การเขยี นรายงานทางวชิ าการเร่ือง การอ่าน
สุวมิ ล สืบสุวรรณ
รายงานฉบับนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของรายวชิ า วาทวทิ ยาสาหรับครู
ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2564
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสุราษฎร์ธานี
การเขยี นรายงานทางวชิ าการเรื่อง การอ่าน
นางสาวสุวมิ ล สืบสุวรรณ
รหสั นักศึกษา 6401103001031
รายงานฉบบั นีเ้ ป็ นส่วนหน่ึงของรายวชิ า วาทวทิ ยาสาหรับครู
ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2564
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สุราษฎร์ธานี
ก
คานา
เอกสารเล่มน้ีจดั ทาข้ึนเพ่ือเป็ นส่วนหน่ึงของวชิ า วาทวทิ ยาสาหรับครู เพ่ือให้ไดศ้ ึกษาหาความรู้ใน
เรื่องราวของ "การอ่าน" โดยไดศ้ ึกษาผา่ นแหล่งความรู้ต่างๆ อาทิเช่น ตารา หนงั สือ หอ้ งสมุด และ
แหล่งความรู้จากเวบ็ ไซตต์ า่ งๆ โดยรายงานเล่มน้ีมีเน้ือหาเก่ียวกบั การอ่าน
ผูจ้ ดั ทาคาดหวงั เป็ นอยา่ งยิ่งว่าการจดั ทาเอกสารฉบบั น้ีจะมีขอ้ มูลท่ีเป็ นประโยชน์ต่อผทู้ ี่
สนใจศึกษาวธิ ีการอ่าน เป็นอยา่ งดี
นางสาวสุวมิ ล สืบสุวรรณ
สารบญั ข
เรื่อง หน้า
คานา ก
สารบญั ข
ความหมายและความสาคญั ของการอ่าน 1
จุดมุ่งหมายของการอ่าน 2
ประเภทของการอ่าน 3
หลกั การอ่านคาในภาษาไทย 8
คุณสมบตั ิของนกั อ่านท่ีดี 14
ข้นั ตอนก่อนลงมืออ่านหนงั สือ 15
ลกั ษณะของการอ่านที่ดี 15
วธิ ีอ่านหนงั สือที่ดี 17
การเตรียมพร้อมเพอ่ื การอ่าน 19
20
บทสรุป 21
บรรณานุกรม
1
1.ความหมายและความสาคญั ของการอ่าน
1.1ความหมายของการอา่ น
การอ่าน ตามพจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พุทธศกั ราช ๒๕๔๒ วา่ ไวว้ า่ “วา่ ตาม
ตวั หนงั สือ,ถา้ ออกเสียงดว้ ย เรียกวา่ อ่านออกเสียง, ถา้ อ่านไม่ออกเสียง เรียกวา่ อ่านในใจ, สังเกต
หรือพิจารณาดูเพื่อให้เขา้ ใจ เช่น อ่านสีหนา้ อ่านริมฝี ปาก อ่านใจ ; ตีความ เช่น อ่านรหสั อ่านลาย
แทง ; คิด, นบั . (ไทยเดิม).” จะเห็นไดว้ า่ จากความหมายของการอ่านน้นั ตอ้ งการใหผ้ ูอ้ ่านมีความ
เขา้ ใจ, รับรู้เก่ียวกบั เร่ืองที่อา่ นไป และการอา่ นน้นั จะตอ้ งมีการเกบ็ ความรู้ เพอ่ื ใหร้ ู้วา่ ผแู้ ต่งตอ้ งการ
สื่ออะไร
การอ่าน หมายถึง การแปลความหมายของตวั อกั ษรท่ีอ่านออกมาเป็ นความรู้ความคิด
และเกิดความเขา้ ใจเรื่องราวท่ีอ่านตรงกบั เรื่อราวที่ผเู้ ขียนเขียน ผูอ้ ่านสามารถนาความรู้ ความคิด
หรือสาระจากเรื่องราวท่ีอา่ นไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ได้ การอา่ นจึงมีความสาคญั ดงั น้ี
1.1.1)การอา่ นเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ โดยเฉพาะผทู้ ่ีอยใู่ นวยั ศึกษาเล่าเรียน จาเป็ นตอ้ ง
อ่านหนงั สือเพ่อื การศึกษาหาความรู้ดา้ นต่าง ๆ
1.1.2)การอ่านเป็ นเครื่องมือช่วยให้ประสบความสาเร็จในการประกอบอาชีพ เพราะสามารถนา
ความรู้ที่ไดจ้ ากการอ่านไปพฒั นางานของตนได้
1.1.3)การอา่ นเป็นเคร่ืองมือสืบทอดทางวฒั นธรรมของคนรุ่นต่อ ๆ ไป
1.1.4)การอ่านเป็นวธิ ีการส่งเสริมใหค้ นมีความคิดอา่ นและฉลาดรอบรู้ เพราะประสบการณ์ที่ไดจ้ าก
การอ่านเม่ือเก็บสะสมเพิ่มพูนนานวนั เขา้ ก็จะทาใหเ้ กิดความคิด เกิดสติปัญญา เป็ นคนฉลาดรอบรู้
ได้
1.1.5)การอ่านเป็ นกิจกรรมที่ก่อให้เกิดความเพลิดเพลินบนั เทิงใจ เป็ นวิธีหน่ึงในการแสวงหา
ความสุขใหก้ บั ตนเองที่ง่ายท่ีสุด และไดป้ ระโยชนค์ ุม้ ค่าท่ีสุด
1.1.6)การอ่านเป็ นการพฒั นาคุณภาพชีวิต ทาให้เป็ นคนที่สมบูรณ์ท้งั ด้านจิตใจและบุคลิกภาพ
เพราะเม่ืออ่านมากยอ่ มรู้มาก สามารถนาความรู้ไปใช่ในการดารงชีวติ ไดอ้ ยา่ งมีความสุข
2
1.1.7)การอ่านเป็ นเครื่องมือในการพฒั นาระบบการเมือง การปกครอง ศาสนา ประวตั ิศาสตร์ และ
สังคม
1.1.8)การอ่านเป็ นวิธีการหน่ึงในการพัฒนาระบบการสื่ อสารและการใช้เคร่ื องมือทาง
อิเลก็ ทรอนิกส์ต่าง ๆ
1.2ความสาคญั ของการอา่ น
ชีวติ ของแต่ละคนยอ่ มตอ้ งเก่ียวขอ้ งผกู พนั กบั สังคม คือ กลุ่มคนอยา่ งหลีกเล่ียงไม่ได้ ไมม่ ี
ใครท่ีจะอยไู่ ดโ้ ดยปราศจากสังคมและการอยรู่ ่วมกบั คนอื่น ซ่ึงจะตอ้ งมีความเขา้ ใจซ่ึงกนั และกนั มี
การแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด ความสนใจ เพ่ือใหส้ ังคมเกิดความสงบสุขและพฒั นาไปขา้ ง
หนา้ อยา่ งแทจ้ ริง ดงั น้นั การติดต่อส่ือสารจึงเขา้ มาเป็นส่วนสาคญั ในการเชื่อมโยงมนุษยท์ ุกคน
เขา้ ดว้ ยกนั สามารถทาท้งั การพบปะส่ือสารกนั ดว้ ยการสนทนาและอ่านขอ้ เขียนของกนั และกนั
สาหรับสังคมปัจจุบนั ซ่ึงเป็ นสังคมใหญ่ท่ีเจริญเติบโตและเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็ว การติดต่อกนั
โดยวธิ ีพบปะสนทนายอ่ มเป็ นไปไดใ้ นวงจากดั ดงั น้นั การสื่อสารกนั โดยการอ่านจึงมีความสาคญั
มาก นอกจากน้นั ผอู้ า่ นจานวนมากยงั ตอ้ งการอา่ นเพ่ือแสวงหาความรู้และความบนั เทิง
จากหนงั สืออีกดว้ ย
2.จุดมุ่งหมายของการอ่าน
1. อ่านเพ่ือความรู้ ไดแ้ ก่ การอ่านจากหนงั สือตาราทางวิชาการ สารคดีทางวชิ าการ การ
วจิ ยั ประเภทต่าง ๆ หรือการอ่านผา่ นส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ควรอ่านอยา่ งหลากหลาย เพราะความรู้ใน
วชิ าหน่ึง อาจนาไปช่วยเสริมในอีกวชิ าหน่ึงได้
2. อ่านเพื่อความบนั เทิง ไดแ้ ก่ การอ่านจากหนงั สือประเภทสารคดีท่องเที่ยว นวนิยาย
เร่ืองส้ัน เรื่องแปล การ์ตูน บทประพนั ธ์ บทเพลง แมจ้ ะเป็นการอ่านเพ่ือความบนั เทิง แต่ผอู้ ่านจะได้
ความรู้ท่ีสอดแทรกอยใู่ นเร่ืองดว้ ย
3
3. อ่านเพ่ือทราบข่าวสารความคิด ไดแ้ ก่ การอ่านจากหนังสือประเภทบทความ บท
วจิ ารณ์ ข่าว รายงานการประชุม ถา้ จะใหเ้ กิดประโยชน์อยา่ งแทจ้ ริงตอ้ งเลือกอ่านใหห้ ลากหลาย ไม่
เจาะจงอ่านเฉพาะส่ือท่ีนาเสนอตรงกบั ความคิดของตน เพราะจะทาใหไ้ ดม้ ุมมอง ท่ีกวา้ งข้ึน ช่วยให้
มีเหตุผลอ่ืน ๆ มาประกอบการวิจารณ์ วเิ คราะห์ไดห้ ลายมุมมองมากข้ึน
4. อ่านเพื่อจุดประสงค์เฉพาะทางแต่ละคร้ัง ไดแ้ ก่ การอ่านที่ไม่ไดเ้ จาะจง แต่เป็ นการ
อ่านในเรื่องท่ีตนสนใจ หรืออยากรู้ เช่น การอ่านประกาศต่าง ๆ การอ่านโฆษณา แผ่นพบั
ประชาสัมพนั ธ์ สลากยา ข่าวสังคม ข่าวบนั เทิง ข่าวกีฬา การอ่านประเภทน้ีมกั ใชเ้ วลาไม่นาน ส่วน
ใหญ่เป็ นการอ่านเพื่อใหไ้ ดค้ วามรู้และนาไปใช้ หรือนาไปเป็ นหัวขอ้ สนทนา เช่ือมโยงการอ่าน สู่
การวเิ คราะห์ และคิดวเิ คราะห์ บางคร้ังก็อา่ นเพ่ือใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์
3.ประเภทของการอ่าน
การอ่านแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ การอ่านในใจและการอ่านออกเสียง
1. การอ่านในใจ คือการแปลความหมายของตวั อกั ษรออกมาเป็ นความคิด ความเขา้ ใจ
และ นาความคิดความเขา้ ใจท่ีไดน้ ้นั ไปใชใ้ หเ้ ป็นประโยชน์ ประเภทของการอา่ นดงั ต่อไปน้ีคือ
1.1การอา่ นจบั ใจความ
1.2การอ่านตีความ
1.3การอ่านอยา่ งมีวจิ ารณญาณ
1.4การอา่ นวเิ คราะห์
1.5การอา่ นเพ่ือประเมินคุณค่า
4
1.1การอ่านจบั ใจความ
การอ่านจบั ใจความเป็ นพ้ืนฐานของการอ่านในใจท่ีมุ่งคุณค่าทางสติปัญญา แบ่งการอ่าน
ชนิดน้ีออกเป็น 2 ประเภทคือ
• การอ่านจบั ใจความส่วนรวม เป็นการอา่ นเพ่ือเขา้ ใจเน้ือหาส่วนรวม เป็นประโยชน์ ต่อผทู้ ่ีตอ้ งการ
อา่ นอยา่ งรวดเร็ว
-สังเกตส่วนประกอบของงานเขียน เช่น ช่ือเรื่อง คานา วตั ถุประสงค์ และเขียน เพ่อื อะไร
-วเิ คราะห์จุดมุ่งหมายงานเขียนวา่ เขียนดว้ ยวตั ถุประสงคใ์ ด
-จดั ลาดบั เน้ือหาใหมต่ ามความสาคญั
-ใชก้ ารต้งั คาถามกวา้ งๆ วา่ ใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไร
• การอ่านจบั ใจความสาคญั ใจความสาคญั คือใจความหลกั ของเรื่องเป็ นการอ่าน ท่ีละเอียดมากข้ึน
เพื่อจบั ใจความสาคญั ของงานเขียนแต่ละยอ่ หนา้
-อ่านวเิ คราะห์คาหรือประโยค โดยการตีความหมายของศพั ทย์ ากในขอ้ เขียน
-วเิ คราะห์จุดมุ่งหมายงานเขียนวา่ เขียนดว้ ยวตั ถุประสงคใ์ ด
-วเิ คราะห์นา้ เสียงวา่ เป็นไปในทานองใด ประชดประชนั ลอ้ เลียน ฯลฯ
-วจิ ารณ์เน้ือหาสาระของงานเขียน
1.2การอ่านตีความ
การอ่านตีความ คือ การอ่านที่ผอู้ ่านจะตอ้ งใชส้ ติปัญญาตีความหมายของคาและ ขอ้ ความ
ท้งั หมด โดยพิจารณาถึงความหมายโดยนยั หรือความหมายแฝงที่ผเู้ ขียนตอ้ งการจะ ส่ือความหมาย
ซ่ึงท้งั น้ีผอู้ ่านจะสามารถตีความหมายของคาสานวนไดถ้ ูกตอ้ งหรือไมน่ ้นั จาเป็นตอ้ งอาศยั เน้ือความ
แวดล้อมของขอ้ ความน้นั ๆ บางคร้ังตอ้ งอาศยั ความรู้หรือ ประสบการณ์ปัจจุบนั เป็ นเครื่องช่วย
ตดั สินการอ่านตีความมีหลกั เกณฑใ์ นการอ่านดงั น้ี
5
ขอ้ ปฏิบตั ิในการอา่ นตีความ
- อ่านเรื่องใหล้ ะเอียดโดยพยายามจบั ประเดน็ สาคญั ของเรื่องใหไ้ ด้
- หาเหตุผลอยา่ งรอบคอบเพ่อื พิจารณาวา่ มีความหมายถึงสิ่งใด
- ทาความเขา้ ใจกบั ถอ้ ยคาท่ีไดจ้ ากการตีความ
- เรียบเรียงถอ้ ยคาใหม้ ีความหมายชดั เจนและมีเหตุมีผลเป็นหลกั สาคญั
ตวั อยา่ งการอ่านตีความ “เห็นชา้ งข้ีข้ีตามชา้ ง” ตีความไดว้ า่ จะทาอะไรควรดูฐานะของตน ไม่ควร
เอาอยา่ งคนที่มีฐานะดีกวา่ เรา
1.3การอ่านอยา่ งมีวจิ ารณญาณ
การอา่ นชนิดน้ีเป็นการอา่ นที่คอ่ นขา้ งยาก เพราะตอ้ งใชก้ ารหาเหตุผลมาใชใ้ นการวจิ ารณ์
ขอ้ ควรปฏิบตั ิในการอ่านอยา่ งใชว้ จิ ารณญาณ
-พจิ ารณาความหมายของขอ้ ความท่ีอ่าน
-พจิ ารณาความตอ่ เนื่องของประโยควา่ มีเหตุผลสอดรับกนั หรือไม่
-พิจารณาความตอ่ เน่ืองของใจความหลกั และใจความรอง
-แยกแยะขอ้ เทจ็ จริงออกจากความคิดเห็นและความรู้สึก
-พิจารณาวา่ มีความรู้เน้ือหา หรือมีความคิดแปลกใหมน่ ่าสนใจหรือไม่
1.4การอ่านวเิ คราะห์
การอ่านชนิดน้ีเป็ นการอ่านเพ่ือพิจารณาอย่างถี่ถ้วน เป็ นการแยกแยะ ทาความเข้าใจ
องคป์ ระกอบหรือโครงสร้างของหนงั สือแต่ละประเภท
ขอ้ ควรปฏิบตั ิในการอ่านวเิ คราะห์
-ศึกษารูปแบบของงานประพนั ธ์วา่ เป็นรูปแบบใด
-แยกเน้ือเรื่องออกเป็นส่วนๆ ใหเ้ ห็นวา่ ใครทาอะไร ท่ีไหน อยา่ งไร เมื่อไร
6
-แยกพจิ ารณาแต่ละส่วนใหล้ ะเอียดลงไปวา่ ประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง
-พิจารณากลวธิ ีในการนาเสนอ
1.5การอ่านเพ่อื ประเมินคุณค่า
การอ่านวธิ ีน้ี หมายถึงการท่ีผอู้ ่านใชอ้ ารมณ์ความรู้สึก ส่วนตวั ในการประเมินคา่ งานเขียน
ซ่ึงอาจจะมีเรื่องของอารมณ์และความรู้สึกส่วนตวั เขา้ ร่วม ดว้ ย การประเมินคุณค่าท่ีดีตอ้ งปราศจาก
อารมณ์และในการประเมินคุณค่าน้นั ตอ้ งประเมิน ตามลกั ษณะของหนงั สือดว้ ย เช่น ถา้ เป็ นตารา
เอกสารทางวิชาการตอ้ งประเมินในเร่ือง ความรู้ การใช้ภาษา ฯลฯ ถ้าเป็ นหนังสือสารคดีหรือ
บทความ ควรประเมินความคิดเห็นของ ผเู้ ขียน หรือหนงั สือพิมพต์ อ้ งประเมินจากความน่าเชื่อถือ
ของข่าว และอคติของผเู้ ขียน การอ่านประเมินคา่ มีวธิ ีการอ่านดงั น้ี
-พิจารณาความถูกตอ้ งของภาษาจากเร่ืองท่ีอา่ น ภาษาที่ไมถ่ ูกตอ้ งจะทาให้เกิดความ คลาดเคลื่อนไป
จากความหมายที่แทจ้ ริง ความถูกตอ้ งของภาษามีหลายลกั ษณะ เช่น การใชค้ าผิดความหมาย การ
เรียงคาในประโยคผิด การไม่รู้จกั เวน้ วรรคตอน เป็ นตน้ นบั เป็ นองค์ประกอบสาคญั ต่อการส่ือ
ความหมาย
-พิจารณาความต่อเนื่องของประโยค ว่าเป็ นขอ้ ความที่ไปกนั ได้ ไม่ขดั แยง้ กนั หรือ ขอ้ ความท่ีให้
ความกา้ วหนา้ แก่กนั หากขอ้ ความใดมีเน้ือหาสับสนวุน่ วาย ไม่เขา้ กบั หลกั สามขอ้ น้ีให้ถือวา่ เป็ น
เรื่องท่ีไมค่ วรอา่ น
-พิจารณาความต่อเนื่องของความหมาย ความหมายที่ต่อเนื่องต้องมีแกนหลกั ในการ เชื่อมโยง
ความหมาย เช่น การเขียนชีวประวตั ิ อาจใช้ช่วงเวลาของชีวิตเป็ นแกนหลกั เป็ นตน้ เมื่ออ่านแล้ว
ตอ้ งแยกขอ้ เทจ็ จริงออกจากความคิดเห็น และความรู้สึก จากเรื่องที่อ่าน
-พิจารณาดูความสัมพนั ธ์ของหลกั การและตวั อยา่ ง วา่ มีความจริงเพียงไร สมเหตุผล หรือไม่ ก่อนท่ี
จะเช่ือในเรื่องที่อา่ นน้นั
-ประเมินขอ้ เท็จจริง ความคิดเห็น และความรู้สึก วิเคราะห์ความเป็ นไปในความคิด ของผเู้ ขียน กบั
ความคิดเห็นส่วนตวั ของเรา ผลลพั ธ์แห่งการประเมินน้ันจะเป็ น ความคิดสร้างสรรค์ให้กบั เรา
หรือไม่
7
2. การอ่านออกเสียง
การอ่านออกเสียง หมายถึงการอ่านขอ้ ความโดยการเปล่งเสียงออกมา เพื่อให้ผูอ้ ่ืน
ไดร้ ับรู้ขอ้ ความน้นั ๆ ดว้ ยการอา่ นออกเสียงแบง่ เป็น 2 ลกั ษณะคือ
2.1การอ่านออกเสียงปกติ
เป็ นการอ่านออกเสียงตามปกติทว่ั ไป อ่านไดท้ ้งั บทร้อยแกว้ และ ร้อยกรอง เช่น อ่าน
ขา่ ว อา่ นประกาศ อ่านตีบท อา่ นสารคดี อา่ นขอ้ ความประกอบ ภาพน่ิง หรืออา่ นบทภาพยนตร์ ฯลฯ
ขอ้ ควรปฏิบตั ิในการอ่านออกเสียงตามปกติ
-ทาความเขา้ ใจกบั เรื่องท่ีจะอา่ นก่อนการอ่านจริง
-ออกเสียงชดั เจน ดงั พอประมาณ มีลีลาจงั หวะในการอ่านอยา่ งเหมาะสม
-แบง่ วรรคตอนไดถ้ ูกตอ้ ง
-อ่านออกเสียงถูกตอ้ งตามอกั ขรวธิ ี
2.2อา่ นทานองเสนาะ
การอ่านทานองเสนาะเป็นการอ่านออกเสียงบทร้อยกรองหรือ วรรณคดีไทยใหไ้ พเราะ
น่าฟัง มุง่ ใหเ้ กิดความรู้สึกซาบซ้ึง เกิดอารมณ์ จินตนาการ คลอ้ ย ตามบทร้อยกรองน้นั ๆ ดว้ ย
หลกั เกณฑใ์ นการอา่ นทานองเสนาะ
-ตอ้ งรู้จกั ลกั ษณะคาประพนั ธ์ที่จะอ่านก่อนวา่ บงั คบั ฉนั ทลกั ษณ์อยา่ งไร
-อ่านใหถ้ ูกทานอง
-ควรมีนา้ เสียงและลีลาในการอ่านที่ดี
-ออกเสียงแตล่ ะคาถูกตอ้ งชดั เจน
8
4.หลกั การอ่านคาในภาษาไทย
การอ่านออกเสียงคาเป็ นการแสดงความหมายของคาไปสู่ผูอ้ ่านและผูฟ้ ัง เพื่อให้เกิด
ความเข้าใจกัน ในการอ่านคาในภาษาไทยมีปัญหาอยู่มาก เพราะนอกจากคาไทยแล้ว ยงั มี
ภาษาต่างประเทศปนอยหู่ ลายภาษา คาบางคาอา่ นอยา่ งภาษาไทย บางคาอ่านตาม ลกั ษณะของภาษา
เดิม การอา่ นคาในภาษาไทยจึงตอ้ งศึกษาหลกั เกณฑแ์ ละเหตุผลประกอบ เป็นคาไป
วธิ ีการอา่ น ระดบั ของการอ่าน แบ่งเป็น 2 ระดบั คือ
1.อ่านออก การท่ีผูอ้ ่านรู้จกั พยญั ชนะ สระและเครื่องหมายต่างๆ สามารถอ่านออกเสียง
ออกมาเป็นคาไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
2.อ่านเป็ น เป็ นการอ่านที่แตกต่างจากระดับแรกโดยสิ้นเชิง เพราะการอ่านเป็ นน้ัน
หมายความว่า ผูอ้ ่านจะตอ้ งอ่านไดถ้ ูกตอ้ ง คล่องแคล่ว จบั ใจความได้ตรงตามที่ผูเ้ ขียน ตอ้ งการ
ทราบความหมายของขอ้ ความทุกอยา่ ง รวมถึงความหมายที่ผเู้ ขียนเจตนาแฝงเร้น ไว้ สามารถเขา้ ใจ
เจตนาและอารมณ์ของผูเ้ ขียนตลอดจนสามารถประเมินคุณค่าและเลือกรับ ส่ิงดีๆ จากงานเขียนน้นั
ได้ จึงจาเป็ นอย่างย่ิงที่จะตอ้ งฝึ กฝนทกั ษะในการอ่านของตนเองให้ มาก เพ่ือที่จะไดอ้ ่านเป็ น ซ่ึง
ตอ้ งอาศยั เวลาในการฝึกฝนคอ่ นขา้ งนาน
การอ่านออกเสียงคาให้ถูกต้อง ทาให้ผูร้ ับสารสามารถเข้าใจความหมายขอคาและ
สามารถสื่อสารได้เข้าใจซ่ึงกนั และกัน การศึกษาทาความเข้าใจเกี่ยวกับหลกั การอ่านคาตาม
อกั ขรวธิ ีอยา่ งถ่องแท้ จะช่วยใหก้ ารส่ือสารบรรลุประสิทธิผลตาเจตนาของผสู้ ่งสาร
1. การอ่านคาสมาส
2. การอา่ นคาท่ีมาจากภาษาบาลีและ ภาษาสนั สกฤต
3. การอา่ นอกั ษรนา
4. การอ่านอกั ษรควบกล้า
5. การอ่านคาแผลง
6. การอ่านคาพอ้ ง
7. การอ่านพยญั ชนะ ฑ
9
8. การอ่านพยญั ชนะ ฤ ตวั ฤ
9. การอา่ นตวั เลข
10. การอ่านเคร่ืองหมายตา่ งๆ
1. การอา่ นคาสมาส มีวธิ ีการอา่ น ดงั น้ี
1.1 คาหนา้ พยญั ชนะเขียนเรียงพยางคใ์ หอ้ ่านเรียงพยางคต์ ่อกบั คาหลงั เช่น พลศึกษา อ่าน
พะ-ละ-สึก-สา อารยธรรม อ่าน อา-ระ-ยะ-ทา ศากยวงศ์ อ่าน สา-กะ-ยะ-วง
1.2 พยญั ชนะสุดท้ายของคาหน้าเป็ นตัวสะกด ให้อ่านออกเสียง 2 คร้ัง คือ อ่านเป็ น
ตวั สะกดและอ่านซ้าตามสระท่ีปรากฏ เช่น รัชกาล อ่าน รัด-ชะ-กาน กิจกรรม อ่าน กิด-จะ-กา
ศกั ราช อา่ น สกั -กะ-หราด
1.3 คาหนา้ มีตวั สะกดและตวั ตามอ่านออกเสียงตวั สะกดซ้าและตวั ตามอ่านออกเสียง อะ
ก่ึงเสียง เช่น สัตวแพทย์ อา่ น สดั -ตะ-วะ-แพด อิสรภาพ อ่าน อิด-สะ-หระ-พาบ ทิพยอาสน์ อา่ น ทิบ-
พะ-ยะ-อาด
1.4 พยญั ชนะตวั สะกดของคาหนา้ เป็นอกั ษรควบแท้ อา่ นออกเสียงควบกล้า เช่น มาตรฐาน
อ่าน มาด-ตระ-ถาน จกั รวาล อ่าน จกั -กระ-วาน 1.5 คาสมาสบางคาท่ีไม่ออกเสียงแบบสมาส เช่น
ชลบุรี อ่าน ชน-บุ-รี เพชรบุรี อ่าน เพด็ -บุ-รี
ข้อสังเกต คาไทยบางคาไม่ใช่คาสมาส แต่นิยมอา่ นออกเสียงแบบสมาส เช่น ผลไม้ อา่ น ผน-ละ-ไม้
ราชวงั อ่าน ราด-ชะ-วงั เทพเจา้ อ่าน เทบ-พะ-เจา้ พลความ อ่าน พน-ละ-ความ พลเมือง อ่าน พน-
ละ-เมือง
2. การอ่านคาท่ีมาจากภาษาบาลีและภาษาสนั สกฤต มีวธิ ีการอา่ นดงั น้ี
2.1 พยญั ชนะวรรคที่เป็ นตวั สะกดตวั ตาม ไม่ตอ้ งอ่านเสียงตวั สะกดน้นั เช่น มจั ฉา อ่าน
มดั -ฉา วติ ถาร อ่าน วดิ -ถาน อาชญา อ่าน ปรัด-ยา สปั ตสก อา่ น สั-ตะ-สก
2.2 คาท่ีในภาษาเดิมออกเสียง อะ เรียงพยางค์ อ่านเป็ น อะ เช่น กรณี อ่าน กะ-ระ-นี
กรกฎาคม อ่าน กะ-ระ-กะ-ดา-คม ธนบตั ร อา่ น ทะ-นะ-บดั สมณะ อ่าน สะ-มะ-นะ
10
2.3 คาที่อ่านออกเสียง ออ ตามหลกั ภาษาไทย เช่น ธรณี อ่าน ทะ-ระ-นี มรณา อ่าน มอ-
ระ-นา บวร อ่าน บอ-วอน วรกาย อ่าน วอ-ระ-กาย มรดก อ่าน มอ-ระ-ดก
2.4 คาบางคาอ่านได้ 2 แบบคืออ่านเรียงพยางค์กบั ไม่เรียงพยางค์ เช่น กรณี คมนาคม
ปรปักษ์ เทศนา
2.5 คาที่ ย ล ร ว เป็ นตวั สะกดหรือเป็ นตวั ตาม ตอ้ งออกเสียงตวั สะกดดว้ ย เช่น กลั บก
อา่ น กนั -ละ-บก อยั การ อา่ น ไอ-ยะ-กาน วชั รา อา่ น วดั -ชะ-รา วทิ ยา อา่ น วดิ -ทะ-ยา จตั วา อ่าน จดั -
ตะ-วา
2.6 คาบางคาอา่ นแบบอกั ษรนาหรืออกั ษรควบ เช่น อาขยาน อ่าน อา-ขะ-หยาน
3. การอา่ นอกั ษรนา มีวธิ ีการดงั น้ี
3.1 พยญั ชนะตวั ท่ีนา เป็ นอกั ษรกลางหรืออกั ษรสูงและตวั ท่ีถูกนามาเป็ นอกั ษรต่า เดี่ยว
ให้อ่านตามเสียงวรรณยุกต์ของตวั นา หรือมีเสียงวรรณยกุ ตข์ องตวั นา หรือมีเสียง ห ที่พยางคห์ ลงั
เช่น กนก อา่ น กะ-หนก ขยาย อ่าน ขะ-หยาย
3.2 ห นา อกั ษรต่าเดี่ยวให้อ่านเสียงตวั ห กลมกลืนกอั กั ษรต่าเด่ียวและอ่านออกเสียง
พยางคเ์ ดียว เช่น หมู หมา หนู หรูหรา ไหล ใหล ไหน หมอ เหงา หงอย
3.3 นาอกั ษรต่าเดี่ยว ย ให้อ่านกลมกลืนเสียง ย และออกเสียงพยางคเ์ ดียวไดแ้ ก่ อยา่ อยู่
อยา่ ง อยาก มีคาบางคาไม่อ่านตามกฎเกณฑ์ จะอา่ นตามความนิยม เช่น สมาคม ขมา ไผท ผจง ขจร
4. การอ่านอกั ษรควบกล้า
4.1 การอ่านอกั ษรควบแท้ โดยการอ่านออกเสียงพยญั ชนะควบกล้ากบั พยญั ชนะ ร ล ว
พร้อมกนั เช่น กลอง ครอบ พราย ตรวจ เปล่ียน ผลาญ ไขว่ ครัว
4.2 การอ่านอกั ษรควบกล้าไม่แท้ โดยอ่านออกเสียงพยญั ชนะควบกล้าตวั หนา้ เพียง เสียง
เดียว คือ ทร สร ศร ออกเสียงเป็ น ซ เช่น ทราย เทริด ไทร ทรุด ทราม ทราบ ทรวง พุททรา อินทรี
ทรวดทรง สร้อย เสริม สร้าง แสร้ง เศร้า ศรี จริง
11
5. การอ่านคาแผลง มีวธิ ีการอา่ นดงั น้ี
5.1 คาเดิมท่ีมีพยญั ชนะตน้ ตวั เดียว เม่ือแผลงเป็ น 2 พยางค์ ให้ออกเสียงตามคาท่ีแผลง
ใหม่ เช่น แจก แผลงเป็ น จาแนก อ่าน จา-แนก อวย แผลงเป็ น อานวย อ่าน อา-นวย อาจ แผลงเป็ น
อานาจ อา่ น อา-นาด
5.2 คาเดิมท่ีมีพยญั ชนะต้นเป็ นอกั ษรควบเมื่อแผลงเป็ น 2 พยางค์ ให้อ่านออกเสียง
พยางคท์ า้ ย(เสียงวรรณยุกต)์ ให้เหมือนคาเดิม เช่น กราบ แผลงเป็ น การาบ อ่าน กา-หราบ ตรวจ
แผลงเป็ น ตารวจ อ่าน ตา-หรวด ตริ แผลงเป็ น ดาริ อ่าน ดา-หริ ปราบ แผลงเป็ น บาราบ อ่าน บา-
หราบ ปราศ แผลงเป็น บาราศ อา่ น บา-ราด(ยกเวน้ )
5.3 คาเดิมเป็ นอกั ษรกลาง แผลงเป็ นอกั ษรสูงออกเสียงเป็ นอกั ษรนา เช่น บงั แผลงเป็ น
ผนงั อา่ น ผะ-หนงั บวช แผลเป็น ผนวช อ่าน ผะ-หนวด บวก แผลงเป็น ผนวก อา่ น ผะ-หนวก
6. การอ่านคาพอ้ ง
6.1 คาพอ้ งรูป คือ คาท่ีเขียนเหมือนกนั แต่อ่านออกเสียงต่างกนั เช่น พลี (พะ-ลี,พลี) สระ
(สะ-สะ-หร) กรี(กะ-รี,กรี) ปรัก(ปะ-หรัก,ปรัก) ปรามาส(ปะ-รา-มาด,ปรา-มาด) 6.2 คาพอ้ งเสียง คือ
คาที่เขียนต่างกนั แต่อ่านออกเสียงเหมือนกนั เช่น การ กานต์ กานท์ การณ์ กาน กาล จนั ทร์ จนั ทน์
จนั จณั ฑ์
7. การอา่ นพยญั ชนะ ฑ มีวธิ ีการดงั น้ี
7.1 ออกเสียง ต เช่น มณฑป อ่าน มน-ดบ บณั เฑาะก์ อ่าน บนั -เดาะ บณั ฑุ อ่าน บนั -ดุ
ปานฑพ อ่าน ปาน-ดบ บุณฑริก อา่ น บุน-ดะ-ริก บณั ฑิต อา่ น บนั -ดิด
7.2 อ่านออกเสียง ท เช่น มณฑก อ่าน มน-ทก มณฑล อ่าน มน-ทน ขณั ฑสีมา อ่าน ขนั -
ทะสี-มา ขนั ฑสกร อ่าน ขนั -ทด-สะ-กอน มณโฑ อ่าน มน-โท บณั ฑิก อา่ น บนั -ทิก
8. การอ่านพยญั ชนะ ฤ ตวั ฤ เป็ นสระในภาษาสันสกฤษ เดิมอ่าน ริ อยา่ งเดียว แต่เม่ือ นามาใชใ้ น
ภาษาไทยสามารถอา่ นได้ 3 เสียง คือ ริ รึ เรอ มีวธิ ีการอา่ นดงั น้ี
12
8.1 การออกเสียง (ริ)
8.1.1 เมื่อ ฤ ตามหลงั พยญั ชนะ ก ต ท ป ศ ส เช่น กฤตยา กฤษฎีกา ตฤนมยั ทฤษฎี ปฤจฉา ปฤษฎางค์
ศฤงคาร สฤษฏ์ กฤษณา ตฤป
8.1..2 เมื่อเป็นพยางคห์ นา้ ของคาและมีตวั สะกด เช่น ฤทธ์ิ ฤณ(หน้ี) ฤทธา ฤษยา
8.2 การอ่านออกเสียง (รึ)
8.2.1 เมื่อเป็ นพยางคห์ นา้ ของคา ละมีตวั สะกด เช่น ฤดู ฤทยั ฤษภ(วยั ตวั ผ)ู้ ฤษี ฤชา ฤดี ฤช ฆคเวท
ฤกษณะ(การมองเห็น)
8.2.2 เม่ือ ฤ ตามหลงั พยญั ชนะ ค น ม พ ห เช่น คฤหบดี คฤหาสน์ นฤบดี พฤศจิกายน หฤทยั นฤมล
มฤตยู มฤค หฤโหด พฤนท์ มฤตก พฤกษ์ 8.2.3 เมื่ออยโู่ ดดๆ เช่น ฤ
9. การอา่ นตวั เลข มีหลกั เกณฑด์ งั น้ี
9.1 จานวนเลขต้งั แต่ 2 หลกั ข้ึนไป ถา้ ตวั เลขตวั ทา้ ยเป็นเลข 1 ใหอ้ อกเสียงเอด็
9.2 ตวั เลขที่มีจุดทศนิยม
9.2.1 ตวั หนา้ จุดทศนิยม ใหอ้ า่ นแบบจานวนเตม็ ตวั เลขหลงั จุดทศนิยม ให้ อา่ นเรียงตวั
9.2.2 ตวั เลขท่ีเป็นเงินตราหรือหน่วยนบั ใหอ้ ่านตามหน่วยเงิน หรือหน่วยนบั น้นั ๆ
9.3 การอา่ นตวั เลขบอกเวลา
9.3.1 การอา่ นชว่ั โมงท่ีไม่มีจานวนนาที เช่น 05.00 อ่านวา่ หา้ -นา-ลิ-กา
9.3.2 การอา่ นจานวนชวั่ โมง นาทีและวนิ าที อ่านจากหน่วยใหญ่ไปหน่วยยอ่ ย
9.4 การอ่านเวลาที่มีเศษของวนิ าที เช่น 2 : 03 : 47.80 อ่านวา่ สอง-นา-ลิ-กา-สาม-นา-ที-
สี่-สิบ-เจด็ -จุด-แปด-สูน-ว-ิ นา-ที
9.5 การอ่านตวั เลขที่แสดงมาตราส่วนหรืออตั ราส่วน เช่น 1 : 200,000 อ่านวา่ หน่ึง-ต่อ-
สอง-แสน
13
9.6 การอ่านตวั เลขหนงั สือราชการ นิยมอา่ นแบบเรียงตวั เขน่ หนงั สือที่ ศธ 0030.01/605
ลว. 15 มกราคม 2553 อา่ นวา่ หนงั สือท่ีสอทอสูนสูน สามสูนจุดสูนหน่ึงทบั หกสูนหน่ึง ลงวนั ท่ีสิบ
หา้ มะกะราคม พุดทะสักกะหราดสองพนั หา้ ร้อยหา้ สิบสาม
9.7 การอ่านเลข ร.ศ. ท่ีมีการเทียบเป็ น พ.ศ. กากบั เช่น ร.ศ. 112 (พ.ศ. 2436) อ่านวา่ รัด
ตะนะโกสินสกร้อยสิบสอง ตรงกบั พดุ ทะสักกะหราดสองพนั สี่ร้อยสามสิบหก
9.8 การอา่ นบา้ นเลขท่ี
9.8.1 การอา่ นบา้ นเลขท่ีซ่ึงตวั เลข 2 หลกั ใหอ้ ่านแบบจานวนเต็ม ส่วนตวั เลข หลงั เครื่องหมายทบั (/)
ใหอ้ ่านแบบเรียงตวั เช่น บา้ นเลขท่ี 97/258 อ่านวา่ บา้ นเลขท่ีเกา้ สิบเจด็ ทบั สองหา้ แปด
9.8.2 การอ่านบา้ นเลขที่ซ่ึงมีตวั เลข 3 หลกั ข้ึนไป ให้อ่านแบบจานวนเต็ม หรือแบบเรียงตวั ก็ได้
ส่วนตวั เลขหลงั เครื่องหมายทบั (/) ใหอ้ า่ นแบบเรียงตวั
9.8.3 การอา่ นบา้ นเลขท่ีกลุ่มตวั เลขท่ีมี 0 อยขู่ า้ งหนา้ ใหอ้ ่านเรียงตวั เสมอ
9.9 การอา่ นรหสั ไปรษณีย์ ใหอ้ า่ นแบบเรียงตวั
9.10 การอา่ นหมายเลขทางหลวง ใหอ้ ่านตวั เลขแบบเรียงตวั
10. การอา่ นเครื่องหมายตา่ งๆ มีหลกั การอ่านดงั น้ี
10.1 การอ่านคาหรือขอ้ ความที่มีเครื่องหมายวงเล็บกากบั อยู่ ใหอ้ ่านวา่ วงเลบ็ เปิ ด...วงเล็บปิ ด
10.2 การอา่ นเครื่องหมายอญั ประกาศ ( “...” ) ใหอ้ ่าน อญั ประกาศเปิ ด.... อญั ประกาศปิ ด
10.3 การอา่ นเคร่ืองหมายไมย้ มก เช่น ใหอ้ า่ นซา้ คาหรือขอ้ ความ
10.4 การอ่านเคร่ืองหมายไปยาลนอ้ ยหรือเปยยาลนอ้ ย เวลาอา่ นตอ้ งอา่ นเตม็ คา
10.5 การอ่านเครื่องหมายไปยาลใหญ่ หรือเปยยาลใหญ่ หากอยทู่ า้ ยขอ้ ความให้ อา่ นวา่ ละ หรือ และ
อื่นๆ และเมื่ออยกู่ ลางขอ้ ความใหอ้ ่านวา่ ละถึง
10.6 การอา่ นเครื่องหมายไข่ปลาหรือจุดไข่ปลา ก่อนอา่ นควรหยดุ เลก็ นอ้ ย แลว้ จึงอ่านวา่ ละ ละ ละ
แลว้ จึงอ่านขอ้ ความตอ่ ไป
14
5.คุณสมบตั ขิ องนักอ่านทดี่ ี
1. มีนิสยั รักการอ่าน
2. มีจิตใจกวา้ งขวางพร้อมที่จะอา่ นหนงั สือท่ีดีมีคุณคา่ ไดท้ ุกประเภท
3. มีเจตคติที่ดีต่อการอา่ นและเรื่องท่ีอา่ น
4. หมน่ั หาเวลาหรือจดั เวลาสาหรับการอ่านใหก้ บั ตนเองทุกวนั อยา่ งสมา่ เสมอ
5. เป็นคนรักหนงั สือและแสวงหาหนงั สือที่ดีอ่านอยเู่ สมอ
6. มีความสามารถในการเลือกหนงั สือที่ดีอา่ น
7. มีความอดทน มีอารมณ์ หรือมีสมาธิในการอา่ น
8. มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตท่ีสมบูรณ์
9. มีความเบิกบาน แจม่ ใส และปลอดโปร่งอยเู่ สมอ
10. มีนิสยั ใฝ่ หาความรู้ ความคิด และประสบการณ์ใหมๆ่ อยเู่ สมอ
11. มีทกั ษะในการอา่ นสรุปความ วเิ คราะห์ความ และวนิ ิจฉยั ความ
12. มีความคิดหรือมีวิจารณญาณท่ีดีต่อเร่ืองที่อ่านสามารถที่จะแยกแยะขอ้ เท็จจริง ความ ถูกตอ้ ง
ความเหมาะสมตา่ งๆ และสามารถเลือกนาไปใชป้ ระโยชน์
13. มีนิสัยชอบจดบนั ทึกเรื่องราวตา่ งๆ ท่ีพบในการอา่ นและเห็นวา่ มีคุณคา่
14. มีความจาดี รู้จกั หาวธิ ีช่วยจา และเพ่ิมประสิทธิภาพของการจา
15. มีนิสยั ชอบเขา้ ร้านหนงั สือและหอ้ งสมุด
16. มีโอกาสหรือหาโอกาสพูดคุยกบั ผูร้ ักการอ่านดว้ ยกนั อยูเ่ สมอ เพื่อแลกเปล่ียน ทรรศนะในการ
อา่ นใหแ้ ตกฉานยงิ่ ข้ึน
17. มีนิสยั หมนั่ ทบทวน ติดตาม คน้ ควา้ เพม่ิ เติม
15
6.ข้นั ตอนก่อนลงมืออ่านหนังสือ
1. สารวจตนเอง กล่าวคือ ก่อนที่ผอู้ า่ นจะเร่ิมอา่ นหนงั สือน้นั ผอู้ ่านจะตอ้ งสารวจตนเอง
ก่อนวา่ จะอ่านหนงั สืออะไร จุดมุ่งหมายของการอ่านหนงั สือคร้ังน้ีคืออะไร อ่านแลว้ ไดอ้ ะไร และ
เม่ือผูอ้ ่านสารวจตนเองเรียบร้อยแล้ว จึงตอ้ งลงมือหาหนังสือท่ีตนเองต้องการ ในขอ้ น้ีเป็ นการ
กาหนดจุดมุง่ หมายในการอ่านหนงั สือ
2. สารวจหนงั สือ กล่าวคือ ผอู้ ่านตอ้ งสารวจวา่ หนงั สือเล่มน้ีกล่าวถึงอะไร มีเน้ือความ
กล่าวถึงสิ่งท่ีผอู้ า่ นตอ้ งการจะทราบ หรือผอู้ า่ นตอ้ งการจะอา่ นหรือไม่ โดยสามารถดูไดจ้ าก สารบญั
ของหนงั สือ ซ่ึงเป็ นสิ่งที่บ่งบอกโครงเร่ืองของหนงั สือวา่ หนงั สือเล่มน้ีประกอบดว้ ยเน้ือหาใดบา้ ง
การอา่ นหนงั สือท่ีตรงกบั จุดประสงคข์ องผอู้ ่านน้นั จะช่วยใหผ้ อู้ ่านยน่ ระยะในการอ่านหนงั สือ
มากข้ึน
3. สารวจสิ่งแวดล้อม กล่าวคือ หลักจากที่สารวจหนังสือแล้ว ผูอ้ ่านจะต้องสารวจ
สิ่งแวดลอ้ มวา่ สถานที่และเวลาน้ี เหมาะสมหรือไมส่ าหรับการอา่ นหนงั สือ ผอู้ า่ นแตล่ ะทา่ น มีความ
เคยชินและความถนดั ในส่ิงแวดลอ้ มของการอ่านหนงั สือไม่เหมือนกนั เช่น นกั เรียน นกั ศึกษา ส่วน
ใหญช่ อบหนงั สือในเวลากลางคืน หรือช่วงเวลาก่อนนอน เนื่องจาก มีความเป็นส่วนตวั มีสมาธิ ทา
ใหส้ ามารถจดจาในรายละเอียดไดม้ ากข้ึน สิ้นสุดภารกิจในชีวติ ประจาวนั เป็นตน้
7.ลกั ษณะของการอ่านทด่ี ี
1. ไม่นอนอ่านหนงั สือ กล่าวคือ การนอนเป็ นอิริยาบถที่เหมาะแก่การพกั ผอ่ นมากกว่า
การท่ีจะเก็บเน้ือหาสาระจากการอ่าน เพราะฉะน้นั ถา้ เกิดวา่ ผูอ้ ่านนอนอ่าน จะทาให้สามารถเผลอ
หลบั ไปไดท้ ุกเวลา
2. ควรสร้างสมาธิก่อนอ่าน กล่าวคือ ในขณะเวลาที่อ่านน้ันไม่ควรที่จะอยู่ในที่
พลุกพล่านควรอยใู่ นที่ที่มีความเงียบ ไมส่ มควรดูโทรทศั น์ หรือฟังวทิ ยใุ นขณะอา่ น เพราะจะทาให้
เสียสมาธิในการอ่าน ทาให้ไม่สามารถเก็บสาระในการอ่านได้ และไม่มีความพร้อมในการอ่าน
เน่ืองจากการอ่านตอ้ งมีสมาธิอย่างมาก เพราะการอ่านที่ดี ผูอ้ ่านควรเน้ือหาสาระจากการอ่านให้
ไดม้ ากท่ีสุด และทาความเขา้ ใจ
16
3. ทกั ษะการอ่านและทกั ษะการเขียนเป็ นของคู่กัน กล่าวคือ ในขณะที่ผูอ้ ่าน อ่าน
หนงั สือน้นั ควรจะมีกระดาษและปากกาหรือสมุดบนั ทึก เพ่ือบนั ทึกสาระสาคญั ในขณะการอ่าน
เพราะวา่ การบนั ทึกสาระสาคญั ในขณะการอ่านน้นั จะช่วยทาให้การอ่านมีประสิทธิภาพมากข้ึน
กล่าวคือ จะทาให้ผอู้ ่านน้นั จดจาสาระสาคญั ของหนงั สือท่ีอ่านไดด้ ว้ ย นอกจากน้ี การเขียนบนั ทึก
สาระสาคญั หลงั จากการอ่านหรือในขณะการอ่านน้นั จะช่วยทบทวนในสิ่งท่ีอ่านมาท้งั หมดได้อีก
ดว้ ย
4. การอ่านหนงั สือที่ดีตอ้ งรู้ที่มา กล่าวคือ ผูอ้ ่านควรจดจาแหล่งท่ีมาของหนงั สือหรือ
ขอ้ เขียนที่อ่าน บางท่ีอาจจะมีประโยชน์ต่อการอา้ งอิง นอกจากน้ีเม่ือผูอ้ ่านตอ้ งการความรู้แบบต่อ
ยอดแต่ไม่สามารถหาตน้ ฉบบั หนงั สือท่ีผูอ้ ่านอ่านได้ แต่ผอู้ ่านรู้จกั จดจาหรือสังเกตแหล่งที่มาของ
หนงั สือ รวมท้งั ศึกษาภูมิหลงั ของหนงั สือ ท้งั ผแู้ ต่งหรือท่ีมาของหนงั สือ จะทาใหผ้ ูอ้ ่านสามารถหา
ความรู้ต่อยอดได้
5. ผูอ้ ่านที่ดีควรติดตามและมีวิจารณญาณในการอ่าน กล่าวคือ ผูอ้ ่านที่ดีควรติดตามใน
สิ่งที่อา่ น อาจจะเพือ่ วเิ คราะห์สิ่งท่ีอา่ นวา่ มีความเป็นขอ้ คิดเห็นหรือขอ้ เท็จจริง และถา้ ผอู้ ่านคิดตาม
ผอู้ ่านจะมีความสามารถในการอ่าน การคิดตามอาจจะตดั สินไดว้ า่ ขอ้ มูลน้ีเป็ นขอ้ มูลที่ถูกตอ้ งหรือ
ผดิ ประการใด
6. ผูอ้ ่านท่ีดีควรรู้จกั ทบทวน กล่าวคือ หลงั จากท่ีอ่านหนงั สือแล้ว ผูอ้ ่านจะตอ้ งหมน่ั
ทบทวนในสิ่งที่อ่านอยู่เสมอ ประการหน่ึงก็เพื่อให้ผูอ้ ่านน้ันรู้สึกว่าการอ่านหนงั สือน้นั จะช่วย
เพิ่มพนู ความรู้ใหก้ บั ผอู้ า่ นได้ โดยที่ผอู้ า่ นจะตอ้ งหมนั่ ทบทวนชา้ ๆ หลาย ๆ คร้ังจนจาข้ึนใจ
7. ในยคุ ปัจจุบนั เป็นยคุ แห่งเทคโนโลยี สารสนเทศ และขอ้ มูลข่าวสาร มีข่าวสารต่าง ๆ
เลื่อนไหลเขา้ มาในกระแสของโลกอยา่ งมากมาย ท้งั ขอ้ มูลดา้ นดี และขอ้ มูลดา้ นลบ ที่ทาให้ผูอ้ ่าน
ตอ้ งอ่านและใช้ดุลพินิจในการตีความ การอ่านเร็วมีความจาเป็ นอยา่ งยิ่ง เพราะถา้ ยิ่งอ่านเร็วและ
สามารถเขา้ ใจไดเ้ ลย ก็จะทาให้เราสามารถตกั ตวงในสิ่งที่อ่านไดม้ าก เพราะยุคน้ีคนตอ้ งมีความรู้
มาก เป็ นยุคท่ีตอ้ งแข่งขนั ตอ้ งตกั ตวงไม่วา่ จะเป็ นส่ิงท่ีมีสาระหรือมีความบนั เทิง การจะอ่านไดเ้ ร็ว
น้นั ตอ้ งฝึกหดั ใหม้ าก ๆ และอ่านบอ่ ย ๆ
8. ผอู้ ่านตอ้ งมีความรู้พ้ืนฐานในเร่ืองท่ีจะอ่านพอสมควร หรือมีความสนใจในเรื่องท่ีจะ
อ่าน รวมท้งั ควรเรียนรู้ศพั ทใ์ หม่ ๆ ท่ีเกิดจากการอ่าน เพราะเม่ือผอู้ ่านไม่มีความรู้พ้นื ฐาน หรือไม่มี
17
ความสนใจในเรื่องท่ีจะอ่านแล้ว จะทาให้การอ่านน้ันไม่ประสบความสาเร็จ หรือประสบ
ความสาเร็จนอ้ ย
9. ผูอ้ ่านตอ้ งฝึ กจบั ใจความ กล่าวคือ ผูอ้ ่านอ่านสิ่งใดส่ิงหน่ึงน้นั ไม่วา่ จะเป็ นสารคดี
หรือบนั เทิงคดี ลว้ นจะตอ้ งมีใจความสาคญั อยู่ ดงั น้นั ผูอ้ ่านจะตอ้ งจบั ใจความสาคญั ของเร่ืองท่ีอ่าน
ใหไ้ ด้
10. อ่านแลว้ เล่าต่อ กล่าวคือ การอ่าน ถา้ อ่านอยา่ งเดียวโดยไม่มีการทบทวนหรือเล่าตอ่
ก็อาจจะทาให้ผูอ้ ่านลืมในส่ิงที่อ่านไปท้งั หมดได้ หรือจาไดเ้ พียงบางอยา่ ง แต่เมื่อผูอ้ ่านไปเล่าต่อ
แลว้ ความรู้น้นั ก็จะกลบั มาเหมือนกบั เป็นการทบทวนใหผ้ อู้ า่ นอีกคร้ังหน่ึง
8.วธิ ีอ่านหนังสือทดี่ ี
วธิ ีการอ่านหนงั สือที่ดี มีข้นั ตอน ดงั น้ี
1. อา่ นท้งั ยอ่ หนา้ การฝึกอ่านท้งั ยอ่ หนา้ ควรปฏิบตั ิ ดงั น้ี
1.1 พยายามจบั จุดสาคญั ของเน้ือหาในยอ่ หนา้ น้นั
1.2 พยายามถามตวั เองวา่ สามารถต้งั ช่ือเรื่องแต่ละยอ่ หนา้ ไดห้ รือไม่
1.3 ดูรายละเอียดน้นั วา่ มีอะไรบา้ งท่ีสมั พนั ธ์กบั จุดสาคญั มีอะไรบา้ งที่ไม่เกี่ยวขอ้ ง และอะไรบา้ งท่ี
เก่ียวขอ้ ง เก่ียวขอ้ งกนั อยา่ งไร
1.4 แตล่ ะเรื่องติดต่อกนั หรือไม่ และทราบไดอ้ ยา่ งไรวา่ ติดต่อกนั
1.5. วธิ ีการเขียนของผเู้ ขียนมีอะไรบา้ งที่เสริมจุดสาคญั เขา้ กบั จุดยอ่ ย
2. สารวจตารา หรือหนงั สือน้นั ๆ ก่อนที่จะทาการอา่ นจริง ดงั น้ี
2.1 ดูสารบญั คานา เพื่อทราบวา่ ในเล่มน้นั ๆ มีเน้ือหาอะไรบา้ ง
2.2 ตรวจดูบทท่ีจะอ่านวา่ มีหวั ขอ้ อะไรบา้ ง
2.3 อ่านคานาของหนงั สือและบทนาในแตล่ ะบทดว้ ย
18
2.4 พยายามต้งั คาถามแลว้ คน้ หาคาตอบอยา่ งคร่าว ๆ
3. อ่านเป็ นบท ๆ หลงั จากไดท้ าการสารวจหนงั สือแลว้ ผูอ้ ่านจะไดค้ วามรู้เกี่ยวกบั ผูแ้ ต่ง ภูมิหลงั
ตลอดจนความมุ่งหมายในการแตง่ หนงั สือ แลว้ จึงเริ่มอา่ นหนงั สือเป็นบท ๆ โดยปฏิบตั ิ ดงั น้ี
3.1 อา่ นทีละบทโดยไม่หยดุ จนจบบท อาจจะหยดุ เพื่อจดบนั ทึกใจความสาคญั บา้ ง ในบางคร้ังก็ได้
3.2 อ่านบทเดิมอีกคร้ัง เลือกอ่านเฉพาะหวั ขอ้ และประโยคแรกของแต่ละยอ่ หนา้ ถา้ อ่านแลว้ ยงั ไม่
เขา้ ใจ ก็อ่านขอ้ ความในแต่ละย่อหนา้ ใหม่ ถา้ อ่านประโยคแรกแลว้ จาไดว้ ่า เน้ือความอะไรบา้ งที่
ผา่ นไปยงั ยอ่ หนา้ อื่นได้
3.3 จดบนั ทึก เพื่อตอบคาถามที่ต้งั ไวต้ อนแรก
4. การอ่านแบบขา้ มหรืออ่านแบบคร่าว ๆ การอ่านแบบขา้ มหรืออ่านแบบคร่าว ๆ มิไดใ้ ห้ความ
เขา้ ใจอะไรมากนกั จะใชไ้ ดด้ ี ตอ่ เม่ือ
4.1 ตอ้ งการทราบขอ้ ความบางอยา่ งเทา่ น้นั เช่น หมายเลขโทรศพั ท์ ความหมายของ คาใดคาหน่ึง
4.2 ตอ้ งการทราบว่าควรอ่านท้งั หมดหรือไม่ ช่วยให้ทราบคร่าว ๆ ว่าในแต่ละบท เป็ นอย่างไร
เพราะเป็นการอ่านเฉพาะหวั ขอ้ หรือขอ้ สรุปเทา่ น้นั
5. สะสมประสบการณ์และคาศพั ทใ์ หม้ ากที่สุด
การที่ผูอ้ ่านจะเข้าใจเรื่องท่ีอ่านได้ดีน้ันจาเป็ นตอ้ งอาศยั ประสบการณ์เดิมและความรู้ เกี่ยวกบั
คาศพั ทท์ ่ีสะสมไว้ เมื่ออ่านเร่ืองใหม่จึงสามารถนาเอาความรู้เดิมมาถ่ายโยงสัมพนั ธ์กบั ความรู้ใหม่
เพอื่ เพ่มิ ความเขา้ ใจในเร่ืองท่ีอ่านไดด้ ียง่ิ ข้ึน การสะสมประสบการณ์ความรู้และคาศพั ทน์ ้นั สามารถ
ทาได้โดยการอ่าน ปทานุกรม พจนานุกรม เพื่อรู้ศัพท์ต่าง ๆ และอ่านให้มาก ๆ เพื่อสะสม
ประสบการณ์และเพิ่มพนู ความรู้อยตู่ ลอดเวลา
19
9.การเตรียมพร้อมเพ่ือการอ่าน
การอ่านจะดาเนินไปไดด้ ีเพียงใดข้ึนอยกู่ บั ส่ิงแวดลอ้ มทางกายภาพ และองคป์ ระกอบท่ีอยู่
ภายในร่างกาย การอ่านท่ามกลางบรรยากาศและสิ่งแวดลอ้ มท่ีเหมาะสม จะนามาซ่ึงประสิทธิและ
ประสิทธิผลในการอา่ น ท้งั น้ีควรคานึงถึง
1. การจดั สถานที่และสิ่งแวดลอ้ ม สถานที่ท่ีเหมาะกบั การอ่านควรมีความเงียบสงบ ตดั สิ่ง
ต่างๆ ท่ีรบกวนสมาธิออกไป มีอุณหภูมิและแสงสวา่ งท่ีเหมาะสม มีโต๊ะท่ีมีความสูงพอเหมาะและ
เกา้ อ้ีที่นงั่ สบายไม่นุ่มหรือแขง็ จนเกินไป
2. การจดั ทา่ ของการอา่ น ตาแหน่งของหนงั สือควรอยหู่ ่างประมาณ 35-45 เซนติเมตร และ
หนา้ หนงั สือจะตอ้ งตรงอยกู่ ลางสายตา ควรนงั่ ให้หลงั ตรงไมค่ วรนอนอ่าน ท้งั น้ีเพ่ือใหส้ มองไดร้ ับ
เลือดไปหล่อเล้ียงอยา่ งเตม็ ท่ี ก็จะทาใหเ้ กิดการต่ืนตวั ต่อการรับรู้ จดจา และอ่านไดน้ าน
3. การจดั อุปกรณ์ช่วยในการอ่าน การอ่านอาจมีอุปกรณ์ที่จาเป็ น เช่น กระดาษสาหรับ
บนั ทึกดินสอ ปากกา ดินสอสี
4. การจดั เวลาท่ีเหมาะสม สาหรับนกั ศึกษาท่ีตอ้ งมีการทบทวนบทเรียนควรอ่านหนงั สือ
ในช่วงที่เหมาะสมคือช่วงท่ีท่ีไม่ดึกมาก คือ ต้งั แต่ 20.00 – 23.00 น. เน่ืองจากร่างกายยงั ไม่อ่อนลา้
เกินไปนกั หรืออา่ นในตอนเชา้ 5.00-6.30 น. หลงั จากที่ร่างกายไดร้ ับการพกั ผอ่ นอยา่ งเพยี งพอ ท้งั น้ี
ในการอ่านแต่ละคร้ังไม่ควรเกิน 50 นาทีและให้เปล่ียนแปลงอิริยาบถสัก 10 นาทีก่อนลงมืออ่าน
ต่อไป
5. การเตรียมตนเอง ไดแ้ ก่ การทาจิตใจใหแ้ จ่มใส มีความมุ่งมน่ั มีความต้งั ใจ และมีสมาธิ
ในการอ่าน นอนหลบั พกั ผอ่ นให้เพียงพอ มีสุขภาพสายตาที่ดี ตดั ปัญหารบกวนจิตใจให้หมด การ
แบ่งเวลาให้ถูกตอ้ ง และมีระเบียบวนิ ยั ในชีวติ โดยใหเ้ วลาแต่ละวนั ฝึ กอ่านหนงั สือ และพยายามฝึก
ทกั ษะใหม่ๆ ในการอา่ น เช่น ทกั ษะการอา่ นเร็วอยา่ งเขา้ ใจ เป็นตน้
20
สรุป
การอ่าน มีความสาคัญท้ังด้านการศึกษา การงานและชีวิตส่วนตัว ผู้อ่านที่ดีควรต้ัง
วตั ถุประสงค์ในการอ่านให้ชัดเจน เข้าใจกระบวนการอ่าน เพราะการอ่านมิใช่แต่เพียงเข้าใจ
ความหมายของคา อ่านคาถูก ออกเสียงไดถ้ ูกตอ้ งเท่าน้นั แต่การอ่านสามารถทาให้ผูอ้ ่านประสบ
ความสาเร็จในชีวิตการเรียน การทางาน สามารถนาสิ่งที่ไดร้ ับจากการอ่านไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั
เพื่อพฒั นาตนเอง และประเทศชาติต่อไป การอ่านน้นั มิใช่เป็ นพรสวรรค์ แต่เกิดจากการฝึ กฝนและ
การเรียนรู้ ดงั น้นั จึงไม่ควรทอ้ ถอย ผูอ้ ่านควรต้งั ใจไวเ้ สมอว่า การอ่านมีประโยชน์ทาให้รู้เท่าทนั
โลก และเหตุการณ์ สร้างบุคลิกภาพใหเ้ ป็ นคนมีความเช่ือมน่ั ในตนเอง ซ่ึงเป็ นส่ิงสาคญั ในปัจจุบนั
น้ีอีกดว้ ย
21
บรรณานุกรม
มลั ลิกา ผอ่ งแผว้ . (2558). บทที่ 3 หลกั การอา่ น พ.ศ. 2558. สืบคน้ จาก
https://www.slideshare.net/aommal/3-53924183
สุรินทร์ ยงิ่ นึก. (ม.ป.ป). ความสาคญั ของการอ่าน. สืบคน้ จาก http://www.kruthai40.com
หลกั การอา่ นภาษาไทย. (2556). หลกั การอา่ นภาษาไทย พ.ศ. 2556. สืบคน้ จาก
https://tenderness2121.wordpress.com/2013/01/22
หอ้ งสมุดโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ สมเดจ็ พระศรีนครินทร์ ภูเก็ต. (2558). หน่วยท่ี 5 การอา่ น
พ.ศ. 2558. สืบคน้ จาก https://libraryswpk.wordpress.com
อมรรัตน์ ชานาญรักษา. (2555). จุดมุ่งหมายของการอา่ น พ.ศ. 2555. สืบคน้ จาก
https://sites.google.com/site/madoobook/cu
22