The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SAR(ปี กศ.2563)โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย เพชรบูรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by misssudsanguan, 2021-05-31 01:43:45

SAR(ปี กศ.2563)โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย เพชรบูรณ์

SAR(ปี กศ.2563)โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย เพชรบูรณ์

๔๓

วิเครำะห์ผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดบั ชำติข้นั พื้นฐำน (O-NET)
ของนกั เรียนช้ันมัธยมศึกษำปีท่ี ๖ ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๓

โรงเรยี นกำญจนำภิเษกวทิ ยำลยั เพชรบรู ณ์ สำนกั งำนเขตพื้นท่กี ำรศกึ ษำมัธยมศกึ ษำเพชรบูรณ์
------------------------------------------------------------

ผลกำรทดสอบระดบั ชำติ (O-NET) ของนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษำปีท่ี ๖ ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๓ ดังตำรำง
ตำรำงแสดง ผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรยี นกำรทดสอบระดบั ชำติ (O-NET) นกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษำปที ี่ ๖

ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๓

วิชำ คำ่ เฉล่ีย ค่ำเฉลยี่ คำ่ เฉล่ีย ค่ำเฉล่ยี
ระดับโรงเรียน ระดับจงั หวัด ระดบั เขตพืน้ ที่ ระดบั ประเทศ
ภำษำไทย
สังคมศกึ ษำ ๓๔.๕๒ ๔๐.๘๔ ๔๑.๓๖ ๔๔.๓๖
ภำษำองั กฤษ
คณติ ศำสตร์ ๓๑.๗๕ ๓๔.๐๕ ๓๔.๑๓ ๓๕.๙๓
วทิ ยำศำสตร์ ๒๓.๔๙ ๒๖.๑๕ ๒๖.๓๗ ๒๙.๙๔

๑๙.๒๓ ๒๒.๗๐ ๒๓.๑๑ ๒๖.๐๔
๒๖.๖๐ ๓๐.๒๑ ๓๐.๒๙ ๓๒.๖๘

จำกผลกำรทดสอบระดับชำติ (O-NET) นักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษำปีท่ี ๖
โรงเรียนกำญจนำภเิ ษกวิทยำลัยเพชรบูรณ์

เปรียบเทียบ ๒ ปกี ำรศกึ ษำ ระหว่ำง ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๒ และปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๓ ดังตำรำง

ตำรำงแสดง ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นการทดสอบระดบั ชาติ(O-NET) นักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6

วิชำ ปกี ำรศึกษำ ปกี ำรศึกษำ เพ่ิม/ลด พฒั นำกำร
๒๕๖๒ ๒๕๖๓
ภำษำไทย ๓๔.๙๗ ๓๔.๕๒ - ๐.๔๕ ลดลง ๑.๒๙ %
สงั คมฯ - ๐.๒๕ ลดลง ๐.๗๘ %
ภำษำอังกฤษ ๓๒.๐๐ ๓๑.๗๕ - ๐.๖๔ ลดลง ๒.๖๕ %
คณิตศำสตร์ ๒๔.๑๓ ๒๓.๔๙ - ๒.๗๗ ลดลง ๑๒.๕๙ %
วิทยำศำสตร์ - ๑.๙๓ ลดลง ๖.๗๖ %
๒๒.๐๐ ๑๙.๒๓
๒๘.๕๓ ๒๖.๖๐

๔๔

กรำฟแสดงผลกำรเปรยี บผลกำรทดสอบระดับชำติ (O-NET)
นกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษำปีที่ ๖ เปรยี บเทยี บ ๒ ปกี ำรศกึ ษำ

ระหวำ่ ง ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๒ และปีกำรศึกษำ ๒๕๖๓

100.00

80.00

60.00

40.00 34.9734.52 32.0031.75 28.5326.6
20.00
24.1323.49 22.0019.23

-
ภำษำไทย สงั คมศึกษำ ภำษำอังกฤษ คณติ ศำสตร์ วทิ ยำศำสตร์

Series1 Series2

** ข้อมลู โดย: งำนบริหำรจดั กำรกำรทดสอบระดับชำติ (O-net) กลมุ่ บริหำรงำนวชิ ำกำร
โรงเรยี นกำญจนำภเิ ษกวิทยำลยั เพชรบรู ณ์ ( ๒๖ เมษำยน ๒๕๖๔ )

๔๕

๑๕.ผลกำรจัดกำรเรียนรู้ตำมหลกั สูตรสถำนศึกษำ (ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๒)
ระดบั กำรศกึ ษำขน้ั พื้นฐำน

๑๕.๑ ผลสัมฤทธท์ิ ำงกำรเรียน ๘ กล่มุ สำระกำรเรียนรู้ ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษำปีที่ ๑

(ภำคเรยี น ๑-๒ ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๓)

ชน้ั มัธยมศึกษำปที ี่ ๑ ภำคเรียนท่ี ๑ จำนวน ร้อยละ
นักเรียน
กล่มุ สำระ จำนวน จำนวนนกั เรยี นท่ีมีผลกำรเรยี นรู้ นักเรยี น ทไี่ ดร้ ะดับ
กำรเรียนรู้ นกั เรยี น ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๓ ขึ้นไป
๔ ๑ ๐ ทไ่ี ดร้ ะดบั
๓ ขนึ้ ไป 67.16
57.46
ภำษำไทย 67 9 15 21 15 3 3 1 0 45 90.69
คณิตศำสตร์ 134 37 22 18 16 18 12 11 0 77 58.21
วิทยำศำสตร์ 247 128 50 46 14 5 1 3 0 224
สงั คมศกึ ษำฯ 201 54 20 43 32 25 18 9 0 117 99.43
สขุ ศกึ ษำ 100
และพลศกึ ษำ 176 174 1 0 0 0 1 0 0 175 77.61
ศิลปะ 67 66 1 0 0 0 0 0 0 67 53.73
กำรงำนอำชีพฯ 67 20 15 17 9 6 0 0 0 52
ภำษำตำ่ งประเทศ 134 32 20 20 18 12 14 18 0 72

ช้ันมธั ยมศึกษำปที ่ี ๑ ภำคเรียนท่ี ๒ จำนวน ร้อยละ
จำนวนนกั เรยี นที่มผี ลกำรเรยี นรู้
กลุ่มสำระ จำนวน นักเรียน นักเรยี น
กำรเรยี นรู้ นักเรียน ๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕
๑ ๐ ทีไ่ ดร้ ะดับ ทีไ่ ด้ระดบั
๓ข้นึ ไป ๓ ขึ้นไป

ภำษำไทย 67 30 11 6 7 5 2 6 0 47 70.15
21 27 13 21 17 11 0 72 53.73
คณติ ศำสตร์ 134 24 56 50 5 0 0 0 0 242 97.98
23 42 23 54 18 16 0 90 44.78
วิทยำศำสตร์ 247 136

สังคมศึกษำฯ 201 25

สขุ ศึกษำ

และพลศึกษำ 155 155 0 0 0 0 00 0 155 100
13 0 0 0 0 0 0 67 100
ศิลปะ 67 54 3 2 3 0 00 0 64 95.52
25 31 14 14 15 27 0 120 59.70
กำรงำนอำชีพฯ 67 59 37 3 0 0 0 0 0 67 100

ภำษำตำ่ งประเทศ 201 64

IS 67 27

๔๖

๑๕.๒ ผลสัมฤทธทิ์ ำงกำรเรยี น ๘ กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษำปที ี่ ๒
(ภำคเรียน ๑-๒ ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๓)

ชน้ั มธั ยมศึกษำปที ่ี ๒ ภำคเรียนท่ี ๑ จำนวน รอ้ ยละ
จำนวนนกั เรยี นที่มีผลกำรเรียนรู้
กลุ่มสำระ จำนวน นกั เรียน นกั เรยี น
กำรเรียนรู้ นักเรียน ๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕
๑ ๐ ทไี่ ด้ระดับ ที่ไดร้ ะดับ
๓ ข้นึ ไป ๓ ขน้ึ ไป

ภำษำไทย 58 6 8 11 9 16 8 0 0 25 43.10
8 6 10 4 4 4 0 64 74.42
คณิตศำสตร์ 86 50 54 37 19 4 1 3 0 175 86.63
10 22 22 40 11 10 0 91 52.30
วทิ ยำศำสตร์ 202 84

สงั คมศึกษำฯ 174 59

สุขศึกษำ

และพลศึกษำ 146 116 30 0 0 0 0 0 0 146 100
000000 0 58 100
ศิลปะ 58 58 20 23 0 0 0 0 0 58 100
21 32 28 9 8 1 0 70 60.34
กำรงำนอำชพี ฯ 58 15 39 0 0 0 0 0 0 58 100

ภำษำตำ่ งประเทศ 116 17

IS 58 19

ชัน้ มัธยมศกึ ษำปีที่ ๒ ภำคเรียนท่ี ๒ จำนวน รอ้ ยละ
จำนวนนักเรียนท่มี ีผลกำรเรยี นรู้
กลุม่ สำระ จำนวน นกั เรยี น นกั เรยี น
กำรเรยี นรู้ นักเรยี น ๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕
๑ ๐ ทีไ่ ด้ระดับ ทไ่ี ด้ระดบั
ภำษำไทย ๓ ข้ึนไป ๓ ข้ึนไป
คณติ ศำสตร์
วทิ ยำศำสตร์ 57 8 1 7 5 13 9 14 0 16 28.07
สงั คมศึกษำฯ 84 49 5 14 6 6 1 3 0 68 80.95
สขุ ศกึ ษำ 198 92 46 30 20 8 1 1 0 168 84.85
และพลศกึ ษำ 171 41 31 29 35 24 10 0 1 101 59.06
ศลิ ปะ
กำรงำนอำชีพฯ 144 111 19 5 5 2 1 1 0 135 93.75
ภำษำตำ่ งประเทศ 57 46 11 0 0 0 0 0 0 57 100
57 47 6 3 1 0 0 0 0 56 98.25
171 16 31 39 32 13 16 15 0 86 50.29

๔๗

๑๕.๓ ผลสัมฤทธิท์ ำงกำรเรียน ๘ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ ระดับชัน้ มธั ยมศึกษำปีท่ี ๓
(ภำคเรียน ๑-๒ ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๓)

กลุ่มสำระ จำนวน ช้ันมธั ยมศกึ ษำปที ี่ ๓ ภำคเรยี นที่ ๑ จำนวน ร้อยละ
กำรเรียนรู้ นักเรยี น จำนวนนักเรียนที่มผี ลกำรเรยี นรู้
นกั เรียน นกั เรียน
ภำษำไทย 79 ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕
คณติ ศำสตร์ 120 ๔ ๑ ๐ ทไ่ี ด้ระดบั ท่ีไดร้ ะดับ
วิทยำศำสตร์ 278 14 10 15 10 8 ๓ ขึน้ ไป ๓ ขึ้นไป
สงั คมศกึ ษำฯ 237 22 6 9 10 12 17 0
สขุ ศึกษำ 14 73 100 32 2 0 52 0 46 58.23
และพลศกึ ษำ 71 33 59 47 58 10 0
ศิลปะ 27 3 0 29 24.17
กำรงำนอำชพี ฯ
ภำษำตำ่ งประเทศ 0 244 87.77

0 119 50.21

234 191 18 25 0 0 0 0 0 234 100
79 79 0 0 0 0 0 0 0 79 100
79 56 16 5 2 0 0 0 0 77 97.47
158 20 17 34 43 41 3 0 0 71 44.94

ชนั้ มธั ยมศึกษำปีที่ ๓ ภำคเรยี นที่ ๒ จำนวน รอ้ ยละ
จำนวนนกั เรยี นท่มี ีผลกำรเรยี นรู้
กลุม่ สำระ จำนวน นกั เรยี น นกั เรียน
กำรเรยี นรู้ นกั เรยี น ๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕
๑ ๐ ทไี่ ดร้ ะดับ ทไี่ ด้ระดบั
ภำษำไทย ๓ ขน้ึ ไป ๓ ขึน้ ไป
คณิตศำสตร์
วทิ ยำศำสตร์ 78 16 9 16 14 12 11 0 0 41 52.56
สังคมศึกษำฯ 118 13 14 14 13 10 22 32 0 41 34.75
สขุ ศกึ ษำ 274 129 85 55 5 0 0 0 0 269 98.18
และพลศกึ ษำ 234 234 0 0 0 0 0 0 0 234 100
ศลิ ปะ
กำรงำนอำชีพฯ 232 232 0 0 0 0 0 0 0 232 100
ภำษำตำ่ งประเทศ 78 61 17 0 0 0 0 0 0 78 100
78 67 5 4 2 0 0 0 0 76 97.44
234 67 37 76 34 17 1 2 0 180 76.92

๔๘

๑๕.๔ ผลสัมฤทธทิ์ ำงกำรเรียน ๘ กล่มุ สำระกำรเรียนรู้ ระดับชนั้ มัธยมศึกษำปีที่ ๔
(ภำคเรยี น ๑-๒ ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๓)

ช้นั มัธยมศกึ ษำปที ่ี ๔ ภำคเรียนท่ี ๑ จำนวน รอ้ ยละ
จำนวนนักเรยี นที่มผี ลกำรเรียนรู้
กลุม่ สำระ จำนวน นักเรยี น นกั เรียน
กำรเรยี นรู้ นกั เรียน ๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕
๑ ๐ ที่ได้ระดับ ทไี่ ดร้ ะดับ
ภำษำไทย ๓ ขึ้นไป ๓ ขน้ึ ไป
คณติ ศำสตร์
วทิ ยำศำสตร์ 85 31 22 9 5 9 5 2 2 62 72.94
สงั คมศึกษำฯ 122 36 17 12 13 19 19 5 1 65 53.28
สขุ ศึกษำ 406 148 42 55 61 51 26 19 4 245 60.34
และพลศกึ ษำ 223 40 49 49 28 28 21 5 3 138 61.88
ศลิ ปะ
กำรงำนอำชพี ฯ 140 133 5 2 0 0 0 0 0 140 100
ภำษำต่ำงประเทศ 69 63 3 2 0 0 0 0 1 68 98.55
96 59 17 15 3 0 0 0 2 91 94.79
240 75 33 32 45 25 18 8 4 140 58.33

ช้นั มัธยมศึกษำปที ี่ ๔ ภำคเรียนท่ี ๒ จำนวน รอ้ ยละ
จำนวนนกั เรยี นท่มี ผี ลกำรเรียนรู้
กลุ่มสำระ จำนวน นกั เรยี น นักเรยี น
กำรเรยี นรู้ นกั เรียน ๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕
๑ ๐ ทไี่ ด้ระดบั ทไี่ ดร้ ะดบั
ภาษาไทย ๓ ข้ึนไป ๓ ขนึ้ ไป
คณติ ศาสตร์
วทิ ยาศาสตร์ 80 47 15 6 8 1 1 2 0 68 85.00
สงั คมศกึ ษาฯ 143 28 9 27 21 19 6 30 3 64 44.76
สขุ ศึกษา 329 167 47 35 26 17 10 27 0 249 75.68
และพลศกึ ษา 212 75 41 35 34 13 4 10 0 151 71.23
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ 157 122 12 5 7 2 8 1 0 139 88.54
ภาษาต่างประเทศ 66 57 8 1 0 0 0 0 0 66 100
IS 66 33 12 6 2 9 4 0 0 51 77.27
176 61 41 37 23 6 8 0 0 139 78.98
66 27 37 2 0 0 0 0 0 66 100

๔๙

๑๕.๕ ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรยี น ๘ กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ ระดับชั้นมัธยมศกึ ษำปีท่ี ๕
(ภำคเรียน ๑-๒ ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๓)

ชัน้ มัธยมศกึ ษำปที ่ี ๕ ภำคเรยี นท่ี ๑ จำนวน รอ้ ยละ
จำนวนนกั เรยี นทมี่ ผี ลกำรเรียนรู้
กลมุ่ สำระ จำนวน นักเรียน นกั เรียน
กำรเรยี นรู้ นักเรยี น ๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕
๑ ๐ ทีไ่ ด้ระดบั ทไี่ ดร้ ะดบั
๓ ขึ้นไป ๓ ขึ้นไป

ภำษำไทย 78 58 5 3 1 6 1 4 0 66 84.62
คณิตศำสตร์ 100 19 16 16 18 15 7 9 0 51 51.00
วิทยำศำสตร์ 222 79 21 37 29 32 19 5 0 137 61.71
สงั คมศึกษำฯ 164 116 25 20 2 1 0 0 0 161 98.17
สขุ ศึกษำ
และพลศกึ ษำ 100 75 23 2 0 0 0 0 0 100 100
ศิลปะ 50 49 1 0 0 0 0 0 0 50 100
กำรงำนอำชพี ฯ 64 56 6 2 0 0 0 0 0 64 100
ภำษำต่ำงประเทศ 177 38 39 45 30 20 2 3 0 122 68.93
IS 49 49 0 0 0 0 0 0 0 49 100

ชัน้ มัธยมศกึ ษำปที ่ี ๕ ภำคเรยี นท่ี ๒ จำนวน รอ้ ยละ

กลุ่มสำระ จำนวน จำนวนนักเรยี นที่มผี ลกำรเรยี นรู้ นกั เรยี น นกั เรียน
กำรเรยี นรู้ นักเรียน ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕
๔ ๑ ๐ ที่ไดร้ ะดับ ทีไ่ ดร้ ะดับ
๓ ข้นึ ไป ๓ ขึ้นไป

ภำษำไทย 62 55 4 1 0 0 1 0 1 60 96.77
คณติ ศำสตร์ 106 27 20 18 10 14 7 8 2 65 61.32
วิทยำศำสตร์ 215 79 21 45 23 20 18 6 3 145 67.44
สงั คมศกึ ษำฯ 158 112 21 15 3 4 0 3 0 148 93.67
สขุ ศึกษำ
และพลศกึ ษำ 124 104 20 0 0 0 0 0 0 124 100
ศิลปะ 48 44 4 0 0 0 0 0 0 48 100
กำรงำนอำชพี ฯ 48 42 2 1 1 0 1 0 1 45 93.75
ภำษำต่ำงประเทศ 137 44 42 26 18 3 1 0 3 112 81.75

๕๐

๑๕.๖ ผลสัมฤทธท์ิ ำงกำรเรยี น ๘ กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ ระดับช้นั มัธยมศึกษำปที ่ี ๖
(ภำคเรยี น ๑-๒ ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๓)

ชั้นมัธยมศกึ ษำปีที่ ๖ ภำคเรียนที่ ๑ จำนวน รอ้ ยละ
จำนวนนักเรยี นทีม่ ผี ลกำรเรยี นรู้
กลมุ่ สำระ จำนวน นักเรยี น นกั เรียน
กำรเรยี นรู้ นกั เรยี น ๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕
๑ ๐ ท่ไี ดร้ ะดบั ท่ีไดร้ ะดบั
๓ ข้นึ ไป ๓ ขึ้นไป

ภำษำไทย 71 13 3 18 16 11 4 6 0 34 47.89
คณิตศำสตร์ 94 39 10 14 6 10 10 5 0 63 67.02
วทิ ยำศำสตร์ 165 27 52 24 20 26 10 6 0 103 62.42
สงั คมศึกษำฯ 123 99 1 4 1 2 13 3 0 104 84.55
สุขศึกษำ
และพลศึกษำ 137 137 0 0 0 0 0 0 0 137 100
ศิลปะ 52 50 0 2 0 0 0 0 0 52 100
กำรงำนอำชพี ฯ 55 55 0 0 0 0 0 0 0 55 100
ภำษำตำ่ งประเทศ 187 61 27 48 29 16 3 3 0 136 72.73

กลุ่มสำระ จำนวน ๔ ชน้ั มัธยมศกึ ษำปีที่ ๖ ภำคเรียนท่ี ๒ จำนวน ร้อยละ
กำรเรียนรู้ นักเรยี น จำนวนนักเรยี นที่มีผลกำรเรยี นรู้ นกั เรยี น นกั เรยี น
๐ ทไี่ ด้ ทไ่ี ด้
๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ระดับ๓ ระดบั ๓
ขึน้ ไป ข้ึนไป
ภำษำไทย 84 52 9 4 10 4 1 4 0 65 77.38
คณิตศำสตร์ 83 42 22 12 4 1 1 1 0 76 91.57
วิทยำศำสตร์ 172 53 27 43 28 16 2 3 0 123 71.51
102 41 0 6 3 26 22 4 0 47 46.08
สงั คมศกึ ษำฯ
สุขศึกษำ 121 110 4 3 4 0 0 0 0 117 96.69
และพลศกึ ษำ 70 67 2 0 0 1 0 0 0 69 98.57
ศิลปะ 51 44 0 1 6 0 0 0 0 45 88.24
กำรงำนอำชพี ฯ 151 28 62 36 15 4 3 3 0 126 83.44
ภำษำต่ำงประเทศ

๕๑

๑๕.๗ ผลสัมฤทธท์ิ ำงกำรเรยี น ๘ กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษำตอนต้น
(ภำคเรยี น ๑-๒ ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๓)

กลุ่มสำระ จำนวน ช้นั มัธยมศึกษำตอนต้น ภำคเรียนที่ ๑ ๑ จำนวน ร้อยละ
กำรเรียนรู้ นักเรียน ๔ จำนวนนักเรยี นท่ีมผี ลกำรเรยี นรู้ นักเรียน นกั เรยี น
1 ท่ีได้ระดับ ที่ได้ระดบั
ภำษำไทย 204 37 ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ 67
คณติ ศำสตร์ 340 101 6 ๐ ๓ ขน้ึ ไป ๓ ข้ึนไป
วทิ ยำศำสตร์ 727 283 37 42 39 29 19 22
สังคมศึกษำฯ 612 140 36 33 36 34 33 0 116 56.86
สขุ ศึกษำ 177 183 65 11 2 0 0 170 50.00
และพลศกึ ษำ 556 481 63 124 101 123 39 0 643 88.45
0 0 327 53.43
ศิลปะ 204 203 49 25 0 0 1 0
กำรงำนอำชีพฯ 204 91 19 0 555 99.82
ภำษำต่ำงประเทศ 408 69 1 0 0 00 0
IS 58 19 51 45 11 6 0 0 204 100
58 86 89 62 25 0 187 91.67
39 0 0 0 0 0 213 52.21
0 58 100

ชั้นมัธยมศึกษำตอนต้น ภำคเรียนที่ ๒ จำนวน ร้อยละ
จำนวนนักเรยี นท่มี ีผลกำรเรยี นรู้
กล่มุ สำระ จำนวน นักเรยี น นกั เรยี น
กำรเรยี นรู้ นกั เรยี น ๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕
๑ ๐ ท่ีได้ระดับ ท่ไี ดร้ ะดับ
๓ ขน้ึ ไป ๓ ขนึ้ ไป

ภำษำไทย 202 54 21 29 26 30 22 20 0 104 51.49
40 55 32 37 40 46 0 181 53.87
คณิตศำสตร์ 336 86 187 135 30 811 0 679 94.44
54 71 58 78 28 16 1 425 70.13
วทิ ยำศำสตร์ 719 357
211
สงั คมศกึ ษำฯ 606 300
000
สุขศึกษำ 531 498 19 5 5 000 0 522 98.31
และพลศกึ ษำ 44 32 44
000
ศิลปะ 202 161 41 0 0 0 202 100
0 196 97.03
กำรงำนอำชีพฯ 202 173 14 9 6 0 386 63.70
0 67 100
ภำษำตำ่ งประเทศ 606 147 93 146 80

IS 67 27 37 3 0

๕๒

๑๕.๘ ผลสัมฤทธท์ิ ำงกำรเรียน ๘ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ ระดับช้นั มธั ยมศึกษำตอนปลำย
(ภำคเรยี น ๑-๒ ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๓)

ชนั้ มัธยมศึกษำตอนปลำย ภำคเรียนที่ ๑ จำนวน ร้อยละ
จำนวนนักเรียนท่มี ผี ลกำรเรยี นรู้
กลุ่มสำระ จำนวน นักเรียน นกั เรียน
กำรเรียนรู้ นักเรียน ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕
๔ ๑ ๐ ทไี่ ดร้ ะดบั ทไ่ี ด้ระดบั
ภำษำไทย 234 ๓ ข้ึนไป ๓ ขึ้นไป
คณติ ศำสตร์ 316 102 12
วิทยำศำสตร์ 793 94 30 30 22 26 10 19 2 162 69.23
สังคมศกึ ษำฯ 510 254 43 42 37 44 36 30 1 179 56.65
สุขศกึ ษำ 255 115 116 110 109 55 8 4 485 61.16
และพลศกึ ษำ 377 75 73 31 31 34 3 403 79.02
ศิลปะ 345 0
กำรงำนอำชีพฯ 171 28 4 0 0 0 0 377 100
ภำษำต่ำงประเทศ 215 162 0
IS 604 170 4 4 0 00 0 1 170 99.42
49 174 14 2 210 97.67
49 23 17 3 00 0 4 398 65.89
0 49 100
99 125 104 61 23

0 0 0 00

กลุม่ สำระ จำนวน ช้นั มัธยมศึกษำตอนปลำย ภำคเรียนท่ี ๒ จำนวน ร้อยละ
กำรเรียนรู้ นกั เรยี น นกั เรียน นกั เรียน
จำนวนนกั เรยี นที่มีผลกำรเรยี นรู้ ทไี่ ดร้ ะดบั ทไ่ี ด้ระดับ
ภำษำไทย 226
คณิตศำสตร์ 332 ๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๐ ๓ ขึ้นไป ๓ ขึ้นไป
วิทยำศำสตร์ 716
สังคมศึกษำฯ 472 154 28 11 18 5 36 1 193 85.40
สขุ ศกึ ษำ 5 205 61.75
และพลศึกษำ 402 97 51 57 35 34 14 39 3 517 72.21
ศลิ ปะ 0 346 73.31
กำรงำนอำชีพฯ 184 299 95 123 77 53 30 36
ภำษำต่ำงประเทศ 165 0 380 94.53
IS 464 228 62 56 40 43 26 17
66 0 183 99.46
336 36 8 11 2 81 1 141 85.45
3 377 81.25
168 14 1 0 1 0 0 0 66 100.00
119 14 8 9 9 5 0
133 145 99 56 13 12 3
27 37 2 0 0 0 0

๕๓

๑๕.๙ ผลสัมฤทธทิ์ ำงกำรเรยี น ๘ กลุม่ สำระกำรเรยี นรู้ ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษำตอนตน้ และปลำย
(ภำคเรยี น ๑-๒ ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๓)

ชั้นมธั ยมศกึ ษำตอนตน้ และปลำย ภำคเรียนท่ี ๑ จำนวน ร้อยละ

กล่มุ สำระกำร จำนวน จำนวนนกั เรยี นทม่ี ีผลกำรเรียนรู้ นกั เรยี น นักเรยี นท่ี
เรียนรู้ นักเรียน ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑
๔ ๓.๕ ๐ ทไ่ี ดร้ ะดบั ๓ ไดร้ ะดบั ๓
ขน้ึ ไป ขนึ้ ไป

ภำษำไทย 438 139 67 72 61 55 29 13 2 278 63.47
คณิตศำสตร์ 656 195 79 75 73 78 69 86 1 349 53.20
วทิ ยำศำสตร์ 1,520 537 292 299 175 120 57 36 4 1,128 74.21
สังคมศึกษำฯ 1,122 395 138 197 132 154 73 30 3 730 65.06
สขุ ศกึ ษำ
และพลศึกษำ 933 826 77 29 0 0 100 932 99.89
ศิลปะ
กำรงำนอำชพี ฯ 375 365 5 4 0 0 0 0 1 374 99.73
ภำษำต่ำงประเทศ 419 261 74 62 14 6 0 0 2 397 94.75
IS 1,012 69 58 86 89 62 25 19 0 213 21.05
107 68 39 0 0 0 0 0 0 107 100

กลุ่มสำระกำร จำนวน ช้ันมธั ยมศกึ ษำตอนต้นและปลำย ภำคเรียนท่ี ๒ ๐ จำนวน รอ้ ยละ
เรียนรู้ นกั เรยี น จำนวนนักเรียนท่ีมผี ลกำรเรียนรู้ นกั เรยี น นักเรยี น
1 ที่ไดร้ ะดบั ท่ไี ด้ระดับ
ภำษำไทย 428 ๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ 5 ๓ ขน้ึ ไป ๓ ขึ้นไป
คณิตศำสตร์ 668 3
วทิ ยำศำสตร์ 1,435 208 49 40 44 35 25 26 1 297 69.39
สังคมศกึ ษำฯ 1,078 183 91 112 67 71 54 85 386 57.78
656 282 258 107 61 31 37 0 1,196 83.34
สขุ ศกึ ษำ 933 528 116 127 98 121 54 33 771 71.52
และพลศกึ ษำ 0
ศลิ ปะ 386 834 55 13 16 4 9 2 1 902 96.68
กำรงำนอำชีพฯ 367 3
ภำษำต่ำงประเทศ 1,070 329 55 1 0 1 0 0 0 385 99.74
IS 133 292 28 17 15 9 5 0 337 91.83
280 238 245 136 57 44 47 763 71.31
54 74 5 0 0 0 0 133 100

๕๔

๑๕.๑๐ ผลกำรประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (๘ ประกำรตำมหลักสูตรฯ)
(ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๓)

ระดบั ชั้น จำนวน จำนวนนักเรยี นตำมระดับคณุ ภำพ

นกั เรยี น (ผลกำรประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์)
ทัง้ หมด
(๓) (๒) (๑)

จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ

มธั ยมศึกษำปที ่ี ๑ 67 67 ๑๐๐ - - - -
มัธยมศกึ ษำปที ี่ ๒ 58 58 ๑๐๐ - - - -
มัธยมศึกษำปที ่ี ๓ 79 79 ๑๐๐ - - - -
มัธยมศึกษำปีท่ี ๔ 69 69 ๑๐๐ - - - -
มธั ยมศึกษำปีที่ ๕ 50 50 ๑๐๐ - - - -
มธั ยมศกึ ษำปที ี่ ๖ 52 52 ๑๐๐ - - - -

รวม 375
เฉลย่ี ร้อยละ 100

๑๕.๑๑ ผลกำรประเมินกำรอ่ำน คดิ วเิ ครำะห์ และเขยี น ( ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๓)

ระดับช้นั จำนวน จำนวนนกั เรยี นตำมระดับคุณภำพ
นักเรยี น
ทงั้ หมด (ผลกำรประเมินกำรอำ่ น คดิ วเิ ครำะห์ และเขียน )

(๓) (๒) (๑)

จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ

มัธยมศึกษำปที ่ี ๑ 67 67 ๑๐๐ - -- -
มธั ยมศึกษำปีที่ ๒ 58 58 ๑๐๐ - -- -
มธั ยมศกึ ษำปีที่ ๓ 79 79 ๑๐๐ - -- -
มัธยมศกึ ษำปีที่ ๔ 69 69 ๑๐๐ - -- -
มัธยมศึกษำปที ี่ ๕ 50 50 ๑๐๐ - -- -
มัธยมศึกษำปีที่ ๖ 52 52 ๑๐๐ - -- -
375
รวม 100
เฉลีย่ ร้อยละ

๕๕

๑๕.๑๒ ผลกำรประเมินกิจกรรมพัฒนำผเู้ รียน (ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๓)

ระดบั ชัน้ จำนวนนกั เรยี น รอ้ ยละของนกั เรยี นตำมระดับคณุ ภำพ
ทั้งหมด (กจิ กรรมพัฒนำผู้เรยี น )

มธั ยมศึกษำปีท่ี ๑ 67 ผ่ำน ไมผ่ ่ำน
มัธยมศกึ ษำปีที่ ๒ 58 จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ
มัธยมศกึ ษำปีท่ี ๓ 79
มัธยมศึกษำปีท่ี ๔ 69 67 ๑๐๐
มัธยมศกึ ษำปีที่ ๕ 50 58 ๑๐๐
มธั ยมศึกษำปีท่ี ๖ 52 79 ๑๐๐
69 ๑๐๐
รวม 50 ๑๐๐
เฉล่ยี ร้อยละ 52 ๑๐๐

375
100

๕๖

สว่ นที่ ๒

ผลกำรประเมนิ ตนเองของสถำนศกึ ษำ

โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลยั เพชรบรู ณ์ ดาเนินการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา
ตามกฏกระทรวงวา่ ด้วยระบบ หลักเกณฑแ์ ละวิธีการ ประกันคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
มผี ลการประเมินตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ระดับการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ดังนี้

มำตรฐำนกำรศกึ ษำ ระดบั กำรศึกษำขนั้ พื้นฐำน ระดับคุณภำพ

มำตรฐำนที่ ๑ คุณภำพผเู้ รยี น ดีเลศิ (ระดบั ๔)
๑.๑ ผลสัมฤทธท์ิ ำงวิชำกำรของผเู้ รียน ยอดเยย่ี ม(ระดับ ๕)
๑.๒ คุณลักษณะที่พงึ ประสงคข์ องผูเ้ รยี น ดีเลิศ (ระดับ ๔)

มำตรฐำนท่ี ๒ กระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำร
มำตรฐำนท่ี ๓ กระบวนกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนท่เี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ

มำตรฐำนท่ี ๑ คุณภำพผเู้ รยี น

ระดบั คณุ ภำพ : ดเี ลศิ
๑.กระบวนกำรพฒั นำ (ประกอบขอ้ มลู หลกั ฐำนและเอกสำรเชงิ ประจักษ์)

โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลยั เพชรบูรณ์ มกี ระบวนการพัฒนาผเู้ รียนตามมาตรฐานนี้
เพ่ือยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างวิชาการและคณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงคข์ องผ้เู รยี น โดยมุ่งเน้นการพฒั นาผเู้ รียน
ให้สอดคลอ้ งกบั วสิ ยั ทัศน์ของโรงเรียนทีว่ า่ “โรงเรยี นกาญจนาภิเษกวิทยาลยั เพชรบรู ณ์ ม่งุ พฒั นาคณุ ภาพ

ผู้เรียน คณุ ภาพครสู ่คู วามเป็นเลิศ สร้างสภุ าพบรุ ุษ สภุ าพสตรี วิถีกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลัย บรหิ ารจัดการ
แบบมสี ว่ นร่วม ก้าวสมู่ าตรฐานสากล” มปี จั จยั สนันสนนุ โดยทางสถานศกึ ษาได้วางแผนพฒั นาการจดั การศกึ ษา

ของสถานศึกษาเพือ่ พัฒนาผเู้ รยี นตามประเดน็ พจิ ารณาในมาตรฐานน้ี โดยจดั ทาแผนพัฒนาการศกึ ษา
ขัน้ พืน้ ฐาน (พ.ศ.๒๕๖๑ – ๒๕๖๔) แผนปฏบิ ัติการประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ หลกั สตู รโรงเรยี น
กาญจนาภิเษกวทิ ยาลยั เพชรบรู ณ์ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ตามโครงสร้างหลกั สตู รโรงเรียนมาตรฐานสากล (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ประกอบ ๓ หลกั สตู รหลกั

อาทิ ๑) หลักสูตรโครงการยกระดับความเป็นเลิศทางวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาและเทคโนโลยี
๒)หลกั สตู รโครงการห้องเรียนคขู่ นาน SMTE แผนการเรยี น วิทยาศาสตร์- คณิตศาสตร์ และ
๓) หลกั สูตรโครงการหอ้ งเรียนพเิ ศษกฬี า โดยมงุ่ เนน้ ให้ผูเ้ รียนมคี วามรู้และทักษะท่ีจาเปน็ ตามหลักสตู ร
ในทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ มีการจดั โครงการและกิจกรรมในระดบั มาตรฐานเพ่อื พัฒนาผ้เู รยี น

ได้แก่ โครงการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางวชิ าการของผเู้ รียน ประกอบด้วยกจิ กรรมยอ่ ย ดังน้ี กิจกรรมสอนเสรมิ พเิ ศษ
เพ่อื ยกระดับผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน นร.ม.๓ และ ม.๖ โดยไดใ้ ห้คณะครใู นแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้
และเชญิ วิทยากรภายนอกมาเป็นชว่ ยตวิ ทั้ง ๕ กลุ่มสาระหลกั กิจกรรมศลิ ปะ กิจกรรมงานวดั และประเมินผล

กิจกรรมการประชมุ ผู้ปกครองนักเรยี น

๕๗

นอกจากนย้ี งั ได้จัดกิจกรรมตามโครงการพัฒนาหลกั สูตรและกระบวนการเรยี นร้สู ู่ความเป็นเลศิ
ดา้ นวิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ (Best Practice) ประจาปี ๒๕๖๓ (*งบประมาณของกลุ่มโรงเรยี นกาญจนา
ภิเษกวทิ ยาลัย) ทปี่ ระสบผลสาเร็จและดาเนนิ การเรียบรอ้ ย ดังน้ี ประกอบด้วย กิจกรรมการจัดการเรียนการสอน
ทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ในสถานการณ์การแพร่เชอ้ื ไวรัสโควคิ ๒๐๑๙(COVID -๑๙) ประกอบด้วยกิจกรรม
การอบรมการเรยี นการสอนและการผลติ ส่ือออนไลน์ กจิ กรรมพัฒนานวัตกรรมและกระบวนการวจิ ยั
ของนักเรยี นดา้ นวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี อาทิ กิจกรรมอบรมการสร้างนวัตกรรมวิจยั ในชน้ั เรยี น
ของนกั เรยี น และกิจกรรมนาเสนอนวัตกรรมวิจยั ครแู ละนกั เรียน กิจกรรมพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
โรงเรียนกาญจนาภเิ ษกวิทยาลยั ประกอบด้วยกิจกรรมอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการคุณธรรม จริยธรรม ขา้ ราชการครู
และบุคลากร โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลัย เพชรบูรณ์ และกิจกรรมอบรมการเรียนการสอนสะเต็มศกึ ษา
เพ่อื พฒั นาครู/บคุ ลากร ผู้เรยี นสู่ความเปน็ เลิศเป็นเลศิ ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษา และเทคโนโลยี
สง่ ผลให้ครูไดร้ บั รางวลั ดีเด่นจากการนาเสนอผลงานนวตั กรรมและงานวิจัย รวม ๗ เหรยี ญ คือ ๓ เหรียญทอง
๓ เหรยี ญเงนิ และ ๑ เหรียญทองแดง นกั เรียนไดร้ บั รางวัลดเี ดน่ กิจกรรมนาเสนอนวัตกรรมและงานวิจยั
ของนักเรยี นระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาตอนต้นรวม ๑๓ เหรียญ คือ ๖ เหรียญทอง ๗ เหรยี ญเงิน
และนักเรยี นระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รวม ๘ เหรียญ คอื ๑ เหรยี ญทอง ๖ เหรียญเงิน ๑ เหรยี ญ
ทองแดง

นอกจากน้ีสถานศกึ ษาได้มกี ารดาเนินการเพื่อพฒั นาคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ของผเู้ รียน
เพือ่ ให้ผู้เรียนอยใู่ นสังคมไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข โดยมงุ่ เน้นการพฒั นาด้านคุณธรรม จริยธรรม และมีคณุ ลกั ษณะ
อันพงึ ประสงค์ตามหลักสูตร โดยมกี ารจดั โครงการและกจิ กรรมต่างๆในระดับมาตรฐานอย่างหลากหลาย
เพอื่ พฒั นาผเู้ รียน ไดแ้ ก่ โครงการพัฒนาคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ของผ้เู รียน ประกอบด้วยกจิ กรรมย่อยดังน้ี
กจิ กรรมแกนนาเพ่ือนทีป่ รกึ ษา YC กิจกรรมครอบหมวกและประดับแผงคอ กิจกรรมพิธไี หว้ครู
กิจกรรมวนั แม่แหง่ ชาติ กจิ กรรมวันพระราชสมภพพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชริ า
ลงกรณพระวชิรเกลา้ เจ้าอยู่หวั กิจกรรมวนั พ่อแหง่ ชาตแิ ละวนั ชาติ ๕ ธันวาคม กจิ กรรมจราจรภายในโรงเรียน )
กจิ กรรมรณรงค์ต่อตา้ นยาเสพตดิ กิจกรรมกีฬาภายใน(กฬี าสี) และกจิ กรรมกีฬาภายนอก
กจิ กรรม TO BE NUMBER ONE กจิ กรรมการเลอื กตง้ั นายกสภานกั เรยี นและคณะกรรมการสภานกั เรยี น
กจิ กรรมสภุ าพบรุ ษุ สุภาพสตรี เบญจวถิ ีกาญจนาฯ กิจกรรมวันเกียรตยิ ศ กิจกรรมสง่ เสรมิ อาชีพนักเรียน
กิจกรรมบรกิ ารชุมชนดา้ นดนตรแี ละนาฏศิลป์(ค่ายอาสาพฒั นาสาธารณประโยชน)์ กิจกรรมวนั ลอยกระทง
กิจกรรมวันเด็กแหง่ ชาติ กิจกรรมอบรมพัฒนาทกั ษะแก้ปญั หา EQ กิจกรรมทาบญุ ตกั บาตร
กิจกรรม Freshy boy & girl กิจกรรมคา่ ยเตรยี มความพร้อมนกั เรยี นใหม่ และกจิ กรรมค่ายสง่ เสริม
ประชาธปิ ไตยในโรงเรยี น นอกจากนที้ างโรงเรียนยงั ไดจ้ ัดโครงการกระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี น้นผ้เู รียน
เปน็ สาคญั ประกอบด้วยกิจกรรมยอ่ ย ดงั น้ี กิจกรรมสปั ดาห์ส่งเสรมิ รกั การอา่ นและสปั ดาห์ห้องสมุด
กิจกรรมวันสนุ ทรภู่ กจิ กรรมวนั ภาษาไทยแหง่ ชาติ กจิ กรรมพิธปี ระจากองลกู เสือ กิจกรรมพธิ ีถวายราชสดุด/ี พธิ ี
สวนสนาม กิจกรรมการสง่ เสริมและพฒั นาการเรยี นการสอนกลมุ่ สาระวทิ ยาศาสตร/์ สัปดาห์วิทยาศาสตร์
กิจกรรมสง่ เสรมิ และพฒั นาศักยภาพนกั เรยี นห้องเรียน SMTE กิจกรรมทกั ษะดนตรีนาฏศลิ ป์
กจิ กรรมพฒั นาปรับปรงุ ระบบเครอื ขา่ ยอนิ เตอร์เนต็ ในโรงเรยี น กจิ กรรมพฒั นาหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารคอมพิวเตอร์
(ซอ่ มบารงุ /จัดหาวัสดอุ ุปกรณ)์ กจิ กรรมพัฒนาเวป็ ไซดโ์ รงเรยี น กจิ กรรมรบั นกั เรียน ม.๑ และ ม.๔
กิจกรรมฝกึ ระเบียบแถว กจิ กรรมห้องเรียนไร้พรมแดน

๕๘

ตลอดจนมีการส่งเสรมิ ใหค้ รูสอดแทรกคุณธรรม จรยิ ธรรมตามแนวคดิ “ เบญจวถิ กี ลุ่มโรงเรยี น
กาญจนาภิเษกวิทยาลยั ” ในทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้และทกุ ชนั้ เพ่อื มุ่งให้ผู้เรยี นมีความรู้ มีความสามารถ
ทางวิชาการ ควบคู่ไปกบั การเปน็ ผู้ท่ีมคี ณุ สมบตั ิเพยี บพรอ้ ม กาย วาจา ใจ มีความประพฤตดิ ีและตงั้ ปณธิ าน
ท่จี ะสบื สาน งานพระราชดารเิ พื่อนาไปพฒั นาสังคมและประเทศชาติ โดยมุ่งเน้นความมีระเบยี บวินยั
บุคลิกภาพ ความเป็นผ้นู า เบญจวถิ ี ๕ ประการในการพัฒนาผู้เรยี นใหม้ ีความเปน็ สุภาพบรุ ุษ สุภาพสตรี
กาญจนาภิเษกวทิ ยาลยั ประกอบดว้ ย วิถีที่ ๑ เทดิ ทนู สถาบัน วถิ ที ี่ ๒ กตญั ญู วถิ ที ่ี ๓ บุคลกิ ดี
วิถีที่ ๔ มีวินยั วถิ ีที่ ๕ ใหเ้ กยี รติ

จากการดาเนนิ การตามโครงการและกิจกรรมตา่ งๆมากมาย ส่งผลให้ผ้เู รยี นมีคุณธรรม จรยิ ธรรม
มคี ุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เปน็ คนดี มีระเบียบ มีวินัย มีความรบั ผดิ ชอบ ทุกโครงการและกิจกรรม
จัดอย่างต่อเนื่องทุกปี มีการนเิ ทศติดตามงาน ประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน รายงานผลและนาผลประเมินไป
ปรบั ปรุงพัฒนางานอย่างเปน็ ระบบครบวงจร อีกทัง้ ยงั ไดร้ บั ความร่วมมอื จากพ่อแม่ ผปู้ กครอง
คณะกรรมการสถานศึกษา องค์การบรหิ ารส่วนตาบลน้าชุน ศูนยพ์ ัฒนาศาสนาแคมป์สน วัดหนองสว่าง
และชุมชนใหก้ ารสนับสนุนและร่วมโครงการและกจิ กรรมต่างๆอยา่ งสมา่ เสมอ ส่งผลใหผ้ ลกำรประเมนิ คุณภำพ
มำตรฐำนที่ ๑ อยู่ในระดบั คุณภำพดีเลิศ ตำมค่ำเปำ้ หมำยทก่ี ำหนด
๒. ผลกำรพัฒนำ

๒.๑ ผลกำรประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ทิ ำงวิชำกำรของผู้เรยี น
๑.ผู้เรยี นร้อยละ ๘๕ มคี วามสามารถในการอา่ น การเขียน การสอ่ื สารและการคดิ คานวณสูงกวา่ เป้าหมาย

ท่ีสถานศึกษากาหนด
๒.ผ้เู รียนรอ้ ยละ ๘๕ มีความสามารถในด้านการคิดวเิ คราะห์ คิดอยา่ งมีวิจารณญาณอภปิ รายแลกเปลี่ยน

ความคดิ เหน็ โดยใช้เหตุผลประกอบการตัดสนิ ใจ และแก้ปญั หาได้ ซึง่ สงู กว่าเปา้ หมายท่สี ถานศกึ ษา
กาหนด
๓.ผูเ้ รยี นร้อยละ ๘๐ มีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม ซึง่ เปน็ ไปตามเป้าหมายทส่ี ถานศึกษากาหนด
๔.ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารซ่ึงเปน็ ไปตามเป้าหมาย
ทส่ี ถานศึกษากาหนด
๕.ผเู้ รียนมีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนตามหลักสูตรสถานศกึ ษา

จากผลการประมินดา้ นผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ ภาคเรียนที่ ๑
ผ้เู รียนทมี่ ผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนระดับ ๓ ขึน้ ไปภาพรวมเฉล่ียทุกกลุ่มสาระฯร้อยละ ๗๔.๕๙
และภาคเรียนที่ ๒ ผเู้ รยี นที่มีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนระดับ ๓ ขึ้น ไปภาพรวมเฉลี่ย
ทกุ กลุม่ สาระฯ ร้อยละ ๘๒.๓๙ ไปภาพรวมทุกกลมุ่ สาระฯ เป็นไปตามเป้าหมายที่สถานศกึ ษากาหนด

เม่อื พิจารณาผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขัน้ พ้นื ฐาน (O-NET) ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓
ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ค่าเฉล่ียระดับโรงเรียน รายวชิ าภาษาไทย เทา่ กับ ๕๕.๑๖ รายวิชาภาษาองั กฤษ
เท่ากบั ๓๑.๓๑ รายวชิ าคณติ ศาสตร์ เท่ากับ ๒๒.๙๗ และรายวิชาวทิ ยาศาสตร์ เท่ากับ ๒๕.๖๒
และมผี ลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขนั้ พ้ืนฐาน (O-NET) ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖
ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ คา่ เฉลย่ี ระดับโรงเรยี น รายวชิ าภาษาไทย เทา่ กบั ๓๔.๕๒ รายวชิ าสังคมศึกษาฯ
เทา่ กบั ๓๑.๗๕ รายวิชาภาษาอังกฤษเทา่ กบั ๒๓.๔๙ รายวิชาคณิตศาสตร์ เท่ากับ ๑๙.๒๓
และรายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ เท่ากับ ๒๖.๖๐

๕๙

๖.ผ้เู รยี นร้อยละ ๘๕ มีความรู้ ทกั ษะพื้นฐาน และเจตคติทด่ี ีต่องานอาชีพซง่ึ สูงกวา่ เป้าหมาย
ที่สถานศกึ ษากาหนด
๒.๒ ผลกำรประเมินคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ของผู้เรียน

๑. ผเู้ รยี นรอ้ ยละ ๙๐ มคี ุณลักษณะและคา่ นยิ มที่ดสี งู กวา่ เปา้ หมายที่สถานศกึ ษากาหนด
๒. ผู้เรียนร้อยละ ๘๕ มคี วามภูมใิ จในท้องถ่ินและความเป็นไทย ซึง่ เป็นไปตามเปา้ หมายที่สถานศึกษากาหนด
๓. ผเู้ รียนรอ้ ยละ ๘๕ มีการยอมรับทีจ่ ะอยูร่ ่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลายซง่ึ เปน็ ไปตามเปา้ หมาย

ท่ีสถานศึกษากาหนด
๔. ผเู้ รยี นร้อยละ ๘๕ มีสุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคมดีเย่ยี มซึง่ เป็นไปตามเปา้ หมายท่ีสถานศึกษากาหนด
๓.จุดเด่น

๑) ผู้เรยี นมีความใฝร่ แู้ ละเรยี นรู้อยา่ งต่อเน่ือง และมีทกั ษะทีจ่ าเป็นตามหลักสตู ร
และค่านิยมท่พี ึงประสงค์ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม มสี ุขภาพกาย สุขภาพจิตท่ีดีและมสี นุ ทรียภาพ
คดิ เป็น ทาเปน็ ปฏิบตั ิตนตามแนวทางคา่ นยิ มไทยพืน้ ฐาน สง่ ผลให้คุณลกั ษณะของผเู้ รียน บรรลุตามปรชั ญา
และวสิ ัยทศั น์และอตั ลกั ษณข์ องสถานศึกษาทแ่ี สดงออกถงึ ความเปน็ สภุ าพบุรุษ สภุ าพสตรี
กาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลยั : เทดิ ทนู สถาบนั กตัญญู บุคลิกดี มวี ินยั และให้เกยี รติ

๒) ผเู้ รยี นมคี วามโดดเดน่ การกีฬาฟุตบอลและกฬี าวอลเลยบ์ อล (โครงการหอ้ งเรียนกีฬา สพฐ.
ส่งผลให้ได้ผเู้ รยี นได้รบั รางวลั จากการเข้าร่วมแข่งขนั มากมายท้ังระดบั จงั หวดั ระดบั ภาค และระดบั ประเทศ
๔. จดุ ควรพฒั นำ

๑ ) สง่ เสรมิ และพัฒนาผู้เรยี นใหม้ คี วามรแู้ ละทักษะที่จาเป็นตามหลกั สูตร
ตลอดจนยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนกล่มุ สาระการเรียนรูต้ า่ งๆใหส้ งู ขึ้น และผลการทดสอบระดบั ชาติ
(O-net) โดยเฉพาะอย่างย่ิงในกลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ภาษาองั กฤษ
คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ใหม้ ีคุณภาพสงู ขน้ึ
๕. แผนงำน /แนวทำงพฒั นำมำตรฐำนที่ ๑ คุณภำพผู้เรยี นเพ่อื ใหไ้ ด้คุณภำพที่สงู ขึน้

แผนปฏิบัตงิ ำนท่ี ๑ โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธิท์ างวิชาการของผู้เรยี น
แผนปฏบิ ตั งิ ำนท่ี ๒ โครงการพฒั นาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผ้เู รยี น

๖๐

มำตรฐำนที่ ๒ กระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำร
ระดับคณุ ภำพ : ยอดเยี่ยม
๑.กระบวนกำรพัฒนำ (ประกอบข้อมูล หลกั ฐำนและเอกสำรเชงิ ประจกั ษ์)

โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลยั เพชรบูรณ์ มีการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
(พ.ศ. ๒๕๖๑ –๒๕๖๔) ซ่งึ ผเู้ กย่ี วขอ้ งทกุ ฝา่ ยมสี ว่ นรว่ มในการกาหนดวสิ ยั ทัศน์ พนั ธกิจ และเปา้ ประสงค์
และแผนปฏิบัติการประจาปี ๒๕๖๓ เพ่อื มุง่ เน้นใหผ้ ูเ้ รียนมีคุณภาพตามมาตรการเรยี นรตู้ ามหลกั สูตร
ของสถานศึกษา มกี ารบรหิ ารจดั แบง่ การบริหารงานออกเป็น ๕ กลุ่มงาน ได้แก่ กลุม่ บรหิ ารวิชาการ
กลุม่ บรหิ ารงานบคุ คล กล่มุ บรหิ ารทว่ั ไป กลุ่มบริหารงบประมาณ และสานักกิจการนกั เรียนประจา
ผูบ้ ริหารเป็นผมู้ ีความรู้ความสามารถ มีหลกั ธรรมาภบิ าล มภี าวะผ้นู าในการทางานอนั เปน็ แบบอย่างท่ดี ี
แกเ่ พ่อื นร่วมงาน สามารถบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษาได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ สถานศึกษามกี ารแต่งต้ัง
คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พืน้ ฐาน โดยคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พืน้ ฐานมบี ทบาทสาคญั ในการพัฒนา
สถานศึกษาอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ มีการจัดบรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มสถานศกึ ษาใหม้ ีความสะอาด
ถกู สขุ ลกั ษณะ มีความปลอดภยั และสวยงาม มปี ัจจยั สนับสนนุ โดยทางสถานศกึ ษาไดว้ างแผนพฒั นาการจัด
การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาผูเ้ รยี นตามมาตรฐาน โดยกาหนดใหม้ แี ผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา(พ.ศ. ๒๕๖๑ –๒๕๖๔)
และแผนปฏิบตั กิ ารประจาปี ๒๕๖๓ หลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นกาญจนาภิเษกวิทยาลยั เพชรบูรณ์
(ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
โดยจดั ใหม้ ีหลักสูตรทเี่ ปิดจัดการเรยี นการสอน ๓ หลกั สตู ร ได้แก่ ๑)หลักสูตรยกระดับส่งเสรมิ ความเป็นเลิศ
ดา้ นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาและเทคโนโลยี ๒) หลักสูตรสง่ เสรมิ ความเป็นเลิศด้านวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตรเ์ ทคโนโลยีและสิง่ แวดล้อม (SMTE) ห้องเรยี น สสวท. ๓) หลักสตู รหอ้ งเรียนกีฬา
(โครงการห้องเรียนกฬี า สพฐ.)

โรงเรยี นไดด้ าเนนิ การบริหารโรงเรียนคุณภาพโดยใช้รปู แบบการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ของโรงเรียนกาญจนาภเิ ษกวิทยาลัย เพชรบูรณ์ ด้วยรูปแบบนวัตกรรมซ่ึงสอดคล้องกบั นโยบายของสานักงาน
เขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาเพชรบรณู ์ จานวน ๒ เรอ่ื ง ไดแ้ ก่ กา้ วตามรอยพ่อ เพชรกาญจนานาพาสโู่ รงเรยี น
สุจริต และ กจิ กรรมเบญจวิถีกาญจนาสรา้ งสรรค์คนดี โดยใช้รูปแบบการบรหิ าร KCNPB MODEL
นวตั กรรมท้ัง ๒ เรอ่ื ง ไดน้ าเบญจวถิ กี าญจนภเิ ษกวิทยาลัย ทงั้ ๕ วถิ ี ได้แก่ เทิดทนู สถาบัน กตญั ญู บุคลกิ ดี
มีวนิ ัยและใหเ้ กียรติ รว่ มกบั รปู แบบการบรหิ าร KCNPB MODEL ซง่ึ เปน็ การบรู ณาการรว่ มกับรปู แบบ
การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา รูปแบบ SPM ๔.๐ ท่ีมุง่ สกู่ ารพฒั นาคณุ ภาพของโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล
รวมทง้ั นอ้ มนาศาสตรพ์ ระราชามาเปน็ หลักคิดและแนวทางในการดาเนินงาน เพ่อื ให้บรรลุวิสัยทัศน์สถานศึกษา
“มุง่ พฒั นาคุณภาพผู้เรยี น คุณภาพครู คุณภาพของผูบ้ รหิ าร และคุณภาพของโรงเรยี น ส่คู วามเป็นเลิศสร้าง
สภุ าพบุรษุ สุภาพสตรี วถิ กี าญจนาภเิ ษกวิทยาลยั บริหารจดั การแบบมีส่วนรว่ มกา้ วส่มู าตรฐานสากล”
โดยใชก้ ระบวนการวงจรคุณภาพ P-D-C-A ในการดาเนนิ งาน สง่ ผลให้การดาเนินการบรหิ ารจดั การศกึ ษา
บรรลุตามเป้าหมายเป็นโรงเรยี นคณุ ภาพ (Quality School) ซ่ึงเปน็ การจดั ระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพ
ของสถานศึกษา สามารถแก้ปัญหาหรอื พัฒนา ได้ตรงตาม กลมุ่ เป้าหมาย ส่งผลให้เกดิ ประโยชน์ตอ่ ผเู้ รียน
ครู และผ้บู ริหาร

พร้อมทง้ั โรงเรยี นไดจ้ ดั ใหม้ รี ะบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ตามกฏกระทรวงว่าด้วยระบบ
หลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ.๒๕๖๑ โดยมีการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
ตามมาตรฐานการศกึ ษาทีก่ ระทรวง ศึกษากาหนด จดั ทาแผนพฒั นาการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา

๖๑

ตามมาตรฐานโรงเรียน ดาเนนิ การตามแผนที่กาหนดไว้ จดั ใหม้ กี ารประเมนิ และ ตรวจสอบคุณภาพภายใน
สถานศกึ ษา การติดตาม ดาเนินงานเพอ่ื พัฒนาตาม มาตรฐาน จดั ส่งรายงานผลการประเมนิ ตนเอง
แกห่ นว่ ยงานต้นสังกดั จัดการประชุมวางแผนการจดั ทาแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา
เพื่อให้สอดคล้องกบั บรบิ ทของโรงเรียนโดยมกี ารกาหนดเปา้ หมาย วสิ ัยทัศน์และพันธกจิ โรงเรียนอยา่ งชัดเจน
ดาเนินงานพฒั นาวชิ าการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบดา้ นตามหลักสตู รสถานศึกษาในทุกกลุ่มเป้าหมาย
จดั ทาแผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา(พ.ศ. ๒๕๖๑ –๒๕๖๔) แผนปฏบิ ตั ิการประจาปี ๒๕๖๓
ดาเนินการพฒั นาครแู ละบุคลากรใหม้ ีความเช่ียวชาญทางวิชาชพี และจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพ่อื สนับสนนุ การบรหิ ารจดั การและการเรยี นรู้ รวมทัง้ จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมท่เี อ้ือต่อการ
จดั การเรยี นรู้ ทางโรงเรียนดาเนินงานโครงการ / กจิ กรรม ตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปี ๒๕๖๓ ดงั น้ี
โครงการพฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางวชิ าการของผเู้ รียน ประกอบด้วยกิจกรรมย่อย ดังน้ี กิจกรรมสอนเสรมิ พิเศษ
เพ่ือยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน นร.ม.๓ และ ม.๖ โดยมอบให้คณะครูในแต่ละกลมุ่ สาระการเรียนรู้
และเชิญวิทยากรภายนอกมาเปน็ ช่วยตวิ ทั้ง ๕ กลุ่มสาระหลัก กิจกรรมศลิ ปะ กจิ กรรมงานวัดและประเมนิ ผล
กจิ กรรมการประชุมผปู้ กครองนกั เรียน โครงการพฒั นาคุณลักษณะอันพึงประสงคข์ องผู้เรียน ประกอบดว้ ย
กิจกรรมตา่ งๆดังน้ี กิจกรรมแกนนาเพื่อนทปี่ รึกษา YC กจิ กรรมครอบหมวกและประดบั แผงคอ
กิจกรรมพธิ ไี หวค้ รู กจิ กรรมวนั แมแ่ หง่ ชาติ กจิ กรรมวนั พระราชสมภพพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธบิ ดี
ศรสี นิ ทรมหาวชิราลงกรณพระวชิรเกลา้ เจ้าอย่หู วั กจิ กรรมวันพอ่ แหง่ ชาตแิ ละวันชาติ ๕ ธันวาคม
กจิ กรรมจราจรภายในโรงเรยี น กิจกรรมรณรงคต์ อ่ ตา้ นยาเสพตดิ กิจกรรมกีฬาภายใน(กฬี าสี)
และกจิ กรรมกฬี าภายนอก กจิ กรรม TO BE NUMBER ONE กิจกรรมการเลอื กตง้ั นายกสภานักเรยี น
และคณะกรรมการสภานักเรยี น กจิ กรรมสภุ าพบุรุษ สภุ าพสตรี เบญจวิถกี าญจนาฯ กจิ กรรมวันเกียรติยศ
กจิ กรรมสง่ เสริมอาชีพนกั เรยี น กิจกรรมบรกิ ารชุมชนด้านดนตรีและนาฏศิลป์(คา่ ยอาสาพฒั นาสาธารณประโยชน)์
กิจกรรมวนั ลอยกระทง กจิ กรรมวนั เด็กแหง่ ชาติ กจิ กรรมอบรมพัฒนาทักษะแก้ปญั หา EQ
กจิ กรรมทาบุญตักบาตร กิจกรรม Freshy boy & girl กิจกรรมค่ายเตรยี มความพรอ้ มนกั เรยี นใหม่
และกจิ กรรมคา่ ยส่งเสรมิ ประชาธปิ ไตยในโรงเรียน นอกจากนีท้ างโรงเรยี นยังได้จดั โครงการกระบวนการจดั การ
เรียนการสอนทีเ่ นน้ ผ้เู รียนเป็นสาคัญ ประกอบด้วยกจิ กรรมยอ่ ย ดังน้ี กิจกรรมสัปดาหส์ ง่ เสริมรกั การอา่ น
และสปั ดาหห์ ้องสมดุ กิจกรรมวนั สนุ ทรภู่ กิจกรรมวนั ภาษาไทยแห่งชาติ กจิ กรรมพธิ ีประจากองลกู เสอื
กจิ กรรมพธิ ีถวายราชสดดุ ี พิธสี วนสนาม กจิ กรรมการสง่ เสริมและพัฒนาการเรียนการสอนกลุม่ สาระ
วทิ ยาศาสตร์/สัปดาหว์ ิทยาศาสตร์ กิจกรรมส่งเสรมิ และพัฒนาศักยภาพนกั เรยี นห้องเรยี น SMTE
กจิ กรรมทกั ษะดนตรนี าฏศลิ ป์ กจิ กรรมพฒั นาปรับปรุงระบบเครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ตในโรงเรียน
กิจกรรมพัฒนาหอ้ งปฏิบัตกิ ารคอมพิวเตอร์(ซอ่ มบารุง/จดั หาวัสดอุ ุปกรณ์) กจิ กรรมพัฒนาเว็ปไซดโ์ รงเรยี น
กจิ กรรมฝกึ ระเบยี บแถว กจิ กรรมหอ้ งเรยี นไรพ้ รมแดน และโครงการกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
ของผ้บู ริหารสถานศกึ ษา ประกอบด้วยกจิ กรรมต่างๆ ดงั นี้ กจิ กรรมประชมุ ผ้ปู กครองนักเรียนและเย่ยี มบา้ น
(งานระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี น) กิจกรรมแนะแนวการศึกษาต่อสาหรบั นักเรยี นระดบั ชั้น ม. ๓
กจิ กรรมประชาสัมพันธแ์ ละแนะแนวการศึกษาตอ่ สาหรับนักเรยี น ป.๖ กจิ กรรมการประชุมคณะกรรมการ
การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน กจิ กรรมพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนรูว้ ชิ าชีพครูในศตวรรษท่ี ๒๑ ด้วย PLC
กิจกรรมพัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา กจิ กรรมการปรบั ปรงุ อาคารสถานท่ีและซอ่ มบารุงทวั่ ไป
กจิ กรรมการนเิ ทศภายในโรงเรียน กจิ กรรมโรงเรยี นสีเขียว และกิจกรรมโรงเรียนคารบ์ อนต่าลดการใช้
พลังงานไฟฟ้า(EGAT L0w Carbon School)และกจิ กรรมโรงเรียนคารบ์ อนตา่ สชู่ มุ ชน

๖๒

โครงการกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคัญ ประกอบดว้ ยกจิ กรรมย่อย ดงั น้ี
กจิ กรรมสปั ดาห์ส่งเสริมรักการอ่านและสัปดาห์ห้องสมดุ กิจกรรมวนั สุนทรภู่ กจิ กรรมวันภาษาไทยแห่งชาติ
กิจกรรมพธิ ีประจากองลูกเสือ กิจกรรมพิธถี วายราชสดุด/ี พธิ ีสวนสนาม กิจกรรมการสง่ เสรมิ และพฒั นาการเรยี น
การสอนกลุม่ สาระวทิ ยาศาสตร์/สปั ดาหว์ ทิ ยาศาสตร์ กิจกรรมสง่ เสริมและพัฒนาศักยภาพนักเรียนห้องเรยี น
SMTE กจิ กรรมทกั ษะดนตรีนาฏศิลป์ กิจกรรมพฒั นาปรับปรุงระบบเครือข่ายอนิ เตอร์เนต็ ในโรงเรยี น
กิจกรรมพฒั นาห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์(ซ่อมบารงุ /จดั หาวสั ดุอปุ กรณ์) กจิ กรรมพฒั นาเว็ปไซดโ์ รงเรยี น
กิจกรรมฝึกระเบยี บแถว กิจกรรมหอ้ งเรียนไรพ้ รมแดน รวมท้งั ไดด้ าเนนิ งานตาม กิจกรรมตามโครงการพัฒนา
หลกั สตู รและกระบวนการเรยี นรสู้ ่คู วามเป็นเลิศ ด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (Best Practice)
ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๓ (*งบประมาณของกลุ่มโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลยั ) ทปี่ ระสบผลสาเร็จ
และดาเนินการเรยี บร้อย ๓ โครงการหลกั อาทิ ๑) โครงการจดั การเรียนการสอนทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV)
ในสถานการณก์ ารแพร่เช้ือไวรสั โควคิ ๒๐๑๙(COVID -๑๙) กจิ กรรมการอบรมการเรยี นการสอนและการผลิตสื่อ
ออนไลน์ ๒) โครงการพฒั นานวตั กรรมและกระบวนการวิจัยของนกั เรยี นดา้ นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
และเทคโนโลยีประกอบดว้ ย ๒ กจิ กรรมย่อย ได้แก่ กจิ กรรมอบรมการสร้างนวัตกรรมวจิ ัยในชั้นเรยี น
ของนักเรียน และกิจกรรมนาเสนอนวัตกรรมวิจยั ครแู ละนักเรยี น ๓)โครงการพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการ
ศกึ ษาโรงเรียนกาญจนาภเิ ษกวิทยาลยั ประกอบด้วย ๒ กจิ กรรมยอ่ ยคอื การอบรมเชิงปฏบิ ัติการคุณธรรม
จริยธรรม ขา้ ราชการครแู ละบุคลากร โรงเรยี นกาญจนาภิเษกวิทยาลยั เพชรบรู ณ์ และกจิ กรรมอบรมการเรียน
การสอนสะเต็มศึกษา รวมท้งั ทางโรงเรยี นได้จดั ทาบันทึกข้อตกลงความร่วมมอื ทางวชิ าการ( MOU)
กับสถาบันการศกึ ษาตา่ งๆ ภายในประเทศ อาทิ บันทกึ ขอ้ ตกลงความรว่ มมือทางวชิ าการกบั คณะวทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั เพชรบูรณ์ บนั ทกึ ข้อตกลงความรว่ มมอื ทางวิชาการกบั มหาวทิ ยาลัย
ศลิ ปากร วทิ ยาเขตพระราชวงั สนามจนั ทร์ จงั หวัดนครปฐม

จากการดาเนนิ การตามโครงการและกจิ กรรมดงั กลา่ วอยา่ งต่อเนอ่ื ง มีการนเิ ทศติดตามงาน
ประเมนิ ผลการดาเนนิ งานรายงานผลและนาผลประเมนิ ไปปรับปรงุ พฒั นางานอยา่ งเปน็ ระบบครบวงจร
อีกทั้งยงั ไดร้ บั ความร่วมมอื จากพ่อแม่ ผปู้ กครอง คณะกรรมการสถานศกึ ษาใหก้ ารสนับสนนุ และรว่ มโครงการ
ต่างๆอยา่ งสมา่ เสมอ ส่งผลให้ผลกำรประเมนิ คุณภำพมำตรฐำนท่ี ๒ อย่ใู นระดบั คุณภำพยอดเยย่ี ม
ตำมค่ำเป้ำหมำยที่กำหนด
๒. ผลกำรพฒั นำ

โรงเรียนกาญจนาภเิ ษกวิทยาลยั เพชรบูรณ์ มกี ารบรหิ ารคุณภาพดว้ ยวงจรคุณภาพในทุกระดบั
มกี ารติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล และปรบั ปรุงพฒั นางานอย่างตอ่ เน่ือง ดาเนินการบรหิ ารจดั การ
เกีย่ วกับงานวิชาการท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ พัฒนาหลักสตู รและกจิ กรรมเสริมหลกั สตู รทีเ่ น้นคุณภาพผ้เู รยี น
รอบด้าน เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ผู้เรยี นคุณภาพ อีกทง้ั ยังส่งเสรมิ สนับสนนั และพัฒนาครูและบุคลากร จัดให้มีชุมชน
แหง่ การเรียนร้ทู างวิชาชีพ เพ่อื ส่งเสรมิ ให้เป็นครูคณุ ภาพ ตลอดจนจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพภายใน
และภายนอกหอ้ งเรียน และสภาพแวดล้อมทางสังคมใหเ้ ออื้ ตอ่ การจัดการเรยี นรู้อย่างมคี ุณภาพและมีความ
ปลอดภัย มรี ะบบเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีทนั สมัย สนับสนนุ การบรหิ ารจัดการและการจดั การเรยี นรู้
ได้อย่างเหมาะสมและครอบคลุมทกุ พ้ืนทีใ่ นโรงเรยี น ซ่ึงเป็นไปตามระดบั คณุ ภาพทีส่ ถานศึกษากาหนด

ส่งผลให้สถานศึกษาได้รับรางวัลดีเด่นมากมาย อาทิ โรงเรียนกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลยั เพชรบรู ณ์
ผ่านการคัดเลือกผลงานด้านนวตั กรรม “ โครงการ ๑ โรงเรียน ๑ นวตั กรรมของโครงการโรงเรยี นคณุ ภาพ
ประจาตาบล” สังกดั สานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาเพชรบรู ณ์ จากสานกั งานคณะกรรมการ
การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (เมอื่ วนั ที่ ๓๐ ธนั วาคม ๒๕๖๓)

๖๓

และ ไดร้ บั รางวัลระดับประเทศ EGAT Green Learning Awards “โรงเรยี นคารบ์ อนต่า
(ลดการใช้พลงั งานไฟฟา้ ท่ีโรงเรียน” ระดับมธั ยมศกึ ษาประเภทจานวนนักเรียนคนนอ้ ยกวา่ ๒,๕๐๐ คน
สามารถลดก๊าซเรอื นกระจกได้ 21,259.82 kgCO2 e ประจาปี ๒๕๖๓ จากการไฟฟา้ ฝา่ ยผลิตแห่งประเทศไทย
(กฟผ.) รวมทงั้ ได้รับเกยี รติบัตรเปน็ ผู้สนบั สนุนการดาเนินงาน โครงการสร้างและสง่ เสริมความเปน็ พลเมืองดี
ตามรอยพระยุคลบาทด้านการศึกษาสู่การปฏิบตั ิ จากสานักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดเพชรบูรณ์
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ( รนุ่ ท่ี ๑ ) รวมทง้ั ส่งผลให้ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาได้รับรางวัลดเี ด่นต่างๆ
มากมาย อาทิ นายพรี ะวัตร จนั ทกูล ผ้อู านวยการโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลยั เพชรบูรณ์
ไดร้ างวลั เชิดชเู กยี รติ เปน็ บุคลากรทไ่ี ดร้ ับการคดั เลือกใหไ้ ด้รับรางวลั ผูท้ ่ีมีผลการปฏิบตั งิ านดีเด่น
ดา้ นการส่งเสรมิ ความประพฤตินักเรยี นและนกั ศึกษา (รางวลั เสมาพทิ ักษ)์ ประจาปี พ.ศ.๒๕๖๓
จากสานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร และได้เกียรตบิ ตั รเชิดชเู กยี รติเปน็ วทิ ยากรโครงการสรา้ ง
และส่งเสริมความเป็นพลเมืองดตี ามรอยพระยุคลบาทดา้ นการศกึ ษาสูก่ ารปฏิบัติ จากสานักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั
เพชรบูรณ์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ รุ่นที่ ๑ (ณ วนั ที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๔)
ตลอดทัง้ ผู้เรียน นางสาวสุกญั ญา ชาธรรมา นกั เรียนทุนพระราชทาน รุ่นที่ ๙ รับโลพ่ ระราชทาน
เชดิ ชูเกยี รตินักเรียนดีเดน่ ปีพุทธศักราช ๒๕๖๓ ในโครงการทนุ การศกึ ษาพระราชทาน ม.ท.ศ.
จากพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั องค์ประธานกรรมการ ม.ท.ศ. ณ ศาลาดุสดิ าลยั สวนจิตรลดา
(เมือ่ วันที่ ๒๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓) และนายนนทกานต์ ตองติดรัมย์ นักเรยี นทุนพระราชทาน รนุ่ ที่ ๑๒
รับทุนพระราชทานในโครงการทุนการศึกษาพระราชทาน ม.ท.ศ. ปพี ุทธศกั ราช ๒๕๖๓
จากพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั องค์ประธานกรรมการ ณ ศาลาดุสดิ าลยั สวนจิตรลดา
เมอื่ วันท่ี ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๓

๓. จดุ เดน่

๑)โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลัย เพชรบรู ณ์ มีการบรหิ ารคุณภาพด้วยวงจรคณุ ภาพในทกุ ระดบั
โดยมกี ารจดั ทาโครงสรา้ งองค์กรทีเ่ หมาะสม มกี ารกาหนดกรอบการทางานและหนา้ ทค่ี วามรบั ผิดชอบ
ของแตล่ ะฝา่ ยอยา่ งชดั เจน ส่งผลใหส้ ถานศกึ ษาไดร้ บั รางวลั ดีเด่น อาทิ โรงเรยี นกาญจนาภิเษกวิทยาลยั
เพชรบูรณ์ ผ่านการคดั เลอื กผลงานด้านนวตั กรรม “ โครงการ ๑ โรงเรียน ๑ นวัตกรรมของโครงการโรงเรยี น
คุณภาพ ประจาตาบล” สังกดั สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษาเพชรบูรณ์ จากสานักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน รวมทั้งได้รบั เกียรตบิ ตั รเป็นผูส้ นับสนนุ การดาเนินงาน โครงการสร้างและสง่ เสริมความ
เป็นพลเมืองดี ตามรอยพระยคุ ลบาทดา้ นการศึกษาส่กู ารปฏิบัติ จากสานักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั เพชรบรู ณ์
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ( รุ่นที่ ๑ )

๒)โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลยั เพชรบูรณ์ เปิดโอกาสและใหเ้ กียรตแิ กค่ ณะกรรมการสถานศกึ ษา
ข้นั พืน้ ฐาน และเครอื ข่ายผู้ปกครองในการแสดงความคิดเหน็ ตอ่ การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา

๓) โรงเรยี นกาญจนาภิเษกวทิ ยาลยั เพชรบรู ณ์ มีการจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคม
ทีเ่ ออ้ื ต่อการจัดการเรยี นรู้อยา่ งมคี ณุ ภาพและมคี วามปลอดภัย ซ่ึงเป็นไปตามระดบั คุณภาพท่สี ถานศกึ ษากาหนด
สง่ ผลให้สถานศกึ ษาได้รับรางวลั ระดบั ประเทศ EGAT Green Learning Awards “โรงเรยี นคารบ์ อนตา่
(ลดการใชพ้ ลังงานไฟฟ้าท่ีโรงเรียน” ระดับมัธยมศึกษาประเภทจานวนนักเรียนคนนอ้ ยกวา่ ๒,๕๐๐ คน
สามารถลดกา๊ ซเรือนกระจกได้ 21,259.82 kgCO2 e ประจาปี ๒๕๖๓ จากการไฟฟ้าฝ่ายผลติ แหง่ ประเทศไทย
(กฟผ.)

๔) มกี ารจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบรหิ ารจดั การและการจดั การเรยี นรู้
ท่เี หมาะสมกับสภาพของสถานศกึ ษา ซึง่ เป็นไปตามระดบั คณุ ภาพที่สถานศึกษากาหนด

๖๔

๔.จุดที่ควรพฒั นำ
- สถานศึกษาควรมกี ารสารวจภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ินบรเิ วณโดยรอบของสถานศึกษา

หรอื ความสามารถพเิ ศษของผปู้ กครองทจ่ี ะสามารถเชิญมาเปน็ วทิ ยากรในการถา่ ยทอดองค์ความรใู้ หแ้ กผ่ เู้ รียน
หรือการใหค้ ณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน เชิญผทู้ รงความรใู้ นด้านตา่ งๆ มาเป็นภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ เพื่อ
ถ่ายทอดความรู้ใหแ้ กผ่ ู้เรียน โดยทาการอย่างตอ่ เน่ืองในทุกปีการศึกษา

๕.แผนงำน/แนวทำงพฒั นำมำตรฐำนท่ี ๒ กระบวนกำรบริหำรและกำรจดั กำร เพ่อื ให้มคี ณุ ภำพต่อเนอ่ื ง
ดงั น้ี
แผนปฏิบตั ิงำนที่ ๑ ดาเนินการบรหิ ารโรงเรยี นคณุ ภาพโดยใช้รูปแบบการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา

ของโรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลัย เพชรบรู ณ์ ด้วยรปู แบบนวตั กรรมซ่งึ สอดคล้องกับนโยบายของสานกั งาน
เขตพื้นท่กี ารศึกษามัธยมศึกษาเพชรบรูณ์ ร่วมกบั รูปแบบการบริหาร KCNPB MODEL ได้แก่ กจิ กรรมกา้ วตาม
รอยพอ่ เพชรกาญจนานาพาสู่โรงเรียนสุจรติ และ กจิ กรรมเบญจวถิ กี าญจนาสรา้ งสรรค์คนดี ซงึ่ เป็นการบรู ณา
การรว่ มกับรปู แบบการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา รูปแบบ SPM ๔.๐ ท่มี ่งุ สกู่ ารพฒั นาคณุ ภาพของโรงเรียนสู่
มาตรฐานสากล รวมทงั้ นอ้ มนาศาสตรพ์ ระราชามาเปน็ หลกั คิดและแนวทางในการดาเนนิ งานสคู่ วามยงั่ ยืน

มำตรฐำนท่ี ๓ กระบวนกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคญั
ระดบั คุณภำพ : ดีเลศิ
๑.กระบวนกำรพฒั นำ(ประกอบขอ้ มูล หลักฐำนและเอกสำรเชงิ ประจักษ์)

โรงเรียนกาญจนาภเิ ษกวิทยาลัย เพชรบูรณ์ ได้ดาเนินการจดั กระบวนการจัดการเรียนการสอน
ทเ่ี น้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ ครูผสู้ อนตรงตามวุฒกิ ารศึกษาและมภี าระงานทเี่ หมาะสม โดยครูทกุ คนปฏิบตั ิตน
แบบอยา่ งทีด่ ี มจี รรยาบรรณในวิชาชพี มีความกระตอื รือร้น หมนั่ อบรมพฒั นาตนเอง มเี ป้าหมายในการพัฒนา
ผูเ้ รียนด้านตา่ งๆ สรา้ งโอกาสให้ผู้เรยี นมีสว่ นร่วมในการเรียนรู้ ผ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ัติจริง มกี ารบรหิ าร
จดั การชัน้ เรียนเชิงบวก สรา้ งปฏสิ มั พันธ์ทด่ี ี ครรู ู้จกั ผเู้ รยี นเปน็ รายบคุ คล ดาเนินการตรวจสอบและประเมิน
ผ้เู รยี นอยา่ งเป็นระบบและนาผลมาพัฒนาผู้เรยี นรวมทงั้ ร่วมกนั แลกเปล่ียนเรยี นร้แู ละนาผลทีไ่ ด้มาให้ขอ้ มลู
ปอ้ นกลับ เพ่ือพัฒนาและปรับปรงุ การจัดการเรยี นรู้

มีปัจจัยสนบั สนุนโดยทางสถานศึกษาไดว้ างแผนพฒั นาการจัดการศึกษาเพอ่ื พัฒนามาตรฐานน้ี
โดยกาหนดใหม้ ีแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา(พ.ศ. ๒๕๖๑ –๒๕๖๔) และแผนปฏบิ ัติการประจาปี ๒๕๖๓
หลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลัย เพชรบูรณ์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐)
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ โดยจดั ใหม้ ีหลกั สูตรทีเ่ ปิดจัดการเรียนการสอน
๓ หลกั สูตร ได้แก่ ๑)หลักสูตรยกระดับสง่ เสริมความเปน็ เลิศ ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาและเทคโนโลยี
๒) หลกั สูตรส่งเสรมิ ความเป็นเลิศด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิง่ แวดล้อม (SMTE) ห้องเรยี น สสวท.
๓) หลกั สูตรห้องเรียนกฬี า (โครงการห้องเรยี นกีฬา สพฐ.) มีการจัดโครงการและกิจกรรมในระดับมาตรฐาน
เพือ่ พัฒนาครู โดยดาเนินงานตามโครงการพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษา รวมทัง้ การสง่ เสริมความรู้แกค่ รแู ละ
บุคลากรทางการศกึ ษาโดยการจัดอบรมภายในสถานศึกษาและสง่ คณะครูเขา้ รบั การอบรม ประชมุ สัมมนา
ทางวิชาการ ของหนว่ ยงานภาครฐั และเอกชน ได้แก่ หลกั สตู รอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารการคน้ หาและใชส้ ่อื ICT
ในการจัดการเรยี นการสอนของครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา หลกั สูตรอบรมพฒั นาคณุ ภาพด้วยระบบ

๖๕

E-Training รวมท้งั กจิ กรรมตามโครงการพัฒนาหลกั สตู ร และกระบวนการเรยี นรูส้ ู่ความเปน็ เลิศ
ด้านวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ (Best Practice) ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ (*งบประมาณของกลุม่
โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลยั ) ทีป่ ระสบผลสาเร็จ และดาเนินการเรียบรอ้ ย ดงั นี้ ประกอบด้วยกจิ กรรม
การจดั การเรยี นการสอนทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) ในสถานการณ์การแพรเ่ ชอื้ ไวรสั โควิค ๒๐๑๙
(COVID -๑๙) ประกอบด้วยกิจกรรมการอบรมการเรียนการสอนและการผลติ สอ่ื ออนไลน์
กิจกรรมพฒั นานวัตกรรมและกระบวนการวจิ ัยของนักเรียนดา้ นวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี
อาทิ กิจกรรมอบรมการสรา้ งนวตั กรรมวิจยั ในชัน้ เรียนของนักเรยี น และกจิ กรรมนาเสนอนวตั กรรมวจิ ยั ครู
และนักเรยี น กจิ กรรมพฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาโรงเรยี นกาญจนาภิเษกวทิ ยาลัย
ประกอบด้วยกิจกรรมอบรมเชงิ ปฏิบัติการคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ข้าราชการครแู ละบคุ ลากร
โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลัย เพชรบรู ณ์ และกิจกรรมอบรมการเรยี นการสอนสะเตม็ ศึกษา
เพอื่ พฒั นาคร/ู บุคลากร ผเู้ รียนสู่ความเปน็ เลิศเปน็ เลศิ ทางวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษา และเทคโนโลยี
เป็นต้น

จากการดาเนนิ การตามโครงการและกจิ กรรมอยา่ งหลากหลายเพือ่ พฒั นามาตรฐานนอ้ี ย่างตอ่ เนือ่ ง
ทกุ โครงการและกจิ กรรมจัดตอ่ เน่อื งทกุ ปี มีการนเิ ทศติดตามงาน ประเมินผลการดาเนนิ งานรายงานผล
และนาผลประเมนิ ไปปรับปรงุ พฒั นางานอย่างเป็นระบบครบวงจร อกี ทัง้ ยังไดร้ ับความรว่ มมือจากพ่อแม่
ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาให้การสนับสนุนและรว่ มโครงการต่างๆอยา่ งสมา่ เสมอ
ส่งผลใหผ้ ลกำรประเมินคุณภำพมำตรฐำนที่ ๓ อย่ใู นระดับคุณภำพดเี ลศิ ตำมคำ่ เป้ำหมำยทกี่ ำหนด

๒. ผลกำรดำเนินงำน
การดาเนนิ งานของสถานศกึ ษามคี วามเป็นระบบ ตามโครงการและกจิ กรรมอยา่ งหลากหลาย

เพอื่ พัฒนามาตรฐานน้ีอยา่ งต่อเนอ่ื งมกี ารนเิ ทศติดตามงาน ประเมินผลการดาเนินงานรายงานผลและนาผล
ประเมนิ ไปปรบั ปรงุ พฒั นางานอย่างเปน็ ระบบครบวงจร ครผู ู้สอนมกี ระบวนการจดั การเรียนรทู้ ม่ี มี าตรฐาน
ตรงตามตัวชว้ี ัด มาตรฐาน การเรยี นรู้ตามท่หี ลกั สูตร กาหนด ครูผู้สอนมีความรู้ ความสามารถตรงตามวิชาเอก
และความถนดั มี ความเหมาะสม ครทู ุกคนมแี ผนการจดั การเรยี นรู้ และบันทกึ หลงั สอนทกุ คร้งั

ในชว่ งการแพร่ระบาดของเชอื้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ครทู ุกท่านสามารถจัดการเรยี น
การสอนออนไ์ ลน์ได้เหมาะสมกบั สถานการณ์ ครบทุกรายวิชา โดยครูผู้สอนเลอื กช่องทางการติดต่อและการจดั การ
ช้นั เรยี น ผา่ นระบบ Google classroom, Google meet, line, facebook, DLTV, E-mail, โทรศพั ท์
และ Zoom รวมทั้งทางโรงเรียนจะมีการแบ่งการนเิ ทศออกเป็น ๒ สว่ น คอื การนิเทศการจดั การเรยี นการสอน
ในชน้ั เรียนโดยหัวกลุ่มสาระการเรยี นรู้และคณะกรรมการบริหารโรงเรียน โดยสรา้ งเครอื่ งมอื การนิเทศ
ทคี่ รอบคลุมองค์ประกอบการจัดการเรียนรู้ ครนู าผลทีไ่ ด้จากการประเมินผลการจัดการเรียนรหู้ รือผลจากการ
นเิ ทศภายในหรอื ผลการวจิ ยั มาใชใ้ นการปรับปรงุ การจดั การเรยี นการสอนของตนเอง ครูผสู้ อนมีการวดั และ
ประเมินผลการเรียนรขู้ องผเู้ รยี นอย่างเปน็ ระบบและชดั เจน โดยจัดใหม้ ปี ฏิทินการวดั และประเมนิ ผูเ้ รยี น
และมรี ูปแบบการวดั และประเมนิ ผลอย่างชัดเจน โดยจะมกี ารกากับตดิ ตามจากฝ่ายบริหารอย่างใกล้ชดิ

ตลอดทง้ั ครผู ู้สอนทกุ ท่านมนี ักเรยี นในระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรียน ครบทกุ ระดับชัน้
มกี ารจดั ทาขอ้ มูลสารสนเทศนกั เรียนเป็นรายบุคคลอยา่ งเปน็ ระบบโดยจะทาการออกเยย่ี มบา้ น
ของนกั เรยี นเป็นประจา จัดทาเครื่องมอื ตรวจสอบและสรุปผลการคัดกรองนักเรียนเป็นรายบุคคล ส่งเสรมิ พฒั นา
ศักยภาพนกั เรียนตามความตอ้ งการ ความสนใจและความสามารถ ครูผู้สอนจัดการเรียนการสอนชดเชยทกุ วัน
เสาร์ของทุกสัปดาห์ เพอื่ ให้นกั เรยี นได้เรยี นครบตามหลักสูตรและเตม็ ศกั ยภาพ และกิจกรรมเสรมิ ความรู้

๖๖

ทางวชิ าการสาหรับนักเรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ และ ๖ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ เพ่ือเตรียมความพร้อม
สกู่ ารทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตแิ ละเตรียมความพร้อมส่กู ารสอบเพ่ือศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา
ของนักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖ กิจกรรมอบรมโครงการยตุ ิธรรมอุปถมั ภใ์ ห้กับนักเรยี นระดบั ช้ัน ม.๒-ม.๖
โดยนาภารกิจของกระทรวงยุติธรรมไปสนบั สนุนให้นักเรียนมภี มู ิคุม้ กนั ตนเองจากสงั คมจากเรอื นจาอาเภอหล่มสกั
และกิจกรรมอบรมจดุ ประกายความคดิ สร้างองคค์ วามร้สู ่งู านวิจัย ของรายวชิ า IS๑ วชิ าการศึกษาค้นคว้า
และสรา้ งองคค์ วามรู้ ตามโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล กิจกรรมตามโครงการอบรมหลักสตู รสมาธิ
เพอื่ พฒั นาการเรยี นการสอน โดยมูลนิธสิ ถาบนั พลงั จิตตานุภาพหลวงพ่อวริ ยิ ังค์ สริ ินธุ โร ให้กับนกั เรียน
และคณะครแู ละนาผลจากการอบรมมาพฒั นาต่อยอดใหน้ ักเรียนเดินจงกรม เจรญิ จิตภาวนา ทกุ วันศุกร์
ของแต่ละสัปดาห์ กจิ กรรมตามโครงการอบรมโครงการสบื สานศาสตรพ์ ระราชา โคก หนอง นา โมเดล
แกข่ ้าราชการครูและบุคลากร เพ่ือนาความรไู้ ปสอดแทรกในกจิ กรรมการเรียนการสอนทุกรายวิชา

สง่ ผลให้ครผู ู้สอน โรงเรียนกาญจนาภเิ ษกวิทยาลยั เพชรบูรณ์ ได้รบั รางวัลดีเด่นต่างๆ มากมาย ดงั น้ี
๑) นายอเุ ทน ทกั คุม้ ตาแหน่งครตู าแหน่งครชู านาญการพิเศษ ได้รับรางวัลระดับเหรยี ญทองการ
นาเสนอนวัตกรรมการจดั การเรียนการสอนโครงการ ๑ โรงเรียน ๑ นวัตกรรมของโครงการโรงเรียนคุณภาพ
ประจาตาบล จากสานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเพชบรู ณ์ และ ไดร้ ับรางวัล “เพชรมธั ยม”
เน่อื งในงานวันครู ประจาปี ๒๕๖๓ จากสานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต ๔๐
๒) นางสาวสุปราณี แกว้ ดู ตาแหน่งครูชานาญการพเิ ศษ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ไดร้ บั โลป่ ระกาศเกยี รติคุณรางวัลศษิ ยเ์ กา่ ดีเด่นหลกั สูตรสาขาวชิ าเคมี (Hero of Science
and Technology ๒๐๒๐) เนือ่ งในงานสัปดาหว์ ิทยาศาสตรแ์ ห่งชาติ ประจาปี ๒๕๖๓
จากมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบรู ณ์
๓) นางนาที เทยี นเหลอื ตาแหนง่ ครูชานาญการพเิ ศษ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา
ศาสนา และวฒั นธรรม ได้รบั รางวลั ครดู ขี องแผ่นดินข้นั พืน้ ฐาน โครงการเครือข่ายครูดีของแผน่ ดนิ
เจรญิ รอยตามเบอ้ื งพระยุคลบาท
๔) นางรตั มณี แสงสีดา ตาแหน่งครชู านาญการพเิ ศษ กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ
โรงเรยี นกาญจนาภิเษกวิทยาลยั เพชรบรู ณ์ ไดร้ ับรางวัล “เพชรมธั ยม” เนอ่ื งในงานวันครู
คร้ังที่ ๖๕ ประจาปี ๒๕๖๔ จากสานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศกึ ษาเพชรบูรณ์
๕) นายธิตสิ รณ์ ศรีธาดา ตาแหนง่ ครูชานาญการพเิ ศษ กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย
ไดร้ ับประกาศเกียรติคณุ ผกู้ ากับนกั ศึกษาวิชาทหารดีเด่น ศนู ยฝ์ ึกโรงเรยี นผาเมอื งวทิ ยาคม
สาหรับการฝึกภาคปกตนิ ักศึกษาวิชาทหาร ปีการศึกษา ๒๕๖๓ จากมณฑลทหารบกท่ี ๓๖
๖) นางจรุ ีพร ศรธี าดา ตาแหน่งครูชานาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์
ได้รับประกาศเกยี รติคณุ ที่ปรึกษาโครงงานรางวัลระดับ เหรยี ญทองแดง สาขาวิชาคณิตศาสตร์
จากศูนยแ์ มข่ ่ายโครงการหอ้ งเรยี นพิเศษวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสิ่งแวดลอ้ ม
ภาคเหนือตอนล่าง
๗) นางนาทกญั ญา นงภา ตาแหนง่ ครูชานาญการพเิ ศษ ไดร้ บั ประกาศเกยี รตคิ ุณ
เปน็ ผไู้ ดร้ บั การคดั เลอื กเปน็ “ครุ ชุ น คนคุณธรรม” ระดบั เขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษา ประเภทครู ตามโครงการ
โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ปีการศึกษา ๒๕๖๓ จากสานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษาเพชรบูรณ์

๖๗

รวมทัง้ ครูผูส้ อนไดร้ ับเกียรติบัตรการนาเสนอผลงานนวัตกรรมและงานวจิ ยั
“งานแสดงผลงานนวัตกรรมโดยใชก้ ระบวนการวจิ ัยและการจดั การความรู้ คร้งั ท่ี ๙ กลุ่มโรงเรียน
กาญจนาภิเษกวทิ ยาลัย” (The Exhibition of Teachers’ Students Innovations by Research
Process of Kanchanapisekwittayalai School Cluster) เมอื่ วนั ท่ี ๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๓
จานวน ๗ ทา่ น ดังน้ี

๑) นางลดั ดาวลั ย์ ดอนชมไพร ครกู ลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ ได้รับรางวัลเหรยี ญเงนิ
(รายงานการใชช้ ุดกิจกรรมการเรยี นรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้รว่ มกบั เทคนิคการใช้ผงั กราฟกิ
เรือ่ ง ร่างกายของเรา กลุม่ สาระการเรียนวิทยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒)

๒) นางสาวนิตยา น้อยนนั ท์ ครกู ล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ไดร้ บั รางวัลเหรียญทอง
(รายงานผลการใชแ้ บบฝกึ ทกั ษะคณิตศาสตร์ภาษาอังกฤษ เรื่อง ตรรกศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๔)

๓) นางสาววรี ะยา ตันอดุ ม ครกู ลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาตา่ งประเทศ
ไดร้ ับรางวัลเหรยี ญทอง (Improving English Speaking Ability Using Communicative )

๔) นางนาที เทียนเหลือ ครูกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ได้รับรางวัลเหรยี ญทองแดง (การพัฒนาชดุ กิจกรรมการเรยี นรูโ้ ดยการเรยี นรแู้ บบรว่ มมือกนั เรยี นรู้
เรื่อง การเมืองการปกครองของชาตไิ ทย วิชา ประวัติศาสตร์ ม. ๓)

๕) นายธิตสิ รณ์ ศรีธาดา ครกู ลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ไดร้ บั รางวลั เหรียญเงิน
(การเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน วิชาภาษาไทย เรอื่ ง การเขียนสะกดคาของนักเรียน
ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๔ ทีไ่ ด้รบั การสอนด้วยแบบปกติ โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลยั เพชรบูรณ)์

๖) นางสาวตรงึ ใจ เกีตรติกิตตกิ ลุ ครกู ล่มุ สาระการเรยี นรูก้ ารงานอาชีพ
ได้รับรางวัลเหรยี ญเงิน (ผลการจดั กิจกรรมการสอนด้วยการเรยี นวิชา งานธุรกิจ ง ๓๑๑๐๒)

๗) นางนาทกัญญา นงภา ครกู ลุ่มสาระการเรียนรพู้ ัฒนาผ้เู รียน
ได้รบั รางวลั เหรียญทอง (รายงานผลการจดั กิจกรรมโดยการเรยี นรแู้ บบรว่ มมอื (Collborative Learning)
เพอื่ พัฒนาทักษะชีวิตดา้ นตัดสนิ ใจและการแกป้ ัญหา สาหรบั นักเรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๒)

ผลกำรประเมินตำมมำตรฐำนน้ี ดงั นี้
๑) ครผู ้สู อนรอ้ ยละ ๘๕ มีผลการประเมินสมรรถนะอยใู่ นระดบั ดขี น้ึ ไป ซ่งึ เปน็ ไปตามค่า

เป้าหมายท่กี าหนด
๒) ครผู ูส้ อนรอ้ ยละ ๘๕ มคี วามสามารประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยี และสารสนเทศ

ในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนสูงข้นึ จากปีการศกึ ษาทผี่ ่านมา ในระดับดขี นึ้ ไป ซึ่งเป็นไปตามคา่ เปา้ หมาย
ทกี่ าหนด

๓) ครผู ู้สอน รอ้ ยละ ๑๐๐ สอนตรงตามวุฒิการศกึ ษาและมีภาระงานทีเ่ หมาะสม
ซง่ึ สูงกว่าค่าเปา้ หมายท่กี าหนด

๔) ครผู ู้สอนรอ้ ยละ ๘๕ ทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้มคี วามสามารถในการจัดการเรยี นร้รู ะดับดีขน้ึ ไป
โดยไดท้ าการวเิ คราะห์หลักสูตรและจดั กจิ กรรมการเรียนรู้โดยการออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้
ซึ่งเป็นไปตามคา่ เป้าหมายท่กี าหนด

๕) ครผู ู้สอนรอ้ ยละ ๘๕ ทกุ กล่มุ สาระการเรียนรู้ มคี วามสามารถในการจัดการเรียนรู้
แบบเชิงรุก(Active Learning ) และใช้กระบวนการจัดการเรยี นรทู้ ี่หลากหลาย ซึ่งเปน็ ไปตามค่าเป้าหมาย
ทีก่ าหนด

๖๘

๓.จดุ เดน่
๑) ครูผู้สอนมีความร้คู วามสามารถตามมาตรฐานวชิ าชีพครแู ละมคี วามสามารถในการจดั การเรียน

การสอนท่ีเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั ครูผู้สอนตรงตามวุฒกิ ารศึกษาและมีภาระงานที่เหมาะสม
๒) ครูผู้สอนทุกกลมุ่ สาระการเรียนรมู้ ีความสามารถในการออกแบบการจดั การเรียนรู้

ทสี่ อดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชวี้ ดั สมรรถนะสาคญั และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
โดยเลอื กใช้วธิ ีสอน เทคนิคการสอน สอ่ื /แหล่งเรียนรทู้ ่ีหลากหลายสอดคล้องกบั ความแตกตา่ งระหว่างบุคคล
๔.จุดควรพฒั นำ

๑) ควรส่งเสรมิ พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ให้สามารถจัดการเรยี นรอู้ ยา่ งมีคุณภาพ
ในรปู แบบทหี่ ลากหลาย เชน่ การเรียนร้ผู า่ นกจิ กรรมการปฏิบัตจิ ริง (Active Learning ),ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้
ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community :PLC ) ฯลฯ

๒) พฒั นาครูใหม้ ีความสามารถ และประยกุ ต์เทคโนโลยแี ละสารสนเทศในการจดั การเรียนรู้
อาทิเช่น การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนออนไลน์ โดยการใช้ G Suite for Education อาทิเชน่ Google
classrooms,Gmail, Google Sheets, Google Meet ฯลฯ

๕.แผนงำน/แนวทำงพฒั นำมำตรฐำนท่ี ๓ กระบวนกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนทเี่ นน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ
เพ่ือให้ได้คุณภำพทส่ี งู ข้ึน ดงั น้ี
แผนปฏิบตั งิ ำนท่ี ๑ โครงการพฒั นาบุคลากร เนน้ การพัฒนาศักยภาพการจดั การเรียนการสอน

การออกแบบและกระบวนการเรยี นรู้ออนไลน์ และทักษะการใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ัลในการจดั การเรยี นรู้

๖๙

ส่วนที่ ๓

สรุปผล แนวทำงกำรพฒั นำและขอ้ เสนอแนะ

ผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ถือเป็นข้อมลู
สารสนเทศสาคญั ท่ีสถานศกึ ษาจะต้องนาไปวเิ คราะห์ สงั เคราะห์เพ่ือสรปุ นาไปสู่การเชอ่ื มโยงหรอื สะทอ้ น
ภาพความสาเรจ็ กบั แผนพฒั นาการศกึ ษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษา พุทธศักราช ๒๕๖๑ -๒๕๖๔
และนาผลไปใช้ในการวางแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในปีตอ่ ไป ดังนัน้ จากผลการดาเนนิ งาน
ของสถานศึกษา สามารถสรุปผลการประเมนิ มาตรฐานการศกึ ษาระดบั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน
แต่ละมาตรฐาน และผลการประเมนิ ในภาพรวม พร้อมท้ังแนวทางการพฒั นาในอนาคตและความตอ้ งการ
การช่วยเหลอื ไดด้ งั น้ี

๑.สรปุ ผลกำรประเมนิ ในภำพรวม :ระดับกำรศึกษำขน้ั พ้นื ฐำน

ผลกำรประเมนิ มำตรฐำนกำรศึกษำ ระดบั คณุ ภำพ
มำตรฐำนท่ี ๑ คณุ ภำพของผู้เรยี น ดีเลิศ

มำตรฐำนที่ ๒ กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจัดกำร ยอดเยยี่ ม

มำตรฐำนท่ี ๓ กระบวนกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนทเ่ี น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั ดเี ลศิ
สรปุ ผลกำรประเมนิ ในภำพรวม ระดับคุณภำพ ดีเลิศ

สรปุ ผลกำรประเมินตนเองของสถำนศึกษำระดบั กำรศกึ ษำขนั้ พน้ื ฐำน ในภำพรวม
อยใู่ นระดับคุณภำพดีเลิศ จากผลการดาเนนิ งานโครงการและกิจกรรมต่างๆ ส่งผลใหส้ ถานศกึ ษา
จัดการพฒั นาคุณภาพการศึกษาประสบผลสาเร็จตามเปา้ หมายทต่ี ง้ั ไว้ในแตล่ ะมาตรฐาน จากผลการประเมนิ
สรปุ วา่ อยู่ในระดบั คุณภาพดเี ลิศ ท้งั นี้เพราะมาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผู้เรยี น อยูใ่ นระดบั ดีเลิศ
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ อยใู่ นระดับยอดเยยี่ ม มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการ
เรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรยี นเป็นสาคญั อยูใ่ นระดับดีเลิศ ทงั้ น้ีสถานศกึ ษามีการจดั กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน
อยา่ งหลากหลาย จนคุณภาพผเู้ รยี นบรรลเุ ป็นไปตามเปา้ หมาย ที่สถานศกึ ษากาหนดไวแ้ ละมีแนวโนม้ ดีขน้ึ
มผี ลงานชนิ้ งาน โครงการ หรือกจิ กรรมที่เกดิ จากความคิดและการลงมอื ปฏิบตั ขิ องผู้เรยี น มรี ะบบการบริหาร
และจัดการที่ส่งผลต่อการยกระดบั คณุ ภาพผู้เรยี นรอบด้านครบทุกกล่มุ เปา้ หมายและมกี ารพัฒนาอยา่ งตอ่ เนือ่ ง
เปน็ แบบอย่างได้ มีการใชร้ ะบบเทคโนโลยีและสารสนเทศท่ีทันสมัย เพ่อื สนับสนุนการบรหิ ารการจดั การ
และการจัดการเรยี นการสอน จนทาใหผ้ ู้เรียนแสวงหาความรไู้ ด้ด้วยตนเอง รู้ศักยภาพและเขา้ ใจตนเอง
กระบวนการจดั การเรียนการสอนเปิดโอกาสใหผ้ เู้ รยี นไดค้ ดิ และไดป้ ฏบิ ตั ิจรงิ ในรูปแบบและสถานการณ์
ท่ีหลากหลาย มีการพฒั นารูปแบบวิธสี อนทีส่ ามารถนาไปเปน็ แบบอย่างได้ มีเทคนิควิธีการตรวจสอบและประเมนิ
ความรขู้ องผู้เรียนและใหข้ ้อมลู ยอ้ นกลับจนผ้เู รียนมีความรคู้ วามสามารถเตม็ ศกั ยภาพ

๒.แนวทำงกำรพัฒนำในอนำคต

โรงเรียนกาญจนาภเิ ษกวิทยาลัย เพชรบูรณ์ ไดก้ าหนดทิศทางการพัฒนาคณุ ภาพสถานศกึ ษา
ในอนาคต ตามแผนพฒั นาการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๖๑ -๒๕๖๔ ประกอบด้วยกลยุทธ์
(STRATEGIES) หลักสูก่ ารพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาทงั้ ๔ ด้าน คอื ด้านพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น

๗๐

ดา้ นพฒั นาครูและบคุ ลากรเพ่อื การปฏบิ ตั ิงาน ด้านพฒั นาคุณภาพสูม่ าตรฐานสากล และดา้ นพัฒนาองค์กร
ให้พรอ้ มบริการ โดยยดึ หลัก ๔ ยุทธวิธี ๑๕ วถิ ี ดังนี้

ยุทธวิธีท่ี ๑ พฒั นำคณุ ภำพผู้เรียน
วิถที ี่ ๑ การจดั การเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยี อาทเิ ช่น การจัดเรยี นการสอนออนไลน์

โดยการใช้ G Suite for Education ประกอบ ดว้ ย Google classrooms,Gmail,Google Hangouts,Google
Docs,Google Forms, Google Drive, Google Calendar, Google Sheets, Google Slides
, เว๊ปไซตต์ ่างๆ หรอื แอพพลเิ คช่ันบนอปุ กรณ์พกพา ทวี รี ะบบดิจติ อล, DLTV

วถิ ที ่ี ๒ พฒั นากระบวนการคดิ ขัน้ สงู
วถิ ที ี่ ๓ พฒั นาการอ่านและการเขียน
วถิ ีที่ ๔ หอ้ งเรยี นคณุ ภาพ ยกระดับสง่ เสรมิ ความเปน็ เลิศ และ ,ห้องเรยี นกฬี า
วิถีท่ี ๕ การยกระดับความเปน็ เลิศทางวิทยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์
ยุทธวธิ ีท่ี ๒ พฒั นำครูและบุคลำกรเพอื่ กำรปฏิบัติงำน
วถิ ีที่ ๖ พฒั นาครแู ละบคุ ลากรเพ่อื การปฏิบตั งิ าน
วิถีท่ี ๗ พัฒนาผลงานวิจัย/นวตั กรรมครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
วถิ ที ี่ ๘ พัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาเพือ่ พัฒนาตนเอง
ยุทธวธิ ีท่ี ๓ กำรพัฒนำคุณภำพสมู่ ำตรฐำนสำกล
วิถีท่ี ๙ การบริหาร โดยใช้โรงเรียนเปน็ ฐาน (School Based Management)
วิถีท่ี ๑๐ การพฒั นาโรงเรยี นสูม่ าตรฐานสากล (World Class Standard School)
วิถที ่ี ๑๑ การดารงคณุ ภาพอย่างยง่ั ยนื
ยทุ ธวิธีท่ี ๔ พฒั นำองค์กรใหพ้ รอ้ มบรกิ ำร
วถิ ีท่ี ๑๒ ระบบประกันคุณภาพภายใน
วถิ ที ่ี ๑๓ พฒั นาภูมิทัศน์ของโรงเรยี น
วถิ ีที่ ๑๔ พฒั นาสานกั งานอเิ ล็กทรอนกิ ส์
วิถีท่ี ๑๕ การดาเนนิ การจดั ซอื้ จดั จ้าง
๓. ควำมต้องกำรและกำรชว่ ยเหลอื
๓.๑. สนับสนนุ งบประมาณ ในการพฒั นาปรบั ปรงุ อาคารเรยี น อาคารหอพัก หอ้ งเรียน
ห้องน้าให้มสี ภาพใชง้ านไดต้ ามวัตถุประสงค์
๓.๒. สนบั สนนุ งบประมาณในการจัดหาเครือ่ งคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสาหรับการเรยี น
การสอนและการบรหิ ารจัดการเพิม่ เตมิ และชดเชยสว่ นท่ีหมดสภาพใช้การไมไ่ ด้
๓.๓. สนบั สนุนงบประมาณในการพฒั นาและปรับปรงุ ห้องศูนยส์ อื่ การเรียนการสอนกลุม่ สาระ
การเรียนรู้ตา่ งๆ ท้ัง ๘ กลุม่ สาระ ฯ

********************************************************************

ภำคผนวก

๗๒

ภำคผนวก ก

ประกำศโรงเรียนกำญจนำภเิ ษกวทิ ยำลัย เพชรบรู ณ์
เร่อื ง กำรกำหนดมำตรฐำนและค่ำเป้ำหมำยกำรศกึ ษำขั้นพ้ืนฐำนของโรงเรียน

ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๓

๗๓

ประกำศโรงเรียนกำญจนำภิเษกวทิ ยำลยั เพชรบรู ณ์
เรอื่ ง ใหใ้ ช้มำตรฐำนกำรศกึ ษำของสถำนศกึ ษำ ระดบั กำรศึกษำขน้ั พนื้ ฐำน

เพื่อกำรประกนั คณุ ภำพภำยใน
ตามที่กระทรวงศึกษาธกิ ารประกาศใช้กฏกระทรวง การประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๖๑
(ลงวนั ที่ ๒๐ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑) นโยบายการปฏิรปู การศกึ ษาในทศวรรษที่สองที่กาหนดเป้าหมาย
และยทุ ธศาสตรใ์ นการพฒั นาคณุ ภาพคนไทยและการศึกษาไทยในอนาคต ประกอบกบั มีนโยบายให้ปฏริ ปู
ระบบการประเมนิ และการประกนั คณุ ภาพทั้งภายในและภายนอกของทุกระดับการศกึ ษา
และประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอื่ งให้ใชม้ าตรฐานการศกึ ษา ระดับปฐมวัย ระดบั การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน
และระดบั การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐานศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษ (ลงวันที่ ๖ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๑) จาเปน็ ต้องปรบั ปรงุ
มาตรฐานการศึกษาขัน้ พนื้ ฐานให้สอดคล้องกัน จึงใหย้ กเลิกประกาศโรงเรียนกาญจนาภิเษกวทิ ยาลัย
เพชรบูรณ์ เรอ่ื ง การใชม้ าตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ระดับการศึกษาข้นั พ้นื ฐานเพ่ือการประกนั
คณุ ภาพภายใน ลงวนั ท่ี ๑๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐
พระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และทแ่ี กไ้ ขเพ่ิมเติม (ฉบบั ท่ี ๒ ) พ.ศ. ๒๕๔๕
มาตรา ๙ (๓) ได้กาหนดการจดั ระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจดั การศกึ ษาใหย้ ึดหลกั ทสี่ าคัญข้อหน่งึ
คือมีการกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาและจัดระบบประกันคุณภาพการศกึ ษาทกุ ระดบั และประเภทการศกึ ษา
โดยมาตรา ๓๑ ใหก้ ระทรวงมอี านาจหน้าท่ีกากบั ดูแลการศกึ ษาทกุ ระดับและทุกประเภท กาหนดนโยบาย
แผนและมาตรฐานการศึกษาและมาตรา ๔๘ ใหห้ นว่ ยงานต้นสงั กัดและสถานศึกษาจดั ใหม้ รี ะบบประกนั
คุณภาพภายในสถานศกึ ษา และให้ถือว่าการประกันคณุ ภาพภายใน เป็นส่วนหน่ึงของการบริหารการศกึ ษา
ที่ต้องดาเนนิ การอย่างต่อเนื่องโดยมกี ารจดั ทารายงานประจาปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสงั กัด หน่วยงาน
ทเ่ี กี่ยวขอ้ งและเปิดเผยต่อสาธารณชนเพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาและเพื่อรองรับ
การประกนั คณุ ภาพภายนอก

ฉะนัน้ อาศยั อานาจตามความในมาตรา ๙ (๓) มาตรา ๔๘ แห่งพระราชบัญญตั กิ ารศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และทแ่ี ก้ไขเพมิ่ เติม (ฉบบั ที่ ๒ ) พ.ศ. ๒๕๔๕ และกฏกระทรวง การประกนั คุณภาพ
การศึกษา พ.ศ.๒๕๖๑ รวมทัง้ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ืองใหใ้ ชม้ าตรฐานการศึกษาระดับปฐมวยั
ระดบั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐานและระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ (ลงวนั ที่ ๖ สิงหาคม พ.ศ.
๒๕๖๑ )ประกอบกบั มตคิ ณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานโรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลัย เพชรบูรณ์

จึงประกาศให้ใช้มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓
เพ่ือใหเ้ ปน็ เปา้ หมายในการพัฒนา ส่งเสริมสนบั สนุน กากบั ดูแล และติดตามตรวจสอบคุณภาพศึกษา
อยา่ งตอ่ เน่อื ง ตามเอกสารแนบท้ายประกาศนี้

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๓

( นายพรี ะวตั ร จนั ทกูล )
ผอู้ านวยการโรงเรยี นกาญจนาภิเษกวิทยาลัย เพชรบรู ณ์

๗๔

มำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศึกษำ ระดบั กำรศึกษำขั้นพน้ื ฐำน
โรงเรียนกำญจนำภเิ ษกวทิ ยำลยั เพชรบรู ณ์

แนบท้ำยประกำศโรงเรยี นกำญจนำภเิ ษกวทิ ยำลยั เพชรบรู ณ์ เร่อื ง ให้ใชม้ ำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศกึ ษำ
ระดบั กำรศกึ ษำขน้ั พนื้ ฐำน ฉบับลงวนั ท่ี ๑๙ พฤษภำคม พ.ศ.๒๕๖๓

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

มาตรฐานการศกึ ษา ระดับการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ.๒๕๖๑ มีจานวน ๓ มาตรฐาน ได้แก่
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผู้เรยี น
๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวชิ าการของผู้เรยี น
๑.๒ คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ของผูเ้ รียน
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผูเ้ รยี นเป็นสาคญั

รายละเอยี ดแต่ละมาตรฐาน มีดงั น้ี
มำตรฐำนที่ ๑ คณุ ภำพของผเู้ รยี น

๑.๑ ผลสมั ฤทธิท์ ำงวิชำกำรของผู้เรยี น
๑) มคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การสอื่ สาร และการคิดคานวณ
๒) มคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ คดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ยี น

ความคิดเหน็ และแกป้ ญั หา
๓) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
๔) มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร
๕) มผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
๖) มคี วามรู้ ทักษะพ้ืนฐาน และเจตคติท่ีดตี อ่ งานอาชพี

๑.๒ คุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ของผู้เรียน
๑) การมีคณุ ลักษณะและค่านยิ มทด่ี ตี ามท่สี ถานศึกษากาหนด
๒) ความภมู ใิ จในทอ้ งถ่นิ และความเปน็ ไทย
๓) การยอมรบั ท่จี ะอยูร่ ่วมกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย
๔) สขุ ภาวะทางรา่ งกาย และจติ สังคม

มำตรฐำนที่ ๒ กระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำร
๒.๑ มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกจิ ทสี่ ถานศึกษากาหนดชัดเจน
๒.๒ มรี ะบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
๒.๓ ดาเนินงานพัฒนาวชิ าการทเี่ นน้ คณุ ภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา

และทุกกลุ่มเป้าหมาย
๒.๔ พัฒนาครูและบคุ ลากรให้มีความเช่ยี วชาญทางวิชาชพี
๒.๕ จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมท่ีเอื้อต่อการจดั การเรยี นร้อู ยา่ งมคี ุณภาพ
๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื สนบั สนุนการบริหารจดั การและการจดั การเรยี นรู้

๗๕

มำตรฐำนท่ี 3 กระบวนกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนทีเ่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ
๓.๑ จัดการเรยี นร้ผู ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตได้
๓.๒ ใช้สอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรทู้ ่เี อ้อื ต่อการเรยี นรู้
๓.๓ มกี ารบริหารจดั การชน้ั เรยี นเชงิ บวก
๓.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผ้เู รยี นอย่างเปน็ ระบบและนาผลมาพัฒนาผูเ้ รียน
๓.๕ มีการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้และให้ขอ้ มูลสะท้อนกลบั เพือ่ พฒั นาและปรับปรุงการจดั การเรียนรู้

----------------------------------------------------------------

๗๖

ประกำศโรงเรยี นกำญจนำภิเษกวิทยำลยั เพชรบูรณ์
เรอ่ื ง กำรกำหนดคำ่ เปำ้ หมำยควำมสำเรจ็ ตำมมำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศกึ ษำ
ระดบั กำรศึกษำขั้นพ้นื ฐำน เพ่อื กำรประกนั คณุ ภำพภำยในของสถำนศึกษำ ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๓

…………………………………………………….
พระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และทีแ่ ก้ไขเพมิ่ เตมิ (ฉบับที่ ๒ )
พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๙ (๓) ได้กาหนดการจัดระบบ โครงสรา้ ง และกระบวนการจัดการศกึ ษาให้ยึดหลกั
ท่สี าคัญขอ้ หน่งึ คือมกี ารกาหนดมาตรฐานการศึกษาและจัดระบบประกันคณุ ภาพการศึกษาทกุ ระดบั
และประเภทการศกึ ษา โดยมาตรา ๓๑ ใหก้ ระทรวงมอี านาจหนา้ ทกี่ ากับดแู ลการศกึ ษาทุกระดบั
และทกุ ประเภท กาหนดนโยบาย แผนและมาตรฐานการศึกษาและมาตรา ๔๘ ให้หน่วยงานต้นสังกัด
และสถานศึกษาจดั ใหม้ ีระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา และใหถ้ ือวา่ การประกนั คณุ ภาพภายใน
เป็นส่วนหนึ่งของการบริหารการศึกษาที่ต้องดาเนนิ การอยา่ งตอ่ เน่ือง โดยมกี ารจัดทารายงานประจาปี
เสนอต่อหนว่ ยงานต้นสงั กดั หน่วยงานที่เกีย่ วขอ้ งและเปดิ เผยต่อสาธารณชนเพ่ือนาไปสู่การพัฒนาคณุ ภาพ
มาตรฐานการศกึ ษา และเพอ่ื รองรับการประกันคณุ ภาพภายนอก
ฉะนัน้ อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๙ (๓) มาตรา ๔๘ แห่งพระราชบัญญตั กิ ารศึกษา
แหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และทแี่ ก้ไขเพิม่ เตมิ (ฉบับที่ ๒ ) พ.ศ. ๒๕๔๕ และกฏกระทรวง การประกนั คุณภาพ
การศกึ ษา พ.ศ.๒๕๖๑ รวมทัง้ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรอื่ งใหใ้ ชม้ าตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวยั
ระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐานและระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษ (ลงวนั ที่ ๖ สงิ หาคม พ.ศ.
๒๕๖๑ ) ประกอบกบั มติคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานโรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลัย เพชรบูรณ์
จงึ ประกาศกาหนดค่าเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา ระดบั การศึกษาขัน้ พื้นฐาน
ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ เพอื่ ให้เปน็ เปา้ หมายในการพัฒนา ส่งเสรมิ สนับสนุน กากบั ดูแล และติดตามตรวจสอบ
คุณภาพศกึ ษาอย่างต่อเนอื่ ง ตามเอกสารแนบท้ายประกาศน้ี

ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๓

( นายพีระวตั ร จันทกูล )
ผู้อานวยการโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลยั เพชรบรู ณ์

๗๗

ค่ำเป้ำหมำยกำรพัฒนำตำมมำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศึกษำ ระดับกำรศึกษำข้ันพืน้ ฐำน
เพอ่ื กำรประกันคณุ ภำพภำยในสถำนศึกษำ ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๓

โรงเรียนกำญจนำภิเษกวิทยำลยั เพชรบรู ณ์

(แนบท้ำยประกำศโรงเรียนกำญจนำภเิ ษกวทิ ยำลัย เพชรบรู ณ์ เรอ่ื ง กำรกำหนดค่ำเป้ำหมำยควำมสำเรจ็ ตำมมำตรฐำน
กำรศึกษำของสถำนศึกษำ ระดบั กำรศึกษำข้นั พ้นื ฐำน ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๓
ฉบับลงวนั ที่ ๑๙ พฤษภำคม พ.ศ.๒๕๖๓)

มำตรฐำนกำรศกึ ษำ ค่ำเป้ำหมำย
(ระดบั คุณภำพ)
มำตรฐำนท่ี ๑ คณุ ภำพของผู้เรียน
๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทำงวิชำกำรของผ้เู รยี น ดเี ลิศ
๑.๒ คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผ้เู รียน (ระดับ ๔)

มำตรฐำนท่ี ๒ กระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำร ยอดเยย่ี ม
(ระดับ ๕)
มำตรฐำนที่ ๓ กระบวนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคญั
ดีเลิศ
(ระดบั ๔)

๗๘

ตวั ชีว้ ัดและค่ำเป้ำหมำยควำมสำเรจ็ ตำมประเด็นพิจำรณำ

ของมำตรฐำนกำรศกึ ษำของสถำนศึกษำ ระดบั กำรศึกษำขนั้ พืน้ ฐำน
โรงเรยี นกำญจนำภิเษกวทิ ยำลัย เพชรบูรณ์ ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๓

******************************************
มำตรฐำนที่ ๑ คณุ ภำพของผู้เรยี น จำนวน ๑๐ ประเด็นพจิ ำรณำ ระดับคุณภำพ ดเี ลิศ
คำอธบิ ำย

ผลการเรยี นรทู้ ่เี ป็นคณุ ภาพของผู้เรยี นทั้งดา้ นผลสัมฤทธิท์ างวชิ าการ ประกอบด้วย
มคี วามสามารถ ในการอ่าน การเขยี น การสอ่ื สาร การคิดคานวณ การคดิ ประเภทตา่ งๆ การสรา้ งนวัตกรรม

การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนตามหลักสตู ร การมีความรูท้ กั ษะ
พ้นื ฐาน และเจตคตทิ ดี่ ีต่อวชิ าชพี และด้านคุณลักษณะอันพึงประสงคท์ ี่เปน็ ค่านยิ มทด่ี ีตามท่ีสถานศึกษา
กาหนด ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย การยอมรบั ที่จะอย่รู ว่ มกันบนความแตกตา่ งและ

หลากหลายรวมท้งั สขุ ภาวะทางร่างกายและจติ สงั คม
๑.๑ ประเดน็ พจิ ารณาดา้ นผลสัมฤทธิ์ทางวชิ าการของผเู้ รียน จานวน ๖ ประเดน็ พิจารณา

ระดบั คุณภำพ ประเด็นพจิ ำรณำ

๑.๑ ผลสมั ฤทธ์ิทำงวิชำกำรของผ้เู รยี น

ระดบั คณุ ภำพ ๑) มคี วำมสำมำรถในกำรอำ่ น กำรเขียน กำรสื่อสำร และกำรคิดคำนวณ
ดเี ลศิ
๑.๑ ผู้เรยี นร้อยละ ๘๐ มีความสามารถในการอา่ น การเขียนภาษาไทย
อยใู่ นระดับดตี ามเกณฑ์การประเมินของสถานศกึ ษา

๑.๒ ผ้เู รียนร้อยละ ๘๐ ผ่านการประเมินสมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน

ด้านความสามารถในการสอ่ื สารระดบั ดมี าก
๑.๓ ผเู้ รยี นรอ้ ยละ ๘๐ มีผลการประเมินความสามารถการสอ่ื สาร

การนาเสนอผลงานในระดับผ่านตามเกณฑก์ ารประเมินของสถานศกึ ษา
๑.๔ ผู้เรยี นร้อยละ ๖๕ มีความสามารถในการส่อื สารภาษาองั กฤษ

ได้ในระดบั ดขี น้ึ ไปตามเกณฑ์การประเมนิ ของสถานศกึ ษา

๑.๕ ผเู้ รยี นรอ้ ยละ ๖๕ มคี วามสามารถในการคดิ คานวณ อยู่ในระดบั ดี
ขึน้ ไปตามเกณฑ์การประเมนิ ของสถานศกึ ษา

๑.๖ ผ้เู รยี นรอ้ ยละ ๕๐ ที่เรียนภาษาจีนมคี วามสามารถในการสอ่ื สาร
ภาษาจีน อยู่ในระดับดีขึน้ ไป ตามเกณฑก์ ารประเมนิ ของสถานศึกษา

๗๙

ระดับคุณภำพ ประเด็นพิจำรณำ

๒) มคี วำมสำมำรถในกำรคิดวเิ ครำะห์ คิดอยำ่ งมีวจิ ำรณญำณ อภปิ รำยแลกเปลีย่ น
ควำมคดิ เห็น และแกป้ ัญหำ

๒.๑ ผู้เรียนรอ้ ยละ ๘๐ ผ่านการประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์ อยใู่ นระดบั ดีเยีย่ ม
๒.๒ ผ้เู รยี นร้อยละ ๘๐ ผ่านการประเมนิ ทกั ษะการคดิ แก้ปัญหา
ตามแนวทางประเมิน PISA อยู่ในระดบั ดีขึ้นไป ตามเกณฑก์ ารประเมนิ ของสถานศึกษา
๒.๓ ผูเ้ รียนร้อยละ ๘๐ ผา่ นการประเมินสมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รยี น
ดา้ นความสามารถในการคดิ ในระดับดเี ยีย่ ม
๓) มคี วำมสำมำรถในกำรสร้ำงนวัตกรรม
๓.๑ ผเู้ รยี นรอ้ ยละ ๘๐ มีความรู้และทักษะพื้นฐานในการสรา้ งนวัตกรรม
ในระดับดีขึ้นไปตามเกณฑก์ ารประเมินของสถานศึกษา
๓.๒ ผูเ้ รียนรอ้ ยละ ๘๐ มีผลงานจากการทาโครงงาน / สง่ิ ประดิษฐ์และสามารถ
อธิบายหลกั การแนวคดิ ขนั้ ตอนการทางาน และปัญหาอปุ สรรคของการทางานได้

๔) มีควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสอื่ สำร
๔.๑ ผูเ้ รียนร้อยละ ๘๕ มีความสามารถในการสบื คน้ ขอ้ มลู จากอินเตอร์เนต็

และสรปุ ความรไู้ ดด้ ้วยตนเอง และอา้ งอิงแหลง่ ขอ้ มูลทไ่ี ด้จากการสบื คน้ ทางเทคโนโลยี
สารสนเทศ ในระดบั ดีข้ึนไปตามเกณฑก์ ารประเมินของสถานศึกษา

๔.๒ ผเู้ รยี นรอ้ ยละ ๘๕ ผ่านการประเมินสมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น
ดา้ นความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ในระดบั ดีเยีย่ ม

๔.๓ ผ้เู รียนร้อยละ ๘๐ มีทกั ษะด้าน Digital Literacy ในการเรยี นรู้
อย่างมปี ระสทิ ธิภาพในระดับดีขึน้ ไป ตามเกณฑ์การประเมนิ ของสถานศึกษา

๕) มผี ลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรยี นตำมหลักสตู รสถำนศึกษำ
๕.๑ ผ้เู รียนรอ้ ยละ ๗๕ มผี ลการเรียนกล่มุ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ระดับ ๓ ขึน้ ไป
๕.๒ ผู้เรยี นรอ้ ยละ ๖๕ มผี ลการเรียนกลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ระดบั ๓ ขึ้นไป
๕.๓ ผ้เู รียนร้อยละ ๖๕ มีผลการเรยี นกลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ฯ ระดับ ๓ ขึ้นไป
๕.๔ ผู้เรยี นร้อยละ ๗๕ มผี ลการเรยี นกลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ฯ ระดบั ๓ ข้นึ ไป
๕.๕ ผเู้ รียนรอ้ ยละ ๗๕ มีผลการเรยี นกลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ ระดับ ๓ ขนึ้ ไป
๕.๖ ผู้เรยี นรอ้ ยละ ๗๕ มีผลการเรยี นกลุ่มสาระการเรยี นร้สู ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา

ระดบั ๓ ขนึ้ ไป
๕.๗ ผ้เู รยี นรอ้ ยละ ๗๕ มีผลการเรียนกลมุ่ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพ

ระดับ ๓ ขึ้นไป
๕.๘ ผ้เู รียนร้อยละ ๗๕ มีผลการเรียนกล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ

(ภาษาอังกฤษ) ระดบั ๓ ขึ้นไป

๘๐

ระดับคณุ ภำพ ประเด็นพจิ ำรณำ

๖) มีควำมรู้ ทักษะพื้นฐำน และเจตคตทิ ด่ี ีตอ่ งำนอำชพี
๖.๑ ผเู้ รียนร้อยละ ๘๐ มคี วามรู้ ทกั ษะพ้นื ฐานและเจตคติทีด่ ีต่องานอาชีพ

ในระดบั ดขี ึน้ ไปตามเกณฑก์ ารประเมินของสถานศึกษา
๖.๒ ผูเ้ รียนร้อยละ ๘๐ มี ID Plan และ Portfolio เพื่อการศึกษาต่อ

และการประกอบอาชีพ
๖.๓ ผู้เรียนรอ้ ยละ ๘๐ ของนกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ และชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๖

มีความพร้อมทจ่ี ะศกึ ษาต่อในระดับท่ีสูงขึน้

๑.๒ ประเด็นพจิ ำรณำดำ้ น๑.๒ คุณลกั ษณะที่พึงประสงคข์ องผูเ้ รียน จำนวน ๔ ประเด็นกำรพิจำรณำ

ระดบั คณุ ภำพ ประเดน็ พิจำรณำ

ระดบั คุณภำพ ๑.๒ คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ของผู้เรยี น
ดีเลิศ
๑) กำรมคี ณุ ลกั ษณะและคำ่ นิยมที่ดีตำมที่สถำนศกึ ษำกำหนด
๑.๑ ผเู้ รียนร้อยละ ๘๐ ผ่านการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

ในระดบั ดเี ย่ยี ม
๑.๒ ผู้เรยี นรอ้ ยละ ๘๐ มคี วามรับผดิ ชอบ มีวินยั มภี าวะผู้นาและมีจติ อาสา

ในระดับดีขึน้ ไปตามเกณฑก์ ารประเมนิ ของสถานศึกษา
๑.๓ ผู้เรยี นร้อยละ ๘๕ มคี ุณลกั ษณะและคา่ นยิ มทด่ี ี และเปน็ แบบอย่างได้

ในระดบั ดขี ึน้ ตามเกณฑ์การประเมินของสถานศกึ ษา

๒) ควำมภูมใิ จในทอ้ งถิน่ และควำมเปน็ ไทย
๒.๑ ผ้เู รยี นร้อยละ ๘๕ ร่วมกจิ กรรมตามประเพณี วนั สาคญั และทอ้ งถ่นิ

อยา่ งน้อย ๑ คร้ังต่อปี
๒.๒ ผเู้ รยี นร้อยละ ๘๕ มพี ฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกถงึ ความรกั ในสถาบนั หลกั

ของชาตแิ ละยดึ มัน่ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ เ์ ป็นประมขุ
ในระดับดีมาก ตามเกณฑ์การประเมนิ ของสถานศึกษา

๒.๓ ผ้เู รียนรอ้ ยละ ๘๕ มีพฤตกิ รรมที่แสดงออกถงึ ความรกั และภมู ใิ จ
ในความเปน็ ไทย ประเพณี วัฒนธรรมและท้องถน่ิ ในระดับดีมาก ตามเกณฑก์ ารประเมิน
ของสถานศึกษา

๘๑

ระดบั คุณภำพ ประเดน็ พิจำรณำ

๓) กำรยอมรบั ทจ่ี ะอยูร่ ว่ มกันบนควำมแตกตำ่ งและหลำกหลำย
๓.๑ ผเู้ รียนรอ้ ยละ ๘๕ อยรู่ ่วมกนั อย่างมีความสขุ บนความแตกต่างทางวัฒนธรรม

ความคดิ เห็นทแี่ ตกต่าง ในระดบั ดมี ากตามเกณฑก์ ารประเมนิ ของสถานศกึ ษา
๓.๒ ผู้เรยี นร้อยละ ๘๕ มที ัศนคติที่ดีตอ่ บ้านเมอื ง มหี ลักคดิ ท่ีถูกตอ้ ง

และเปน็ พลเมืองท่ดี ีของชาติและเปน็ พลเมืองโลกทีด่ ี มคี ุณธรรมจริยธรรม ในระดับดมี าก

ตามเกณฑ์การประเมนิ ของสถานศึกษา

๔) สุขภำวะทำงร่ำงกำย และจติ สงั คม

๔.๑ ผู้เรียนรอ้ ยละ ๘๕ มีนา้ หนกั สว่ นสูงและพฒั นาการทางรา่ งกายเจริญเตบิ โต

ตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ในระดับผ่าน

ดีเลิศ ๔.๒ ผู้เรียนรอ้ ยละ ๘๕ มสี มรรถภาพตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมพลศกึ ษา
หรือสานักงานกองทนุ สนันสนนุ การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ในระดับผา่ น

๔.๓ ผเู้ รียนร้อยละ ๘๕ ปฏิบัตติ นตามสุขบัญญตั แิ ห่งชาติ ๑๐ ประการ

ในระดับผ่านตามเกณฑ์การประเมินของสถานศึกษา

๔.๔ ผู้เรยี นร้อยละ ๘๕ มพี ฤตกิ รรมหลีกเลี่ยงจากสิ่งมอมเมา ปญั หาทางเพศ

การทะเลาะววิ าทและอบายมุขทุกชนิด ในระดับดีมาก ตามเกณฑก์ ารประเมิน

ของสถานศึกษา

๔.๕ ผ้เู รียนร้อยละ ๘๕ มีความร้ทู กั ษะในการป้องกนั ตนเองจากภยั ยคกุ คาม

รูปแบบใหม่ในระดบั ดีมาก ตามเกณฑก์ ารประเมนิ ของสถานศึกษา

๔.๖ ผ้เู รยี นรอ้ ยละ ๘๕ ผา่ นการประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน

ด้านความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ ในระดับดเี ย่ียม

มำตรฐำนที่ ๒ กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจัดกำร จำนวน ๖ ประเด็นพิจำรณำ
ระดับคุณภำพ ยอดเยยี่ ม

คำอธิบำย
เป็นการจัดระบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา มีการกาหนดเปา้ หมาย วิสัยทศั น์

และพนั ธกจิ อย่างชดั เจน สามารถดาเนินงานพัฒนาวชิ าการทเ่ี น้นคณุ ภาพผเู้ รยี นรอบด้านตามหลกั สูตร

สถานศกึ ษาในทกุ กล่มุ เป้าหมาย จดั ทาแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศกึ ษา
ดาเนนิ การพฒั นาครู และบคุ ลากรใหม้ ีความเชีย่ วชาญทางวิชาชีพ และจดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อ

สนับสนุนการบริหารจัดการและการเรียนรู้ รวมทัง้ จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่เี อ้ือต่อการ
จัดการเรียนรู้

๘๒

ระดบั คุณภำพ ประเดน็ พจิ ำรณำ

ระดบั คณุ ภำพ ๒.๑.มเี ป้ำหมำย วสิ ยั ทัศน์ และพันธกิจทส่ี ถำนศึกษำกำหนดชัดเจน
ยอดเยยี่ ม - สถานศึกษากาหนดเป้าหมาย วสิ ัยทัศนแ์ ละพันธกจิ ไวอ้ ยา่ งชัดเจน

สอดคล้องกบั บริบทของสถานศึกษา ความตอ้ งการของชมุ ชน ทอ้ งถิน่
วัตถุประสงคข์ องแผนการศึกษาแหง่ ชาติ นโยบายของรัฐบาลและของตน้ สงั กดั
เป็นไปได้ในการปฏบิ ัติ รวมท้งั ทันต่อการเปลย่ี นแปลงของสังคม
๒.๒ มีระบบบริหำรจดั กำรคณุ ภำพของสถำนศกึ ษำ

- สถานศกึ ษามีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
อย่างเป็นระบบทช่ี ดั เจน ทัง้ ในสว่ นการวางแผนพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษา
การนาแผนไปปฏบิ ตั ิเพ่อื พฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษา มกี ารตดิ ตามตรวจสอบ
ประเมนิ ผลและปรบั ปรุงพฒั นางานอยา่ งตอ่ เน่ือง มีการบรหิ ารอัตรากาลัง
ทรัพยากรทางการศึกษาและระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี น มรี ะบบการนิเทศภายใน
การนาขอ้ มูลมาใช้ในการพัฒนาบคุ ลากร และผู้ท่ีเกย่ี วข้องมสี ่วนรว่ มการวางแผน
ปรบั ปรุง และพัฒนาและรว่ มรับผดิ ชอบตอ่ ผลการจดั การศึกษา และเปน็ แบบอย่างได้
๒.๓ ดำเนนิ งำนพัฒนำวชิ ำกำรท่ีเนน้ คณุ ภำพผเู้ รยี นรอบด้ำน ตำมหลกั สูตร
สถำนศึกษำและทุกกล่มุ เปำ้ หมำย

- สถานศึกษาดาเนินงานพฒั นาวิชาการทเ่ี นน้ คณุ ภาพผู้เรยี นรอบดา้ นตามหลกั สูตร
สถานศึกษา และทกุ กลุม่ เปา้ หมาย เช่อื มโยงกับชีวิตจริงและเป็นแบบอย่างได้
๒.๔ พฒั นำครแู ละบุคลำกรใหม้ คี วำมเช่ยี วชำญทำงวิชำชพี

- สถานศึกษาพัฒนาครูและบคุ ลากร ให้มีความเช่ียวชาญทางวชิ าชพี
ตรงตามความตอ้ งการของครูและสถานศกึ ษา และจดั ใหม้ ีชมุ ชนการเรียนรทู้ างวิชาชีพ
เพอื่ พัฒนางาน
๒.๕ จดั สภำพแวดล้อมทำงกำยภำพและสงั คมที่เอือ้ ตอ่ กำรจดั กำรเรยี นรู้

สถานศกึ ษาจัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพทัง้ ภายในและภายนอกหอ้ งเรียน
และสภาพแวดล้อมทางสังคมท่ีเออื้ ต่อการจดั การเรยี นรู้ และมคี วามปลอดภยั
๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยสี ำรสนเทศเพอื่ สนบั สนนุ กำรบริหำรจัดกำรและกำรจดั กำร
เรยี นรู้

สถานศึกษาจดั ระบบการจัดหา การพฒั นาและการบรกิ ารเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพ่อื ใชใ้ นการบริหารจัดการและการจดั การเรียนรูท้ ี่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา

๘๓

มำตรฐำนที่ ๓ กระบวนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนท่ีเน้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั
จำนวน ๕ ประเด็นพจิ ำรณำ ระดบั คุณภำพ ดเี ลศิ

คำอธบิ ำย
เป็นกระบวนการจดั การเรียนการสอนตามมาตรฐานและตวั ชว้ี ัด ของหลกั สูตรสถานศึกษา

สรา้ งโอกาสให้ผู้เรยี นมสี ่วนร่วมในการเรยี นร้ผู ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ัตจิ ริง มีการบรหิ ารจดั การชัน้ เรียน
เชิงบวกสร้างปฏิสมั พันธท์ ี่ดี ครูรู้จกั ผเู้ รียนเป็นรายบคุ คล ดาเนินการตรวจสอบและประเมนิ ผูเ้ รยี น อย่างเป็น
ระบบและนาผลมาพฒั นาผเู้ รยี น รวมท้งั ร่วมกนั แลกเปลี่ยนเรยี นร้แู ละนาผลท่ีได้มาให้ขอ้ มลู ป้อนกลับ เพ่อื

พฒั นาและปรบั ปรงุ การจัดการเรยี นรู้

ระดับคุณภำพ ประเด็นพจิ ำรณำ

ระดบั คณุ ภำพ ๓.๑จัดกำรเรยี นรผู้ ่ำนกระบวนกำรคิดและปฏิบัติจริงและสำมำรถนำไปประยุกตใ์ ช้
ในกำรดำเนนิ ชวี ิต
ดีเลศิ
๓.๑.๑ ครูรอ้ ยละ ๘๕ ของทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ จดั การเรยี นร้ผู ่านกระบวนการ
คดิ และปฏิบัตจิ ริงตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัดของหลักสตู รสถานศกึ ษา
มีแผนการจัดการเรยี นรู้ทส่ี ามารถนาไปจัดกจิ กรรมไดจ้ ริงและสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้
ในชีวิตได้
๓.๒ใชส้ ื่อ เทคโนโลยสี ำรสนเทศ และแหลง่ เรียนรูท้ เี่ อ้อื ตอ่ กำรเรียนรู้

๓.๒.๑ ครรู ้อยละ ๘๕ ของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ใช้ส่ือการเรียนรทู้ ่หี ลากหลาย
๓.๒.๒ ครูรอ้ ยละ ๘๕ ของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ
ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
๓.๒.๓ ครูรอ้ ยละ ๘๕ ของทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ใช้แหล่งเรยี นรทู้ ้ังภายในและ
ภายนอกโรงเรยี น และนาภมู ิปัญญาท้องถิน่ มาบูรณาการ ในการจดั กจิ กรรมการเรยี น
การสอนที่เอ้ือต่อการเรยี นรู้ให้ผ้เู รียนฝกึ ปฏิบัตจิ ริง

๓.๓ มกี ำรบริหำรจัดกำรช้ันเรยี นเชิงบวก
๓.๓.๑ ครูร้อยละ ๘๕ ของทุกกลุม่ สาระการเรียนรู้ มกี ารบรหิ ารจัดการช้ันเรียนเชงิ

บวก มปี ฏสิ ัมพันธ์เชิงบวก สง่ ผลเด็กรกั ทจ่ี ะเรยี นรู้และเรยี นรู้รว่ มกันอยา่ งมคี วามสขุ
๓.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรยี นอยำ่ งเป็นระบบและนำผลมำพัฒนำผ้เู รียน

๓.๔.๑ ครูร้อยละ ๘๕ ของทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรมู้ กี ารตรวจสอบและประเมนิ
ผเู้ รียนอยา่ งเป็นระบบ มีขน้ั ตอนโดยใชเ้ ครือ่ งมือและวธิ กี ารวัดและประเมนิ ผลท่ีเหมาะสม
กับเปา้ มหมายในการจัดการเรยี นรใู้ ห้ข้อมลู ย้อนกลบั แกผ่ ู้เรียนและนาผลมาพัฒนาผูเ้ รยี น
๓.๕ มีกำรแลกเปล่ียนเรยี นรู้และให้ขอ้ มลู ปอ้ นกลบั เพอ่ื ปรับปรงุ และพัฒนำกำร
จดั กำรเรยี นรู้

๓.๕.๑ ครูร้อยละ ๘๕ ของทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้มชี มุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชพี
ระหวา่ งครูเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรยี นรู้

๘๔

ภำคผนวก ข

สำเนำคำสัง่ โรงเรยี นกำญจนำภเิ ษกวทิ ยำลัย เพชรบูรณ์
ที่ ๑๐๒ / ๒๕๖๔

เรือ่ ง แต่งต้งั คณะกรรมกำรประเมนิ คุณภำพกำรศึกษำภำยในสถำนศกึ ษำ
และจัดทำรำยงำนกำรประเมนิ ตนเอง (SAR) ประจำปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๓

๘๕

คำสง่ั โรงเรียนกำญจนำภเิ ษกวิทยำลัย เพชรบรู ณ์

ที่ ๑๐๒ / ๒๕๖๔
เรื่อง แตง่ ตง้ั คณะกรรมกำรประเมินคณุ ภำพกำรศึกษำภำยในสถำนศึกษำ
และจัดทำรำยงำนกำรประเมนิ ตนเอง (SAR) ประจำปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๓

...................................................................
ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศใชก้ ฏกระทรวงว่าดว้ ยระบบ หลักเกณฑแ์ ละวิธีการ

ประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑ (ฉบบั ลงวันท่ี ๒๐ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๖๑) และให้ใชม้ าตรฐาน
การศึกษาระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน (ฉบบั ลงวันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๖๑) โดยใหส้ ถานศกึ ษาจัดให้มีระบบ
การประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา โดยการกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา

ใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานการศกึ ษาแตล่ ะระดับ พรอ้ มท้งั จัดทาแผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา
ที่มงุ่ คุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาและดาเนนิ การตามแผนทก่ี าหนดไว้ จดั ใหม้ ีการประเมนิ ผล

และตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา ติดตามผลการดาเนนิ การเพ่อื พฒั นาสถานศึกษา
ให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจัดสง่ รายงานผลประเมนิ ตนเองใหแ้ กห่ น่วยงานตน้ สังกดั
หรอื หน่วยงานที่กากบั ดแู ลสถานศกึ ษาเปน็ ประจาทุกปี

เพอื่ ให้การดาเนินงาน การติดตามและประเมินผลการดาเนินการประกนั คุณภาพภายใน
สถานศึกษาและจดั ทารายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓

เป็นไปดว้ ยความเรยี บร้อยและมปี ระสิทธิภาพ ดงั อาศยั อานาจตามพระราชบญั ญัติ ระเบยี บบริหารราชการ
กระทรวงศึกษาธกิ าร พทุ ธศักราช ๒๕๔๖ จงึ ขอแตง่ ตงั้ ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาและ
ผู้ทรงคุณวฒุ ิของโรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลยั เพชรบูรณ์ ปฏิบัตหิ นา้ ท่ีดังตอ่ ไปนี้

๑.คณะกรรมกำรอำนวยกำร มหี นา้ ที่ กาหนดเปา้ หมาย สง่ เสริม สนับสนนุ กากับดแู ล

และตรวจสอบผลการประเมินคุณภาพสถานศกึ ษา รวมท้งั ใหค้ าปรกึ ษา แนะนาและเสนอแนะแนวทาง
ในการดาเนินงานการจัดทารายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓
ใหเ้ ปน็ ไปด้วยความเรยี บร้อยและมปี ระสทิ ธิภาพ ประกอบด้วย

๑.๑) นายพีระวตั ร จนั ทกูล ประธานกรรมการ

๑.๒) นางรุ่งนภา ขวัญพรม รองประธานกรรมการ
กรรมการ
๑.๓) นายสมาน ดอนชมไพร กรรมการ

๑.๔) นางสกุลดารา กองแกว้ กรรมการ
กรรมการ
๑.๕) นางชลุ พี ร หมอ่ งอิน
กรรมการ
๑.๖) นางนนั ทิยา คาสงิ ห์ กรรมการและเลขานุการ
กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
๑.๗) นางรตั มณี แสงสีดา

๑.๘) นางสุจีลักษณ์ จริ ะเดชประไพ

๑.๙) นางสาวสดุ สงวน แสงก้อน

๘๖

๒.คณะกรรมกำรดำเนินงำน มีหนา้ ที่ ดาเนนิ การตดิ ตาม ตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษาและประสาน

เกย่ี วกบั การรวบรวมขอ้ มลู และสารสนเทศ รวมท้ังนาผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษา

สรุปภาพรวมและจัดทารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓

เสนอต่อหนว่ ยงานต้นสังกดั ต่อไป ประกอบด้วย

๒.๑) นางร่งุ นภา ขวญั พรม ประธานกรรมการ

๒.๒) นางสจุ ลี กั ษณ์ จิระเดชประไพ รองประธานกรรมการ

๒.๓) นางสกลุ ดารา กองแก้ว กรรมการ

๒.๔) นายธิติสรณ์ ศรธี าดา กรรมการ

๒.๕ )นางสาวตรึงใจ เกียรตกิ ติ ตกิ ุล กรรมการ

๒.๖) นางพัทรส ศรที อง กรรมการ

๒.๗) นายชชั นท รรี มย์ กรรมการ

๒.๘) นางรัตมณี แสงสดี า กรรมการ

๒.๙) นางเตอื นใจ สัจวาท กรรมการ

๒.๑๐) นางนาทกัญญา นงภา กรรมการ

๒.๑๑) นางสาวนิตยา น้อยนนั ท์ กรรมการ

๒.๑๒) นางสาวนวพรรณ ไฝจ่ ันทร์ กรรมการ

๒.๑๓) นายอนสุ ิษฐ์ จติ จานงค์ กรรมการ

๒.๑๔) นายประชมุ เหลา่ แช่ม กรรมการ

๒.๑๕) นางจรุ พี ร ศรธี าดา กรรมการ

๒.๑๖) นางสาวสปุ ราณี แก้วดู กรรมการ

๒.๑๗) นายอุเทน ทกั คุม้ กรรมการ

๒.๑๘) นางนฤมนต์ รตั นเสถยี ร กรรมการ

๒.๑๙) นายพุฒพิ ัฒน์ วงศ์วริ ยิ ชาติ กรรมการ

๒.๒๐) นางวงษ์รัตน์ เพชรบูรณ์ กรรมการ

๒.๒๑) นางสาวสกุณา แก้วทะ กรรมการ

๒.๒๒) นางอรญั ญา ลาดเลา กรรมการ

๒.๒๓) นางสาวอรวราภรณ์ สนุ ลี กรรมการ

๒.๒๔) นางสาวสดุ สงวน แสงกอ้ น กรรมการและเลขานุการ

๒.๒๕) นางนติ ยา แก่นนาค กรรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ

๘๗

๓.คณะกรรมกำรประเมนิ ผลคณุ ภำพกำรศึกษำภำยในสถำนศึกษำ ประจำปีกำรศึกษำ ๒๕๖๓

มีหน้าท่ีเปน็ ผปู้ ระเมินคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา ระดับการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน

พรอ้ มทั้งจัดเตรียมเอกสาร รอ่ งรอย และหลกั ฐานใหส้ อดคลอ้ งกับมาตรฐานและตัวบ่งช้ี ตามแบบตรวจสอบ

และประเมนิ สภาพการดาเนนิ งานการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓

โดยแยกตามมาตรฐานการประกันคณุ ภาพภายในและผู้รับผดิ ชอบมาตรฐาน ดังตอ่ ไปน้ี

มำตรฐำนท่ี ๑ คุณภำพของผู้เรยี น

๓.๑ ผลสมั ฤทธ์ิทำงวิชำกำรของผูเ้ รียน

๑) มีควำมสำมำรถในกำรอำ่ น กำรเขียน กำรสือ่ สำร และกำรคิดคำนวณ

(คำอธบิ ำย: ผูเ้ รียนมที กั ษะในการอา่ น การเขยี น การสื่อสารและการคดิ คานวณตามเกณฑ์ท่สี ถานศกึ ษา

กาหนดในแตล่ ะระดบั ชน้ั )

ประกอบด้วย

๓.๑.๑) นายธิติสรณ์ ศรธี าดา ประธานกรรมการ

๓.๑.๒) นางรัชนี เหลืองทอง รองประธานกรรมการ

๓.๑.๓) นางสาวรตพิ ร สสี ายคา กรรมการ

๓.๑.๔) นางมนั ทนา ผยุ ผัน กรรมการและเลขานุการ

๓.๑.๕) นางนติ ยา แก่นนาค กรรมการและผ้ชู ่วยเลขานุการ

๒) มีควำมสำมำรถในกำรคดิ วเิ ครำะห์ คิดอย่ำงมวี ิจำรณญำณ อภปิ รำยแลกเปลยี่ นควำมคิดเห็น

และแกป้ ัญหำ

(คำอธิบำย:ผ้เู รียนมคี วำมสำมำรถในกำรคิดจำแนกแยกแยะ ใครค่ รวญไตร่ตรอง พิจำรณำอย่ำงรอบคอบ

โดยใชเ้ หตุผล ประกอบกำรตดั สนิ ใจ มกี ำรอภิปรำยแลกเปล่ียนควำมคิดเห็น และแก้ปญั หำอยำ่ งมีเหตผุ ล)

ประกอบดว้ ย

๓.๒.๑) นางสาวนวพรรณ ไฝ่จันทร์ ประธานกรรมการ

๓.๒.๒) นางจรุ ีพร ศรีธาดา รองประธานกรรมการ

๓.๒.๓) นางวิไลวรรณ จนั ทิพย์ กรรมการและเลขานกุ าร

๓.๒.๔) นางสาวนติ ยา นอ้ ยนันท์ กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร

๓) มีควำมสำมำรถในกำรสร้ำงนวัตกรรม

(คำอธบิ ำย ผูเ้ รียนมคี วำมสำมำรถในกำรรวบรวมควำมร้ไู ดท้ ง้ั ดว้ ยตนเองและทำงำนทมี เชือ่ มโยงองคค์ วำมรู้

และประสบกำรณ์มำใช้ในกำรสร้ำงสรรค์สิง่ ใหมๆ่ อำจเป็นแนวคควำมคิด โครงกำร โครงงำน ช้นิ งำน ผลผลติ )

ประกอบดว้ ย

๓.๓.๑) นายสมาน ดอนชมไพร ประธานกรรมการ

๓.๓.๒) นางนฤมล ลูท่ อง รองประธานกรรมการ

๓.๓.๓) นางลัดดาวัลย์ ดอนชมไพร กรรมการ

๓.๓.๔) นางสาวสปุ ราณี แก้วดู กรรมการ

๓.๓.๕) นางสาวสุมาลี บัวพรวน กรรมการ

๓.๓.๖) นายอุเทน ทกั คมุ้ กรรมการ

๘๘

๓.๓.๗) นายพฒุ ิพฒั น์ วงศว์ ริ ยิ ชาติ กรรมการ
๓.๓.๘) นางนฤมนต์ รัตนเสถยี ร กรรมการและเลขานกุ าร

๓.๓.๙) นางสาวจริ าภรณ์ หลา้ นอ้ ย กรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร

๔) ควำมสำมำรถในกำรใชเ้ ทคโนโลยสี ำรสนเทศและกำรส่อื สำร

(คำอธบิ ำย :ผ้เู รียนมีควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยสี ำรสนเทศและกำรสื่อสำร เพอื่ กำรพฒั นำตนเอง

และสงั คมในด้ำนกำรเรยี นรูก้ ำรสื่อสำร กำรทำงำนอยำ่ งสรำ้ งสรรค์และมีคณุ ธรรม)

ประกอบดว้ ย

๓.๔.๑) นายอนสุ ษิ ฐ์ จิตจานงค์ ประธานกรรมการ

๓.๔.๒) นางสาวสกุณา แก้วทะ รองประธานกรรมการ

๓.๔.๓) นางพลู วดี ภาพสิงห์ กรรมการและเลขานุการ

๕) มผี ลสัมฤทธท์ิ ำงกำรเรยี นตำมหลักสูตรสถำนศกึ ษำ

(คำอธบิ ำย :ผู้เรียนบรรลแุ ละมีควำมก้ำวหนำ้ ในกำรเรยี นร้ตู ำมหลักสตู รสถำนศึกษำจำกพื้นเดิมในควำมรู้

ควำมเขำ้ ใจ ทกั ษะกระบวนกำรต่ำงๆ รวมทั้งมคี วำมกำ้ วหน้ำในผลกำรทดสอบระดบั ชำตหิ รอื ผลกำรทดสอบอื่นๆ)

ประกอบดว้ ย

๓.๕.๑) นายพีระวตั ร จนั ทกูล ประธานกรรมการ

๓.๕.๒) นางรงุ่ นภา ขวัญพรม รองประธานกรรมการ

๓.๕.๓) นางสกุลดารา กองแกว้ กรรมการ

๓.๕.๔) นายสมาน ดอนชมไพร กรรมการ

๓.๕.๕) นายธิติสรณ์ ศรีธาดา กรรมการ

๓.๕.๖) นางสาวตรงึ ใจ เกียรติกติ ตกิ ุล กรรมการ

๓.๕.๗) นางพัทรส ศรีทอง กรรมการ

๓.๕.๘) นายชชั นท รีรมย์ กรรมการ

๓.๕.๙) นางรัตมณี แสงสดี า กรรมการ

๓.๕.๑๐) นางเตือนใจ สจั วาท กรรมการ

๓.๕.๑๑) นางจุรพี ร ศรีธาดา กรรมการ

๓.๕.๑๒) นางนาทกญั ญา นงภา กรรมการ

๓.๕.๑๓) นายอเุ ทน ทักคมุ้ กรรมการ

๓.๕.๑๔) นางสาวนวพรรณ ไฝ่จันทร์ กรรมการ

๓.๕.๑๖) นางสาวสุปราณี แก้วดู กรรมการและเลขานุการ

๓.๕.๑๗) นางสาวนิตยา น้อยนนั ท์ กรรมการและผ่วู ยเลขานกุ าร

๖) มคี วำมรู้ ทกั ษะพื้นฐำน และเจตคตทิ ด่ี ีตอ่ งำนอำชีพ

(คำอธิบำย: ผ้เู รียนมคี วำมรู้ ทักษะพืน้ ฐำนในกำรจัดกำร เจตคตทิ ่ีดี พร้อมทีจ่ ะศึกษำต่อในระดับชัน้

ทสี่ งู ขึ้น กำรทำงำนหรอื งำนอำชพี )

ประกอบดว้ ย

๓.๖.๑) นางนาทกญั ญา นงภา ประธานกรรมการ

๓.๖.๒) นางสาวตรึงใจ เกยี รตกิ ติ ติกุล รองประธานกรรมการ

๘๙

๓.๖.๓) นางวงษร์ ตั น์ เพชรบูรณ์ กรรมการ
๓.๖.๔) นางนันทิยา คาสิงห์ กรรมการ

๓.๖.๕) นายปรีชา พึ่งบวั กรรมการ
๓.๖.๖) นายสาธิต ศรีสด กรรมการ

๓.๖.๗) นางสาวรชั ฎาภรณ์ บุญประเสรฐิ กรรมการและเลขานุการ
๓.๖.๘) นางวันเพญ็ จุดาศรี กรรมการและผูช้ ่วยเลขานุการ

๓.๒ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผเู้ รียน

๑) มีคุณลักษณะและคำ่ นิยมที่ดีตำมท่ีสถำนศึกษำกำหนด

(คำอธิบำย:ผู้เรยี นมพี ฤติกรรมเป็นผู้ที่มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม เคำรพในในกฎกตกิ ำ มีคำ่ นยิ มและจติ สำนกึ

ตำมทส่ี ถำนศึกษำกำหนด โดยไม่ขัดกับกฎหมำยและวัฒนธรรมอันดีของสังคม)

๒) ควำมภูมิใจในทอ้ งถนิ่ และควำมเปน็ ไทย

(คำอธบิ ำย :ผู้เรยี นมคี วำมภมู ิใจในทอ้ งถน่ิ เหน็ คณุ ค่ำของควำมเปน็ ไทย มีสว่ นรว่ มในกำรอนรุ กั ษ์วัฒนธรรมและ

ประเพณไี ทย รวมทง้ั ภูมปิ ญั ญำไทย)

๓) ยอมรับทจ่ี ะอยรู่ ว่ มกนั บนควำมแตกต่ำงและหลำกหลำย

(คำอธบิ ำย: ผ้เู รยี นยอมรับและอยรู่ ว่ มกันบนควำมแตกตำ่ งระหวำ่ งบคุ คลในดำ้ นเพศ วัย เชอ้ื ชำติ ศำสนำ ภำษำ

วัฒนธรรม ประเพณี)

๔) สขุ ภำวะทำงร่ำงกำยและลักษณะจิตสังคม

(คำอธบิ ำย: ผู้เรียนมีกำรรักษำสุขภำพกำย สขุ ภำพจิต อำรมณ์และสังคมและแสดงออกอยำ่ งเหมำะสมในแตล่ ะ

ช่วงวัย สำมำรถอย่รู ่วมกบั คนอ่ืนอย่ำงมีควำมสขุ เข้ำใจผอู้ ืน่ ไมม่ ีควำมขัดแยง้ กับผอู้ ื่น)

ประกอบดว้ ย

๓.๒.๑) นางเตอื นใจ สจั วาท ประธานกรรมการ

๓.๒.๒) นายชชั นท รีรมย์ รองประธานกรรมการ

๓.๒.๓) นายนพดล จันทพิ ย์ กรรมการ

๓.๒.๔) นายวีระพนั ธ์ เกตุพันธ์ุ กรรมการ

๓.๒.๕) นายรณชยั ปราชม กรรมการ

๓.๒.๖) นางนาที เทยี นเหลือ กรรมการ

๓.๒.๗) นายกศิชา สะดา กรรมการ

๓.๒.๘) นายธรี พล โมฆรตั น์ กรรมการ

๓.๒.๙) นายอภนิ ันทการ พพิ ิธกุล กรรมการ

๓.๒.๑๐) นายปิยณัฐ แก้วมา กรรมการ

๓.๒.๑๑) นายสหพันธ์ุ สมทัศน์ กรรมการ

๓.๒.๑๒) นายวษิ ณุ เขาลาด กรรมการ

๓.๒.๑๓) นางสาววรญั ญา เช้ือบณั ฑติ กรรมการ

๓.๒.๑๔ นางสาววิชิตา โฉมอุดม กรรมการ

๓.๒.๑๕) นางชลุ ีพร หมอ่ งอิน กรรมการและเลขานกุ าร

๓.๒.๑๖) นายประชมุ เหล่าแชม่ กรรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร

๙๐

๔.มำตรฐำนท่ี ๒ กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจดั กำร

( คำอธบิ ำย: เปน็ กำรจัดระบบบรหิ ำรจัดกำรคณุ ภำพของสถำนศกึ ษำ มีกำรกำหนดเป้ำหมำย วิสยั ทัศนแ์ ละ

พนั ธกจิ อยำ่ งชดั เจน สำมำรถดำเนนิ งำนพฒั นำวิชำกำรทเี่ น้นคุณภำพผ้เู รียนรอบดำ้ นตำมหลักสูตรสถำนศึกษำ

ในทกุ กลุม่ เปำ้ หมำย จดั ทำแผนพัฒนำคณุ ภำพกำรจัดกำรศึกษำ ดำเนินกำรพัฒนำครแู ละบคุ ลำกรให้มีควำมเชย่ี วชำญ

ทำงวชิ ำชีพ และจดั ระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศ เพือ่ สนับสนนุ กำรบรหิ ำรจัดกำรและกำรเรียนรู้

รวมทั้งจดั สภำพแวดลอ้ มทำงกำยภำพและสงั คมท่ีเออื้ ต่อกำรจัดกำรเรียนรู้ )

๔.๑)มเี ป้ำหมำย วสิ ัยทัศน์ และพันธกจิ ท่สี ถำนศกึ ษำกำหนดชัดเจน

( คำอธบิ ำย: สถำนศึกษำกำหนดเปำ้ หมำย วิสัยทัศนแ์ ละพนั ธกิจไว้อย่ำงชดั เจน สอดคลอ้ งกับบริบทของสถำนศึกษำ

ควำมตอ้ งกำรของชุมชน ทอ้ งถน่ิ วัตถปุ ระสงคข์ องแผนกำรศกึ ษำแหง่ ชำติ นโยบำยของรัฐบำลและของต้นสงั กัด

รวมท้ังทันต่อกำร เปลี่ยนแปลงของสงั คม )

๔.๒) มรี ะบบบริหำรจดั กำรคุณภำพของสถำนศึกษำ ( คำอธิบำย: สถำนศกึ ษำสำมำรถบรหิ ำรจัดกำร

คณุ ภำพของสถำนศึกษำอยำ่ งเป็นระบบทั้งในส่วนกำรวำงแผน พัฒนำคณุ ภำพกำรจดั กำรศึกษำ กำรนำแผนไปปฏิบัติ

เพ่ือพฒั นำคณุ ภำพกำรจัดกำรศึกษำ มกี ำรตดิ ตำมตรวจสอบประเมนิ ผลและปรบั ปรงุ พัฒนำงำนอยำ่ งตอ่ เน่ือง

มีกำรบริหำรอตั รำกำลงั ทรพั ยำกรทำงกำรศึกษำและระบบดแู ล ช่วยเหลอื นักเรยี น มีระบบกำรนิเทศภำยใน

กำรนำข้อมูลมำใชใ้ นกำรพัฒนำ บุคลำกรและผู้ท่เี กย่ี วข้องมสี ่วนรว่ ม กำรวำงแผน ปรับปรุง และพฒั นำ

และร่วมรับผดิ ชอบต่อผลกำรจัดกำรศึกษำ )

๔.๓) ดำเนินงำนพัฒนำวชิ ำกำรทเี่ นน้ คุณภำพผเู้ รียนรอบด้ำน ตำมหลักสตู รสถำนศึกษำ

และทุกกลุม่ เป้ำหมำย ( คำอธิบำย: สถำนศกึ ษำสำมำรถบรหิ ำรจัดกำรเกี่ยวกบั งำนวชิ ำกำร ทัง้ ดำ้ นกำรพัฒนำ

หลักสูตร กจิ กรรมเสรมิ หลักสูตรท่เี นน้ คุณภำพผเู้ รยี นรอบด้ำน เชอื่ มโยงวถิ ีชีวติ จรงิ และครอบคลุมทุกกลมุ่ เป้ำหมำย

หมำยถึงกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนของกลุ่มท่ีเรยี นแบบควบรวมหรือกลุม่ ทเ่ี รียนรว่ มด้วย )

๔.๔) พัฒนำครแู ละบคุ ลำกรใหม้ ีควำมเชยี่ วชำญทำงวชิ ำชพี

( คำอธบิ ำย: สถำนศกึ ษำสง่ เสรมิ สนับสนนุ พัฒนำครู บุคลำกร ให้มคี วำมเชี่ยวชำญทำงวชิ ำชพี และจัดใหม้ ี

ชุมชนกำรเรยี นรู้ทำงวิชำชีพ มำใชใ้ นกำรพฒั นำงำนและกำรเรยี นรขู้ องผู้เรียน )

๔.๕) จัดสภำพแวดล้อมทำงกำยภำพและสังคมทเี่ อ้ือตอ่ กำรจดั กำรเรยี นรู้

( คำอธิบำย: สถำนศกึ ษำจัดสภำพแวดล้อมทำงกำยภำพท้งั ภำยในและภำยนอกหอ้ งเรยี น และสภำพแวดลอ้ ม

ทำงสังคมทีเ่ ออ้ื ตอ่ กำรจดั กำรเรยี นรู้ และมีควำมปลอดภัย )

๔.๖) จดั ระบบเทคโนโลยสี ำรสนเทศเพอื่ สนบั สนนุ กำรบริหำรจดั กำรและกำรจัดกำรเรยี นรู้

( คำอธบิ ำย: สถำนศกึ ษำจัดระบบกำรจดั หำ กำรพฒั นำและกำรบรกิ ำรเทคโนโลยีสำรสนเทศ เพอ่ื ใช้ในกำร

บรหิ ำรจดั กำรและกำรจดั กำรเรยี นร้ทู เี่ หมำะสมกับสภำพของสถำนศกึ ษำ )

ประกอบด้วย

๔.๑) นางร่งุ นภา ขวญั พรม ประธานกรรมการ

๔.๒) นายสมาน ดอนชมไพร รองประธานกรรมการ

๔.๓) นายประยุกต์ จริ ะเดชประไพ กรรมการ

๔.๔) นางวนั เพญ็ จดุ าศรี กรรมการ

๔.๕) นายมณชัย กองเงิน กรรมการ

๔.๖) นางเตอื นใจ อินทรศักดิ์ กรรมการ

๔.๗) นางสาวอรวราภรณ์ สนุ ลี กรรมการ

๔.๘) นางรุ่งนภา สงิ หอ์ าพล กรรมการ

๔.๙) นางสาวพจนารถ แกว้ ยศ กรรมการ

๔.๑๐) นางสุจลี กั ษณ์ จริ ะเดชประไพ กรรมการและเลขานุการ

๔.๑๑) นางนันทิยา คาสิงห์ กรรมการและผ้ชู ว่ ยเลขานุการ

๙๑

๕.มำตรฐำนท่ี ๓ กระบวนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนที่เน้นผ้เู รยี นเปน็ สำคญั

(คำอธบิ ำย เปน็ กระบวนกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนตำมมำตรฐำนและตัวช้ีวัด ของหลกั สูตรสถำนศกึ ษำ

สร้ำงโอกำสให้ผเู้ รยี นมสี ่วนรว่ มในกำรเรยี นรู้ผำ่ นกระบวนกำรคิดและปฏิบตั ิจริง มีกำรบริหำรจัดกำรช้ันเรียนเชงิ บวก

สร้ำงปฏิสมั พันธท์ ดี่ ี ครูรจู้ กั ผู้เรียนเปน็ รำยบุคคล ดำเนนิ กำรตรวจสอบและประเมินผู้เรยี นอยำ่ งเป็นระบบและนำผลมำ

พฒั นำผู้เรยี นรวมทงั้ รว่ มกันแลกเปลี่ยนเรียนรแู้ ละนำผลที่ไดม้ ำให้ขอ้ มูลปอ้ นกลับ เพอื่ พฒั นำและปรับปรุงกำรจดั กำร

เรยี นรู้ )

๕.๑)จดั กำรเรียนรูผ้ ำ่ นกระบวนกำรคิดและปฏิบัติจริงและสำมำรถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในกำรดำเนิน

ชวี ติ

(คำอธิบำย จดั กจิ กรรมกำรเรียนร้ตู ำมมำตรฐำนกำรเรียนรู้ ตวั ชว้ี ดั ของหลกั สูตรสถำนศึกษำท่เี น้นใหผ้ ู้เรยี นได้

เรยี นรโู้ ดยผำ่ นกระบวนกำรคิดและปฏบิ ัติจรงิ มีแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ทีส่ ำมำรถนำไปจัดกิจกรรมได้จรงิ มรี ปู แบบกำร

จัดกำรเรยี นรูเ้ ฉพำะสำหรบั ผทู้ ม่ี ีควำมจำเป็น และต้องกำรควำมชว่ ยเหลือพเิ ศษ ผ้เู รยี นไดร้ บั กำรฝึกทกั ษะแสดงออก

แสดงควำมคิดเห็น สรปุ องคค์ วำมรู้ นำเสนอผลงำนและสำมำรถนำไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ได้ )

๕.๒)ใชส้ ่ือ เทคโนโลยีสำรสนเทศ และแหล่งเรยี นร้ทู ีเ่ ออื้ ต่อกำรเรียนรู้

(คำอธิบำย มีกำรใชส้ ่อื เทคโนโลยสี ำรสนเทศและแหลง่ เรยี นรู้ รวมท้งั ภมู ปิ ญั ญำทอ้ งถ่ินมำใชใ้ นกำรจัดกำรเรียนรู้ โดย

สร้ำงโอกำสใหผ้ เู้ รียนไดแ้ สวงหำควำมรู้ด้วยตนเองจำกส่อื ที่หลำกหลำย )

๕.๓) มกี ำรบริหำรจัดกำรชั้นเรียนเชิงบวก

(คำอธบิ ำย ครผู ูส้ อนมกี ำรบรหิ ำรจดั กำรชั้นเรยี น โดยเนน้ กำรมปี ฏิสมั พันธเ์ ชิงบวก ใหเ้ ดก็ รักครู ครูรกั เดก็

และเดก็ รักเดก็ เดก็ รักทจี่ ะเรยี นรู้ สำมำรถเรียนรู้รว่ มกันอยำ่ งมีควำมสุข)

๕.๔) ตรวจสอบและประเมนิ ผูเ้ รียนอยำ่ งเปน็ ระบบและนำผลมำพัฒนำผ้เู รียน

(คำอธิบำย มกี ำรตรวจสอบและประเมินคุณภำพกำรจัดกำรเรียนร้อู ย่ำงเปน็ ระบบมขี ัน้ ตอนโดยใชเ้ ครอ่ื งมอื

และวธิ ีกำรวดั และประเมินผลท่ีเหมำะสมกบั เป้ำหมำยในกำรจดั กำรเรียนรแู้ ละให้ข้อมลู ย้อนกลับแกผ่ ู้เรียนเพอ่ื นำไปใช้

พฒั นำกำรเรียนรู้)

๕.๕) มีกำรแลกเปล่ยี นเรยี นรแู้ ละให้ขอ้ มลู ปอ้ นกลบั เพอื่ ปรับปรุงและพัฒนำกำรจัดกำรเรียนรู้

(คำอธิบำย ครูและผูม้ ีส่วนเก่ยี วข้องรว่ มกันแลกเปลี่ยนควำมร้แู ละประสบกำรณ์รวมท้ังใหข้ อ้ มูลปอ้ นกลับเพื่อนำไปใช้ใน

กำรปรบั ปรงุ และพฒั นำกำรจัดกำรเรยี นรู้ )

ประกอบด้วย

๕.๑) นางรงุ่ นภา ขวญั พรม ประธานกรรมการ

๕.๒) นางสกลุ ดารา กองแก้ว รองประธานกรรมการ

๕.๓) นายธติ ิสรณ์ ศรีธาดา กรรมการ

๕.๔) นางสาวตรงึ ใจ เกยี รติกิตติกลุ กรรมการ

๕.๕) นางพัทรส ศรที อง กรรมการ

๕.๖) นายชัชนท รรี มย์ กรรมการ

๕.๗) นางรตั มณี แสงสีดา กรรมการ

๕.๘) นางเตอื นใจ สัจวาท กรรมการ

๕.๙) นางนาทกัญญา นงภา กรรมการ

๕.๑๐) นางสาวสุดสงวน แสงกอ้ น กรรมการ

๕.๑๑) นางสาวนติ ยา น้อยนนั ท์ กรรมการ

๕.๑๒) นางสาวนวพรรณ ไฝจ่ นั ทร์ กรรมการ

๕.๑๓) นางนารี ผิวจนั ทร์ กรรมการ

๙๒

๕.๑๔) นายอนสุ ษิ ฐ์ จิตจานงค์ กรรมการ
๕.๑๕) นายประชุม เหล่าแชม่ กรรมการ

๕.๑๖) นางนาที เทียนเหลอื กรรมการ
๕.๑๗) นางจุรีพร ศรธี าดา กรรมการ

๕.๑๘) นางอรัญญา ลาดเลา กรรมการ
๕.๑๙) นายอเุ ทน ทักคมุ้ กรรมการ
๕.๒๐) นายพฒุ พิ ัฒน์ วงศว์ ิริยชาติ กรรมการ

๕.๒๑) นางวงษร์ ตั น์ เพชรบูรณ์ กรรมการ
๕.๒๒) นางสาวสกณุ า แกว้ ทะ กรรมการ

๕.๒๓) นางสาวจง ศกั ด์ิเจรญิ ชยั กลุ กรรมการ
๕.๒๔) นางสาวสปุ ราณี แกว้ ดู กรรมการและเลขานกุ าร
๕.๒๕) นางนฤมนต์ รตั นเสถยี ร กรรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ

ขอใหค้ ณะครู พนกั งานราชการ ลูกจา้ งและบคุ ลากรทางการศกึ ษาที่ไดร้ บั การแตง่ ตง้ั ปฏบิ ัติหน้าท่ี

ตามที่ได้รบั มอบหมายอย่างเต็มความสามารถและใหเ้ กิดประโยชนส์ งู สุด บงั เกิดผลดตี ่อทางราชการสืบไป
และถ้าหากเกิดปัญหาใดๆใหร้ ายงานต่อผบู้ ังคับบัญชาทราบโดยด่วน

สั่ง ณ วันท่ี ๓๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

( นายพีระวัตร จนั ทกูล )
ผูอ้ านวยการโรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลยั เพชรบรู ณ์


Click to View FlipBook Version