The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sppunch.p, 2021-12-02 12:04:34

รายงานเรื่อง แนวทางการศึกษาการใช้ภาษากับผู้ป่วยโรคซึมเศร้า

รายงาน

รายงาน

เร่อื ง การศกึ ษาแนวทางการใชภ้ าษากบั ผู้ป่วยโรคซึมเศร้า

เสนอ
คุณครสู ายฝน โหจันทร์

จดั ทาโดย

นางสาวพลอย นาคะวนิชเวชสทิ ธ์ิ ชน้ั ม.๖/๒ เลขที่ ๕
นางสาวเพชรใส ผ่านชมภู ชนั้ ม.๖/๒ เลขที่ ๘
นางสาวนภสกรณ์ ภาประกอบ ชั้นม.๖/๒ เลขท่ี ๑๔
นางสาวนันทภทั ร์ กิจเจรญิ ชัน้ ม.๖/๒ เลขที่ ๑๕
นางสาวณภัทร รัตนบญุ บารมี ชั้นม.๖/๒ เลขท่ี ๑๗
นางสาวณัฐชืน่ ทพิ ย์ มะธปิ ไิ ข ชน้ั ม.๖/๒ เลขที่ ๒๐
นางสาวสาธติ า พันธ์รอด ชน้ั ม.๖/๒ เลขที่ ๒๕.

รายงานฉบบั นี้เปน็ ส่วนหนง่ึ ของรายวิชา ท๓๓๑๐๒
โรงเรยี นมารียอ์ ุปถมั ภ์

ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔

รายงาน

เรือ่ ง การศกึ ษาแนวทางการใช้ภาษากบั ผูป้ ว่ ยโรคซึมเศร้า

เสนอ
คุณครสู ายฝน โหจนั ทร์

จดั ทาโดย

นางสาวพลอย นาคะวนิชเวชสทิ ธ์ิ ชน้ั ม.๖/๒ เลขที่ ๕
นางสาวเพชรใส ผ่านชมภู ชั้นม.๖/๒ เลขที่ ๘
นางสาวนภสกรณ์ ภาประกอบ ชั้นม.๖/๒ เลขท่ี ๑๔
นางสาวนันทภทั ร์ กิจเจรญิ ชนั้ ม.๖/๒ เลขท่ี ๑๕
นางสาวณภทั ร รัตนบญุ บารมี ช้ันม.๖/๒ เลขท่ี ๑๗
นางสาวณฐั ช่นื ทพิ ย์ มะธปิ ิไข ชน้ั ม.๖/๒ เลขท่ี ๒๐
นางสาวสาธติ า พันธร์ อด ชน้ั ม.๖/๒ เลขที่ ๒๕.

รายงานฉบบั นีเ้ ปน็ ส่วนหน่งึ ของรายวิชา ท๓๓๑๐๒
โรงเรียนมารีย์อุปถมั ภ์

ภาคเรยี นที่ ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔

คานา

รายงานเรื่อง การศึกษาแนวทางการใช้ภาษากับผู้ป่วยโรคซึมเศร้า เป็นรายงานส่วนหน่ึง
ของวิชาภาษาไทยพืน้ ฐาน (ท๓๓๑๐๒) ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ
ศึกษาแนวทางการใช้ภาษาในการสื่อสารกับผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ซ่ึงการส่ือสารกับผู้ป่วยโรคซึมเศร้า
นัน้ เป็นเร่ืองท่ีต้องระวังเพื่อไม่ใหไ้ ปกระทบจิตใจของผู้ป่วย ดังนั้นทางคณะผู้จัดทาได้เห็นวา่ การใช้
ภาษาในการส่ือสารกับผู้ปว่ ยโรคซึมเศรา้ น้ันเปน็ สิ่งทสี่ าคัญและควรใสใ่ จเปน็ อย่างยิ่ง จึงจัดรายงาน
นี้ขึ้นมาโดยทางคณะผู้จัดทาได้ศึกษาค้นคว้า ตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับโรคซึมเศร้า
อย่างต้ังใจ จนสาเรจ็ เป็นรายงานเพอ่ื เผยแพร่ใหก้ ับผ้อู ่าน

คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า รายงานเล่มน้ีท่ีได้เรียบเรียงมาจะทาให้ผู้อ่านเข้าใจ
เก่ียวกับโรคซึมเศร้าหรือโรคทางจิตเวชอย่างมากข้ึน และเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านหรือผู้ท่ีสนใจ
ศึกษาเพื่อสามารถนาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดผลท่ีดีมากที่สุด หากมีส่ิงใดในรายงานฉบับน้ีจะต้อง
ปรบั ปรงุ ทางคณะผูจ้ ดั ทาน้อมรับคาชแ้ี นะและจะนาไปแก้ไขหรอื พฒั นาใหถ้ ูกตอ้ งสมบูรณต์ อ่ ไป

คณะผู้จัดทา

๔ / ๑๑ / ๒๕๖๔

สารบัญ หน้า

เรอ่ื ง ก

คานา ๑

สารบัญ
๑๖
บทนา
๒๒
โรคซมึ เศร้า
๓๐
- ความหมาย
- ความเปน็ มาและปญั หา
- สาเหตขุ องโรคซึมเศร้า
- อาการของโรค
- แนวทางการป้องกันและรักษา

การใช้ภาษาในการสอื่ สารกับผ้ปู ่วยโรคซมึ เศรา้

- การใชภ้ าษาเชิงบวก
- ภาษาทค่ี วรหลีกเลยี่ ง

กรณศี ึกษา

- ผปู้ ว่ ยที่รกั ษาโรคซมึ เศร้าด้วยบทเพลง
- ผูป้ ว่ ยท่ีรักษาโรคซึมเศร้าด้วยบทสนทนา

บทสรปุ

บรรณานุกรม



บทนา

ในปัจจุบันโรคซึมเศร้าซ่ึงเป็นโรคทางจิตเวชท่ีมีผู้เป็นจานวนไม่น้อยแต่ยังมีผู้รู้จักโรคน้ีไม่
มากนัก ทาให้บางคนไม่อาจทราบว่าตวั เองป่วยโรคซึมเศร้าหรือไม่ หรือบางคนเป็นไปโดยที่ไม่รู้ตัว
ปัจจุบนั น้มี ขี ่าวสารเกี่ยวกบั การฆา่ ตัวตาย การทาร้ายตัวเอง และการเกบ็ ตัวไมเ่ ขา้ กับสังคมมากอยู่
ไมน่ ้อย ซ่ึงทางกรมสขุ ภาพจิตได้ประเมินสถานการณ์ในแตล่ ะปีและพบวา่ มีคนไทยเสียชวี ิตจากการ
ฆ่าตวั ตายและทาร้ายตวั เอง ปีละ ๕.๓ หม่ืนคน เฉล่ีย ๖ คน/ชั่วโมง ซึ่งในกลุ่มผู้เสี่ยงนน้ั มีการระบุ
ว่ามีผู้ปว่ ยโรคซึมเศร้าและผู้ป่วยทางจติ เวชรวมอยูใ่ นนั้นดว้ ย โดยโรคน้ีนั้นพบได้ทกุ กลุ่มวัย โดยส่ิง
ท่ีมีผลกระทบต่อโรคทางจิตเวช คือ สภาพแวดล้อมรอบข้างและที่สาคัญ คือ การใช้ภาษาในการ
สื่อสารระหว่างผู้ป่วยกับสังคมรอบข้าง คนใกล้ตัว หรือคนภายในครอบครัวโดยไม่ให้ไปกระทบ
หรือกระตุ้นจิตใจของผู้ป่วยทางจิตเวช ซ่ึงประการน้ีการสื่อสารมีหลายด้านท่ีส่งเสริมและรักษา
ผู้ป่วยทางจิตเวชรวมถงึ การบาบดั ในหลายวธิ ี

ทางผู้จัดทาเหน็ ว่าเป็นเรื่องที่สาคัญอย่างยิ่งและไม่ควรเพิกเฉย จึงเป็นสาเหตุที่ทางผู้จัดทา
สนใจและจัดทารายงานนี้ข้ึนมาโดยมีประเด็นหลัก ดังน้ี ความหมาย สาเหตุ อาการ ความเป็นมา
และปัญหาของโรคซึมเศร้า แนวทางการป้องกันและรักษา และการใช้ภาษาในการส่ือสารกับ
ผู้ปว่ ยโรคซึมเศรา้



๑.โรคซมึ เศรา้

๑.๑ ความหมายของโรคซมึ เศรา้
ศูนย์สุขภาพทางใจ (๒๕๖๑) โรคซึมเศร้าคือความผิดปกติของการหลั่งสารเคมีในสมอง
ส่งผลให้เกดิ ความผิดปกติทางอารมณ์ ทาให้พฤติกรรมของผู้ป่วยเปล่ียนไปจนส่งผลกระทบต่อการ
ใช้ชีวิตประจาวัน กลายเป็นคนมองโลกในแง่ลบ เศร้า หม่นหมอง หดหู่ เก็บเน้ือเก็บตัว รู้สึกเบื่อ
หน่ายกับสิ่งที่เคยสนุกหรือสบายใจไม่มีความสุข ซึ่งคนไทยเป็นโรคซึมเศร้าถึง ๑.๕ ล้านคน แต่
ไดร้ บั การรกั ษาแคค่ ร่ึงหนึง่ เท่านัน้
ผู้จัดการ ออนไลน์ ( ๒๕๖๒) โรคซึมเศร้า เป็นความผิดปกติของสมอง ท่ีมีผลกระทบต่อ
ความนึกคดิ อารมณ์ ความรู้สึก พฤตกิ รรมและสุขภาพกาย แต่คนสว่ นใหญ่มักจะคิดว่าโรคซึมเศร้า
เป็นผลมาจากความผิดปกติของจิตใจ สามารถแก้ไขให้หายได้ด้วยตนเอง ในความจริงแล้ว โรค
ซึมเศร้าเปน็ โรคทเี่ กิดจากความไม่สมดลุ ของสารสื่อประสาท ๓ ชนดิ คอื ซีโรโตนิน นอร์เอปิเนฟริน
และโดปามีน
มาโนช หล่อตระกูล (๒๕๖๒) ถ้าพูดถึงเรื่องซึมเศร้าเรามักจะนึกกันว่าเป็นเรื่องของ
อารมณ์ความรู้สึกที่เกิดจากความผิดหวัง หรือการสูญเสียมากกว่าที่จะเป็นโรค ซ่ึงตามจริงแล้ว ท่ี
เราพบกันในชีวิตประจาวันส่วนใหญ่ก็จะเป็นเรื่องของอารมณ์ความรู้สึกธรรมดาๆ ท่ีมีกันใน
ชีวิตประจาวัน มากบ้างน้อยบ้าง อย่างไรก็ตามในบางครั้ง ถ้าอารมณ์เศร้าท่ีเกิดขึ้นนั้นเป็นอยู่นาน
โดยไม่มีทีท่าว่าจะดีขึ้น หรือเป็นรุนแรง มีอาการต่างๆ ติดตามมา เช่น นอนหลับๆ ตื่นๆ เบ่ือ
อาหาร น้าหนักลดลงมาก หมดความสนใจต่อโลกภายนอก ไม่คิดอยากมชี ีวติ อยู่อีกตอ่ ไป ก็อาจจะ
เข้าข่ายของโรคซมึ เศร้าแล้ว
๑.๒ ความเป็นมาและปญั หา
นันทิรา หงส์ศรีสุวรรณ (๒๕๕๙) ได้กล่าวถึงความเป็นมาและปัญหาที่สาคัญของโรค
ซึมเศร้า ดังนี้ ภาวะซึมเศร้าเป็นปัญหาสุขภาพจิตที่สามารถเกิดข้ึนได้กับทุกคนทั้งคนปกติ ผู้ป่วย
ทางกาย ผูป้ ่วยทางจิตเวช อาจจะเกิดข้ึนได้ต้งั เเตภ่ าวะเศร้าธรรมดาถงึ ภาวะเศรา้ รุนเเรงหากไม่ได้
การรักษาจะป่วยเป็นโรคซึมเศร้าในที่สุด ซ่ึงโรคซึมเศร้าเป็นความผิดปกติของจิตใจโดยมีภาวะ
ซึมเศร้าร่วมกับขาดความเคารพตนเองรวมท้ังมีภาวะสิ้นยินดีคือ ไม่มีความพึงพอใจในกิจกรรมที่
ปกติน่าพึงพอใจซึ่งอาจจะส่งผลเสียคุณภาพชีวิตเเละอาจจะนาไปสู่การฆ่าตัวตายในท่ีสุดผู้ป่วยที่มี
ภาวะโรคซมึ เศรา้ รนุ เเรงหรอื ผปู้ ว่ ยท่ไี มไ่ ด้รบั การรกั ษาจะจบชีวิตดว้ ยการฆา่ ตวั ตาย



วรสารเเพทย์นาวี ( ๒๕๖๔ ) ได้กล่าวถึงความเป็นมาและปัญหาที่เกิดข้ึน ดังน้ี จาก
การศึกษาสถานการณ์การเกิดภาวะซมึ เศร้าในผู้ปว่ ยจิตเวชพบว่า ในประเทศสหรัฐอเมริกาพบโรค
ซึมเศร้าร่วมกับโรคอ่ืน ๆ โดยพบร่วมกับโรควิตกกังวลชนิดท่ัวไป (GAD) ร้อยละ ๓๐ พบร่วมกับ
โรคโฟเบีย(Phobia) ร้อยละ ๒๐ พบร่วมกับโรคเครียดหลังประสบเหตุรุนแรงในชวี ิต (PTSD) ร้อย
ละ ๑๐ พบร่วมกับการกลัวการเข้าสังคม ร้อยละ ๓๐ พบร่วมกับโรคย้าคิดย้าทา (OCD) ร้อยละ
๑๐ และพบร่วมกับโรคแพนิค (Panic) ร้อยละ ๖๕ นอกจากน้ีมีการศึกษา พบว่า ภาวะซึมเศร้า
เกิดข้ึนร่วมกับโรคจิตเภทและมีความสัมพันธ์กับการเพ่ิมอัตราการตายจากการฆ่าตัวตาย' เมื่อ
พจิ ารณาภาวะโรคและการบาดเจบ็ ในประเทศไทยเฉพาะกลมุ่ โรคทางสุขภาพจิตและจติ เวช พบว่า
การสูญเสียปีสุขภาวะ (DALYS)ของโรคซึมเศร้ามีค่าสูงสุด และเป็นค่าจานวนปีท่ีอยู่ด้วยความ
เจ็บป่วยหรือพิการท้ังหมด แสดงให้เห็นว่าผู้ป่วยโรคซึมเศร้าแม้จะไม่มีการสูญเสียชีวิตก่อนวัยอัน
ควรแต่ก็ต้องทนอยู่กับอาการเจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าวเป็นระยะเวลา นานกว่าโรคทางจิตอื่นๆ
การศึกษาที่ได้ส่งผลให้ต้องมีการดาเนินการด้านระบาดวิทยาเพ่ือเฝ้าระวัง ติดตามโรคซึมเศร้า
ปัญหาการฆ่าตัวตายท่ีเกิดจากภาวะซึมเศร้า และการจัดการภาวะซึมเศร้าท่ีมีประสิทธิภาพ
โดยเฉพาะอย่างย่ิงในผู้ป่วยจิตเวชภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยจิตเวชจึงเป็นปัญหาท่ีต้องการความ
ร่วมมือแก้ไขอย่างจริงจังและเร่งด่วน ผลการศึกษาสถานการณ์การเกิดภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยจิต
เวชในสถาบันสมเด็จเจ้าพระยา พบว่า ภาวะซึมเศร้าในกลุ่มผู้ป่วยจิตเวชเป็นปัญหาสุขภาพท่ี
ก่อใหเ้ กิดความรุนแรงซบั ซ้อนมีแนวโน้มเพม่ิ ขึน้ อย่างรวดเร็วและตอ่ เนื่องจากสถิติการมารับบริการ
ของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา ในปีงบประมาณ ๒๕๕๙ - ๒๕๖๑
มีจานวน ๑๔,๔๖๗, ๑๕,๕๒๕ และ ๑๙,๑๗๓ ราย และเข้ารับการรักษาแบบผู้ป่วยในจานวน
๑๕๘, ๑๘๕ และ ๒๕๕ ราย" ตามลาดับภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยจิตเวชส่วนใหญ่เกิดจากการมี
ความสัมพันธ์ในลักษณะขัดแย้งหรือขาดความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับบุคคลสาคัญในชีวิต
โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การขาดความรักในตนเองร่วมกับการต้องเผชิญกบั ข้อจากัดด้านสุขภาพทีส่ ่งผล
ต่อความสามารถด้านการดูแลช่วยเหลือตนเองท่ีลดลงจากการเป็นโรคเร้ือรังทางจิตเวชจึงเกิด
อาการนอ้ ยใจ โดดเดีย่ ว มองตนเอง สิ่งแวดล้อมอนาคตในด้านลบ ไรค้ ุณคา่ เกิดภาวะซึมเศร้าและ
ทาร้ายตนเองในทส่ี ดุ



๑.๓ สาเหตขุ องโรคซมึ เศร้า

โรงพยาบาลเพชรเวช ( ๒๕๖๒ ) กล่าวถึงสาเหตุของโรคซึมเศร้าว่า โรคซึมเศร้านั้นเกิด
จากหลายปจั จัยดงั นี้

๑. เกิดจากสมองท่ีทางานผิดปกติโดยเส้นประสาทอาจไม่สมดุลกัน หรือมีปัญหาในการทางาน
ประกอบกบั ปจั จัยอน่ื ๆ ทางดา้ นความรู้สกึ และอารมณ์

๒. ลักษณะทางความคิด ความคิด และมุมมองต่อส่ิงต่าง ๆ ถือเป็นส่วนสาคัญของโรคซึมเศร้า
หากมที ัศนคตใิ นแงล่ บ อ่อนไหวต่อสง่ิ รอบตัวได้งา่ ยอาจสง่ ผลให้เป็นโรคซึมเศร้าได้

๓. เหตุการณ์เลวร้ายที่ต้องเผชิญ ในบางคร้ังการท่ีต้องเผชิญกับเหตุการณ์ท่ีส่งผลเสียต่อสภาพ
จิตใจเป็นเวลานาน และบ่อยครั้ง จนทาให้เกิดความรู้สึกเศร้า และส้ินหวังก็สามารถทาให้เป็น
โรครา้ ยนไี้ ด้เช่นกัน

๔. การใช้ยาบางชนดิ อาจสง่ ผลให้เกิดโรคน้ไี ด้ เช่น สเตียรอยด์ ยาเบนโซไดอะซีปนี เป็นต้น ดงั น้ัน
ควรศึกษาหรอื ขอคาแนะนาจากแพทยเ์ กีย่ วกับตัวยา และผลขา้ งเคียงทีอ่ าจไดร้ ับ

๕. โรคบางโรคอาจมีผลข้างเคียงท่ีนาไปสู่การเป็นโรคซึมเศร้า เช่น โรคหัวใจ โดยผู้ป่วยอาจมี
อาการเศร้าจนทาให้ฟื้นตัวจากโรคได้ช้า อาการดังกล่าวอาจเป็นสาเหตุนาพาไปสู่โรคซึมเศร้า
ไดเ้ ช่นกัน

๖. สามารถเกิดจากพันธุกรรมหากมีคนในครอบครัวเคยมีปัญหาหรือเป็นโรคทางด้านอารมณ์จะ

ส่งผลใหม้ ีโอกาสเป็นโรคซึมเศร้ามากข้ึน

Meekhaow (๒๕๖๔ ) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของสาเหตุโรคซึมว่า สาเหตุของโรคซึมเศร้า
นนั้ มหี ลายประการ ไดแ้ ก่

๑. โรคซมึ เศร้าเกดิ จากความเครียด แต่ท้งั นคี้ นทไ่ี ม่มีญาติเคยป่วยก็อาจเกิดเปน็ โรคนไ้ี ด้ มักพบว่า
ผู้ป่วยโรคน้ีจะมีความผิดปกติของระดับสารเคมี ที่เซลล์สมองสร้างข้ึน เพื่อรักษาสมดุลของ
อารมณ์

๒. สภาพทางจติ ใจที่เกิดจากการเล้ียงดู ก็เป็นปัจจัยท่เี สี่ยงอีกประการหนึ่งต่อการเกิดโรคซึมเศร้า
เช่นกัน คนท่ีขาดความภูมิใจในตนเองมองตนเองและโลกที่เขาอยู่ในแง่ลบตลอดเวลา หรือ
เครยี ดง่ายเม่อื เจอกบั มรสุมชวี ติ ล้วนทาให้เขาเหล่าน้นั มีโอกาสปว่ ยงา่ ยขึ้น



๓. การเผชิญกับสถานการณ์เลวร้าย เช่น หากชีวิตพบกับการสูญเสียครั้งใหญ่ต้องเจ็บป่วยเรื้อรัง
ความสัมพันธ์กับคนใกล้ชิดไม่ราบร่ืน หรือต้องมีการเปลี่ยนแปลงในทางที่ไม่ปรารถนา ก็อาจ
กระตนุ้ ใหโ้ รคซึมเศรา้ กาเรบิ ได้
๑.๔ อาการของโรคซึมเศร้า
ALLWELL HEALTHCARE ( ๒๕๖๔ ) ได้กล่าวถึงอาการโรคซึมเศร้าที่สังเกตได้ง่าย ดังนี้

โรคซึมเศร้า (Depression disorder) ไม่ใช่โรคที่เกิดขึ้นกับสภาพจิตใจเพียงอย่างเดียวอย่างท่ี
หลาย ๆ คนคิด แต่เกิดจากการท่ีสมองหล่ังสารผิดปกติ ได้แก่ โดปามีน (dopamine) สารเซโรโท
นิน (Serotonin) และนอร์อิพิเนฟริน (Norepinephrine) ส่งผลให้ร่างกาย พฤติกรรม ความคิด
และอารมณ์ เกิดความแปรปรวน นาไปสู่อาการต่าง ๆ ภาวะซึมเศร้า ความรู้สึกที่แสดงถึงอารมณ์
เศร้า มีหลายอย่าง เช่น ใจคอหดหู่ ไม่มีชีวิตชีวา รู้สึก ไม่แจ่มใส ไม่เบิกบาน หรือใจคอเศร้าหมอง
เปน็ ต้น มีอาการเศรา้ รสู้ ึกโดดเดี่ยว หดหู่ ผิดหวงั ไม่มีความสุข
สามารถสงั เกตอาการ ไดแ้ ก่
๑. การเคลอ่ื นไหวเชือ่ งชา้ กระสบั กระส่ายผิดปกติ ไมม่ ีสมาธิ ไม่อยากทาอะไร
๒. นอนไม่หลับ นอนนอ้ ยหรือมากเกินกว่าปกติ มีอาการหลับ ๆ ตืน่ ๆ ตลอดท้งั คนื
๓. เหนือ่ ยงา่ ย หมดเรยี่ วแรง หงุดหงดิ งา่ ย
๔. เบอื่ อาหาร กินมากหรอื น้อยจนเกินไป สง่ ผลให้น้าหนกั ตวั ขน้ึ หรอื ลดลงจนผิดปกติ
๕. มองโลกในแง่รา้ ย คิดด้านลบ มองว่าตวั เองไรค้ ่า หรือรู้สกึ เกลยี ดตวั เอง
๖. มพี ฤติกรรมทารา้ ยร่างกายตนเอง หรือพยายามฆา่ ตัวตาย หากมพี ฤตกิ รรมเชน่ น้ี ควรรีบไปพบ

แพทย์ทันที
๑.๔.๑อาการและอาการแสดงของโรคซึมเศร้าทางด้านพฤตกิ รรม

กลุ่มวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชศาสตร์ ( ๒๕๕๘ ) ได้กล่าวถึงอาการ ทาง
พฤติกรรมของโรคซึมเศร้า ว่า อาการด้านพฤติกรรรม เชื่องช้าลงหรือ กังวล กระวนกระวาย กระ
สบั กระส่ายเดินไปมา ละเลยต่อการดูแลตนเองและกิจวัตร ประจาวัน แยกตัวจากครอบครัวและ
เพ่อื น

ทัชชา สุริโย ( ๒๕๕๙ ) ได้กล่าวถึงอาการทางพฤติกรรม ว่า โรคซึมเศร้าในทางพฤติกรรม
มันจะมอี าการดังนี้ นอนไม่หลับหลับยากหลับๆต่นื ๆเบื่ออาหารน้าหนักลดเคล่ือนไหวช้านอกจากน้ี
ยังอาจมีอาการทอ้ งผกู อดื แน่นท้องปากคอแหง้ บางคนอาจมีอาการปวดหัวปวดเม่ือยตามตัวเป็นต้น



โรงพยาบาลวิมุต ( ๒๕๖๔ ) ได้กล่าวถึงอาการทางพฤติกรรมของโรคซึมเศร้า ว่า อาการ
ของโรคซึมเศร้าน้ันมีหลายแบบ ดังนี้ มีอาการหมกมุ่น คิดวนเวียนซ้าซ้า ย้าคิดย้าทาอยู่เสมอ มี
อาการเหงา เคว้งคว้าง โดดเดี่ยว บ่นไม่อยากมีชีวิตอยู่ มีความคิดอยากทาร้ายตัวเอง มีประวัติไม่
สามารถควบคุมพฤติกรรมตนเองได้ หลงผิด หูแว่ว หวาดระแวง เห็นภาพหลอนเพ้อคล่ัง เอะอะ
อาละวาด พูดเพอ้ เจ้อ ฟุ้งซ่าน เฉยเมย แยกตัว ไม่สนใจดูแลตวั เอง ไม่สนใจสงิ่ แวดล้อม

๑.๔.๒ อาการและอาการแสดงของโรคซึมเศร้าทางดา้ นความคดิ
นันทิรา หงส์ศรีสุวรรณ ( ๒๕๕๙ ) กล่าวถึงอาการทางด้านความคิด ความว่า ความคิด
อยากตาย เม่ือเศร้ามากๆ จะคิดอยากตาย ซึ่งบ่งว่าผู้ป่วยมีแนวโน้มจะฆ่า ตัวตาย พบว่าอาการ
เศร้ามากๆ และความคิด อยากฆ่าตัวตายสัมพันธ์กัน ผู้ป่วยเศร้ามากๆ อาการไม่สบายจะมีมาก
และรู้สึกทรมาน เมื่อเป็น มากข้ึนถึงจุดท่ีไม่อาจทนต่อไปได้ ผู้ป่วยจะหาทาง หนีจากการทรมาน
และความตายเป็นทางออก ท่ีผู้ป่วยส่วนมากนึกถึงเป็นสิ่งแรก ยิ่งเศร้ามาก ความรู้สึกทรมานจะมี
มาก และความคิดอยากตาย จะรุนแรงขึ้น ปรากฏว่าร้อยละ ๒๕ ของผู้ป่วย เศร้ามากๆ คิดฆ่าตัว
ตาย ผู้ป่วยบางรายจะไม่บอก ว่ามีความคิดเช่นนี้ ถ้าแพทย์ไม่ถาม จึงควรถือ เป็นหลักว่า เม่ือพบ
ผูป้ ่วยทมี่ ีอารมณเ์ ศรา้ มากๆ ต้องถามถงึ อาการนีท้ ุกราย
คณะแพทย์ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ( ๒๕๖๐ ) กล่าวว่า การ
เปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้นในผู้ท่ีเป็นโรคซึมเศร้าดังท่ีจะกล่าวต่อไปน้ี อาจเป็นแบบค่อยเป็นค่อย
ไปเป็นเดือนๆ หรือเป็นเร็วภายใน ๑-๒ สัปดาห์เลยก็ได้ ซึ่งขึ้นอยู่กับหลายๆ ปัจจัย เช่น มี
เหตกุ ารณ์มากระทบรุนแรงมากน้อยเพียงใด บคุ ลิกเดมิ ของเจ้าตัวเป็นอย่างไร มีการช่วยเหลือจาก
คนรอบข้างมากน้อยเพียงใด เป็นต้น และผู้ที่เป็นอาจไม่มีอาการตามน้ีไปท้ังหมด แต่อย่างน้อย
อาการหลักๆ จะมคี ล้ายๆ กนั เช่น รู้สึกเบอ่ื เศรา้ ท้อแท้ รู้สึกตนเองไรค้ า่ นอนหลบั ไมด่ ี เปน็ ต้น
ลกั ษณะการเปลีย่ นแปลงทีส่ าคัญ
๑. อารมณ์เปล่ียนแปลงไป ท่ีพบบ่อยคือจะกลายเป็นคนเศร้าสร้อย หดหู่ สะเทือนใจง่าย ร้องไห้
บ่อย เร่ืองเลก็ ๆนอ้ ยๆ ก็ดูเหมือนจะออ่ นไหวไปหมด บางคนอาจไม่มอี ารมณ์เศร้าชัดเจนแต่จะ
บอกว่าจิตใจหม่นหมอง ไม่แจ่มใส ไม่สดช่ืนเหมือนเดิม บางคนอาจมีความรู้สึกเบื่อหน่ายไป
หมดทุกส่ิงทุกอย่าง ส่ิงที่เดิมตนเคยทาแล้วเพลินใจหรือสบายใจ เช่น ฟังเพลง พบปะเพ่ือนฝูง
เข้าวัด ก็ไม่อยากทาหรือทาแล้วก็ไม่ทาให้สบายใจข้ึน บ้างก็รู้สึกเบ่ือไปหมดตั้งแต่ตื่นเช้ามา



บางคนอาจมอี ารมณ์หงดุ หงิดฉุนเฉยี วง่าย อะไรก็ดูขวางหูขวางตาไปหมด กลายเปน็ คนอารมณ์
รา้ ย ไม่ใจเย็นเหมือนกอ่ น
๒. ความคิดเปลี่ยนไป มองอะไรก็รู้สึกว่าแย่ไปหมด มองชีวิตที่ผ่านมาในอดีตก็เห็นแต่ความ
ผิดพลาดความล้มเหลวของตนเอง ชีวิตตอนน้ีก็รสู้ ึกว่าอะไรๆ ก็ดูแย่ไปหมด ไม่มีใครช่วยอะไร
ได้ ไม่เห็นทางออก มองอนาคตไม่เห็น รู้สึกท้อแท้หมดหวังกับชีวิต บางคนกลายเป็นคนไม่
ม่ันใจตนเองไป จะตัดสินใจอะไรก็ลังเลไปหมด รู้สึกว่าตนเองไร้ความสามารถ ไร้คุณค่า เป็น
ภาระแก่คนอ่ืนท้ัง ๆท่ีญาติหรือเพื่อนๆ ก็ยืนยันว่ายินดีช่วยเหลือ เขาไม่เป็นภาระอะไรแต่ก็
ยงั คงคดิ เช่นนั้นอยู่ ความรู้สึกวา่ ตนเองไร้คา่ ความคับขอ้ งใจ ทรมานจิตใจ เหล่านอี้ าจทาใหเ้ จ้า
ตัวคิดถึงเร่ืองการตายอยู่บ่อยๆ แรกๆ ก็อาจคิดเพียงแค่อยากไปให้พ้นๆ จากสภาพตอนน้ี
ต่อมาเร่ิมคิดอยากตายแต่ก็ไม่ได้คิดถึงแผนการอะไรท่ีแน่นอน เมื่ออารมณ์เศร้าหรือความรู้สึก
หมดหวังมีมากข้ึน ก็จะเร่ิมคิดเป็นเร่ืองเป็นราวว่าจะทาอย่างไร ในช่วงน้ีหากมีเหตุการณ์มา
กระทบกระเทือนจิตใจกอ็ าจเกิดการทารา้ ยตนเองขน้ึ ไดจ้ ากอารมณ์ชว่ั วูบ
๓. สมาธิความจาแยล่ ง จะหลงลมื งา่ ย โดยเฉพาะกบั เรื่องใหม่ๆ วางของไว้ทไ่ี หนกน็ ึกไม่ออก ญาติ
เพ่ิงพูดด้วยเมื่อเช้าก็นึกไม่ออกว่าเขาสั่งว่าอะไร จิตใจเหม่อลอยบ่อย ทาอะไรไม่ได้นาน
เน่ืองจากสมาธิไม่มี ดูโทรทัศน์นานๆ จะไม่รู้เร่ือง อ่านหนังสือก็ได้ไม่ถึงหน้า ประสิทธิภาพใน
การทางานลดลง ทางานผดิ ๆ ถกู ๆ
๔. มอี าการทางร่างกายต่างๆ ร่วม ท่ีพบบอ่ ยคือจะรสู้ ึกออ่ นเพลยี ไม่มีเรี่ยวแรง ซ่ึงเมอื่ พบร่วมกับ
อารมณ์รสู้ กึ เบ่ือหน่ายไม่อยากทาอะไร ก็จะทาให้คนอื่นดูวา่ เปน็ คนขเี้ กียจ ปญั หาด้านการนอน
ก็พบบ่อยเช่นกัน มักจะหลับยาก นอนไม่เต็มอ่ิม หลับๆต่ืนๆ บางคนตื่นแต่เช้ามืดแล้วนอนต่อ
ไม่ได้ ส่วนใหญ่จะรู้สึกเบื่ออาหาร ไม่เจริญอาหารเหมือนเดิม น้าหนักลดลงมาก บางคนลดลง
หลายกโิ ลกรัมภายใน ๑ เดอื น นอกจากนี้ยงั อาจมีอาการท้องผูก อดื แนน่ ทอ้ ง ปากคอแห้ง บาง
คนอาจมอี าการปวดหวั ปวดเมื่อยตามตัว
๕. ความสัมพันธ์กับคนรอบข้างเปล่ียนไป ดังกล่าวบ้างแล้วข้างต้น ผู้ท่ีเป็นโรคนี้มักจะดูซึมลง ไม่
ร่าเริง แจ่มใส เหมือนก่อน จะเก็บตัวมากข้ึน ไม่ค่อยพูดจากับใคร บางคนอาจกลายเป็นคนใจ
นอ้ ย อ่อนไหวงา่ ย ซง่ึ คนรอบขา้ งก็มักจะไมเ่ ข้าใจว่าทาไมเขาถึงเปลี่ยนไป บางคนอาจหงุดหงิด
บอ่ ยกว่าเดมิ แม่บ้านอาจทนท่ลี ูกๆ ซนไม่ได้ หรือมปี ากเสยี งระหวา่ งคู่ครองบ่อยๆ



๖. การงานแย่ลง ความรับผิดชอบต่อการงานก็ลดลง ถ้าเป็นแม่บ้านงานบ้านก็ไม่ได้ทา หรือทา
ลวกๆ เพียงให้ผ่านๆ ไป คนที่ทางานสานักงานก็จะทางานที่ละเอียดไม่ได้เพราะสมาธิไม่มี
ในช่วงแรกๆ ผ้ทู ่เี ปน็ อาจจะพอฝืนใจตวั เองให้ทาได้ แต่พอเปน็ มากๆ ขึน้ ก็จะหมดพลงั ทีจ่ ะตอ่ สู้
เริ่มลางานขาดงานบอ่ ยๆ ซง่ึ หากไม่มีผเู้ ขา้ ใจหรือใหก้ ารชว่ ยเหลอื ก็มักจะถกู ใหอ้ อกจากงาน

๗. อาการโรคจิต จะพบในรายท่ีเป็นรุนแรงซึ่งนอกจากผู้ท่ีเป็นจะมีอาการซึมเศร้ามากแล้ว จะยัง
พบว่ามีอาการของโรคจิตได้แก่ อาการหลงผิดหรือประสาทหลอนร่วมด้วย ที่พบบ่อยคือ จะ
เช่ือว่ามีคนคอยกล่ันแกล้ง หรือประสงค์ร้ายต่อตนเอง อาจมีหูแว่วเสียงคนมาพูดคุยด้วย
อย่างไรก็ตามอาการเหล่าน้ีมักจะเป็นเพียงชั่วคราวเท่านั้น เมื่อได้รับการรักษา อารมณ์เศร้าดี
ขึ้น อาการโรคจิตก็มกั ทเุ ลาตาม
จากท่ีกล่าวมาจะเห็นได้ว่าโรคซึมเศร้าเป็นปัญหาสาคัญก่อให้เกิดการสูญเสียตามมา

มากมาย ส่งผลต่อวัยรุ่นทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจและสังคม ทาให้ร่างกายอ่อนเพลีย เศร้า หดหู่
ซึม เบ่ือหน่าย หงุดหงดิ ฉุนเฉียว ไม่มีสมาธิ นอนไม่หลับ เกิดความเครยี ดวิตกกังวล จนพฒั นาไปสู่
ภาวะซึมเศร้าและคิดทาร้ายตัวเองหรือฆ่าตัวตายได้ และสาเหตุอ่ืน ๆ ได้แก่ ภาวะเศรษฐกิจ
การเงิน ความผิดหวัง ความสัมพันธ์ ความรัก ความสูญเสีย และส่งผลต่อสัมฤทธิ์ผลทางการเรียน
และการปรับตัว ผู้ป่วยซึมเศร้านอกจากจะมีความผิดปกติทางด้านพฤติกรรมและความคิดแล้ว
ความผิดปกติทางด้านพฤติกรรม และความคิดน้ันยังส่งผลต่อตัวผู้ป่วยท่ีเป็นโรคซึมเศร้า และ
บุคคลรอบข้าง ซึ่งก็จะได้รับผลกระทบจากตัวผู้ป่วยโดยตรง เราสามารถป้องกันหือรักษาการเป็น
โรคซึมเศรา้ ไดด้ ว้ ยแนวทางการรักษาต่างๆตอ่ ไปน้ี

๑.๕ แนวทางการป้องกนั และการรกั ษาผู้ปว่ ยโรคซมึ เศรา้

แนวทางการปอ้ งกันผู้ปว่ ยโรคซมึ เศร้า
พนู สิทธ์ิ บรุ พรตั น์ (๒๕๕๓:ออนไลน)์ กล่าวถงึ แนวทางในการปอ้ งกนั โรคซึมเศร้าดงั น้ี

- ภาวะซมึ เศร้าไมม่ วี ธิ ีการป้องกนั ท่ีแนน่ อน เน่ืองจากสาเหตอุ าจเกิดจากโรคบางประการ เช่น
ความผิดปกตใิ นสมอง อาการเจบ็ ป่วย หรือการใชย้ าท่ีเกดิ ภาวะซึมเศร้าแทรกซ้อนได้ ถือวา่
เป็นปจั จัยท่ีอยูเ่ หนอื การควบคุม แต่การสร้างพฤติกรรมทางสุขภาพทีด่ ีดว้ ยการเลอื ก
รับประทานอาหารและออกกาลังกาย การรักษาสภาวะอารมณ์ใหแ้ จม่ ใสด้วยการทากจิ กรรม



เพ่ือความสนกุ สนานและผ่อนคลาย นบั เปน็ ส่วนหน่งึ ในการช่วยลดความเส่ียงจากภาวะ
ซึมเศรา้ ได้

สถาบันสุขภาพจติ เดก็ และวยั รนุ่ ราชนครนิ ทร์ (๒๕๖๓:ออนไลน์) กล่าวถึงแนวทางในการ
ปอ้ งกันโรคซมึ เศร้าดังนี้
- ทาสมาธิ การทาสมาธแิ ม้แค่วนั ละไมก่ ี่นาท่ี สามารถช่วยว่าเราเขา้ สู่ความเงียบสงบ ปรบั สมดุล

ชีวติ ผ่อนคลายความเครยี ด และยงั ทาใหม้ ีความแจม่ ชดั ในสมอง
- ออกกาลงั กาย การออกกาลังกายเปน็ ประจาชว่ ยเพิ่มสารเอนโดฟินส์ในร่างกาย สง่ เสรมิ

พลงั งาน ยกระดับอารมณ์ให้สงู ขน้ึ และ ยงั เพิม่ ความร้สู กึ เหน็ คุณค่าในตนเอง
- กลุ่มเพอ่ื นทไ่ี วใ้ จได้ กลุ่มเพ่ือนที่เป็นกัลยาณมติ ร คอยดแู ลรบั ฟงั ช่วยเหลอื กันและกนั มีมสี ุข

รวมเสพ มีทุกขร์ ่วมต้าน เพราะว่าการท่คี มเรามกี ลมุ่ คนคอยหนนุ นาจะทาใหค้ นเราสามารถ
รับมือกบั ความเครียดและความเจ็บป่วยทางใจได้
- หางานอดิเรกทา งานอดเิ รกมักเปน็ ส่งิ ที่เรารักท่ี จะทาช่วยดึงความสนใจจากอารมณ์ดา้ นลบได้
ดงั นั้นถ้ารสู้ กึ เครยี ดหรือซึมเศรา้ ควรหางานอดเิ รกท่ีทาแลว้ จะมีสมาธจิ ดจอ่ กบั มนั
- การรกั ษาจากผู้เชี่ยวชาญ ในบางครั้งเราอาจจะพบเจอเรอ่ื งราวท่ีทาใหเ้ ราไมส่ ามารถควบคุม
อารมณ์และความคดิ ของเราได้ จึงจาเป็นตอ้ งพงึ่ พาผูเ้ ชย่ี วชาญท่สี ามารถใหค้ าแนะนาและ
วินิจฉยั อาการของเราได้แม่นยา ซึ่งจะค่อยช่วยเหลือเราให้ผ่อนคลายอารมณจ์ นสามารถ
กลับมาใช้ชีวิตได้เปน็ ปกติ
- จงรักตวั เอง การรักตวั เองเปน็ หนง่ึ ในวิธีที่ได้ผลดที ่สี ุด แตไ่ มไ่ ดถ้ กู ใชอ้ ย่างแพรห่ ลาย เหตุผลคอื
นอ้ ยคนนกั ท่ีจะถูกสอนใหร้ กั ตวั เอง การรักตัวเองหาใชค่ วามเห็นแก่ตัว แต่คือการเมตตาและ
ปรารถนาดีต่อตวั เราเอง

นรมน ธีระอมั พรพนั ธุ์ (๒๕๖๑:ออนไลน์) กล่าวถึงแนวทางในการป้องกนั โรคซึมเศร้าดังน้ี
การป้องกันโรคซึมเศร้าอาจทาไดโ้ ดยกาจดั ปัจจัยเสีย่ งอื่น ๆ เชน่
- การรกั ษาพฤติกรรมทางสุขภาพที่ดี กนิ แต่อาหารทม่ี ีประโยชน์
- ออกกาลังกายเพอื่ ลดโอกาสเกดิ โรคและภาวะซมึ เศรา้ ท่ีอาจเกิดแทรกซอ้ นมาได้
- ควรหาเวลาผอ่ นคลายจากความเครียด

๑๐

- ออกไปทากจิ กรรมเพ่ือความสนกุ สนานเพ่อื หลกี เลี่ยงภาวะซึมเศร้า
Petcharavej Hospital (๒๕๖๒:ออนไลน)์ กล่าวถงึ แนวทางในการป้องกันโรคซึมเศรา้

ดังนี้
ภาวะโรคซมึ เศร้าเป็นโรคทีเ่ กิดจากสาเหตทุ ี่หลากหลายจึงไมส่ ามารถควบคมุ ได้ แต่การทา
กิจกรรมต่าง ๆ เชน่ การออกกาลังกาย การออกไปเที่ยวนอกบ้าน และการรักษาสภาวะอารมณ์
ของตัวเองให้เป็นปกตแิ ละมชี ีวิตชีวา ไม่เกบ็ กดอารมณ์ความรู้สกึ ไว้กับตวั เองมากจนเกนิ ไป การ
มองโลกในแงด่ กี จ็ ะทาใหเ้ ราหา่ งไกลจากโรคซึมเศร้าได้

สลิลนาท พานประเสริฐ (๒๕๖๒:ออนไลน)์ กลา่ วถงึ แนวทางในการปอ้ งกันโรคซึมเศร้าดงั นี้
- การระบายความร้สู กึ เรียนรู้วธิ ปี ลดปล่อยความรู้สกึ เศร้าโกรธผิดหวังหรือเสียใจออกมาเพราะ

อาการ ซมึ เศรา้ มักเกดิ จากการเกบ็ กดอารมณค์ วามรู้สกึ ไว้ ทาได้โดยการพูดคยุ กบั คนทีไ่ วใ้ จได้
ตะโกน หรือร้องไห้ออกมาดังๆหรือเขยี นความรู้สกึ ลงในสมดุ บนั ทกึ
- การหวั เราะเยอะๆ เมอื่ ร้สู ึกทกุ ข์ ควรพาตวั เองอย่กู ับสง่ิ ท่ีทาให้รู้สกึ เพลิดเพลิน เชน่ ดู
ภาพยนตร์ตลก หรือ อ่านเร่ืองขาขนั หรอื พดู คยุ กบั เพ่ือนๆในเร่ืองขบขนั สนกุ สนานเพื่อชว่ ย
คลายเครียดชว่ ยคลาย ความทุกขใ์ นใจได้
- การออกไปเที่ยว ออกจากส่ิงแวดลอ้ มเดมิ ๆ ีทท่ าใหร้ ู้สกึ เบ่อื หน่าย เศร้า เปลย่ี นไปสู่
สงิ่ แวดลอ้ ม ใหม่ๆ ีท่สดใส มพี ลงั มากีข้น ได้พบเห็นส่ิงใหมๆ่ ววฒั นธรรมใหม่ๆ ผคู้ นใหม่ๆ ส่ิง
เหล่าีนจ้ ะช่วย ให้ผอ่ นคลายความเครียด และคลายความเศร้าได้ดี
- การออกกาลงั กาย ช่วยเพิ่มระดับสารเคมี เซโรโทนนิ ในสมอง รวมถึงเพ่ิมการหลงั้ สาร
เอนดอร์ฟีนท่ชี ่วยทาใหผ้ อ่ นคลายและอารมณ์ดีขี น้
- การทางานอดิเรก หากมีเรื่องเครยี ดหรอื เร่ืองทีท่ าให้เศร้าสะบัดความรูส้ ึกเหล่าน้นั ออกไปและ
ไปทาสง่ิ ที่ สร้างสรรคฝ์ ึกสมาธิอย่างการทางานอดิเรกเช่นปลูกตน้ ไม้ วาดรูประบายสี
ทาอาหาร เย็บปักถกั ร้อย
- การมองโลกในแงบ่ วก(Positive Thinking) การมองโลกในแง่ดี ชว่ ยลดความวิตกกงั วล โดย
อาจเร่ิมจากฝึกคดิ ในมมุ บวก ฝกึ มอง เรือ่ งตา่ งๆ รอบตวั ในมุมบวก และรูจ้ กั ชื่นชมคนอ่ืน เปน็

๑๑

การเตมิ เตม็ ความสุขใหก้ ับชีวิตของผู้ป่วยได้มากีขน้ และเปดิ ใจพดู คยุ หรอื ทากิจกรรมตา่ งๆกับ
ครอบครัวและเพื่อน

แนวทางการรักษาผปู้ ว่ ยโรคซึมเศรา้

สายพิณ หัตถรี ัตน์ (๒๕๖๐:ออนไลน์) กล่าวถงึ แนวทางในการรักษาผู้ป่วยซมึ เศร้าดงั นี้
การรักษาโรคซึมเศร้าในปัจจบุ ัน หลัก ๆ มีดว้ ยกัน ๓ วิธี คือ
๑. การใชย้ าต้านซมึ เศรา้ (Antidepressants)
๒. การพูดคยุ บาบัดทางจติ (Psychotherapy)
๓. การกระตนุ้ เซลลส์ มองและประสาท (Brain Stimulation Therapies) โดยสว่ นใหญแ่ พทยจ์ ะ

รักษาด้วยการใช้ยาต้านซมึ เศรา้ และการพดู คุยบาบดั กับผู้ป่วยควบคูก่ นั ไป ส่วนในรายทม่ี ี
อาการรุนแรงมาก มีพฤตกิ รรมม่งุ ทารา้ ยทาตวั เองหรือฆา่ ตัวตาย จึงจะเลือกใช้การกระตุ้น
เซลล์สมองและประสาทเพื่อรกั ษาได้ทันทว่ งที

นรมน ธีระอมั พรพนั ธ์ุ (๒๕๖๑:ออนไลน์) กล่าวถึงแนวทางในการรักษาผ้ปู ว่ ยซมึ เศร้าดงั น้ี
การรกั ษาภาวะซึมเศร้ามีด้วยกัน ๓ วิธีหลกั ขน้ึ อยู่กับการพจิ ารณาของแพทยว์ ่าผปู้ ว่ ยเหมาะกบั วิธี
ใด และอาจใชก้ ารรักษาควบคู่กันไปมากกว่าหนึง่ วิธีก็ได้
๑. การใชย้ าต้านเศร้า (Antidepressants) ชว่ ยในการปรับสมดุลของสารเคมีในสมองทค่ี วบคมุ

อารมณแ์ ละความเครียด ในผ้ปู ่วยทมี่ ีอาการค่อนข้างรนุ แรง แพทยอ์ าจใชย้ าต้านเศรา้ ผสานกับ
การบาบัดด้วยการพดู คยุ
๒. จิตบาบัด (Psychotherapy) การทาจิตบาบดั นับวา่ ได้ผลดีทสี่ ดุ สาหรบั ผู้ป่วยท่ีมภี าวะซึมเศรา้
นอ้ ย ถงึ ปานกลาง ทั้งน้ีสาเหตแุ ละอาการของผู้ปว่ ยจะเปน็ ปัจจยั ให้นักบาบัดเลือกใชว้ ิธบี าบดั
ทีต่ ่างกันออกไป
๓. การรักษาด้วยการกระต้นุ เซลล์สมอง (Brain Stimulation Therapies) เม่อื ผู้ปว่ ยโรคซมึ เศรา้
ไมต่ อบสนองตอ่ การรักษาแบบอน่ื หรอื อยูใ่ นภาวะซมึ เศรา้ ระดบั รนุ แรงถึงขน้ั ทาร้ายตนเอง
หรือคนอน่ื ไม่สามารถรักษาโดยรอจนกวา่ ยาตา้ นซึมเศร้าจะออกฤทธไิ์ ด้ การรักษาด้วยการ
กระตนุ้ สมองและเสน้ ประสาทจึงกลายเป็นวธิ ีท่ีปลอดภยั และไดผ้ ลที่สดุ

๑๒

Petcharavej Hospital (๒๕๖๒:ออนไลน)์ กลา่ วถงึ แนวทางในการรกั ษาผู้ป่วยซมึ เศร้า
ดงั น้ี
- การรกั ษาโรคซมึ เศร้าดว้ ยยา ในอาการระดับปานกลางถึงขน้ั รนุ แรงจะเปน็ การให้ยาตา้ น

ซมึ เศรา้
- การบาบดั พฤติกรรมและความคดิ จะเปน็ วธิ ีการรักษาที่ใช้เวลาคอ่ นข้างนาน โดยส่วนมากการ

บาบดั พฤติกรรมและความคิดจะรกั ษาควบค่กู ันไปกบั การกินยา วิธีการรกั ษาจะเปน็ การ
พูดคยุ ให้ผปู้ ่วยโรคซึมเศร้าเปลย่ี นพฤตกิ รรมและมุมมองในการใช้ชีวติ ให้เปน็ ในทางท่ดี ขี ้นึ
- การกระตนุ้ เซลล์สมองและประสาท เป็นวิธีการท่ีใช้กับผปู้ ่วยอาการรนุ แรงท่มี ีพฤติกรรมทา
รา้ ยตัวเอง หรอื มีความคิดอยากฆ่าตัวตาย โดยจะมกี ารใชก้ ระแสไฟฟ้าปล่อยผ่านสมองของ
ผ้ปู ่วยขณะทีด่ มยาสลบอยู่ แตก่ ารรักษาด้วยวธิ นี ีอ้ าจมีผลข้างเคยี ง ผู้ปว่ ยอาจะมอี าการปวดหัว
คล่ืนไส้ ความจาเสื่อม และอาจะเกดิ อาการชักเปน็ ช่วง ๆ ในระหว่างการรกั ษา

Voicetv (๒๕๖๑:ออนไลน์) กล่าวถงึ แนวทางในการรักษาผู้ปว่ ยซมึ เศร้าดังน้ี
- การรักษาทางจิตใจ สามารถรกั ษาได้โดยพูดคยุ หรือปรกึ ษาจติ แพทยท์ าใหผ้ ้ปู ่วยเกิดความ

เขา้ ใจและสาเหตุของ ปัญหา
- การรักษาทางพฤตกิ รรม ใหผ้ ปู้ ่วยเรยี นรู้วิธที ี่จะไดร้ บั ความพอใจหรือความสขุ จากการกระทา

ของเขาและพบวิธี ทีจ่ ะหยุดพฤตกิ รรมทอ่ี าจนาไปสูค่ วามซมึ เศรา้
- การรักษาโดยอาศัยทฤษฎจี ิตวิเคราะห์ โดยชว่ ยผ้ปู ่วยคน้ หาปัญหาขอ้ ขดั แย้งภายในจิตใจผูป่วย

ซึ่งอาจมรี ากฐานมาจาก ประสบการณ์ต้ังแตเ่ ด็กสาหรบั ีผป้ ว่ ยท่ีเป็นโรคซึมเศร้ารุนแรงมีอาการ
กาเริบซา้ ๆจะต้องการ การรักษาดว้ ยยาร่วมกบั การรักษาทางจติ ใจควบคูก่ นั เพ่ือผลการรักษา
ในระยะยาวทดี่ ีทส่ี ุด
- รกั ษาโรคซึมเศร้าด้วยการใช้ยา ในปจั จบุ ันยารักษาโรคซมึ เศร้าแบง่ ออกไดห้ ลายกล่มุ ตาม
ลกั ษณะโครงสร้างทางเคมี และวิธีการออกฤทีธ์ คอื ๑.กล่มุ tricyclic (คอื ยาท่ีมีโครงสรา้ งทาง
เคมี) ๒.กลุม่ monoamine oxidase inhibitors เรียกย่อๆว่าMAOI ๓.กล่มุ SSRI
(serotonin-specific reuptake inhibitor)

๑๓

๑.๕.๑ การใชภ้ าษาในการรกั ษา
- ภาษา คือ สญั ลักษณ์ทีม่ นุษย์ใชใ้ นการสื่อสารเพอ่ื สือ่ ความหมายของกลุ่มสังคมแต่ละกลุ่มและ

ทุกคนในสังคมนั้นๆจะเข้าใจความหมายตามทไี่ ดต้ กลงกนั ไวใ้ นสังคม
- การใช้ภาษา คอื การตดิ ต่อส่ือความหมายในสงั คมใหเ้ ป็นท่ีเขา้ ใจกันดว้ ยการฟังผูอ้ ่ืนพดู หรอื

พดู ใหผ้ ้อู ่ืนฟงั อ่านสิ่งทผี่ ู้อื่นเขียน และเขยี นบางสิ่งบางอย่างใหผ้ อู้ น่ื อา่ น และวิธตี า่ งๆอกี
มากมาย การใช้ภาษาจึงเป็นเคร่อื งมือรักษาทสี่ าคญั ชนิดหีนง่ ทใ่ี ชส้ ื่อสารกบั ผปู้ ่วยโรคซึมเศรา้
และมี จุดประสงค์ให้ผู้ปว่ ยได้รับการรกั ษาโดยวิธีต่างๆจากคนรอบข้างหรือจติ แพทย์
แนวทางการใช้ภาษาเพ่ือรกั ษาผูป้ ว่ ยโรคซึมเศร้า

วริ มณ กาสีวงศ์ (๒๕๕๘:๓๐) กล่าวถงึ แนวทางการใช้ภาษาเพื่อรกั ษาผู้ป่วยโรคซมึ เศรา้
ดังนี้
- การสนทนาเกีย่ วกับภาวะซึมเศร้าควรบอกถึงสิง่ ทผี่ ดู้ ูแลสงั เกตุเห็นถงึ ความผิดปกติ และยืนยัน

ความร้สู กึ ผิดปกติด้วยความออ่ นโยน ใสใ่ จ ต้ังใจรบั ฟัง
- การส่อื สารเพ่อื คน้ หาสาเหตขุ องโรคซึมเศรา้ ควรเรมิ่ ต้นดว้ ยความออ่ นโยนและระมัดระวังไมใ่ ห้

กระทบกระเทือนจติ ใจผู้ป่วย
- การสื่อสารในแนวทางให้การช่วยเหลอื รวมถึงการให้กาลงั ใจ สรา้ งความหวงั โดยใชภ้ าษาท่ี

ง่ายเข้าใจได้ สอ่ื ใหร้ ูว้ ่าผูป้ ่วยมีความสาคัญ ไมโ่ ดดเดยี่ วตามลาพงั และมคี นคอยให้ความ
ช่วยเหลือ
- การสอ่ื สารท่ี ควรหลกี เลีย่ ง ผปู้ ่วยทีม่ ภี าวะซึมเศร้าตอ้ งการคนยอมรับใสใ่ จและรับฟัง ด้วย
ความเขา้ ใจและเมตตาโดยไม่ขัดจงั หวะไมต่ ัดสนิ ถกู ผดิ ส่งั สอนหรอื ให้คาแนะนาโดยมีตัวอย่าง

อรสริ ิ พานิช (๒๕๖๓:๔๘) กลา่ วถงึ แนวทางการใชภ้ าษาเพ่ือรักษาผปู้ ่วยโรคซึมเศร้าดังน้ี
- การใชภ้ าษาทา่ ทาง เป็นภาษาที่ใช้ประกอบการพดู และมีความสาคัญไมน่ อ้ ยกว่าภาษาพูด เช่น

ทา่ ทาง ทา่ น่งั สีหน้าและแววตา
- การตง้ั คาถาม เปน็ ทกั ษะท่ีชว่ ยกระตนุ้ ให้ผู้ป่วยสามารถพูดคุยไดส้ ะดวกเพอื่ ดงึ ความสนใจของ

ผปู้ ว่ ยโดยใชค้ าถามปลายเปิด

๑๔

- การเงียบ เป็นทกั ษะท่ีสาคัญท่ใี ช้ในชว่ งถามตอบหรือการแสดงความคิดเห็น การเวน้ ระยะเงยี บ
ส้ันเกนิ ไปอาจทาให้ผปู้ ่วยมเี วลาในการทบทวนเร่ืองราวไมเ่ พยี งพอ

- การใหก้ าลังใจ เปน็ ทกั ษะทเ่ี สริมและให้กาลังใจแกผ่ ู้ป่วย โดยเฉพาะในชว่ งทม่ี ีความรู้สกึ เสยี ใจ
เศร้าโศกหรอื อยู่ในภาวะเครียด เพื่อใหผ้ ู้ปว่ ยมองเหน็ ความหวังที่เป็นกาลังใจใหค้ วามร้สู กึ
เข้มแข็งและสามารถสกู้ บั ปญั หาต่อไป

- การสะท้อนความร้สู กึ เป็นทักษะทีแ่ พทย์สะท้อนความรสู้ ึกของผปู้ ่วยเพ่ือแสดงใหเ้ หน็ ว่าแพทย์
รู้สกึ เห็นใจและเข้าใจ
Raksa Content Team (๒๕๖๑:ออนไลน์) กล่าวถึงแนวทางการใชภ้ าษาเพื่อรักษาผ้ปู ่วย

โรคซึมเศร้าดังน้ี
- ใช้คาพดู ทใ่ี หก้ าลังใจเปน็ สิ่งสาคญั สาหรับผปู้ ว่ ยโรคซึมเศร้า
- รบั ฟงั ในสง่ิ ทผ่ี ปู้ ว่ ยพดู หรือตงั้ คาถามผูฟ้ ังไมจ่ าเปน็ ตอ้ งให้คาตอบแคแ่ สดงถึงการรบั ฟงั ทจี่ ริงใจ

ก็พอ
- เสนอให้ความช่วยเหลือ ไม่ว่าจะเปน็ การช่วยเหลือเลก็ ๆนอ้ ยๆอยา่ งการสงั่ อาหารให้หรือเสนอ

ตัวออกไปขา้ งนอกเป็นเพื่อนทาให้ผู้ป่วยรู้สกึ อุน่ ใจและได้เขา้ สงั คม
การอบรมระบบบรกิ ารผ้ปู ่วยโรคซึมเศรา้ (๒๕๕๘:ออนไลน)์ กล่าวถึงแนวทางการใช้ภาษา

เพือ่ รกั ษาผู้ป่วยโรคซึมเศร้าดังนี้
- การพูดคุยให้กาลงั ใจ การพดู คยุ ควรพดู ใหช้ ้าลงและชดั เจน ใชค้ าพูดในเชิงบวกนา้ เสยี ง

นุ่มนวลไม่ตะโกน
- การใช้ดนตรีบาบัด เป็นศาสตร์ในการบาบัดแขนงหนึ่ง ท่ีช่วยบาบัดด้านจิตใจอย่างมาก ด้วย

ทานองบทเพลงและเนื้อหาท่ีใช้สื่อสารให้ผู้ฟัง ปัจจุบันมีบทเพลงและดนตรีมากมายท่ีทา
ออกมาเพ่ือใช้บาบดั ผู้ป่วยโรคซึมเศรา้ และให้กาลังใจต่อเหตุการณท์ ี่เลวร้ายของชีวิตไปได้ เช่น
เพลง ศรัทธา-หิน เหลก็ ไฟ
- การอา่ นหนังสอื บาบัดดา้ นความคิดและจติ ใจ การอ่านหนังสือเก่ยี วกบั โรคซึมเศร้าและการให้
กาลังใจเชิงบวกเพ่ือการใช้ชีวิต เพื่อให้ผู้ป่วยท่ีกาลังเผชิญกับโรคได้เข้าใจและเป็นตัวช่วยให้
หายจากโรคน้ีได้ ตัวอย่างหนังสอื เชน่ โลกซึมเศรา้ ของโยฮนั น์

๑๕

- การใช้ภาษากายบาบัด การสัมผัสขณะสนทนาถือเป็นหน่ึงวิธีท่ีสาคัญ เช่น การแตะเบาเบา
หรือจับมือเพ่ือแสดงถึงความใส่ใจ ยอมรับและเต็มใจช่วยเหลือผู้ป่วย การใช้ภาษารัก คือการ
อบกอดดว้ ยความอบอุ่นและมีความพอดีซงึ่ เป็นการรกั สาทางด้านจติ ใจชนดิ หนึ่ง
จากการศึกษาแนวทางการป้องกันและการรกั ษาผู้ปว่ ยโรคซึมเศรา้ สรุปไดว้ ่า แนวทางการ

ป้องกันและการรักษาผู้ป่วยซึมเศร้าเป็นโรคท่ีสามารถรักษาให้หายได้ และมีแนวทางในการรักษา
หลายวิธี เช่น การรักษาด้วยตนเอง การปรึกษาจิตแพทย์ การรักษาโดยใช้ยาและการรักษาโดยใช้
เครื่องมือไฟฟ้า ทั้งนี้แนวทางในการรักษาทุกวิธีจาเป็นต้องมีการใช้ภาษาท่ีเหมาะสมกับผู้ป่วย
ซึมเศร้า รวมถึงการใช้ภาษาในการส่ือสารกับผู้ป่วยซึมเศร้าซ่ึงเป็นสิ่งสาคัญที่มีส่วนช่วยให้การ
รกั ษามปี ระสิทธภิ าพและเห็นผลจริง

๑๖

๒.การใชภ้ าษาในการสอื่ สารกบั ผปู้ ่วยโรคซมึ เศรา้

Beau Monde ( ๒๕๖๒ ) ได้กล่าวว่า สิ่งหน่ึงที่เป็นตัวกระตุ้นให้ผู้ที่ป่วยเป็น โรค
ซึมเศร้า นั้นมีอาการที่ดีข้ึนและแย่ลงได้น่ันก็คือคาพูดของคนรอบกาย โดยคาพูดที่เหมาะสมน้ันก็
จะช่วยให้ผู้ป่วยรู้สึกดีข้ึนได้แต่หากผู้ป่วยเจอคาพูดที่ไม่เหมาะสมก็อาจทาให้อาการแย่ลงไป
กว่าเดิมได้เช่นกัน ถึงแม้ว่าจะเป็นคาพูดเพ่อื ให้กาลังใจและมาจากความหวังดีของเราก็ตาม ดังน้ัน
ก่อนที่เราจะพูดอะไรจึงควรมีการไตร่ตรองและทบทวนให้ดีก่อนว่าคาพูดของเรานั้นจะช่วยทาให้
ผปู้ ่วยดขี ึน้ หรือวา่ แย่ลงกันแน่

๒.๑การใช้ภาษาเชงิ บวกกบั ผปู้ ว่ ยโรคซมึ เศร้า
โรงพยาบาลเปาโล พหลโยธนิ ( ๒๕๖๔ ) ได้กลา่ วถึงการใชภ้ าษาทเี่ หมาะสมกบั การสอ่ื สาร
กับผู้ป่วยโลกซึมเศรา้ มีดังน้ี
๒.๑.๑ ชวนผู้ปว่ ยให้ลุกมาทากิจกรรมท่ีไดเ้ คลื่อนไหว ไม่วา่ จะเปน็ เล่นกีฬาเบาๆ เล่นเกม ทางาน
ศิลปะ นอกจากจะลดโอกาสที่จะคดิ ฟุ้งซ่าน และคิดหดหูแ่ ลว้ การเคลอ่ื นไหวร่างกายยงั ช่วยหลั่ง
สารความสุขอย่างเอ็นโดรฟินออกมา
๒.๑.๒ ฟังด้วยความต้งั ใจ และท่าทีท่ีสบายๆ ไม่คะย้นั คะยอ และไม่ตดั สนิ ใจแทน นั่นเพราะผปู้ ว่ ย
โรคซึมเศรา้ มกั มคี วามคดิ ว่าตวั เองเปน็ ภาระให้คนอืน่ อยแู่ ล้ว ดงั น้นั การจะให้ผปู้ ว่ ยพูดคุยระบาย
ความรู้สึก ตอ้ งให้พวกเขารูส้ กึ กอ่ นว่ามคี นอยากรับฟัง และไมก่ ดดนั หรือตดั สินเขา สร้างความ
ไวว้ างใจ และบรรยากาศสบายๆ ให้ผปู้ ่วยได้เล่าสงิ่ ทอ่ี ยากพดู ออกมาเตม็ ท่ี เพราะในบางครง้ั เขา
อาจมีความคดิ อยากทาร้ายตวั เอง หรืออยากตาย หากว่าคนรอบข้างไดม้ ีโอกาสรบั ฟงั จะได้
สามารถปอ้ งกนั เหตรุ ้ายท่ีอาจเกิดขน้ึ ได้ทันทว่ งที
๒.๑.๓ ตวั อยา่ งการใชภ้ าษาเชงิ บวก
พชิ าวีร์ เมฆขยาย ( ๒๕๖๒ ) กล่าวถงึ ตวั อยา่ งคาพดู ทเี่ หมาะสมในการสนทนากบั ผ้ปู ่วยโรค
ซึมเศร้า มีดงั น้ี
๒.๑.๓.๑ คาแนะนาในการเริม่ ตน้ บทสนทนา
“ฉนั รสู้ ึกเป็นหว่ งเธอ”
“ช่วงนฉ้ี นั สงั เกตวา่ เธอเปลี่ยนไป เลยอยากถามว่าเป็นยังไงบา้ ง”

“ฉนั อยากจะมาพดู คุยกับเธอ เพราะเหน็ ช่วงน้ีเธอดซู มึ ๆ ไป”

๑๗

๒.๑.๓.๒ คาถามทสี่ ามารถใช้ถามได้
“เธอเร่มิ รูส้ กึ แบบนต้ี งั้ แต่เมื่อไหร่”
“มอี ะไรเกิดขน้ึ รเึ ปลา่ ทที่ าใหเ้ ธอเร่ิมรูส้ กึ แบบน้ี”
“ฉนั จะชว่ ยเธอไดย้ งั ไงบา้ ง”
“เธออยากรบั ความช่วยเหลือในเร่ืองน้ีม้ัย”
๒.๑.๓.๓ คาพดู ท่สี ามารถใชไ้ ด้
“เธอไม่ได้ตัวคนเดยี วลาพังนะ เพราะฉันอยู่ทีน่ ี่เพอ่ื ช่วยเธอ”
“ตอนนเี้ ธออาจจะยังนกึ ภาพไมอ่ อก แตค่ วามรูส้ กึ พวกนไ้ี มไ่ ด้อยูต่ ลอด มันสามารถหายไปได้”
“ฉนั อาจไมส่ ามารถเขา้ ใจส่ิงท่เี ธอกาลงั รู้สกึ หรอื เผชิญไดห้ มด แต่ฉันเป็นหว่ งและอยากจะช่วยนะ”
“เวลาท่ีเธออยากยอมแพ้ อยากใหเ้ ธอลองพยายามฝืนสกู้ บั มนั ไปอกี วนั อีกชัว่ โมง หรอื นานเท่าไหร่
ก็ได้ทเี่ ธอสามารถทาได้”
“เธอสาคัญกับฉันมากนะ”
“บอกฉันได้มยั้ วา่ อยากให้ฉันทาอะไรเพือ่ ช่วยเธอ”

Beau Monde ( ๒๕๖๒ ) กล่าวถึงคาพูดปลอบใจคนเป็นโรคซึมเศร้าการพูดแบบไหนให้
รสู้ กึ ดีขน้ึ มดี งั นี
๒.๑.๓.๑ คาพูดท่ีควรพูดกบั คนเป็นโรคซึมเศรา้ ตวั อยา่ งเช่น
“อกี ไมน่ านกจ็ ะดขี ้นึ และเธอจะผ่านมันไปได้”
“ฉนั อาจจะไมเ่ ขา้ ใจเธอ แต่ฉันจะอย่ขู ้างๆ เธอนะ”
“เธอยงั มเี วลาอกี มาก และฉันจะอยูข่ า้ งๆ เผือ่ ว่าจะช่วยอะไรเธอไดบ้ า้ ง”
“อดทนไวน้ ะ เธอยังมีฉนั อย่ขู ้างๆ นะ”
“เธอไม่ได้อยู่คนเดยี วนะ”
“ไม่มใี ครตั้งใจให้เรอ่ื งร้ายๆ เกิดข้ึนหรอก”

“ฉนั เห็นแลว้ วา่ เธอกาลังพยายาม มอี ะไรทฉ่ี นั พอจะช่วยเธอได้บ้าง”

“ออกไปเดินเลน่ กนั ไหม / ฉันจะกอดเธอไวน้ ะ”

คลนี กิ สขุ ภาพจิตนายแพทย์เจษฎา ( ๒๕๖๑ ) กลา่ วถึงตัวอย่างคาพูดท่เี หมาะสมในการ
สนทนากับผู้ปว่ ยโรคซมึ เศร้า มีดังนี้

๑๘

๒.๑.๓.๑ คาพูดที่ควรพูดกบั ผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ตัวอย่างเช่น
“อยากให้ฉันกอดไหม”
“เธอไม่ได้อยู่คนเดียวนะ”
“เธอสาคญั สาหรับเสมอนะ”
“ฉันจะอยขู่ า้ งๆ เธอนะ”
“ฉันอาจไมเ่ ขา้ ใจ แตเ่ ข้าใจเธอนะ”
“ฉนั รกั เธอนะ”

ในการใช้ภาษาท่ีเหมาะสมกับการส่ือสารกับผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ถือเป็นสิ่งท่ีสามารถทาให้
ผู้ป่วยมีอาการที่ดีขึ้นได้ โดยการชวนผู้ป่วยมาทากิจกรรมท่ีได้เคล่ือนไหว ทาให้ร่างกายหล่ังสาร
เเห่งความสุขอย่างเอ็นโดรฟิน ช่วยลดโอกาสที่จะคิดฟุ้งซ่านได้ ในฐานะผู้ฟังควรจะฟังด้วยความ
ต้ังใจเเละสร้างบรรยากาศให้ดูสบายๆผู้ป่วยจะได้ไม่คิดว่าตนเองเป็นภาระของคนรอบข้างเเละ
สบายใจทีจ่ ะระบายในสง่ิ ท่ีขา้ งในใจออกมาอย่างเต็มที่ ซ่งึ ในการสนทนากับผูป้ ่วยกค็ วรพดู ในทางท่ี
ใหผ้ ปู้ ่วยได้รู้สึกวา่ ไมโ่ ดดเดีย่ วยังมคี นรอบข้างอยู่เสมอเเละเเสดงถงึ ความเปน็ ห่วงเปน็ ใย

๒.๒ ภาษาทค่ี วรหลกี เลี่ยงกบั ผปู้ ่วยโรคซมึ เศรา้
โรงพยาบาลเปาโล พหลโยธนิ ( ๒๕๖๔ ) ได้กล่าวถึงการใชภ้ าษาทค่ี วรหลกี เลี่ยงกบั การ
สอ่ื สารกับผู้ป่วยโลกซมึ เศรา้ มดี ังนี้
๒.๒.๑ อย่าบอกปัด ผู้ป่วยใหไ้ ปเข้าวดั ฟังธรรมหรอื ทาจิตใจใหส้ งบ โดยไม่อยเู่ คียงขา้ งพวกเขา
เพราะผู้ป่วยจะรสู้ กึ ทนั ทีว่าไม่มีทีพ่ ่ึงพา หรือรสู้ กึ ว่าตวั เองเป็นที่น่าราคาญ และยง่ิ ตตี ัวออกห่าง
สง่ ผลใหเ้ กิดความคิดไม่อยากมชี วี ติ อยูไ่ ด้
๒.๒.๒ อยา่ ทาเปน็ ไมไ่ ด้ยนิ หรอื ไม่อยากพดู ถงึ เมื่อผู้ปว่ ยพดู ถงึ การอยากตาย หลายๆ คนคิดว่าการ
เอ่ยหรอื พูดคยุ ถึงเร่อื งการฆ่าตวั ตายกบั ผู้ป่วยโรคซมึ เศรา้ อาจเปน็ แนวโน้มใหผ้ ู้ป่วยอยากทา หรอื ช้ี
โพรงใหก้ ระรอก แตใ่ นความเป็นจริงแล้วหากผู้ปว่ ยเอย่ ถงึ การอยากตาย แลว้ คนใกลต้ วั กลับมีทา่ ที
ต่อตา้ น หรอื ทาเป็นไมส่ นใจเพือ่ ให้ผู้ป่วยเลิกคดิ หรือมีคาพูดทานองว่า “อย่าคิดมาก” “อย่าคดิ
อะไรบา้ ๆ” ยงิ่ ทาใหผ้ ้ปู ว่ ยรู้สึกแย่ลงอยา่ งมากว่าเราไม่รับฟงั ส่ิงท่ีเขาร้สู กึ คับข้องใจ ไมม่ ีวันจะเขา้ ใจ
เขาจริงๆ

๑๙

๒.๒.๓ อยา่ กดดนั และเรง่ รัด ถ้าผปู้ ว่ ยยงั อาการไมด่ ีขึ้น หา้ มพูดหรือทาให้พวกเขารู้สึกว่า “เมื่อไหร่
จะหาย” หรือ “หายไดแ้ ล้ว” เพราะผปู้ ว่ ยจะยง่ิ รูส้ ึกกดดนั และผดิ หวงั หากอาการเพ่ิงเริม่ ดีขนึ้
ความเครียดเหลา่ นจ้ี ะยง่ิ ส่งผลใหจ้ ติ ใจแยล่ ง และอาจเปน็ หนักกวา่ เดมิ

๒.๒.๔ ตัวอย่างภาษาทค่ี วรหลีกเล่ียง
โสภณ โพธิรชั ต์ ( ๒๕๖๒ ) กลา่ วถึงคาพดู ที่ควรหลกี เลี่ยงในการสนทนากับผูป้ ว่ ยโรค
ซึมเศร้า

๒.๒.๔.๑ ตวั อยา่ งเชน่

“พยายามหนอ่ ย แค่น้ีเอง ทาไมทาไม่ได้?” สุภาษิตโบราณท่ีวา่ “ความพยายามอยทู่ ่ไี หน
ความสาเร็จอยู่ที่น่นั ” อาจเปน็ คาพูดของคนธรรมดาทตี่ อ้ งการพูดใหก้ าลังใจเพ่ือน แต่สาหรับผปู้ ว่ ย
โรคซึมเศรา้ แลว้ คาพดู น้ีกลบั ทาให้รสู้ กึ ลม้ เหลวมากขึ้น พลังในตวั ลดน้อยถอยลงไปและรสู้ ึกหอย
เห่ียวใจย่งิ ขึ้น การขอให้มีความพยายามมากข้ึนคงช่วยไม่ได้เพราะไม่มีแรงมากพอทจ่ี ะทา อกี ทาง
ผ้ปู ว่ ยโรคซมึ เศรา้ อาจเก็บเอาคาพูดน้ีไปคดิ ต่อด้วยว่า ที่ทามาทัง้ หมดกอ่ นหนา้ นี้ หากไมพ่ ยายาม
แล้วจะเรยี กวา่ อะไร
“หา้ มร้องไห้ รอ้ งไหท้ าไม?” ผปู้ ว่ ยโรคซมึ เศรา้ ไมไ่ ดร้ ้องไห้ตลอดเวลาแตก่ ารรอ้ งไหเ้ ปน็ รปู แบบการ
ระบายความเศรา้ อย่างหนึ่งท่ีจะช่วยบรรเทาอาการเศรา้ ใหด้ ขี ้ึนได้บา้ ง ซ่งึ อยา่ งน้อยทส่ี ดุ การร้องไห้
ออกมาก็ไม่ต้องใช้ความพยายามมากเทา่ กับการแกป้ ัญหาทีต่ ัวเองกาลังประสบอยู่ การห้ามผปู้ ่วย
รอ้ งไหก้ ลายเปน็ การปิดก้ันความรู้สกึ ของเขา เสมือนกบั ปิดประตูทางออกที่เหลืออยูเ่ พียงประตู
เดียว ดังนน้ั หากผู้ป่วยโรคซมึ เศรา้ อยากร้องไหก้ ค็ วรปลอ่ ยให้รอ้ งไหส้ กั พกั หน่ึง
“ อย่าคิดมาก เด๋ียวก็ดีขึ้นเอง” การคิดมากไม่ใช่สาเหตุของโรคซึมเศร้าเพียงประการเดียว ผู้ปว่ ย
โรคซมึ เศรา้ มกั มีความคิดหรอื เผชิญกับประสบการณ์ดา้ นลบอยแู่ ล้ว เรื่องทีไ่ มด่ เี รอ่ื งหนงึ่ มกั จะมี
ตอนตอ่ ไปเรอ่ื ยๆ เมอื่ มีคนนงั่ ฟงั ผปู้ ่วยเล่าหรือระบายเรอ่ื งใหมๆ่ ในแง่ลบที่เพ่งิ ประสบพบเจอ ผฟู้ งั
ก็จะรูส้ ึกวา่ ตนเองฟงั เร่ืองราวดา้ นลบมากเกินไป จนกระทั่งเผลอพูดประโยคปลอบใจผปู้ ว่ ยว่า
“อยา่ คดิ มาก” หรือ “คดิ เสยี ว่าเปน็ เร่ืองลบๆ จะได้โดนลบออกไปจากใจบา้ ง” คาพดู เหล่านไ้ี มไ่ ด้
ช่วยให้ผู้ป่วยรูส้ กึ ดขี ึ้นแมแ้ ต่อยา่ งนอ้ ย เพราะปญั หายังไมไ่ ดถ้ ูกแก้ไขไปในทางที่ดขี ึ้น
“ ทาไมไม่กินข้าว?” ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าอาจมอี าการเบ่อื อาหารและร้สู ึกผดิ เสมอๆ เมื่อเบือ่ อาหารก็
ไมอ่ ยากรบั ประทานอาหาร บอ่ ยครงั้ ทพี่ อ่ แม่ ญาติ หรอื ผู้ใกล้ชิดที่เป็นผ้ทู าอาหารเหน็ เข้ากจ็ ะรสู้ กึ

๒๐

เป็นห่วงจึงถามประโยคน้อี อกมา ผู้ป่วยโรคซึมเศรา้ กจ็ ะยง่ิ เกดิ ความรสู้ ึกผดิ มากขึ้นไปอีก ทาให้
อารมณ์และความสมั พนั ธ์กับบุคคลอื่นภายในบ้านยิ่งแยล่ งตามไปดว้ ย หากผดู้ แู ลทาอาหารทีผ่ ู้ปว่ ย
ช่นื ชอบกอ็ าจช่วยลดอาการเบอื่ อาหารได้
“ส้ๆู นะ”ในการพดู ใหก้ าลงั ใจ คานี้ก็ไม่ควรพูดกบั ผปู้ ว่ ยโรคซมึ เศร้า เพราะอาจแสดงถึงการ
เพกิ เฉย ผ้ฟู ังควรรับฟังอย่างต้งั ใจ พร้อมท้งั ค่อยๆเสนอแนวทางแกป้ ญั หาควบคู่ไปกับคาพดู น้ี กจ็ ะ
เปน็ ประโยชนแ์ ก่ผูป้ ว่ ย แต่หากไม่ไดเ้ ตรยี มแนวทางแก้ไขปญั หาไวก้ ็ไม่ควรพดู เพราะคาพูดเปน็ ดาบ
สองคมเสมอ ย่งิ ในผู้ป่วยโรคซมึ เศร้าแลว้ คาพูดอาจจะชว่ ยบรรเทาจติ ใจใหด้ ีข้ึนหรืออาจนาไปสกู่ าร
ทาอตั วนิ ิตบาตกรรมก็ได้เช่นกนั

พชิ าวีร์ เมฆขยาย ( ๒๕๖๒ ) กล่าวถึงตัวอย่างคาพดู ท่เี หมาะสมในการสนทนากบั ผูป้ ว่ ยโรค
ซมึ เศรา้

๒.๒.๔.๑ ตัวอย่างเชน่

“ความรู้สึกพวกนมี้ นั อย่แู คใ่ นความคดิ เธอ”

“พวกเราทุกคนต่างก็เคยผ่านช่วงเวลาแบบน้ี”

“มองดา้ นดี (คิดบวก) ไว้สิ”

“ชวี ติ เธอยังมีคุณคา่ อกี มากมาย ทาไมถงึ อยากคิดสน้ั ละ่ ”

“ฉนั ช่วยอะไรเธอไม่ได้จริงๆ”

“อยา่ ไปสนใจความรู้สกึ พวกนนั้ ”

“ออกมาจากตรงนัน้ สิ”

“เธอมปี ัญหาอะไร”

“ยังไม่ดขี ้นึ อกี เหรอ”

๒๑

Beau Monde ( ๒๕๖๒ ) กล่าวถงึ คาพดู ท่คี วรเลยี่ งเมือ่ สนทนากบั คนเป็นโรคซมึ เศร้าการ
๒.๒.๔.๑ ตัวอย่างเช่น
“ชวี ติ ก็อย่างน้แี หละ มนั ไมม่ ีความยุตธิ รรมหรอก”
“ฉนั เขา้ ใจความรสู้ กึ ของคุณนะ”
“สดุ ท้ายชีวติ กย็ ังดาเนนิ ต่อไป”
“เดย๋ี วก็ผ่านมนั ไปได้”
“ยงั มีคนทแ่ี ย่กว่าเราอีก”
“เดย๋ี วกจ็ ะดีขึน้ ”
“เขม้ แขง็ ไว้นะ”
“ลองหาความสขุ ให้ตวั เองบ้าง”

ในการใช้ภาษาทคี่ วรหลีกเล่ยี งในการสื่อสารกับผปู้ ว่ ยโลกซมึ เศรา้ เพราะในการสนทนากับ
ผปู้ ่วยหากมกี ารใช้ภาษาท่ีไมเ่ หมาะสมกอ็ าจจะทาให้ผูป้ ่วยมีอาการท่ีเเยล่ งได้ ผทู้ ่สี อื่ สารด้วยควร
จะเลี่ยง การพูดปดั ๆหรือพดู ในเเง่ท่ีไมอ่ ยเู่ คียงขา้ งพวกเขา ในทางเดียวกันควรท่จี ะเลยี่ งการทาเป็น
ไม่ไดย้ ิน หรอื พดู ชน้ี าในการฆา่ ตัวตายใหก้ ับผ้ปู ่วย ซง่ึ อาจจะทาใหผ้ ้ปู ่วยรู้สกึ เเยเ่ เล้วสง่ ผลใหเ้ กดิ
ความคดิ ฆา่ ตวั ตายได้ หากอาการของผู้ปว่ ยไม่ดขี ้ึนควรเล่ยี งการกดดันเเละเร่งรดั ความเครียด
เหล่านีอ้ าจจะทาใหอ้ าการเเยล่ งเเละอาจเปน็ หนักกว่าเดิม โดยการสนทนากับผ้ปู ่วยโรคซึมเศร้า
ควรเลย่ี งการพูดแนวบังคับจติ ใจและการพูดท่ีดูเพิกเฉยกบั ความรู้สึกของผู้ป่วย

จากการศึกษาการใชภ้ าษาในการส่อื สารกับผู้ป่วยโรคซมึ เศร้า สรุปได้วา่ การใชภ้ าษาใน
การสือ่ สารกับผู้ป่วยโรคซึมเศรา้ เปน็ สง่ิ ทีก่ ระตุน้ ต่ออาการป่วยของผู้ปว่ ยดีขนึ้ หรอื เเย่ลงได้ โดยการ
ใชภ้ าษาเชงิ บวก เช่น ชวนผู้ป่วยทากจิ กรรมท่ีได้เคล่ือนไหว รับฟังผู้ป่วยอย่างตั้งใจ ซ่ึงจะทาให้
ผ้ปู ่วยรสู้ กึ ไมโ่ ดดเดี่ยวเเละไม่คิดฟงุ้ ซ่านสง่ ผลให้อาการผปู้ ว่ ยดขี ึ้นเเละภาษาทีค่ วรหลีกเลี่ยง เชน่
การตอบปดั ๆ พูดกดดัน จะทาใหผ้ ู้ปว่ ยเครียดเเล้วทาให้อาการปว่ ยเเยล่ งได้ ท้ังนีก้ ารใชภ้ าษาใน
การสื่อสารกบั ผูป้ ่วยโรคซมึ เศร้ามผี ลต่ออาการของผู้ปว่ ย ดงั นัน้ การนาหลกั การใช้ภาษาดงั กล่าวมี
ความสาคัญมากที่จะต้องศกึ ษาผลลพั ธ์จากกรณีศึกษาท่ไี ดน้ าหลักการการใช้ภาษาในการสือ่ สาร
กบั ผูป้ ่วยโรคซึมเศร้าไปใช้

๒๒

๓.กรณศี ึกษา

๓.๑ ผูป้ ่วยทร่ี ักษาโรคซมึ เศร้าด้วยบทเพลง
Kateuni ( ๒๕๖๓ ) เธอได้เล่าเร่ืองราวของเธอว่าเธอเริ่มมีอาการซึมเศร้าเพราะสาเหตุ
อะไร และใช้ชวี ิตอย่างไร และในท่ีสุดเธอกด็ ีขน้ึ จากการเปน็ ซมึ เศรา้ เพราะเนอ้ื เพลงทม่ี ุ่งไปทางให้
กาลงั ใจของวงไอดอลช่อื ดงั จากเกาหลใี ต้ BTS ความวา่
๓.๑.๑ สาเหตขุ องอาการซึมเศรา้
ผู้ป่วยแนะนาตัวในกระทู้ที่เธอเขียน ว่ามีช่ือว่า เกศ เริ่มมีอาการซึมเศร้าเพราะว่า ในช่วง
เวลาน้ันที่เธออยู่ช่วงช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ ในช่วงที่เธอเตรียมตัวเพ่ือจะเข้ามหาวิทยาลัย เธอมี
ความจาเป็นท่ีจะต้องเลือกเข้าคณะสาขาท่ีเธอช่ืนชอบ แต่เธอกล่าวว่า ในตอนนั้นเธอยังไม่มี
ความชอบในด้านใดเป็นพิเศษ และเพราะเธอเร่ิมเป็นแฟนคลับและเริ่มสนใจวงการ K-pop ตั้งแต่
ยังเป็นเด็ก แต่ก็ไม่มีความม่ันใจมากพอท่ีจะเรียนภาษาเกาหลี สุดท้ายเธอจึงเลือกเข้าสาขาที่
เก่ียวกับภาษาอังกฤษ แต่เมื่อเรยี นไปสกั พักเธอก็พบว่าเธอไมม่ คี วามสุขกับสาขาน้ี สุดท้ายเธอกพ็ ัก
การเรียนไปในทีส่ ุด ถึงนั่นจะเป็นทางที่เธอเลอื กเอง แต่ก็เธออดไม่ได้ทจ่ี ะรู้สกึ ไม่ดีเมอื่ เห็นเพือ่ นรุ่น
เดยี วกันไดเ้ รม่ิ ใชช้ วี ิตนกั ศกึ ษา และน่ันก็เปน็ สาเหตทุ ีเ่ ธอเร่มิ มอี าการซึมเศรา้
๓.๑.๒ อาการซมึ เศรา้
ผู้ป่วยมีอาการคิดมากและร้องไห้เม่ือเห็นเพ่ือนของเธอในรุ่นเดียวกันในเฟซบุ๊ก หรือใน
แพลตฟอร์มอ่ืนๆที่เรียนมหาลัยล่วงหนา้ เธอไป ผู้ป่วยจึงตัดสินใจเลกิ เล่นโซเชียลเพอ่ื ลดอาการตรง
นี้ แต่กไ็ ม่ได้ช่วยอะไรมาก เมื่อได้ใชเ้ วลาอยู่คนเดียวกม็ ีอาการคดิ มากแล้วก็รอ้ งไหค้ นเดียวอยู่เสมอ
ในช่วงเวลาท่ีเธอตัดสินใจพักการเรียนไป ๑ ปี เธออาศัยอยู่กับคณุ แม่ ท่ีก็ทะเลาะกันบ่อยมากกว่า
ปกติ คุณเกศเล่าว่าแต่ก่อนเธอเป็นคนร่าเริง แต่เดี๋ยวนั้นเธอเป็นคนอารมณ์อ่อนไหวมากขึ้น เธอมี
อาการเครียดมากถึงข้ันมีความคิดที่จะฆ่าตัวตาย เธออธิบายเอาไว้ว่า อาการที่เธอเป็นตอนนี้มัน
หนักถึงขึ้นท่ีอยากจะฆ่าตัวตาย รู้สึกท้อไปหมด เธอถึงได้รู้ว่าทาไมคนที่ฆ่าตัวตายถึงไม่คิดอะไร
เพราะในตอนนน้ั เธอเองกค็ ดิ อะไรไม่ได้เหมือนกัน
๓.๑.๓ วธิ ีการบาบดั โรคซมึ เศร้า
ผู้ป่วยพยายามจะหากิจกรรมทายามว่างเพื่อให้ตัวเองหยุดคิดมาก เธอเริ่มจากการดูซีรีส์
เกาหลี ที่มีสมาชิกของวง BTS ร่วมแสดงอยู่ด้วย และตัวละครนั้นก็เป็นตัวละครท่ีเธอชื่นชอบ เธอ

๒๓

จึงเร่ิมติดตามผลงานเพลงของวง BTS เพลงที่เธอ ช่ืนชอบ และช่วยเยียวยาจิตใจของเธอ คือเพลง
So Far Away ที่แต่งและขับร้องโดย ๓ สมาชิกของวง จิน, ชูก้าและ จองกุก ผู้ป่วยได้อธิบาย
ความรู้สึกท่ีมีต่อเพลงนี้ไว้ว่า เธอได้ฟังเพลงน้ีท่ีมีเนื้อหาท่ีตรงกับชีวิตเธอมาก เมื่อได้ฟังก็ทาให้เธอ
ร้องไห้อย่างหนัก เธอกล่าวต่ออีกว่า เพลงนี้เปรียบเหมือนแรงบันดาลใจใหม่ของเธอ คุณแม่ของ
เธอที่ก็เป็นหนึ่งในกาลังใจหน่ึงท่ีสาคัญ แต่บทเพลงน้ีก็มาช่วยเสริมในส่วนที่ขาดไปได้อย่างดี และ
ทอ่ นเพลงท่ีคุณเกศได้พดู ถึง มคี วามวา่

하고 싶은 게 없다는 게 진짜 뭣 같은데 흔한 꿈조차 없다는 게 한심한 거 알어 다 아는데

(มันน่าเศร้าเนอะท่ีเราไม่มีสิ่งท่ีอยากจะทา และไม่มีความฝันเหมือนคนอ่ืนเขา คนอ่ืนกาลังวิ่งไป
ข้างหน้าแต่ผมทาไมยงั คงอยู่ท่ีเดมิ )

결국 시련의 끝에 만개하리시작은 미약할지언정 끝은 창대하리

(ความฝันจะเบ่งบานได้เต็มทห่ี ลังจากผ่านความยากลาบากเหลา่ นนั้ ไป)
หลงั จากท่ีผูป้ ่วยเป็นแฟนคลบั ของวงBTS อย่างจริงจงั เธอเร่ิมมีความกลา้ มากพอท่ีจะเรียน

ภาษาเกาหลี เธอมีอารมณ์คงที่มากข้ึน สามารถมีสมาธิทางานได้ในเวลานานๆ และในปีต่อมา เธอ
ก็สอบเพ่อื ย่นื เข้าคณะภาษาเกาหลี เอกเกาหลตี ามทเ่ี ธอต้งั ใจไว้ได้สาเรจ็

๓.๑.๔ ตวั อย่างเนอ้ื เพลง
จากเพลง Answer : Love Myself – BTS

용서하자 버리기엔우리 인생은 길어미로 속에선 날 믿어겨울이 지나면다시 봄은 오는
거야

(มาให้อภัยตัวเรากันเถอะนะ ชวี ติ ของเรายนื ยาว เชอ่ื ใจตัวเองเม่ือต้องอยู่ในเขาวงกต เมอ่ื ฤดูหนาว
ผา่ นพน้ กจ็ ะเป็นเวลาของฤดูใบไมผ้ ลิเสมอ)

슬프던 me 아프던 me 더 아름다울 美

(ผม คนทีเ่ คยเศรา้ ใจ ผม คนทีเ่ คยเจบ็ ปวด สง่ิ เหลา่ นีท้ าให้ผมงดงามข้นึ )
จากเพลง Two Three - BTS

슬픈 기억 모두 지워서로 손을 잡고 웃어그래도 좋은 날이 앞으로 많기를내 말을
믿는다면 하나 둘 셋

๒๔

(เอาเรื่องราวแย่ๆในหัวทิ้งไปให้หมดเลยนะ แค่จับมือผมไว้แล้วหัวเราะออกมาก็พอ ผมเช่ือว่าวัน
ขา้ งหนา้ จะต้องสวยงามกว่าน้ีแนๆ่ ถา้ คุณก็เช่ือเหมือนกนั ใหล้ องนบั หนง่ึ สองสาม)
จากเพลง Whalien ๕๒ – BTS
Lonely lonely lonely whale 이렇게 혼자 노래불러외딴 섬 같은 나도밝게 빛날 수

있을까이렇게 또 한 번 불러봐대답 없는 이 노래가내일에 닿을 때까지

(วาฬท่ีแสนโดดเด่ียว แม้ว่าจะร้องเพลงสักแค่ไหนก็คงจะไม่มีใครได้ยินใช่ไหม? ถึงอย่างนั้นก็จะ
ขอร้องอีกตอ่ ไป ในสกั วนั ก็คงจะมีใครสักคนทม่ี าร้องเพลงไปดว้ ยกัน)

๓.๑.๕ ภาษาในบทเพลง
วง BTS เป็นวงไอดอลบอยแบนด์ในประเทศเกาหลีใต้ แนวเพลงเคป็อปและฮิปฮอป
ภายใต้สังกัดบิกฮิตเอนเตอร์เทนเมนต์(Big Hit Entertainment) ประกอบด้วยสมาชิกจานวน ๗
คน เปิดตัวคร้ังแรกเมื่อวันท่ี ๑๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖ (อายุวงปัจจุบัน ๘ ปี) โดยที่เพลงส่วน
ใหญ่ของวงนี้ จะถกู เขียนขึน้ โดยตัวสมาชกิ ของวง ซ่ึงเนอื้ เพลงจะเลา่ จากเรื่องราวของเขาตัง้ แต่ทีย่ ัง
เป็นวัยรุ่นในวัยที่กาลังสับสนวุ่นวาย มาจนถึงวัยปัจจุบันท่ีวงของพวกเขาประสบความสาเร็จอย่าง
มากในตอนนี้ เหล่าแฟนคลับวงการK-pop จะเรียนวง BTS ว่า ‘คาราบาวเกาหลี’ เพราะเพลงจะ
เน้นไปในทางสู้ชีวิตและให้กาลัง ส่วนหนึ่งเป็นเพราะเน้ือเพลงแต่งมาจากประสบการณ์จริงๆท่ีตัว
สมาชิกเคยผ่าน หรือพบเจอมา เขาจะเล่าออกมาเป็นบทเพลงท่ีให้ความรู้สึกท่ีสมจริง คนฟังที่เคย
ประสบปัญหาเดยี วกันก็จะรูส้ กึ ตามไปกบั บทเพลงไดง้ า่ ย
มีแฟนคลับของวงน้ีหลายคนที่มาเล่าเรื่องที่ตนเองหายจากอาการซึมเศร้าเพราะบทเพลง
ของพวกเขา และโดยวิธีท่ีจะพูดคุยกับผู้ป่วยท่ีมอี าการซึมเศร้าคือ ความเข้าใจ ไม่พยายามคิดแทน
พวกเขาจนเกินไป และไม่พูดเหมือนเขาต้องเผชิญปัญหานี้เพียงลาพัง โดยเน้ือหาของเพลงBTS ก็
ตอบโจทย์สิ่งเหล่านั้นท้ังหมด พวกเขาพูดคุยผ่านเน้ือเพลงด้วยความเข้าใจ และเนื้อเพลงของวง
BTS จะมีท้ังการต่อว่า ถึงคนที่ไม่ชอบพวกเขา เล่าถึงสิ่งต่างๆที่เขาเผชิญมาตลอดหลายปีท่ีเป็น
ศิลปิน ไปจนถึงการพูดปลอบประโลมใครก็ตามท่ีเคยพบเจอปัญหาเดียวกับเขา ว่าพวกเขาเข้าใจ
และจะอยู่เคียงขา้ งจนกว่าปญั หาทีเ่ ผชญิ จะผ่านพน้ ไป
๓.๒ ผ้ปู ว่ ยท่รี กั ษาโรคซึมเศรา้ ดว้ ยบทสนทนา
(จากเว็บPantip ต้งั แต่วนั ท่ี ๑๒ กรกฎาคน ๒๕๖๒ – ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๓) อกี เว็บกระทู้
หน่ึงท่ีมีชื่อเสียงมากมายของคนท่ีมาแลกเปล่ียนประสาการณ์ต่างๆ เราก็ได้พบอีกกระทู้ที่ตรงกับ

๒๕

หัวท่เี รากาลังใหค้ วามสนใจเหมอื นกนั แต่ในรูปแบบอืน่ ในเวบ็ พนั ทปิ มีผูป้ ่วยโรคซึมเศร้าคนหนึ่งที่
เธอได้มาเล่าประสบการณ์การพบแพทย์และเข้ารักษาโรคซึมเศร้าและนามาอัพเดทให้เราอย่าง
ต่อเนอ่ื งเป็นเวลา ๑ ปีเต็ม

๓.๒.๑ สาเหตุของอาการซึมเศรา้
ผู้ป่วยได้เล่าว่าปัจจุบันเธอศึกษาอยู่ในรั้วมหาลัยวิทยาลัย ชั้นปีที่ ๔ แล้ว ด้วยนิสัยส่วนตัว
ของเธอท่ีเป็นคนจริงจังกับชีวิต จะทาอะไรมักจะวางแผนก่อนเสมอ ทาให้ผลการเรียนของเธออยู่
ในระดับดีมากต้ังแต่เทอมแรก นั่นเป็นจุดที่ทาให้ผู้ป่วยเริ่มกดดันตัวเองมากขึ้นเร่ือยๆ เธอมีความ
ตั้งใจท่ีจะรักษาระดับการเรียนของเธอให้คงอยู่ในระดับนี้ไว้ให้ได้ตลอด แต่เพราะยิ่งช้ันปีสูงข้ึน
เนื้อหาก็จะย่ิงยากข้ึน ทาให้เธอไม่สามารถรักษาผลการเรียนไว้ได้ เม่ือเธอเข้าปี ๒ เป็นครั้งแรกที่
เธอสอบตกและได้คะแนนน้อยกว่าที่หวังไว้ เธอจะมีภาวะเครียดมาก ในวันที่เกรดออก ผู้ป่วยเล่า
ว่าเธอมีอาการเครียดมาก ร้องไห้ออกมาทันทีที่ได้เห็นเกรดของเธอ ผู้ป่วยเครียดหนักมากยิ่งขึ้น
เมื่อเธอเขา้ สชู่ ั้นปที ี่ ๓ ถงึ จะพยายามเรียนอย่างหนัก ผลการเรียนกก็ ระเต้ืองขึน้ มาเพยี งแค่นิดเดียว
เท่าน้นั อาการซมึ เศรา้ ปรากฏชัดข้นึ จนครอบครัวของผปู้ ว่ ยสังเกตเห็นและพาไปพบจิตแพทย์
๓.๒.๒ อาการของโรคซมึ เศร้า
ผู้ป่วยเล่าว่า เธออาการเครียดเพิ่มมากขึ้นจากเร่ืองเรียน จากนั้นก็พาลไปเครียดเร่ืองอื่นๆ
มีความรูส้ ึกอึดอดั อยู่ข้างในใจ เศร้า หมดอาลยั ตายยาก มีความรู้สึกวา่ งเปล่า ไม่อยากอาหาร เบ่ือ
อาการ มอี าการสิ้นหวงั ไมอ่ ยากทาอะไรหรอื ออกไปพบเจอกบั ใคร เม่ือได้อย่คู นเดียวหรือไม่มีอะไร
ทากจ็ ะร้องไหอ้ อกมา ในรปู แบบทีว่ า่ สะอกึ สะอ้นื ไมย่ อมพูดคุยกับใคร แม้แต่คนในครอบครัว
๓.๒.๓ วธิ ีการบาบัดซมึ เศร้า
ครอบครัวของผู้ป่วยพาผู้ป่วยไปพบจิตแพทย์ท่ีคลินิกสุขภาพจิตแห่งหน่ึง โดยคุณหมอท่ี
ผู้ป่วยไปพบมีท่าทางใจดี สุภาพ ในตอนแรกผู้ป่วยมีอาการประหม่าและหมกมุ่นอยู่กับตัวเอง เธอ
คิดว่าพอเจอหมอคงจะไม่กล้าเล่าเร่ืองต่างๆให้กับหมอฟัง เพราะแม่แต่ครอบครัวที่เป็นคนใกล้ตัว
เธอยังไม่เคยเล่าให้ฟังสักครั้ง แต่พอเม่ือได้เจอหมอท่ีได้อธิบายไว้ข้างต้น คุณหมอได้พูดถามผู้ป่วย
ว่า วันนี้มีอะไรหมอช่วยหรือครับ ผู้ป่วยจึงหมดอาการประหม่า และเล่าทุกอย่างให้หมอฟังทุก
อย่าง พร้อมกับร้องไห้ไปด้วย ทันทีที่ผู้ป่วยเล่าจบ คุณหมอที่รักษาเธอได้พูดกับเธอด้วยประโยค
หนึ่งท่ีเธอรู้สึกประทับใจ หมอกล่าวกับเธอว่า ฟังแล้วรู้สึกรับรู้ได้ถึงความรู้สึกที่เจ็บปวดจากเรา
มากๆ และคุณหมอเองก็ขอบคุณผู้ป่วยท่ีเล่าเรื่องของเธอที่ไม่เคยเล่าให้ใครฟัง แต่เล่าให้หมอฟัง

๒๖

ผูป้ ่วยกล่าว่าพอไดย้ ินคาพูดนี้ของคุณหมอ เธอรู้สึกอ้ึง ทีห่ มอสามารถเข้าใจเธอ ผู้ป่วยไมเ่ คยเล่าว่า
เธอเคยเล่าเรื่องน้ีให้ใครฟังหรือไม่ แต่คุณหมอกลับเข้าใจเธอทะลุปรุโปร่ง นอกจากการพูดคุยกับ
คุณหมอจิตแพทย์ เธอก็ยังได้รับยามาทานควบคู่กันไปด้วย เป็นยาตัดคิด ยาท่ีช่วยตัดความคิด
ฟุ้งซ่าน ความเครยี ด หรือในชว่ งที่ผ้ปู ว่ ยมอี ารมณด์ ิ่ง และยานอนหลับ

๓.๒.๔ ตวั อยา่ งประโยคท่จี ิตแพทย์ใช้พูดคยุ กบั ผู้ปว่ ย
- ฟังแล้วรับรู้ได้ถึงความรู้สึกที่เจ็บปวดจากเรามากๆ และหมอก็ขอบคุณที่เราเล่าเร่ืองที่ไม่เคยเล่า
ใหใ้ ครฟัง แต่เล่าให้หมอฟัง
- เหตทุ ีเ่ ราได้พบกนั คงไม่ใช่เร่อื งบังเอญิ คงได้เคยทาบญุ ร่วมกันมาก่อน
- คณุ ตอ้ งผา่ นมนั ไปไดแ้ นน่ อน
- บางคร้งั ถา้ เหน่อื ยมากๆ จะรอ้ งไหก้ ็ไมเ่ ปน็ ไร ร้องออกมาจนกวา่ ความทุกข์ในใจจะเบาข้นึ

๓.๒.๕ ภาษาของจติ แพทยท์ ี่พูดคยุ กบั ผูป้ ว่ ย
จิตแพทย์จะใช้ภาษาเชิงบวกกับผู้ป่วย รับฟังผู้ป่วยด้วยความตั้งใจ ไม่คะย้ันคะยอ และไม่
ตัดสนิ ใจผู้ป่วย ให้ความรู้สกึ สบายใจแก่ผู้ปว่ ย พูดโนม้ นา้ วให้เขารู้สึกว่ามีคนอยู่ตรงน้ีที่พร้อมจะรับ
ฟังเขาอยู่ ไม่กดดันเขา สร้างความไว้วางใจ และบรรยากาศที่สบายๆ ให้ผู้ป่วยสามารถเล่าความ
ทุกขอ์ อกมาได้อยา่ งเต็มที่ อยา่ งประโยคที่บอกว่า เหตทุ ี่เราได้พบกันคงไม่ใช่เร่ืองบังเอิญ คงไดเ้ คย
ทาบุญร่วมกันมาก่อน เป็นประโยคที่คุณหมอพูดกับผู้ป่วยในตอนที่เธอเร่ิมมีอาการดีข้ึน แต่เพราะ
เธอยังมีความคิดท่ีว่าการมาหาหมอจิตแพทย์ทาให้เธอดูเป็นคนประหลาดหรือไม่ ถึงตอนนี้เธอจะ
เปลี่ยนความคิดไปได้มากแล้ว แต่คาพูดในส่วนนีข้ องคุณหมอ ยังมายา้ เตอื นอีกว่า ท่ีผู้ป่วยมาตรงนี้
ถือเป็นสิ่งท่ีดีสาหรบั ท้ังตัวผู้ปว่ ยและตัวหมอเองด้วย เป็นอีกกาลังใจหน่ึงให้ผู้ป่วยพร้อมท่ีจะมาพูด
เปดิ ใจกบั คุณหมอ
( จากyoutube ช่องRAMA Channel TV, ๑๘:๒๕๖๒) เป็นรายการท่ีช่ือว่า “พบหมอ
รามาฯ” ท่ีนาเสนอเกี่ยวกับผู้ป่วยโรคซึมเศร้าท่ีมีอาการถึงขั้นอยากฆ่าตัวตาย มีแขกรับเชิญที่มี
เรือ่ งราวมาจากเพจ ภาพน้ีมเี รื่องเล่า โดยทีม่ ีแอดมินนนั้ เองท่เี ขาได้ป่วยเปน็ โรคซึมเศร้า และรักษา
หายได้การเข้ารับการรักษาจากคุณหมอและรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง จึงนามาเสนอ
รายละเอยี ดใหต้ ดิ ตามและรับชม

๒๗

๓.๒.๖ สาเหตขุ องอาการซมึ เศรา้
อดีตผู้ป่วยได้เล่าว่าในตอนแรกเขาน้ันไม่รู้ตนเองว่าเกิดอะไรข้ึนแต่แม่ของเขาจะเป็นคนท่ี
ร้สู ึกได้ว่าตัวเขามีพฤติกรรมเปลย่ี นพูดช้าลง แปลกไปและมีความหงุดหงดิ มากข้ึนและราคาญรอบ
ขา้ ง และเขาเองรสู้ ึกว่าความทรงจาไม่เหมอื นเดิม เมือ่ ก่อนเขาจะจาได้ในส่ิงท่ตี ัวเองพูดแต่พักหลัง
นี้ จะหลงๆลืมๆ แต่ตัวเขาเองก็ไม่ได้ทานยา เม่ือผ่านมาเร่ือยๆน้ันทาให้ความสัมพันธ์ทะเลาะ
แตกคอกันมากข้ึนกับภรรยาของเขา เขาจึงตัดสินใจแยกกันอยู่และเร่ิมไม่ติดตอ่ กัน หนักขึ้นในช่วง
ทเ่ี ขาทางานเมื่อถงึ เวลาพักเขาจึงกลับไปหาครอบครัวท่ีบ้านและไม่ไปหาภรรรยา แต่ตัวเขากลับไม่
พูดกับคนที่บ้านและเมื่อใดเวลาพักจึงกลับมาท่ีทางาน เป็นแบบนี้มาเป็นเวลานานจนทาให้
ความสมั พันธก์ ับภรรยาตอ้ งพังลง จงึ ตัดสนิ ใจเลกิ ลาและแยกย้ายกันไป
สาเหตุของอาการซึมเศร้าของผู้ป่วยเกิดจากการที่สมองทางานผิดปกติโดยเส้นประสาท
ลักษณะทางความคิด หรือเหตุการณ์เลวร้ายที่ต้องเผชิญ ทาให้เกิดความเครียด เหตุการณ์นั้น
เกิดขึน้ เป็นเวลานาน และบ่อยคร้ัง ซ่ึงผู้ปว่ ยไดเ้ ลา่ ว่าเริ่มมีอาการซึมเศร้าเพราะมเี หตุการณ์ท่สี ่งผล
ต่อความคิดน้ันคือ การแตกคอกับภรรยาและแยกทางกนั ทาให้มกี ารตัดสินใจทางความคิดในด้าน
ลบ และมีอาการสง่ ผลตามมาตา่ งๆทั้งต่อตนเองและสังคมรอบขา้ ง
๓.๒.๗ อาการของโรคซึมเศรา้
เขาได้กล่าววา่ ปัญหาที่ต้องเจอในช่วงแรกคอื อาการนอนไม่หลับกินไม่ได้ รอบข้างบอกกับ
เขาว่าเป็นอาการอกหักจากคนรัก โดยอาการอกหักจะมาร่วมกับความเสียใจแต่ตัวเขาเองในตอน
นั้นกลับไม่รู้สึกเสียใจและรู้สึกเฉยๆ ซึ่งอาการนอนไม่หลับทาให้สมาธิของเขาหายไป จากท่ีชอบ
อา่ นหนงั สือนานๆกลบั ทาไมไ่ ดแ้ ละร้สู กึ หงุดหงิด จากเพลงท่เี ขาชอบฟังก็ไม่สามารถฟังได้ และรสู้ ึก
อดึ อดั เม่อื ไดล้ องไปดูภาพยนตร์
โดยอาการของโรคซึมเศร้าท่ีเกิดขึ้นกับสภาพจิตใจและการผิดปกติจากสารคัดหลั่ง ส่งผล
ตอ่ ร่างกายและพฤติกรรม ความคิดและอารมณ์ โดยอาการของผู้ป่วยท่ีสังเกตได้แก่ มีอาการนอน
ไม่หลับ ไม่มีสมาธิ ไม่อยากทาอะไร มีอาการย้าคิดย้าทา มีอาการหงุดหงิดง่าย และมีพฤติกรรม
ความคิดอยากจะทาร้ายร่างกายตัวเอง หรือพยายามฆ่าตัวตายในระยะสุดท้าย อาการของผู้ป่วย
ดังกล่าวจึงต้องได้รับการบาบัดเพ่ือบรรเทาโรคนี้และรักษาให้หายขาดด้วยวิธีที่แตกต่างออกไป
ทงั้ นี้วธิ กี ารตา่ งๆข้ึนอยกู่ ับสภาวะอาการของแต่ละเคสของผูป้ ว่ ย

๒๘

๓.๒.๘ วิธบี าบดั และรักษาโรคซมึ เศร้า
เม่ือเขารู้สึกว่าอาการไมป่ กติเหมอื นที่เคยเป็นมาเขาจงึ ไปหาหมอและขอยานอนหลบั พร้อม
เหตุผลว่าอยากมีสมาธิเหมือนเดิม และหมอได้ให้คาปรึกษาว่าอาการของเขาเข้าค่ายการป่วยทาง
จิตเวช คุณหมอได้แนะนาให้ไปหาหมอจิตแพทย์ เมื่อไปถึงหมอจะมีกระดาษไว้จดข้อมูล และเร่ิม
ซกั ถามว่าเป็นอยา่ งไร รสู้ กึ ยังไง และเกิดอะไรขึ้นกบั ชีวิตของเขา และถามตอ่ วา่ เขาเองเคยมอี าการ
ดังกลา่ วที่หมอบอกหรือไม่ และใชเ้ วลา ๒ ช่ัวโมงในการพบหมอจิตแพทยค์ รง้ั แรก คณุ หมอจึงใหย้ า
เขามารับประทาน และทาการนัด๓-๔วันหนึ่งครั้งเพ่ือตรวจเช็คอาการและให้ยาจากัด และคุณ
หมอได้บอกให้ตัวเขาเองไปพักผ่อนที่ต่างจังหวัด ไปที่ไหนก็ได้ที่เขานั้นมีความสุขเพ่ือทบทวน
ความคดิ ตวั เขาเองและเขาเองตัดสินใจออกจากงานเพราะมีปากเสยี งกันเน่ืองจากความไมเ่ ขา้ ใจใน
โรคท่ีเขาเป็นดังนั้นเขาจึงตัดสินใจกลับมาอยู่ที่บ้านและภายในห้องเขาหน้าต่างจะถูกปิดด้วย
กระดาษแข็ง พอมาวันหนึ่งตัวเขาเองรู้สึกอยากตายจึงกินยาที่หมอให้มาท้ังหมด ครอบครัวพา
ส่งไปโรงพยาบาล เป็นแบบน้ีอยู่หลายครั้งเขาตัดสินใจโทรหาเพื่อนสนิทและได้เล่าให้เพ่ือนเขาฟัง
กับส่ิงที่เกิดขึ้นและพาไปรักษากับคุณหมอในกรุงเทพอีกครั้ง หมอกลับเข้าใจมากขึ้นกว่าเก่า และ
ให้ยากลับมารักษาต่อเน่ืองจนอาการดีข้ึน เขาได้ออกกาลังกาย และเริ่มหากิจกรรมใหม่ๆทาใช้
เวลาประมาณ๑ปี และหมอเรมิ่ ลดการให้ยาลงเพราะอาการของเขาเร่มิ ดีขน้ึ จนหายดีจากโรคนี้
ผู้ป่วยได้เข้ารับการรักษาจากการจ่ายยารักษาของจิตแพทย์ตามระยะท่ีกาหนดอย่าง
เหมาะสมและในการักษากับจิตแพทย์แต่ละครั้งจะมีการส่ือสารกับผู้ป่วยทางท่าทางและการ
สนทนาซึ่งคือการใช้ภาษาเป็นเครือ่ งมือรักษาผู้ป่วยในการสนทนาของผู้ปว่ ยมเี พ่ือค้นหาสาเหตุและ
อาการและให้แนวทางช่วยเหลือในด้านต่างๆ เช่น การอ่านหนังสือบาบัดด้านความคิดและจิตใจ
การเดินทางไปสถานที่ท่ีรู้สึกผ่อนคลายโดยท้ังน้ีในการสื่อสารจึงมีประโยคในเชิงบวกต่างๆท่ี
จติ แพทย์หลายท่านมักใช้พดู ในระยะที่เข้ารับการรกั ษาแกผ่ ปู้ ว่ ย
๓.๒.๙ ตวั อย่างประโยคท่ีจิตแพทย์ใชค้ ยุ กบั ผู้ปว่ ย
“ให้คณุ เล่าให้ฟังเท่าที่คุณอย่าเล่า บอกถึงความร้สู กึ คุณในตอนน้ีและสงิ่ ท่เี กิดขน้ึ ”
“ขอใหท้ าใจใหส้ บายและลองบอกว่าตอนน้ีรู้สกึ อย่างไรบา้ ง”
“ทาจิตใจใหผ้ ่อนคลาย พักผอ่ นจากสง่ิ ท่ีเจอมา”
“อาการของคณุ ดีขนึ้ แล้วนะคะในแต่ละสปั ดาห์”
“คุณผ่านมันไปไดแ้ นน่ อน หากมเี รอ่ื งใดทกุ ข์ใจหรอื เกดิ อาการขึ้นให้กลับมารกั ษากับคุณหมอ”

๒๙

๓.๒.๑๐ ภาษาของจติ แพทย์ทใ่ี ช้คยุ กับผู้ปว่ ย
มกี ารต้ังคาถามในเชิงไมบ่ ังคับและกดดนั ต่อผ้ปู ว่ ย เพือ่ ให้เกิดความสบายใจที่จะเล่าออกมา
ในประโยคท่ีกล่าว ขอให้ทาใจให้สบายและกล่าวความรู้สึกตอนน้ีออกมา เป็นการทาให้ผู้ป่วยรู้สึก
ผ่อนคลายปลดปล่อยความเครียด คุณหมอเป็นผู้ฟังท่ีดี ฟังด้วยความตั้งใจและไม่พยามเสนอ
วิธีการให้กับผู้ป่วย จะไม่ใช้คาว่าหรือตาหนิและตัดสินเขา คุณหมอจะใช้น้าเสียงท่ีมีความใจเย็น
ออ่ นนมุ่ เพอ่ื ไมเ่ ป็นการไปกระตนุ้ ความรสู้ ึกของผู้ปว่ ยทก่ี ดดัน จติ แพทยจ์ ะหลกี เลย่ี งการใช้ภาษาใน
ดา้ นลบตอ่ ผู้ปว่ ย โดยในการ
( สกาวเดือน ซาธรรม,๒๕๖๐)โครงสร้างหลักในการสนทนาประกอบด้วย การเปิดการ
สนทนา การดาเนินการสนทนา และการปิดการสนทนา ข้ันตอนการตรวจรักษาโรคทางจิตเวช
เบื้องต้นในผู้ป่วยนอกรายใหม่จะประกอบด้วย ๑๐ ข้ันตอน คือ การเปิดการสนทนา การนาเข้าสู่
วัตถุประสงค์ การสอบถามอาการสาคัญและการซักประวัติ การสอบถามรายละเอียดที่เกี่ยวข้อง
กบั อาการสาคัญหรอื การตรวจสภาพจิต การสอบถามสาเหตุหรือปัจจัยท่ีทาใหเ้ กดิ โรค การแจง้ การ
วินิจฉัยแยกโรค การวางแผนการรักษาและการใช้ยา การเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยซักถาม การนัดหมาย
การปิดการสนทนา
วัตถุประสงค์ในการใช้กลวิธีทางภาษาของจิตแพทย์ประกอบด้วย กลวิธีท่ีใช้เพื่อสอบถามและ
ยืนยันความถูกต้องของข้อมูล ให้ข้อมูลกับผู้ป่วยหรือญาติ ให้ผู้ป่วยหรือญาติปฏิบัติตาม ให้ผู้ป่วย
หรือญาตคิ ลายความวติ กกงั วล สร้างความเปน็ กนั เองกบั ผ้ปู ว่ ยหรือญาติ
จิตแพทย์จะพูดด้วยประโยคเชิงบวก เพื่อค้นหาสาเหตุและอาการ และให้แนวทาง
ช่วยเหลือ และมีภาษาทห่ี ลีกเล่ียงในการสื่อสารต่อผู้ป่วยท่จี ะทาให้สภาวะจิตใจแย่ลงและมีอาการ
หนักกว่าเดิม โดยท้ังนี้การใช้ภาษาเชิงบวกไม่เพียงแต่พูดส่ิงท่ีเป็นด้านบวก จิตแพทย์ต้องมีกลวิธี
ทางการพูดและกริยาท่าทางที่แสดงออกถึงความต้ังใจฟังและตั้งใจพูด และในการสนทนานั้นจะมี
โครงสร้างองค์ประกอบท่ีสาคัญเพ่ือการเก็บรวบรวมข้อมูลของผู้ป่วยและการให้กาลังใจผู้ป่วยได้
อย่างถูกต้องและเหมาะสม

๓๐

บทสรุป

ภาวะซึมเศรา้ เป็นปัญหาสุขภาพจิตท่ีสามารถเกิดข้ึนได้กบั ทุกคนท้ังคนปกติผู้ป่วยทางกาย
ผู้ป่วยทางจิตเวช อาจเกิดข้ึนได้ต้ังเเต่ภาวะเศร้าธรรมดาถึงภาวะเศร้ารุนเเรงเเละอาจนาไปสู่การ
ฆ่าตัวตายในท่ีสุดผู้ป่วยที่มีภาวะโรคซึมเศร้ารุนเเรง สาเหตุเกิดจาก พันธุกรรม สภาพเเวดล้อมตั้ง
เเต่เด็กจนโต เกิดจากความเครียดหรือสภาพจิตใจของเเต่ละคนและส่งผลให้ร่างกาย พฤติกรรม
ความคิด และอารมณ์ เกดิ ความแปรปรวน นาไปส่อู าการต่าง ๆ ซึ่งภาวะซึมเศร้าความรู้สึกทีแ่ สดง
ถึงอารมณ์เศร้า มีหลายอย่าง โรคซึมเศร้านั้นเป็นกลุ่มอาการท่ีมีความผิดปกติ ทางด้านพฤติกรรม
และด้านความคิด โดยแนวทางการป้องกันและการรักษาผู้ป่วยซึมเศร้าเป็นโรคที่สามารถรักษาให้
หายได้ และมีแนวทางในการรักษาหลายวิธี เช่น การรักษาด้วยตนเอง การปรึกษาจิตแพทย์ การ
รักษาโดยใช้ยาและการรักษาโดยใช้เคร่ืองมือไฟฟ้า ทั้งน้ีแนวทางในการรักษาทุกวิธีจาเป็นต้องมี
การใช้ภาษาท่ีเหมาะสมกบั ผู้ปว่ ยซมึ เศรา้ รวมถงึ การใช้ภาษาในการส่ือสารกับผ้ปู ว่ ยซึมเศร้าซ่ึงเป็น
ส่งิ สาคัญท่ีมีส่วนชว่ ยใหก้ ารรักษามีประสิทธภิ าพและเห็นผลจรงิ ในกรณศี ึกษาของผู้ปว่ ยที่ใช้ภาษา
ในบทสนทนาในการรักษา มีตัวอย่างสองกรณี กรณีแรกป่วยเป็นโรคซึมเศร้าและมาเผยแพร่
ประสบการณ์ผ่านเว็ปพนั ทิป และกรณีที่สองป่วยเป็นโรคซึมเศร้าจากปญั หาลบด้านครอบครวั และ
คนรักได้เผยแพร่ประสบการณ์ให้ชมทางช่องทางยูทูป ทั้งสองเข้ารับการรักษากับจิตแพทย์โดยมี
กลา่ วถึงวธิ บี าบดั และคาพดู ตา่ งๆในการสนทนาสอบถามเกี่ยวกับโรคเพือ่ การรกั ษา

๓๑

บรรณานกุ รม

(๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔). เขา้ ถึงไดจ้ าก กรณีศกึ ษาผู้ป่วยโรคซึมเศร้า: Youtube ชอ่ งRAMA
Channel TV, ๑๘:๒๕๖๒

(๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๔). เข้าถึงไดจ้ าก แปลเนือ้ เพลง So Far Away - Jin,Suga,Jungkook:
armourf-trasd.tumblr.com

(๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔). เขา้ ถึงไดจ้ าก แปลเน้ือเพลง Answer: Love Myself - BTS:
kieinf.blogspot.com/

(๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๔). เข้าถึงได้จาก แปลเน้อื เพลง Two Three - BTS:
mineypastel.blogspot.com

(๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๔). เขา้ ถึงได้จาก แปลเนือ้ เพลง Whalien ๕๒ - BTS:
sunksong.blogspot.com

(๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๔). เข้าถึงไดจ้ าก ขอ้ มูลของวงบีทเี อส: thaiticketmajor.com

(๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔). เขา้ ถงึ ได้จาก กระทู้แชรป์ ระสบการณ์การรักษาโรคซมึ เศร้า:
https://pantip.com/topic/๓๙๐๔๘๓๗๓

(๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๔). เข้าถึงไดจ้ าก หายจากโรคซึมเศรา้ ดว้ ยคาพดู : https://pantip.com

(๕๖๔). เขา้ ถึงไดจ้ าก แปลเนอ้ื เพลง Answer:Love Myself - BTS: kieinf.blogspot.com/

ALL WELL HEALTHCARE. (๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๔). เขา้ ถึงได้จาก อาการของโรคซมึ เศรา้ :
https://allwellhealthcare.com/depression-disorder/

ALL WELL HEALTHCARE. (-คตถ). เข้าถงึ ได้จาก อาการของโรคซึมเศรา้ .

Beau Monde. (๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๔). เขา้ ถงึ ไดจ้ าก การใช้ภาษากับผปู้ ่วยโรคซมึ เศรา้ :
https://women.trueid.net/detail/NV๖Wyz๕XEEgx

Keteuni. (๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔). เขา้ ถงึ ไดจ้ าก หายจากโรคซมึ เศร้าดว้ ยเพลง: storylog.co

๓๒

กลมุ่ วชิ าพยาบาลสขุ ภาพจิตและจติ เวชศาสตร.์ (๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๔). เข้าถึงได้จาก วิจยั การ
สอ่ื สารกับผู้ปว่ ยโรคซึมเศร้า: https://he๐๒.tci-
thaijo.org/index.php/TJONC/article/download/๔๗๑๖๖/๓๙๐๗๗/

คณะแพทยศ์ าสตรโ์ รงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวิทยาลัยมหิดล. (๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๔). เข้าถึงได้
จาก อาการทแ่ี สดงของผปู้ ่วยซมึ เศร้า:
https://med.mahidol.ac.th/ramamental/generalknowledge/general/
๐๙๐๔๒๐๑๔-๑๐๑๗

คระแพทย์ศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลยั มหดิ ล. (๑๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔). เข้าถึงได้
จาก อาการที่แสดงของผูป้ ่วยซมึ เศรา้ :
https://med.mahidol.ac.th/ramamental/generalknowledge/general/
๐๙๐๔๒๐๑๔-๑๐๑๗

คลนิ กิ สุขภาพจิตนายแพทยเ์ จษฏา. (๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๔). เขา้ ถึงไดจ้ าก คาพดู ทค่ี วรใช้กับ
ผู้ปว่ ยโรคซมึ เศร้า: https://www.lovecarestation.com

ทัชชา สุรโิ ย. (๑๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔). เขา้ ถึงไดจ้ าก วิจัยโรคซึมเศรา้ ในวยั รุ่น:
http://bsris.swu.ac.th/thesis/๕๖๒๙๙๑๓๐๑๑๔AP๖๙๙๒๕๕๕f.pdf

นรมน ธรี ะอมั พรพนั ธ์. (๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔). เข้าถึงได้จาก วธิ ีการปอ้ งกนั ไมใ่ ห้เปน็ โรคซมึ เศร้า:
www.pobpad.com

นันทริ า หงส์ศรสี ุวรรณ. (๑๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔). เข้าถึงได้จาก วจิ ยั ผปู้ ่วยโรคซึมเศรา้ :
http://journal.hcu.ac.th/pdffile/jn๑๙๓๘/%E๐%B๘%๙A%E๐%B๘%๙๗%E๐%B
๘%๙๗%E๐%B๘%B๕%E๐%B๙%๘๘%๒๐๙.pdf

พิชาวรี ์ เมฆขยาย. (๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๔). เข้าถงึ ได้จาก คาพูดทคี่ วรใช้และควรหลีกเลี่ยงในการ
สนทนากบั ผู้ปว่ ยโรคซมึ เศร้า: https://www.istrong.co/single-post/words-for-
depression

๓๓

พูนสิทธิ์ บรู พันธ์. (๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔). เข้าถึงได้จาก แนวทางการปอ้ งกันโรคซมึ เศรา้ :
https://roksuem.blogspot.com

ภัคจิรา ภูสมศร.ี (๑๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔). เขา้ ถึงได้จาก วจิ ัยโรคซมึ เศร้าใกล้ตัว: https://he๐๑.
tci-thaijo.org/index.php/EAUHJSci/article/download/๒๔๑๐๗๓/๑๖๖๐๖๒/

มาโนช หล่อตระกลู . (๑๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔). เข้าถึงได้จาก อาการของโรคซึมเศรา้ :
https://med.mahidol.ac.th/ramamental/generalknowledge/general/
๐๙๐๔๒๐๑๔-๑๐๑๗

มาโนช หลอ่ ตระกูล. (๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๔). เขา้ ถึงไดจ้ าก ความเป็นมาของโรคซึมเศรา้ :
https://med.mahidol.ac.th/ramamental/generalknowledge/general/
๐๙๐๔๒๐๑๔-๑๐๑๗

โรงพพยาบาลเปาโล พหลโยธนิ . (๖ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔). เขา้ ถึงไดจ้ าก การใช้ภาษากบั ผู้ป่วยโรค
ซึมเศรา้ : https://www.paolohospital.com/th-TH/phahol/Article/Details/
บทความ-สุขภาพจติ /Do’s---Don’t-ควรทาตัวยังไง-เม่อื คนใกลช้ ดิ เปน็ --โรคซึมเศรา้ -

โรงพพยาบาลเพชรเวช. (๖ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔). เขา้ ถงึ ไดจ้ าก สาเหตุของโรคซมึ เศรา้ :
https://www.petcharavejhospital.com/th/Article/article_detail/Depression

โรงพยาบาลเปาโล พหลโยธนิ . (ม.ป.ป.). เข้าถึงไดจ้ าก การใช้ภาษากับผู้ปว่ ยโรคซมึ เศร้า:
https://www.paolohospital.com/th-TH/phahol/Article/Details/บทความ-
สุขภาพจิต/Do’s---Don’t-ควรทาตวั ยงั ไง-เมื่อคนใกลช้ ดิ เปน็ --โรคซึมเศร้า-

โรงพยาบาลวิมุต. (๑๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔). เข้าถงึ ไดจ้ าก อาการและพฤตกิ รรมของผู้ปว่ ยโรค
ซมึ เศร้า: https://campaigns.vimut.com/Mental-
Health?utm_source=sem&utm_medium=vz&utm_campaign=rsa&gclid=Cj๐
KCQiA-K๒MBhC-ARIsAMtLKRtC๘XKwAcx๐๓KETDKF๔zIl๐p๘VdI๕sRK๒Wht๒
VVdWQCjP-bZF๓V๘๑o

๓๔

ศนุ ย์สขุ ภาพทางใจ. (๖ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔). เข้าถึงไดจ้ าก ความหมายของโรคซึมเศร้า:
https://www.phukethospital.com/th/%e๐%b๘%a๘%e๐%b๘%b๙%e๐%b๘%
๙๙%e๐%b๘%a๒%e๐%b๙%๘c%e๐%b๘%aa%e๐%b๘%b๘%e๐%b๘%๘๒%e
๐%b๘%a๐%e๐%b๘%b๒%e๐%b๘%๙e%e๐%b๘%๙๗%e๐%b๘%b๒%e๐%b
๘%๘๗%e๐%b๙%๘๓%e๐%b๘%๘๘/

สกาวเดือน ซาธรรม. (๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๔). เข้าถึงได้จาก ภาษาจิตแพทยท์ ีใ่ ช้คยุ กบั ผู้ป่วย:
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/๑๒๓๔๕๖๗๘๙/๕๙๔๓๔

สลิลนาท พานประเสริฐ. (๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๔). เขา้ ถึงไดจ้ าก การปอ้ งกันตนเองไม่ใหเ้ ป็นโรค
ซมึ เศร้า: www.hosthai.com

สายพณิ หัตถรี ัตน.์ (๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔). เข้าถงึ ได้จาก การรกั ษาผู้ปว่ ยโรคซึมเศรา้ มีวธิ ีใดบ้าง:
https://roksuem.blogspot.com

โสภณ โพธริ ชั ต.์ (๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๔). เขา้ ถงึ ได้จาก ตัวอย่างคาพดู ที่ไม่ควรพดู กบั ผู้ป่วยโรค
ซึมเศร้า: https://www.lovecarestation.com/ประโยคทค่ี วรไมค่ วร-พูดกับผู้ปว่ ยโรค
ซมึ เศรา้ /


Click to View FlipBook Version