The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nongploy615, 2021-03-17 15:36:53

บทที่-1-2

บทที่-1-2

1

2

ชื่อโครงงาน สีน้ำจำกธรรมชำติ
ช่ือผู้จัดทาโครงงาน นางสาวทรรศนยี ์ เข่อื นแก้ว ม.5/4 เลขท่ี 33
ครูทป่ี รึกษา
ปี การศึกษา ดร.มนิสำ อุนำนนท์
2563

บทคัดย่อ

กำรทำสีน้ำจำกสีธรรมชำติเป็ นกิจกรรมที่มีควำมน่ำสนใจเป็นอยำ่ งยง่ิ เน่ืองจำกวธิ ีกำรทำง่ำย
เพยี งแค่มีวสั ดุอุปกรณ์ในกำรทำ ซ่ึงวตั ถุประสงคใ์ นกำรศึกษำคือ เพื่อใหท้ ุกคนไดใ้ ชส้ ีโดยปรำศจำก
สำรเคมีใหไ้ ดม้ ำกที่สุด ในกำรดำเนินกำร คณะผจู้ ดั ทำไดท้ ำกำรศึกษำสีน้ำจำกธรรมชำติ โดย
ระยะเวลำที่จดั ทำเริ่มตน้ จำก วนั ท่ี 15 กรกฎำคม 2563 ถึง วนั ท่ี 24 มีนำคม 2564

ผลกำรศึกษำพบวำ่ สีที่เรำเห็นหรือใชก้ นั อยทู่ ุกวนั ส่วนใหญค่ ือสีที่ถูกสร้ำงข้ึนมำ ท่ี
ผำ่ นกระบวนกำรตำ่ งๆ มีสำรเคมีเป็ นส่วนประกอบหลกั ทำใหอ้ ำจก่อให้เกิดอนั ตรำยต่อร่ำงกำย ส่วน
สีท่ีไดจ้ ำกจำกธรรมชำติน้นั ไมม่ ีโทษและอนั ตรำย พืชแตล่ ะชนิดจะมีสีท่ีเป็นเสน่ห์จำกธรรมชำติจึง
อยำกนำเสมอทำงเลือกใหมๆ่ ใหไ้ ดเ้ ลือกกนั นน่ั ก็คือกำรทำสีน้ำใชเ้ องจำกพืชธรรมชำติโดยที่ปลอดภยั
และไมเ่ ป็นอนั ตรำย

3

กติ ติกรรมประกาศ
กำรศึกษำโครงงำนเร่ืองวธิ ีทำสีน้ำจำกสีธรรมชำติ ฉบบั น้ีสำเร็จลุล่วงไปดว้ ยดี
เนื่องจำกไดร้ ับกำรช่วยเหลือดูแลเอำใจใส่เป็ นอยำ่ งดีจำกหลำยๆฝ่ ำย โดยเฉพำะคุณครูท่ีปรึกษำ
โครงงำน คุณครูวนิดำ บุญพิเชฐวงศท์ ่ีตรวจทำนใหค้ ำแนะนำในกำรแกไ้ ข ใหข้ อ้ เสนอแนะและ
ติดตำมควำมกำ้ วหนำ้ ในกำรดำเนินกำรทำโครงงำน คณะผจู้ ดั ทำรู้สึกซำบซ้ึงในควำมกรุณำของคุณครู
ท่ีปรึกษำเป็นอยำ่ งยง่ิ และขอขอบพระคุณเป็ นอยำ่ งสูงไว้ ณ โอกำสน้ี
สุดทำ้ ยน้ีขอขอบพระคุณผปู้ กครองที่กรุณำใหข้ อ้ มลู รวมท้งั สนบั สนุนวสั ดุอุปกรณ์
และใหก้ ำลงั ใจในกำรจดั ทำโครงงำนจนสำเร็จลุล่วงไปดว้ ยดี คณะผจู้ ดั ทำหวงั เป็นอยำ่ งยง่ิ วำ่ โครงงำน
เล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ตอ่ ผทู้ ี่สนใจ

คณะผู้จัดทา

สารบญั 4

เนือ้ หา หน้า
1
บทคดั ย่อ 2
กติ ติกรรมประกาศ 3
สารบญั 4
บทท่ี 1 บทนา 5
บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ทเี่ ก่ียวข้อง 8
บทที่ 3 วธิ กี ารดาเนินงาน 9
บทที่ 4 ผลการศึกษา 10
บทท่ี 5 สรปุ ผลและขอ้ เสนอแนะ 11
บรรณานกุ รม 12
ภาคผนวก 14
ประวัตผิ ้จู ัดทา

5

บทท่ี 1
บทนำ
ท่ีมำและควำมสำคัญ
สีทเ่ี ราเห็นหรือใช้กนั อยูท่ ุกวนั นี้ส่วนใหญค่ อื สที ่ีถูกสรา้ งขน้ึ มาจากฝีมอื มนษุ ย์ ท่ีผา่ น
กระบวนการต่างๆท่ีมาจากสารเคมเี ป็นสว่ นประกอบหลักทาใหอ้ าจก่อใหเ้ กดิ อนั ตรายต่อร่างกายในระยะ
ยาวกเ็ ป็นได้ ส่วนสีจากธรรมชาตินั้นไมม่ โี ทษและอนั ตรายต่อรา่ งกาย โดยพชื แต่ละชนดิ จะมกี ลน่ิ มีสที ี่
เป็นเสนห่ จ์ ากธรรมชาติจึงอยากนาเสมอทางเลือกใหม่ๆใหเ้ ราเลอื กน้ันคือการทาสนี า้ ใช้เองจากพชื
ธรรมชาตโิ ดยที่ปลอดภยั และไม่เป็นอนั ตราย
วตั ถุประสงค์
เพ่อื ใหท้ ุกคนได้ใช้สีโดยปราศจากสารเคมใี ห้ไดม้ ากทีส่ ดุ
สมมติฐำน
การใชส้ ที สี่ ามารถหาได้จากธรรมชาติ
ขอบเขตกำรศกึ ษำ
การทาสีนา้ จากสธี รรมชาติ
ระยะเวลำในกำรดำเนินกำร
วันที่ 15 กรกฎาคม 2563 - วันท่ี 24 มีนาคม 2564
ประโยชน์ที่คำดว่ำจะไดร้ บั
ได้รู้วิธกี ารทาสนี ้าจากธรรมชาติ และสามารถนามาประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจาวนั

6

บทท่ี2

เอกสำรและงำนวจิ ัยทเ่ี ก่ยี วข้อง

ในการจัดทาโครงงาน สีน้าจากธรรมชาติ นี้ผู้จัดทาได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยที่
เกี่ยวขอ้ ง และแบ่งรายละเอียดดงั หวั ข้อต่อไปนี้

1.ประวัตคิ วำมเป็นมำของสี

2.ทม่ี ำของสี

3.ประวัตขิ องสีนำ

1.ประวัตคิ วำมเป็นมำของสี

มนุษย์เร่ิมมีการใช้สีต้ังแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ มีท้ังการเขียนสีลงบนผนังถ้า ผนังหิน บน
พื้นผิวเครื่องปั้นดินเผา และที่อื่นๆภาพเขียนสีบนผนังถ้า(ROCK PAINTING) เร่ิม ทาต้ังแต่สมัยก่อน
ประวัติศาสตร์ในทวีปยุโรป โดยคนก่อนสมัยประวัติศาสตร์ในสมัยหินเก่าตอนปลาย ภาพเขียนสีท่ีมี
ชื่อเสียงในยุคนี้พบท่ีประเทศฝร่ังเศษและประเทศสเปนในประเทศ ไทย กรมศิลปากรได้สารวจพบ
ภาพเขียนสีสมัยก่อนประวัติศาสตร์บนผนังถ้า และ เพิงหินในที่ต่างๆ จะมีอายุระหว่าง 1500-4000 ปี
เป็นสมัยหินใหม่และยุคโลหะได้ค้นพบต้ังแต่ปี พ.ศ. 2465 คร้ังแรกพบบนผนังถ้าในอ่าวพังงา ต่อมาก็
ค้นพบอีกซ่ึงมีอยู่ทั่วไป เช่น จังหวัดกาญจนบุรี อุทัยธานี เป็นต้นสีท่ีเขียนบนผนังถ้าส่วนใหญ่เป็นสีแดง
นอกนั้นจะมีสีส้ม สีเลือดหมู สีเหลือง สีน้าตาล และสีดาสีบนเคร่ืองปั้นดินเผา ได้ค้นพบการเขียนลาย
ครั้งแรกท่ีบ้านเชียงจังหวัดอุดรธานีเมื่อปี พ.ศ.2510 สีท่ีเขียนเป็นสีแดงเป็นรูปลายก้านขดจิตกรรมฝา
ผนังตามวัดต่างๆสมัยสุโขทัยและอยุธยามีหลักฐานว่า ใช้สีในการเขียนภาพหลายสี แต่ก็อยู่ในวงจากัด
เพียง 4 สี คือ สดี า สขี าว สดี นิ แดง และสเี หลอื งในสมยั โบราณนน้ั ช่างเขียนจะเอาวัตถตุ ่างๆในธรรมชาติ
มาใช้เป็นสีสาหรับเขียนภาพ เช่น ดินหรือหินขาวใช้ทาสีขาว สีดาก็เอามาจากเขม่าไฟ หรือจากตัวหมึก
จนี เป็นชาติแรกท่ีพยายามค้นคว้าเรื่องสีธรรมชาติได้มากกว่าชาติอ่ืนๆ คือ ใช้หินนามาบดเป็นสีต่างๆ สี
เหลืองนามาจากยางไม้ รงหรอื รงทอง สคี รามก็นามาจากต้นไม้สว่ นใหญ่แล้วการคน้ คว้าเรอ่ื งสีกเ็ พอ่ื ท่ีจะ
นามาใช้ ย้อมผ้าต่างๆ ไม่นิยมเขียนภาพเพราะจีนมีคติในการเขียนภาพเพียงสีเดียว คือ สีดาโดยใช้หมึก
จีนเขยี น

2.ทม่ี ำของสี

สที ม่ี นษุ ย์ใชอ้ ยู่ทัว่ ไป ได้มาจาก

1. สสารที่มีอยู่ตามธรรมชาติ และนามาใช้โดยตรง หรือด้วยการสกัด ดัดแปลงบ้าง จากพืช สัตว์ ดิน
แรธ่ าตตุ า่ ง ๆ

2. สสารท่ีได้จากการสังเคราะห์ซ่ึงผลิตขึ้นโดยกระบวนการทางเคมี เป็นสารเคมีท่ีผลิตข้ึนเพื่อให้
สามารถนามาใช้ได้ สะดวกมากขึน้ ซึง่ เป็นสที เี่ ราใชอ้ ยูท่ วั่ ไปในปจั จบุ นั

7

3. แสง เป็นพลงั งานชนดิ เดยี วทใ่ี หส้ ี โดยอย่ใู นรปู ของรังสี (Ray) ทม่ี ีความเขม้ ของแสงอย่ใู นช่วงที่สายตา

มองเหน็ ได้

3.ประวตั ขิ องสนี ำ

เป็นท่ียอมรับกันว่า ชนชาติจีนรู้จักใช้สื่อสีน้าก่อนชาติใดในโลก ทั้งน้ีเพราะว่าสะดวกในการ
นาไปใช้เขียนตัวหนังสือตามลีลาพู่กัน ( Calligraphy ) หลักฐานพบต้ังแต่สมัยราชวงศ์ถังและพัฒนา
สูงสุดในสมยั ราชวงศ์ ซูง ( Tang Dynasty A.D. 618 – 907 ,Sung Dynasty A.D. 960 – 1127 )

เน่ืองจากชนชาติจนี ท่ีเช่ือกันว่า ธรรมชาติเป็นมารดาของสรรพส่ิง ดังนั้นการช่ืนชมและการสัมผัส
ธรรมชาติจึงกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตที่เสริมสร้างการรับรู แ้ ละการตอบสนองในเชิงรูปแบบศิลปะที่
อาศัยธรรมชาติเป็นพื้นฐาน ศิลปินจีนจึงนิยมใช้สื่อน้าเขียนบรรยายธรรมชาติ เพ่ือสนองความเช่ือ
ดงั กล่าว

สาหรับประเทศไทย ส่ือสนี ้าเม่ือมีการจัดการเรียนการสอนเป็นระบบขึ้นราวปี พ.ศ. 2456 เมือ่ ต้ัง
โรงเรียนเพาะช่างขึ้น ระยะแรก เป้าหมายสาคัญก็เพ่ือใช้สีน้าเสริมเติมแต่งการออกแบบสถาปัตยกรรม
ให้มีลักษณะบรรยากาศคล้าย ของจริง กล่าวอีกอย่างหน่ึง คือ การใช้สีน้าน้ัน เพ่ือการลงสีมิใช่เพ่ือการ
ระบายสี ( Coloring not paining )

ขณะเดียวกัน ศิลปินบางท่านพยายามใช้สีน้าในแง่ของการระบายสี ถ้าพิจารณาในแง่ของการ
เรียนการสอน สีน้ายังไม่มีระบบและวิธีการสอนแน่นอนตามแนวสากล ครศู ิลปะเป็นเพียงผุ้สั่งงาน ผู้จัด
หนุ่ แล้วให้นักเรียนแสวงหาด้วยตนเอง จึงส่งผลให้ การเรียนการฝึกฝนปฏิบัติส่อื วัสดุสีน้า ไมเ่ ป็นที่นิยม
มากนัก เป็นเพยี งความช่ืนชมทีร่ ู้จักกันในหมู่ศิลปินทีส่ นใจสีน้า และประกอบกับเจตคตทิ ป่ี ิดบังวธิ ีการใน
วชิ าชีพยังคงมีอยู่

สาหรับในวงการศิลปะตะวันตก สอ่ื สีน้าเริ่มมบี ทบาทและเป็นท่ีรู้จักกันนบั ต้ังแตส่ มัยฟื้นฟูเปน็ ต้น
มา โดยมีศิลปินชาวเยอรมัน ได้สนใจแสดงออกด้วยส่ือสีน้า ต่อมาจึงได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งสี
น้าคนแรก คือ ออลเบรท ดเู รอ ( Albrecht Durer 1471 – 1528 )

ตอ่ มาราวครสิ ตศตวรรษท่ี18 พอล แซนดบ์ ี ศิลปินชาวองั กฤษ ( Paul Sandby 1725-1809 ) ได้
ให้ความสนใจสีนา้ เป็นพเิ ศษ ได้นาสนี า้ เป็นส่ือในการสรา้ งสรรคบ์ รรยากาศอยา่ งดเี ยี่ยม จนได้รบั ฉายาว่า
เป็นบิดาแห่งอังกฤษ ทาให้ช่วงหลังน้ี เม่ือกล่าวถึงสีน้า มักนึกถึงศิลปินอังกฤษก่อนเสมอ เพราะเหตุว่า
ศลิ ปินอังกฤษสนใจและไดฝ้ ึก

ปฏิบัติกันอย่างสม่าเสมอ ทั้งยังได้รวบรวมหลักฐานไว้เป็นระบบตามลาดับ ตลอดจนอังกฤษได้
ผลติ วัสดุสนี า้ และอปุ กรณ์ในการเขยี นจาหนา่ ยเปน็ ท่รี ู้จักกันดที วั่ ไปในโลก

และสาเหตุท่ีทาให้สีน้าเป็นที่นิยมมากในอังกฤษอีกประการหน่ึงก็คือ คนอังกฤษสนใจธรรมชาติ
และบรรยากาศ ซึ่งความสนใจนี้ สีน้าตอบสนองเป็นรูปแบบได้อย่างดี ดังนั้น สีน้าจึงเปรียบเสมือนเป็น
สัญลกั ษณอ์ ยา่ งหนง่ึ ของอังกฤษ

8

สาหรับในปัจจุบันในบ้านเรา ส่ือสีน้าได้รบั การพัฒนาอีกหลังจากท่ีมีสถาบนั ศิลปะระดับปริญญาตรี เพิ่ม
มากขึ้น ตามมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนวิชาเอกศิลปะ นอกจากน้ีการจัดแสดงภาพที่จัดขึ้นโดยทางราชการ
ทางธนาคาร และกล่มุ ศลิ ปนิ ก็ใหค้ วามสาคัญของสอื่ ประเภทสนี า้ มาก

9

บทท่ี 3
วิธกี ำรดำเนนิ งำน

อุปกรณแ์ ละวัสดทุ ีใ่ ช้ในกำรทำ
1. เบกกงิ้ โซดา
2. น้าส้มสายชู
3. นา้ เชื่อมขา้ วโพด
4. น้าเชือ่ มขา้ วโพด
5. สีทไี่ ด้จากธรรมชาติ

ขันตอนกำรดำเนินงำน
1. ผ้ศู ึกษาร่วมกนั ประชุมวางแผนวิเคราะหต์ ามหวั ข้อวตั ถุประสงค์
2. ผู้ศึกษาร่วมกนั กาหนดขอบเขตการศึกษา
3. ศึกษาและเกบ็ รวบรวมข้อมูลเปน็ ข้ันตอนของการเกบ็ ข้อมลู ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั โครงงาน

เพ่ือมาวิเคราะห์และสรปุ เนื้อหาท่ีสาคัญทจ่ี ะนามาจัดทาโครงงาน
4. นาเสนอผลงานต่ออาจารย์ที่ปรกึ ษาเพ่ือรายงานผลการดาเนนิ งาน
5. จดั ทาคู่มือเพื่อใชส้ าหรับศึกษาและรายงานต่ออาจารยท์ ่ีปรึกษา

10

บทที่ ๔
ผลกำรศึกษำค้นคว้า

ผลจากการศกึ ษาค้นควา้ มผี ู้ตอบแบบสอบถามความคิดเห็นเกีย่ วกับสีนา้ จาก
ธรรมชาติปรากฏผลดังน้ี

ตำรำงท่ี1 ตำรำงแสดง ผู้ตอบแบบสอบถำม

ความพงึ พอใจ 54321 รวม
คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน
1.ผลติ ภณั ฑม์ รี าคาเหมาะสมกับคุณภาพ 45
ผลติ ภัณฑ์ 631- -
2.ความเขม้ ของสเี มอ่ื ระบายลงบน 39
กระดาษ 4231 -
3.ความคงทนของผลิตภณั ฑ์ 41
4.ความสะดวกสบายในการพกพา 433- - 44
5.การใชง้ านง่ายและเหมาะสม 46- - - 42
6.สีท่อี อกมาสวยงามเหมาะสม 442- - 45
7.ผลิตภณั ฑ์เหมาะสมหรือไม่ทจ่ี ะนา 631- - 42
จาหน่าย 5311 -

ตำรำงท่ี 2 ตำรำงแสดงคะแนนผู้ตอบแบบสอบถำม ค่าเฉล่ีย ค่า S.D
4.5 0.55
ความพึงพอใจ 3.9 0.51
1.ผลติ ภณั ฑม์ รี าคาเหมาะสมกับคุณภาพผลิตภณั ฑ์ 4.1 0.59
2.ความเข้มของสเี ม่ือระบายลงบนกระดาษ 4.4 0.56
3.ความคงทนของผลติ ภัณฑ์ 4.2 0.58
4.ความสะดวกสบายในการพกพา 4.5 0.55
5.การใชง้ านงา่ ยและเหมาะสม 4.2 0.58
6.สที ีอ่ อกมาสวยงามเหมาะสม
7.ผลิตภณั ฑเ์ หมาะสมหรือไม่ทีจ่ ะนาจาหนา่ ย

11

บทที่ 5
สรปุ ผลและข้อเสนอแนะ
จากการศกึ ษาสนี า้ จากธรรมชาตเิ พ่ือจัดทาโครงงานและเม่ือหลงั จากการศึกษาแล้วผูจ้ ดั ทาได้รบั
ความรูท่เี ปน็ ไปตามวตั ถุประสงค์เม่ือศึกษาแล้วสามารถสรุปผลการศกึ ษาไดด้ ังน้ี
สรปุ ผลกำรศกึ ษำ

1.ประวัติควำมเป็นมำของสี
มนุษย์เรมิ่ มกี ารใชส้ ตี ัง้ แต่สมัยก่อนประวตั ศิ าสตร์ มที งั้ การเขยี นสีลงบนผนังถา้ ผนังหิน บนพนื้ ผวิ

เครอ่ื งป้นั ดินเผา และท่ีอน่ื ๆ
2.ทมี่ ำของสี

สสารท่ีมีอยู่ตามธรรมชาติและนามาใช้โดยตรงหรือด้วยการสกัด ดัดแปลงบ้าง จากพืช สตั ว์ ดิน
แร่ธาตตุ า่ งๆ
3.ประวตั ขิ องสีนำ

เป็นที่ยอมรับกันว่า ชนชาติจีนรู้จักใช้ส่ือสีน้าก่อนชาติใดในโลก ทั้งนี้เพราะว่าสะดวกในการ
นาไปใช้เขียนตัวหนงั สือตามลีลาพ่กู นั

ขอ้ เสนอแนะ
1.นาโครงงานไปเผยแพรใ่ หค้ วามร้แู กบ่ ุคคลอื่นๆ
2.ปรับปรงุ แกไ้ ขในส่วนที่บกพรอ่ ง
3.นาวิธีทาสนี า้ จากธรรมชาตไิ ปพฒั นาใหไ้ ดว้ ิธที าทด่ี ที ่ีสุด
4.นาความรทู้ ่ีได้ไปต่อยอดในการเสรมิ สรา้ งอาชีพ

12

บรรณานุกรม

ตามศิลปิ นผู้แพ้สีเคมไี ปเกบ็ หิน ดนิ และดอกไม้มาทาสีธรรมชาติทสี่ ตูดโิ อ. (2562). [ออนไลน์].
จำก :

https://adaymagazine.com/ (สืบคน้ เม่ือวนั ที่ 18 ธนั วำคม 2563)
ทาสีจากธรรมชาตใิ ห้ลกู เล่น. (2559). [ออนไลน์]. จำก :

https://www.thelovelyair.com/homemade-watercolor-
paint/ (สืบคน้ เมื่อวนั ท่ี 18

ธนั วำคม 2563)
สีทเี่ กดิ จากธรรมชาติ. (2561). [ออนไลน์]. จำก : https://pbwatercolor.org/

(สืบคน้ เมื่อวนั ท่ี 18 ธนั วำคม 2563)

13

ภาคผนวก

ภำพ ก. วธิ ีและข้นั ตอนกำรทำ

14

15

ภำพ ข. วธิ ีกำรเผยแพร่ลงสู่ชุมชนโดยใช้ facebook

16

ภำพ ข. วธิ ีกำรเผยแพร่ลงสู่ชุมชนโดยใช้ facebook

ประวตั ผิ ู้จดั ทา

1. ช่ือ นำงสำวกญั ญำณฐั โคตะมี เลขท่ี 31 ช้ัน ม.5/4 ( เบบี๋ )
เบอร์โทร 0910535296

2. ช่ือ นำงสำวชมพนู ุท ปะสีละเตสังข์ เลขที่ 32 ช้ัน ม.5/4 ( ไทน์ )

เบอร์โทร 0822203155
3. ช่ือ นำงสำวทรรศนีย์ เขื่อนแกว้ เลขที่ 33 ช้ัน ม.5/4 ( พลอย )

เบอร์โทร 0868797600
4. ช่ือ นำงสำวสิรีฉตั ร สุวรรณโรจ์ เลขท่ี 44 ช้ัน ม.5/4 ( ไอซ์ )

เบอร์โทร 0952315326


Click to View FlipBook Version