพิวเตอร เทคโนโลยีในชีวิตประจําวัน การใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยาง
ปลอดภัย

โดยใชการสืบเสาะหาความรู สังเกต จําแนกประเภท รวบรวมขอมูล บันทึก และอธิบายผลการ
สํารวจตรวจสอบ เพื่อใหเกิดความรูค วามเขาใจ มีทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพ้ืนฐานและมีทักษะการ
เรียนรูในศตวรรษท่ี ๒๑ ในดานการใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารเบ้ืองตน สามารถสอ่ื สารส่ิงที่เรียนรู มี
ความคิดสรางสรรค สามารถทํางานรวมกับผูอ่ืน แสดงข้ันตอนการแกปญหาอยางงาย เขียนโปรแกรมแบบมี

เงื่อนไขโดยใชบตั รคาํ สัง่ และตรวจหาขอผดิ พลาด ใชงานซอฟตแวร สราง จดั หมวดหมูไฟลและโฟลเดอร
เพื่อใหตระหนักถึงประโยชนของการใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการดํารงชีวิต

ตระหนักถึงความสําคัญของการปกปองขอมูลสวนตัว ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย ดูแลรักษาอุปกรณ
คอมพิวเตอร มีจิตวทิ ยาศาสตร จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคา นยิ มทีเ่ หมาะสม
รหัสตวั ชี้วดั

ว ๑.๒ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ , ป.๒/๓
ว ๑.๓ ป.๒/๑
ว ๒.๑ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ , ป.๒/๓ , ป.๒/๔
ว ๒.๓ ป.๒/๑ , ป.๒/๒
ว ๓.๒ ป.๒/๑ , ป.๒/๒
ว ๔.๒ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ , ป.๒/๓ , ป.๒/๔

รวมทั้งหมด ๑๖ ตัวช้วี ดั

๓๖

ว๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ๓ คําอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน
กลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๓ เวลา 80 ชวั่ โมง

...............................................................................................................................................................................

ศึกษาวิเคราะห บรรยายสิ่งท่ีจําเปนตอการดํารงชีวิต และการเจริญเติบโตของมนุษยและสัตว โดยใช
ขอมูลท่ีรวบรวมได การสรางแบบจําลองที่บรรยายวัฏจักรชีวิตของสัตวและเปรียบเทียบวัฏจักรชีวิตของสัตวบาง
ชนิด การประกอบวัตถุขึ้นจากชิ้นสวนยอย ๆ ซึ่งสามารถแยกออกจากกันไดและประกอบกันเปนวัตถุชิ้นใหมได
การเปลี่ยนแปลงของวัสดุเม่ือทําใหรอนขึ้นหรือทําใหเย็นลง โดยใชหลักฐานเชิงประจักษ ผลของแรงท่ีมีตอการ
เปลยี่ นแปลงการเคลือ่ นท่ขี องวัตถุจากแรงสัมผัสและแรงไมสัมผัสท่ีมีผลตอการเคลื่อนที่ของวัตถุ การใชการดึงดูด
กับแมเหลก็ ขัว้ แมเ หลก็ ผลท่ีเกิดขึ้นระหวางข้ัวแมเหล็กเม่ือนํามาเขาใกลกัน การเปลี่ยนพลังงานหน่ึงไปเปนอีก
พลังงานหนึ่ง การทํางานของเครื่องกําเนิดไฟฟา แหลงพลังงานในการผลิตไฟฟา การข้ึนและตก ของดวงอาทิตย
สาเหตุการเกิดปรากฏการณการข้ึนและตกของดวงอาทิตย การเกิดกลางวันกลางคืน และการกําหนดทิศ
สวนประกอบของอากาศ ความสําคัญของอากาศ และผลกระทบของมลพิษทางอากาศตอส่ิงมีชีวิตประโยชนและ
โทษของลม การเกิดลม ประโยชนของอาหาร น้ํา และอากาศ การดูแลตนเองและสัตวใหไดรับส่ิงเหลานี้อยาง
เหมาะสมคณุ คาของชีวิตสัตวโดยไมทําใหว ฏั จกั รชวี ิตของสัตวเ ปล่ียนแปลง ประโยชนและโทษของไฟฟา วิธีการใช
ไฟฟาอยางประหยัดและปลอดภัย ความสําคัญของดวงอาทิตย ประโยชนของดวงอาทิตยตอสิ่งมีชีวิต
ความสําคัญของอากาศการปฏบิ ตั ติ นในการลดการเกดิ มลพิษทางอากาศ

ศึกษาวิเคราะห การแสดงอัลกอริทึมในการทํางานหรือการแกปญหาอยางงายโดยใชภาพ สัญลักษณ
หรอื ขอความ การเขยี นโปรแกรมอยางงายโดยใชซอฟตแวรหรือส่ือ และตรวจหา ขอผิดพลาดของโปรแกรม การ
ใชอนิ เทอรเน็ตคน หาความรู การรวบรวม การประมวลผลและการนําเสนอขอมูลโดยใชซอฟแวรตามวัตถุประสงค
การใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา งปลอดภยั ปฏิบัตติ ามขอ ตกลงในการใช

โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การสืบเสาะหาความรู การสํารวจตรวจสอบ การสืบคนขอมูล
การระบุ การจําแนก การเปรยี บเทยี บ การพยากรณ แบบจําลอง การบรรยายและการอภิปรายเพื่อใหเกิดความรู
ความคดิ ความเขา ใจ สามารถสื่อสารสิง่ ทเ่ี รียนรู

เพ่ือใหมีความตระหนัก สามารถในการตัดสินใจ นําความรูไปใชประโยชนในชีวิตประจําวันมีจิตวิทยา
ศาสตร จริยธรรม คณุ ธรรมและคานิยมท่เี หมาะสม

๓๗

รหสั ตวั ช้ีวัด
ว ๑.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔
ว ๒.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒
ว ๒.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒, ป.๓/๓ , ป.๓/๔
ว ๒.๓ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ว ๓.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ว ๓.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔
ว ๔.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔ , ป.๓/๕

รวมท้ังหมด ๒๕ ตวั ชี้วดั

๓๘

คาํ อธิบายรายวชิ าพื้นฐาน
ว๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ๔ กลมุ สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี ๔ เวลา 120 ช่ัวโมง

...............................................................................................................................................................................

ศึกษาการเรยี นรูแ บบนักวทิ ยาศาสตร การจําแนกสงิ่ มีชวี ิตเปน กลุมพืช กลุมสัตว และกลุมที่ไมใชพืชและ
สัตว การจําแนกพืชออกเปนพืชดอกและพืชไมมีดอก การจําแนกสัตวออกเปนสัตวมีกระดูกสันหลังและสัตวไมมี
กระดูกสันหลัง ลักษณะเฉพาะของสัตวมีกระดูกสันหลังในกลุมปลากลุมสัตวสะเทินน้ําสะเทินบก กลุม
สตั วเ ล้ือยคลาน กลมุ นก และกลุม สัตวเลี้ยงลูกดว ยนาํ้ นม หนา ท่ีของราก ลาํ ตน ใบและดอกของพืชดอก สมบัติทาง
กายภาพ ดา นความแขง็ สภาพยดื หยุน การนาํ ความรอน และการนําไฟฟาของวัสดุ การนําสมบัติทางกายภาพของ
วัสดุไปใชในชีวิตประจําวัน สมบัติของสสารท้ัง ๓ สถานะ ผลของแรงโนมถวงที่มีตอวัตถุ การวัดน้ําหนักของวัตถุ
มวลของวัตถุท่ีมีผลตอการเปลี่ยนแปลงการเคล่ือนที่ของวัตถุ และตัวกลางของแสง การขึ้นและตกและรูปรางดวง
จันทรและองคประกอบของระบบสุรยิ ะ การใชเ หตผุ ลเชงิ ตรรกะในการแกปญหา การออกแบบและเขียนโปรแกรม
อยางงาย การตรวจหาขอผิดพลาดในโปรแกรม การคนหาขอมูลในอินเทอรเน็ตและการใชคําในการคนหา การ
ประเมินความนา เชอื่ ถอื ของขอ มลู การรวบรวม นาํ เสนอขอมลู และสารสนเทศ

โดยใชการสืบเสาะหาความรู ต้ังคําถาม คาดคะเนคําตอบหรือสรางสมมติฐาน วางแผนและสํารวจ
ตรวจสอบโดยใชเครื่องมืออุปกรณและเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเหมาะสม ประเมินความนาเชื่อถือของขอมูล รวม
รวมขอมูล ประมวลผลอยางงาย วิเคราะหขอมูล วิเคราะหผลและสรางทางเลือก นําเสนอขอมูล ลงความคิดเห็น
และสรปุ ผลการสํารวจตรวจสอบ เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและมีทักษะ
การเรียนรูในศตวรรษท่ี ๒๑ในดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเบื้องตน มีความคิดสรางสรรค
สามารถทํางานรวมกับผูอื่น ใชเหตุผลเชิงตรรกะในการแกปญหา และอธิบายการทํางานหรือคาดการผลลัพธจาก
ปญหาอยางงาย ออกแบบและเขียนโปรแกรม ตรวจหาขอผิดพลาดจากโปรแกรมของตนเองและผูอื่นเพื่อให
ตระหนักถึงคุณคาของความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรใน
การดํารงชีวิต สามารถส่ือสารอยางมีมารยาทและรูกาลเทศะ รูจักการปกปองขอมูลสวนตัว มีจิตวิทยาศาสตร
จรยิ ธรรม คุณธรรม และคานิยมท่ีเหมาะสม

๓๙

รหสั ตวั ช้ีวดั

ว ๑.๒ ป.๔/๑

ว ๑.๓ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
ว ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
ว ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ว 2.3 ป.๔/๑

ว ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ว ๔.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕
รวมท้ังหมด ๒๑ ตัวชี้วดั

๔๐

คาํ อธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน
ว๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ๕ กลมุ สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๕ เวลา ๑๒๐ ชวั่ โมง

...............................................................................................................................................................................

ศกึ ษาการเรียนรูแบบนักวิทยาศาสตร โครงสรางและลกั ษณะของสิ่งมีชีวติ ท่ีเหมาะสมในแตละแหลงท่ีอยู
ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิตและความสัมพันธระหวางส่ิงมีชีวิตกับส่ิงไมมีชีวิต การถายทอดลักษณะ
ทางพันธุกรรมของพืช สัตว และมนุษย การเปล่ียนสถานะของสสาร การละลายของสารในน้ํา การเปล่ียนแปลง
ทางเคมี การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไดและผันกลับไมได แรงลัพธ แรงเสียดทาน การไดยินเสียงผานตัวกลาง
ลกั ษณะและการเกดิ เสียงสูง เสยี งตํา่ เสยี งดัง และเสียงคอย ระดับเสียงและมลพษิ ทางเสยี ง ความแตกตางของดาว
เคราะหและดาวฤกษ การใชแผนท่ีดาว แบบรูปเสนทางการข้ึนและตกของกลุมดาวฤกษบนทองฟาในรอบป
ปรมิ าณนํา้ ในแตละแหลง ปรมิ าณนา้ํ ท่ีมนุษยสามารถนํามาใชได การใชน้ําอยางประหยัดและการอนุรักษนํ้าวัฏจักร
น้ํา กระบวนการเกิดเมฆ หมอก นํ้าคาง และน้ําคางแข็ง กระบวนการเกิดฝน หิมะและลูกเห็บ การใชเหตุผลเชิง
ตรรกะในการแกปญหา การเขียนรหัสลําลองเพ่ือแสดงวิธีแกปญหา การออกแบบ และการเขียนโปรแกรมแบบมี
เง่ือนไขและการทํางานแบบวนซํ้า การใชซอฟตแวรประมวลผลขอมูล การติดตอส่ือสารผานอินเทอรเน็ต การใช
อนิ เทอรเ น็ตคน หาขอมูลและการประเมนิ ความนาเช่ือถือของขอมูล อันตรายจากการใชงานและอาชญากรรมทาง
อนิ เทอรเนต็

โดยใชการสืบเสาะหาความรู สังเกต รวบรวมขอมูล จัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล สราง
แบบจําลอง และอธิบายผลการสํารวจตรวจสอบ เพ่ือใหเกิดความรูความเขาใจ มีทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตรขั้นพนื้ ฐานและทกั ษะการเรยี นรูในศตวรรษท่ี ๒๑ ในดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร
เบ้ืองตน สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู มีความคิดสรางสรรค สามารถทํางานรวมกับผูอ่ืน แสดงวิธีแกปญหาโดยใช
เหตุผลเชิงตรรกะ ใชรหัสลําลองแสดงวิธีการแกปญหาอยางเปนข้ันตอน ออกแบบ และเขียนโปรแกรมแบบมี
เงื่อนไขและการทํางานแบบวนซํ้า ตรวจหาขอผิดพลาดของโปรแกรม ใชซอฟตแวรชวยในการแกปญหา ใช
อนิ เทอรเนต็ ตดิ ตอ สอื่ สารและคน หาขอมูล แยกแยะขอ เทจ็ จริงกบั ขอ คิดเหน็ ประเมินความนา เช่อื ถอื ของขอ มูล

เพือ่ ใหตระหนักถงึ คุณคา ของความรทู างวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี และใชความรูและกระบวนการทาง
วิทยาศาสตรในการดํารงชีวิต ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัยและมีมารยาท มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม
คณุ ธรรม และคา นิยมทเ่ี หมาะสม

๔๑

รหสั ตัวช้ีวัด
ว ๑.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔
ว ๑.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ว ๒.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔
ว ๒.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔ , ป.๕/๕
ว ๒.๓ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔ , ป.๕/๕
ว ๓.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒
ว ๓.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔ , ป.๕/๕
ว ๔.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔ , ป.๕/๕

รวมท้ังหมด ๓๒ ตวั ชี้วดั

๔๒

คาํ อธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน

ว๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ๖ กลุม สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๖ เวลา ๑๒๐ ช่วั โมง

...............................................................................................................................................................................

ศึกษาคนควาสารอาหารและประโยชนของสารอาหารแตละประเภทจากอาหารที่ตนเองรับประทาน
การเลือกรับประทานอาหารใหไดสารอาหารครบถวนในสัดสวนท่ีเหมาะสมกับเพศและวัย รวมท้ังความปลอดภัย
ตอสุขภาพ ความสําคัญของสารอาหาร โดยการเลือกรับประทานอาหารท่ีมีสารอาหารครบถวนในสัดสวนที่
เหมาะสมกับเพศและวัย รวมทั้งปลอดภัยตอสุขภาพระบบยอยอาหาร และหนาท่ีของอวัยวะในระบบยอยอาหาร
รวมทั้งอธิบายการยอยอาหารและการดูดซึมสารอาหาร ความสําคัญของระบบยอยอาหาร แนวทางในการดูแล
รักษาอวัยวะในระบบยอยอาหารใหทํางานเปนปกติศึกษาการแยกสารผสมโดยการหยิบออก การรอน การใช
แมเ หล็กดึงดดู การรินออก การกรอง และการตกตะกอนวิธีแกปญหาในชีวิตประจําวันเกี่ยวกับการแยกสารการเกิด
และผลของแรงไฟฟาซึ่งเกิดจากวัตถุท่ีผานการขัดถู สวนประกอบของวงจรไฟฟาอยางงาย และตอวงจรไฟฟา
อยางงาย การตอเซลลไฟฟาแบบอนุกรม ประโยชนการตอเซลลไฟฟาแบบอนุกรมและการประยุกตใชใน
ชีวิตประจําวัน การตอหลอดไฟฟาแบบอนุกรมและแบบขนาน ประโยชน ขอจํากัด และการประยุกตใชใน
ชีวิตประจําวันของการตอหลอดไฟฟาแบบอนุกรมและแบบขนาน การเกิดเงามืดเงามัว รังสีของแสงแสดงการเกิด
เงามืดเงามัวศึกษาการเกิดและเปรียบเทียบปรากฏการณสุริยุปราคาและจันทรุปราคาพัฒนาการของเทคโนโลยี
อวกาศ การนําเทคโนโลยีอวกาศมาใชประโยชนในชีวิตประจําวัน การเกิดหินอัคนีหินตะกอน และหินแปร และวัฏ
จักรหินการใชประโยชนของหินและแรในชีวิตประจําวัน การเกิดซากดึกดําบรรพและสภาพแวดลอมในอดีตของ
ซากดกึ ดาํ บรรพ การเกิดลมบก ลมทะเลและมรสุม ผลท่ีมีตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอมผลของมรสุมตอการเกิดฤดู
ของประเทศไทย ผลกระทบของนํา้ ทว มการกัดเซาะชายฝง ดินถลม แผนดินไหว สึนามิผลกระทบของภัยธรรมชาติ
และธรณพี ิบัติภยั แนวทางในการเฝาระวังและปฏบิ ัติตนใหปลอดภัยจากภัยธรรมชาติและธรณพี ิบัติภัยที่อาจเกิดใน
ทองถิ่นการเกิดปรากฏการณเรือนกระจก และผลของปรากฏการณเรือนกระจกตอสิ่งมีชีวิต ผลกระทบของ
ปรากฏการณเรือนกระจก แนวทางการปฏิบัติตนเพ่ือลดกิจกรรมท่ีกอใหเกิดแกสเรือนกระจกศึกษาการใชเหตุผล
เชิงตรรกะในการอธิบายและออกแบบวิธีการแกปญหาท่ีพบในชีวิตประจําวัน การออกแบบและเขียนโปรแกรม
อยางงา ย

โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การออกแบบการทดลองและทดลองการระบุการสืบเสาะหา
ความรู การสํารวจตรวจสอบ การคาดคะเน การสืบคนขอมูล การสรางแบบจําลอง การอธิบาย การ
เปรยี บเทยี บการเขียนแผนภาพการบรรยายและการอภปิ ราย

เพือ่ ใหเ กิดความรู ความคดิ ความเขาใจ สามารถส่อื สารสง่ิ ที่เรยี นรแู กปญ หาในชีวติ ประจําวัน ตรวจหา
ขอผิดพลาดของโปรแกรมและแกไขการใชอินเทอรเน็ตในการคนหาขอมูลอยางมีประสิทธิภาพ การใชเทคโนโลยี
สารสนเทศทํางานรวมกันอยางปลอดภัย เขาใจสิทธิและหนาที่ของตน เคารพในสิทธิของผูอื่น แจงผูเก่ียวของเมื่อ
พบขอมูลหรือบคุ คลทไี่ มเ หมาะสม

๔๓

รหสั ตวั ช้ีวดั

ว ๑.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ , ป.๖/๔ , ป.๖/๕

ว ๒.๑ ป.๖/๑
ว ๒.๒ ป.๖/๑
ว ๒.๓ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ , ป.๖/๕ , ป.๖/๕ , ป.๖/๖ , ป.๖/๗ , ป.๖/๘
ว ๓.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒

ว ๓.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ , ป.๖/๕ , ป.๖/๕ , ป.๖/๖ , ป.๖/๗ , ป.๖/๘ , ป.๖/๙
ว ๔.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒, ป.๖/๓ , ป.๖/๔
รวมท้ังหมด ๓๐ ตัวชว้ี ดั

๔๔

คาํ อธิบายรายวิชา

กลุมสาระการเรยี นรู

สังคมศึกษา ศาสนาและ
วฒั นธรรม

๔๕

ส ๑๑๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนาฯ ๑ คําอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน กลุมสาระการเรยี นรสู งั คมศึกษาฯ

ชัน้ ประถมศึกษาปท ี่ ๑ เวลา 4๐ ช่ัวโมง
...............................................................................................................................................................................

ศึกษาคนควา รวบรวมขอมูล อภิปรายความหมาย ความสําคัญองคประกอบเบ้ืองตนของศาสนา
ประโยชน ประวัติ ศาสดาของศาสนาสรุปใจความสําคัญของคัมภีร ความคิดหลักของศาสนา สรุปหลักจริยธรรม
การบาํ เพญ็ ประโยชน วิธีปฏิบัติ การใชภาษาเกยี่ วกับศาสนพิธีพิธีกรรมในวันสําคัญ ฝกปฏิบัติการบริหารจิต การ
เจริญปญญาเบ้ืองตน เปรียบเทียบการทําความดี ปฏิบัติตนตามคําแนะนํา รวบรวมขั้นตอน ของศาสนพิธี
คุณลักษณะของการเปนพลเมืองดีในสังคมประชาธิปไตยมีความรับผิดชอบ ความซื่อสัตยความกลาหาญ ความ
เสียสละ การเคารพสิทธิและหนาที่ วัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่นการแกปญหาความขัดแยงในครอบครัว
กฎ กติกา ความหมาย ความสําคัญของรัฐธรรมนูญประโยชนของรายรับ-รายจาย ตนทุนผลประโยชนท่ีไดรับ
ทรัพยากรในทองถ่ินระบบเศรษฐกิจพอเพียง อาชีพของครอบครัวและชุมชน การซ้ือขายแลกเปลี่ยนสินคาและ
บริการในชวี ิตประจําวนั ลกั ษณะทางกายภาพของบาน โรงเรียน และชุมชน องคประกอบของ แผนผัง การเขียน
แผนท่ีเบื้องตนอยางงาย ทรัพยากรธรรมชาติการพ่ึงพาอาศัยซ่ึงกันและกัน ผลเสียการทําลายทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดลอมทางสังคมการสรางสรรค สิ่งแวดลอม การอนุรักษสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ และทางสังคมโดยใช
กระบวนการทางสงั คม กระบวนการสบื คน กระบวนการกลมุ และกระบวนการแกปญ หา

โดยจาํ แนกสง่ิ แวดลอ มรอบตวั ทเ่ี กดิ ขนึ้ เองตามธรรมชาติและท่ีมนุษยสรางข้ึนบอกสิ่งแวดลอมที่เกิดตาม
ธรรมชาติที่สงผลตอความเปนอยูของมนษุ ยสังเกตและเปรยี บเทียบการเปล่ียนแปลงของสิ่งแวดลอมเพื่อการปฏิบัติ
ตนอยางเหมาะสม มสี ว นรว มในการดูแลสิ่งแวดลอมท่ีบานและหองเรียนระบุความสัมพันธของตําแหนง ระยะ ทิศ
ของส่ิงตางๆใชแผนผงั แสดงตําแหนงของส่งิ ตางๆในหองเรยี น สังเกตและบอกการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศใน
รอบวนั

เพ่ือใหเกิดความรู ความเขาใจ สามารถนําไปปฏิบัติในการดําเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม มี
คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคในดานรกั ชาติ ศาสน กษตั ริย ซื่อสัตย มีวินัย ใฝเรียนรู รักความเปนไทย มีจิตสาธารณะ
สามารถดําเนินชีวิตอยางสันติสุขในสังคมไทย และสังคมโลกสามารถนําความรูไปใชใหเกิดประโยชนโดยใชหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและสามารถนําไปประยกุ ตใชก บั ชีวติ ประจําวนั ไดอยา งถกู ตองเหมาะสม
รหัสตัวชวี้ ดั

ส ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔
ส ๑.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓
ส ๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
ส ๒.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓
ส ๓.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓
ส ๓.๒ ป.๑/๑
ส ๕.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔
ส ๕.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓
รวมทง้ั หมด ๒๓ ตัวชี้วัด

๔๖

ส ๑๒๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนาฯ ๒ คาํ อธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน กลุมสาระการเรยี นรสู ังคมศึกษาฯ

ชนั้ ประถมศกึ ษาปที่ ๒ เวลา 4๐ ชั่วโมง
...............................................................................................................................................................................

ศึกษาคนควาสังเกต การรวบรวมขอมูล อภิปรายความหมาย ความสําคัญ องคประกอบเบ้ืองตนของ
ศาสนา ประวัติศาสนา ศาสดาของศาสนาคัมภีร และการใชภาษาของศาสนา รวบรวมหลักจริยธรรม การบําเพ็ญ
ประโยชนตอครอบครัวโรงเรียน และชุมชน หลักปฏิบัติการอยูรวมกันอยางเปนสุขศาสนพิธีและพิธีกรรมในวัน
สําคัญของศาสนา การบริหารจิต การเจริญปญญาเบื้องตนการทําความดีของบุคคลในครอบครัว และโรงเรียน
การปฏบิ ัติตนตามคาํ แนะนําเก่ียวกับศีลธรรมจริยธรรม คานิยมที่ดีงาม การเปนพลเมืองดี ในสังคมประชาธิปไตย
การยอมรับ การเคารพสิทธิ และหนาท่ีของตนเอง เปนสมาชิกที่ดีของครอบครัวสิทธิของบุคคลท่ีพึงไดรับการ
คุมครองการขัดเกลาของสังคม คานิยม ความเช่ือประเพณี วัฒนธรรม และภูมิปญญาของทองถ่ิน ความสัมพันธ
ของสมาชิกในครอบครัวบทบาทหนาที่ของตนเอง การแกปญหาความขัดแยง ขอตกลง กฎ กติกา ระเบียบใน
โรงเรียนความหมาย และความสําคัญของรัฐธรรมนูญ ประโยชนของรายรับ–รายจายของครอบครัวตัดสินใจเลือก
อยางเหมาะสม เศรษฐกิจพอเพียง อาชีพของชุมชน การซ้ือขายแลกเปลี่ยนสินคาและบริการ ประโยชนของ
ธนาคารภาษีท่ีเก่ียวของในชีวิตประจําวันลักษณะทางกายภาพ องคประกอบของแผนผังแผนท่ี ตําแหนง ระยะ
ทศิ ทาง ทรัพยากรธรรมชาติรคู ุณคาของธรรมชาติ การสรา งสรรคส่ิงแวดลอมทางสังคม การเปรียบเทียบประชากร
กับสิ่งแวดลอม การฝกสังเกตสิ่งตางๆรอบตัว โดยใชกระบวนการสังคม กระบวนการสืบคน กระบวนการ
กลุม กระบวนการแกป ญหา

โดยระบุสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติและท่ีมนุษยสรางข้ึน ซึ่งปรากฏระหวางบานกับโรงเรียนอธิบาย
ความสาํ คัญของสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติและที่มนุษยสรางข้ึนจําแนกและใชทรัพยากรธรรมชาติ ท่ีใชแลวไมหมด
ไป ท่ีใชแลวหมดไป และสรา งทดแทนขึน้ ใหมไดอ ยางคมุ คา อธิบายความสัมพันธระหวางฤดูกาลกับการดําเนินชีวิต
ของมนุษย มีสวนรวมในการจัดการส่ิงแวดลอมในโรงเรียนระบุตําแหนงและลักษณะทางกายภาพของส่ิงตางๆ ท่ี
ปรากฏในแผนผัง แผนท่ีรูปถาย และลูกโลก สังเกตและแสดงความสัมพันธระหวางโลกดวงอาทิตยและดวงจันทร
ท่ที ําใหเ กิดปรากฏการณ

เพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจ สามารถนําไปปฏิบัติในการดําเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม มี
คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคใ นดานรกั ชาติ ศาสน กษตั รยิ  ซื่อสัตย มีวินัย ใฝเรียนรู รักความเปนไทย มีจิตสาธารณะ
สามารถดําเนินชีวิตอยางสันติสุขในสังคมไทย และสังคมโลกสามารถนําความรูไปใชใหเกิดประโยชนโดยใชหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาํ ไปประยกุ ตใชก บั ชีวติ ประจําวนั ไดอยา งถกู ตองเหมาะสม


Click to View FlipBook Version