ชุดเรียนรู้ที่ 2 วรรณศิลป์ที่ปรากฏในนิราศวัดร่องขุ่น (เพื่อส่งเสริมการอ่านวิเคราะห์) สาระส าคัญ เป็นการอ่านเพื่อแยกแยะข้อความที่อ่านอย่างถี่ถ้วน เป็นการหาค าตอบว่า ข้อความ บทความ ที่อ่านนั้นให้ความรู้เรื่องอะไรบ้าง ข้อเขียนแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกอย่างไร ซึ่งจะช่วยให้เห็น ภาพรวมและรายละเอียดของเรื่องที่อ่าน ช่วยให้เข้าใจเรื่องนั้นได้อย่างแท้จริง รวมทั้งช่วยพัฒนา สติปัญญา จุดประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ 1. บอกความหมายของค าศัพท์ได้อย่างถูกต้อง 2. รู้จักหลักการอ่านวิเคราะห์ 3. อ่านและอ่านวิเคราะห์เรื่องได้ เนื้อหาสาระ 1. ค าศัพท์ 2. วรรณศิลป์ที่พบในวรรณกรรม 3. ตัวอย่างวรรณศิลป์ที่ปรากฏในนิราศวัดร่องขุ่น กิจกรรม ตอนที่ 1 อ่านและศึกษาความหมายของค าศัพท์ ตอนที่ 2 อ่านบทอ่านที่ก าหนด ตอนที่ 3 ท าแบบฝึกหัด
ตอนที่ ๑ อ่านและศึกษาความหมายของค าศัพท์ หลักการอ่านเชิงวิเคราะห์分析阅读的原则 การอ่านเชิงวิเคราะห์เป็นการอ่านหนังสือแต่ละเล่ม อย่างละเอียดให้ได้ความครบถ้วน แล้วจึงแยกแยะให้ได้ว่า ส่วนต่าง ๆ นั้นมีความหมายและความส าคัญอย่างไรบ้าง แต ่ละด้านสัมพันธ์กับส ่วนอื ่น ๆ อย ่างไร วิธีอ ่านแบบ วิเคราะห์นี้อาจใช้วิเคราะห์องค์ประกอบของค าและวลี การใช้ค าในประโยค วิเคราะห์ส านวนภาษา จุดประสงค์ ของผู้แต่งไปจนถึงการวิเคราะห์นัย หรือเบื้องหลังการจัดท าหนังสือหรือเอกสารนั้น การวิเคราะห์เรื่องที่อ่านทุกชนิด สิ่งที่จะละเลยไม่ได้คือ การพิจารณาถึงการใช้ถ้อยค า ส านวนภาษา ว่ามีความเหมาะสมกับระดับและประเภทของงานเขียนหรือไม่ เช่น ในบทสนทนาก็ไม่ควรใช้ภาษาที่ เป็นแบบแผนควรใช้ส านวนให้เหมาะสมกับสภาพจริงหรือเหมาะแก่กาลสมัยที่เหตุการณ์ในหนังสือนั้น เกิดขึ้น เป็นต้น ดังนั้นการอ่านวิเคราะห์จึงต้องใช้เวลาอ่านมาก และยิ่งมีเวลาอ่านมากก็ยิ่งมีโอกาส วิเคราะห์ได้ดีมากขึ้น การอ่านในระดับนี้ต้องรู้จักตั้งค าถามและจัดระเบียบเรื่องราวที่อ่านเพื่อจะได้ เข้าใจเรื่องและความคิดที่ผู้เขียนต้องการ 分析阅读是指仔细阅读每本书以确保其完 整性的行为,然后你就可以区分不同部分的含义 和重要性。每个方面与其他方面有何关联?分析 阅读方法,可用于分析单词和短语的组成。在句 子中使用该词分析语言表达作者的目的及其含义 分析,或在幕后准备此类书籍或文件。各类阅读 材料分析不可忽视的是措辞的考量。语言表达是 否与写作的水平和类型相适应?例如,在对话 中,不要使用约定俗成的语言,而应该使用适合 实际情况或适合事件发生的时代的表达方式,因 此,阅读分析需要大量的阅读时间。你阅读的时间越多,你就越有机会更好地分析 它。这个级别的阅读需要知道如何提出问题和组织阅读的故事,以理解作者想要的故 事和想法。
กระบวนการวิเคราะห์การอ่าน ๑. พิจารณารูปแบบของงานประพันธ์ว่าใช้รูปแบบใด อาจเป็นนิทาน บทละคร นวนิยาย เรื่องสั้น บทร้อยกรอง หรือบทความจากหนังสือพิมพ์ ๒. แยกเนื้อเรื ่องออกเป็นส ่วนๆ ให้เห็นว ่าใครท าอะไร ที ่ไหน อย่างไร เมื่อไร ๓. แยกพิจารณาแต ่ละส ่วนให้ละเอียดลงไปว ่าประกอบกัน อย่างไร หรือประกอบด้วยอะไรบ้าง ๔. พิจารณาให้เห็นว่าผู้เขียนให้กลวิธีเสนอเรื่องอย่างไร ขั้นตอนการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑. การอ่านวิเคราะห์ค า การอ ่านวิเคราะห์ค า เป็นการอ ่านเพื ่อให้ผู้อ ่าน แยกแยะถ้อยค าในวลีประโยคหรือข้อความต ่าง ๆ โดยสามารถบอกได้ว่า ค าใดใช้อย่างไร ใช้ผิดความหมาย ผิด หน้าที่ไม่เหมาะสม ไม่ชัดเจนอย่างไร ควรจะต้องหาทางแก้ไข ปรับปรุงอย่างไร เช่น อย่าเอาไปใช้ทับกระดาษ ๒. การอ่านวิเคราะห์ประโยค การอ่านวิเคราะห์ประโยค เป็นการอ่านเพื่อแยกแยะประโยคต่าง ๆ ว่าเป็นประโยคที่ถูกต้องชัดเจน หรือไม่ใช้ประโยคผิดไปจากแบบแผนของภาษาอย่างไร เป็นประโยคที่ถูกต้องสมบูรณ์เพียงใดหรือไม่มีหน่วย ความคิดในประโยคขาดเกินหรือไม่ เรียงล าดับความใน ประโยคที่ใช้ได้ถูกต้องชัดเจนหรือไม่ ใช้ฟุ่มเฟือยโดยไม่ จ าเป็นหรือใช้รูปประโยคที่สื่อความหมายไม่ชัดเจนหรือไม่ เมื่อพบข้อบกพร่องต่าง ๆ แล้วก็สามารถแก้ไขให้ถูกต้อง ได้เช ่นสุขภาพของคนไทยไม ่ดีส ่วนใหญ ่การแก้ปัญหา จราจรในกรุงเทพฯ เกิดการจลาจลทุกคนย ่อมประสบ ความส าเร็จท่ามกลางความขยันหมั่นเพียร เขามักจะเป็น หวัดในทุกครั้งที่ฝนเริ่มตก
๓. การอ่านวิเคราะห์ทัศนะของผู้แต่ง ผู้อ่านต้องพิจารณาไตร่ตรองให้รอบคอบว่า ผู้เขียนเสนอทัศนะมีน ้าหนักเหตุผลประกอบข้อเท็จจริง น่าเชื่อถือ เพียงใด เป็นคนมองโลกในแง่ใด เป็นต้น ๔. การอ่านวิเคราะห์รส การอ่านวิเคราะห์รส หมายถึง การอ่านอย่างพิจารณาถึงความซาบซึ้งประทับใจที่ได้จากการอ่าน วิธีการที่จะท าให้เข้าถึงรสอย่างลึกซึ้ง คือการวิเคราะห์รสของเสียงและรสของภาพ ๔.๑ ด้านรสของเสียง ผู้อ่านจะรู้สึกได้ชัดจากการอ่านออกเสียงดัง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการอ่านอย่างปกติ หรือการอ่านท านองเสนาะ จึงจะช่วยให้รู้สึกถึงความไพเราะของจังหวะและความเคลื่อนไหวซึ่งแฝงอยู ่ใน เสียง ท าให้เกิดความรู้สึกไปตามท่วงท านองของเสียงสูงต ่าจากเนื้อเรื่องที่อ่าน ๔.๒ ด้านรสของภาพ เมื่อผู้อ่านอ่านแล้วเกิดความเข้าใจเรื่อง ในขณะเดียวกันท าให้เห็นภาพด้วย เป็นการสร้างเสริมให้ผู้อ่านได้เข้าใจความหมาย การเขียนบรรยายความด้วยถ้อยค าไพเราะทั้งร้อยแก้วและ ร้อยกรองก่อให้เกิดภาพขึ้นในใจผู้อ่าน ท าให้เกิดความเพลิดเพลินและเข้าใจความหมายของเรื่องได้ดียิ่งขึ้น
阅读分析过程 1.考虑文学作品的形式:它可能是故事、戏 剧、长篇小说、短篇故事、诗歌或报纸文章; 2. 将故事分成几个部分,显示谁在何时何地做 了什么; 3. 详细考虑每个部分,看看它们是如何组合在 一起的,或者说它由什么组成; 4. 考虑作者如何给出呈现故事的策略。 分析性阅读步骤 1. 阅读和分析单词 阅读和分析单词阅读是为了让读者能够区分 短语中的单词,句子或各种信息。你可以说使用 什么词,滥用错误的职责、目前的不合适以及还 不清楚如何。我们应该如何想办法改进呢?比如不要把它当镇尺用,在这里我们收到盖印 佛牌,他周游世界。 2. 阅读和分析句子 句子分析阅读是为了辨别句子是否正确,如何使用偏离语言模式的句子?句子的完整 性如何?或者句子中是否有缺失的思想单元?所用句子的顺序是否正确、清晰?您是否使 用了不必要的夸张或使用了无法清楚表达含义的句子?当发现各种缺陷时,可以进行纠 正。比如泰国人的健康状况较差,主要解决曼谷的交通问题。如果有叛逆,大家通过勤奋 就会成功。每次下雨他总是感冒。 3.阅读并分析作者的观点 读者必须仔细考虑这一点,作者的观点、推理 和事实的可信度如何?他有什么样的世界观? 4.阅读韵律分析 韵律分析是指在阅读时考虑到通过加深韵律的 阅读方法所获得的鉴赏力。它是对音调韵律和画面 意境的分析。
4.1 声音方面:读者在朗读时,无论是正常阅读,都会清楚地感受到这一点,或读一段旋 律这将帮助读者感受到隐藏在声音中的节奏和动作之美,从所读的故事中感受高音和低音 的旋律; 4.2 图画方面:读者读完就明白了故事的意思,同时,也构想了画面。创造让读者理解无 论是散文还是诗歌都用优美的文字来描述事物的意义。在读者心中塑造一个形象,创造了 乐趣并更好地理解故事的含义。 ค าศัพท์ ค าศัพท์ ค าอ่าน ความหมายภาษาจีน 中文意思 การอ่านเชิงวิเคราะห์ กาน-อ่าน-เชิง-วิ-เคราะ 分析性阅读 ละเอียด ละ-เอียด 细节 แยกแยะ แยก-แยะ 很多 ค า ค า 词 วลี วะ-ลี 词语 ถ้อยค า ถ้อย-ค า 短语 ส านวนภาษา ส า-นวน-พา-สา 泰语谚语 เนื้อเรื่อง เนื้อ-เรื่อง 故事内容 พิจารณา พิด-จา-ระ-นา 考虑 ประโยค ประ-โหยด 句子 ทัศนะ ทัด-สะ-นะ 观点 ผู้แต่ง ผู้-แต่ง 作者 รส รด 味道 ทราบซึ้ง ซาบ-ซึ้ง 感动 รสของเสียง รด-ของ-เสียง 音律 รสของภาพ รด-ของ-พาบ 画境
ตอนที่ ๒ อ่านบทความที่ก าหนด ในบทเรียนนี้ขอน าเสนอในการวิเคราะห์ด้านรสของภาพ ในเรื่องของ โวหารภาพพจน์ ซี่งมี ปรากฏในนิราศวัดร่องขุ่น อธิบายโวหาภาพพจน์ดังนี้ โวหารภาพพจน์ ๑.ความหมายของโวหารภาพพจน์ โวหารภาพพจน์ (Figures Of Speech) คือ การใช้ถ้อยค าส านวนที่ท าให้ผู้รับสารเกิดมโนภาพ หรือเกิดจินตนาการจากการอ่าน วรรณคดีและ วรรณกรรมที่ดีจะมิลักษณะการใช้โวหารภาพพจน์ที่ หลากหลาย ทั้งนี้เพื่อให้ผู้รับสารเกิดความซาบซึ้ง เกิด จินตภาพและมีความรู้สึกร่วมตรงตามความปรารถา ของผู้สงสารที่ต้องการสื่อออกมาทางวรรณคดีและวรรณกรรมเรื่องนั้น ๒. ลักษณะของโวหารภาพพจน์ ๒.๑ เป็นการใช้ถ้อยค าส านวนในการสื่อสารอย่างมีศิลปะ ๒.๒ เป็นการสื่อให้ผู้รับสารเกิดมโนภาพ หรือเกิดจินตนาการจากการอ่าน ๒.๓ ผู้อ่านมีความซาบซึ้งและมีความรู้สึกร่วมตรงตามความปรารถนาของผู้ส่งสารที่ ต้องการสื่อออกมาทางวรรณคดีและวรรณกรรมเรื่องนั้น ๒.๔ ก ่อให้เกิดความงามในการใช้ภาษา ท าให้ วรรณคดีและวรรณกรรมนั้นเป็นงานเขียนที่มีคุณค่าและมี ความงามด้านวรรณศิลป์
๓. ประเภทของโวหารภาพพจน์แบ่งออกได้8 ประเภท ดังนี้ ๑) อุปมาอุปไมย (Simle) คือ การน าสิ ่งที ่มี ลักษณะหรือคุณสมบัติเหมือนกันหรือคล้ายคลึงกันมา เปรียบเทียบกัน เช่น ขาวเหมือนส าลี, สวยราวกับนางฟ้า เป็นตัน ๒) อุปลักษณ์ (Metaphor) คือ การเปรียบเทียบ ด้วยการกล ่าวว ่าสิ ่งหนึ ่งนั้นเป็นอีกสิ ่งหนึ ่งเป็นการ เปรียบเทียบที่ไม่กล่าวตรงๆ แใช้การกล่วเป็นนัยให้เข้าใจเอง เช่น ครูคือแม่พิมพ์ของชาติ , ชาวนาเป็นกระดูกสันหลังของชาติ เป็นตัน ๓) บุคลาธิษฐาน (PersonifIcatlon)คือการเปรียบเทียบโดยการน าเอาสิ่งไม่มีชีวิตหรือ มีชีวิตแต่ไม่ใช่คนมากล่าวถึงราวกับเป็นคนหรือท ากิริยาอาการ อย่างคน เช่น พระอาทิตย์ยิ้มแฉ่ง , ท้องฟ้าร้องไห้ เป็นต้น ๔) อติพจน์ (Hyperbole) คือ การกล่าวเกินจริง ซึ่งเป็น ความรู้สึกหรือความคิดของผู้กล่าวที่ต้องการย ้าความหมายให้ผู้ฟัง รู้สึกว ่หนักแน ่นจริงจัง เชน รักเท ่าฟ้า , ล าบากเลือดตาแทบ กระเด็น เป็นตัน ๕) นามนัย (Metonymy คือ การเปรียบเทียบ โดยการใช้ค าหรือวลีซึ ่งบ่งลักษณะหรือคุณสมบัติที ่เป็น จุดเด่นหรือลักษณะส าคัญของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เชน เมืองชา ละวัน หมายถึงจังหวัดพิจิตร , ทีมเสือเหลือง หมายถึง ทีม มาเลเซีย เป็นต้น ๖) ปรพากย์ (Paradox) คือ การใช้ถ้อยค าที ่มี ความหมายตรงกันข้ามหรือขัดแย้งกันมากล่าวร่วมกันได้อย่างกลมกลืนกัน เชน ท าคุณบูชา โทษ , หนีร้อนมาพึ่งเย็น เป็นต้น
๗) สัทพจน์ (Onomatopoela) คือ การใช้ถ้อยค าที่เลียนเสียงธรรมชาติ เพื่อช่วยสื่อ ให้ผู้รับสารรู้สึกเหมือนได้ยินเสียงโดยธรรมชาติของสิ่งนั้น ๆ เชน ฟ้าผ่าดัง เปรี้ยง , นกร้อง จิ๊บๆ ,แก้วแตกดัง เพลัง เป็นตัน ๘) สัญลักษณ์ (Symbol คือ การเปรียบเทียบที่เรียกสิ่งหนึ่งสิ่งใด โดยใช้ค าอื่นแทนค า ที่ใช้เรียกนั้นเกิดจากการเปรียบเทียบและ ตีความซึ่งใช้กันมานานจนเป็นที่เข้าใจกันโดยทั่วไป เชน ดอกกุหลาบ คือสัญลักษณ์ของความรัก , สีด า เป็นสัญลักษณ์ของความชั่วร้าย ค าศัพท์ ค าศัพท์ ค าอ่าน ความหมายภาษาจีน โวหารภาพพจน์ โว-หาน-พาบ-พด 修辞 มโนภาพ มะ-โน-พาบ 概念 ส านวน ส า-นวน 成语 ซาบซึ้ง ซาบ-ซึ้ง 欣赏 อุปมาอุปไมย อุบ-ปะ-มา-อุบ-ปะ-ไม 图像 อุปลักษณ์ อุบ-ปะ-ลัก 隐喻 บุคลาธิษฐาน บุก-คะ-ลา-ทิด-สะ-ถาน 拟人化 อติพจน์ อะ-ติ-พด 夸张 นามนัย นาม-มะ-ไน 名词 ปรพากย์ ปอ-ระ-พาก 配音 สัทพจน์ สัด-ทะ-พด 短语 สัญลักษณ์ สัน-ยะ-ลัก 象征
在本课中,我们想从 Nirat Wat Rong Khun 中出现的的修辞手法进行解析: 1.修辞意义 修辞是指一种使用语言的过程中运用富有想象特征的词语或手法。 这是一种为了让读者感同身受从而提升读者阅读能力的文学文体特 征其中的一种。想象力以及感情是出自人们的内心,人们想通过文 学来借以表达它们 2.修辞特征 2.1 使用文字和表达方式进行文学交流。 2.2 它使读者联想到图画,或者使读者通 过阅读来丰富想象力。 2.3 使读者对文学作品中的故事产生共 情。 2.4 运用修辞手法营造出语言美,让文学 艺术及文学价值转换并融合为文学的一种表现形式。 3.修辞的类型可分为以下 8 种: 1) 明喻:使用具有相同或相似特征或性质的 事物。 比如像棉花般的白色、天使般的美丽等。 2)隐喻:例举两件事并进行比较。 不直接体现出比较的特点,而是运用暗喻 来表达所要突出的意思。比如教师是国家 的模范,农民是国家的脊梁等。
3)拟人:(PersonifIcatlon)则是将事物人格化,使事物富有生命力。 而不能用来比喻已具有人格化的事物 比如太阳在微笑,天空在哭泣等。 4)夸张:通过夸大事物的某些特征,写出 不寻常之语。从而达到烘托气氛,引起读 者的联想的作用。 例如:爱如天高,高到让人泪流满面。 5) 转喻:通过一事物的特征与另一事物的 特征联系起来,从而让读者达到更好的理解。 例如:Muang Chalawan 意为披集府,黄虎队意为马来西亚队等。 6) 反语:是指正话反说或反话正说,即运用跟本意相反的词语词语 来表达此意。 行善忏悔,驱热增寒。
แบบฝึกหัด ค าชี้แจง ให้นักเรียนจับคู่ค ากับความหมายให้ถูกต้อง แล้วเติมตัวอักษรลงในช่องว่าง ก. โวหารภาพพจน์ (Figures Of Speech) ข. มโนภาพ (Imaginatton) ค. อุปมาอุปไมย (SImile) ง. นามนัย (Metonymy? ฉ. ปรพากย์ (Paradox) ช. อุปลักษณ์ (Metaphor) ซ. บุคลาธิษฐาน(Personificatlon) ฌ. อติพจน์ (Hyperbole) ญ สัทพจน์(Onomatopoeia) ฎ. สัญลักษณ์ (Symbol) .........................๑. การเปรียบเทียบโดยการน าเอาสิ่งไม่มีวิตหรือมีวิต แต่ไม่ใช่คนมากล่าวถึงราวกับ เป็นคนหรือท ากิริยาอาการอย่างคน .........................๒. การเปรียบเทียบที่เรียกสิ่งหนึ่งสิ่งใด โดยใช้ค าอื่นแทน ค าที่ใช้เรียกนั้นเกิดจากการ เปรียบเทียบและตีความซึ่งเป็นที่เข้าใจกันโดยทั่วไป ..........................๓. การใช้ถ้อยค าส านวนที่ท าให้ผู้รับสารเกิดมโนภาพ หรือเกิดจินตนาการ .........................๔. การน าสิ่งที่มีลักษณะหรือคุณสมบัติเหมือนกันหรือคล้ายคลึงกันมาเปรียบเทียบกัน ..........................๕. การเปรียบเทียบด้วยการกล่วว่าสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง เป็นการเปรียบเทียบที่ไม่ กล่าวตรง ๆ แต่ใช้การกล่าวเป็นนัยให้เข้าใจเอง ........................๖. การกล ่าวเกินจริง ซึ ่งเป็นความรู้สึกหรือความคิดของ ผู้กล ่าวที่ต้องการย ้า ความหมายให้ผู้ฟังรู้สึกว่าหนักแน่นจริงจัง ...........................๗. การใช้ถ้อยค าที่มีความหมายตรงกันข้ามหรือขัดแย้งกันมากล าวร่วมกันได้อย่าง กลมกลืนกัน ...........................๘. การใช้ถ้อยค าที่เลียนเสียงธรรมชาติเพื่อช่วยสื่อให้ผู้รับสารรู้สึกเหมือนได้ยินเสียง โดยธรรมชาติของสิ่งนั้น ๆ ............................๙. ภาพที่เกิดจากความคิดและจินตนาการ ซึ่งถูกกระตุ้นจากข้อมูลหรือสารที่ได้รับ ..........................๑๐. การเปรียบเทียบโดยการใช้ค าหรือวลีซึ่งบ่งลักษณะหรือคุณสมบัติที่เป็นจุดเด่น หรือลักษณะส าคัญของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
บทอ่านพิเศษ วรรณทัศน์ด้านภาษาวรรณศิลป์ในวรรณกรรมนิราศวัดร่องขุ่น วรรณทัศน์ด้านภาษาวรรณศิลป์ เป็นการศึกษาศิลปะการใช้ภาษาเพื ่อการสื ่อสาร โดยการ เรียบเรียงถ้อยค า การเลือกใช้ถ้อยค า ส านวน โวหารที่มีความไพเราะงดงาม สละสลวยตามแบบวิธี ของภาษาเพื่อสื่อสารให้ผู้รับสารก่อเกิดความงามหรือสุนทรียภาพ เนื่องจากซาบซึ้งในรสแห่งถ้อยค า ซึ่งในวรรณกรรมนิราศวัดร่องขุ่นมีความดีเด่นด้านการใช้ภาษาวรรณศิลป์ เมื่อได้อ่านหรือฟังแล้วจะ สัมผัสได้ถึงพลังทางสุนทรียภาพที ่เกิดจากการใช้ภาษาของ ผู้ประพันธ์ ซึ ่งการใช้โวหารภาพพจน์ ก็เป็นวรรณทัศน์ด้าน วรรณศิลป์ที ่ปรากฏในวรรณกรรมนิราศวัดร ่องขุ ่น จากการ วิเคราะห์ภาพพจน์ในนิราศวัดร ่องขุ ่นพบโวหารภาพพจน์ อธิบายได้ดังต่อไปนี้ 白庙诗文学中的文学艺术研究 文学艺术是一门利用语言进行交流的 艺术研究,通过排列选择优美动听的文字、短语和修辞,使用某种 语言规则让文章更加优美,为接受者创造美感或美学。由于强大文 学功底,白庙文学在语言艺术的使用方面表现十分出色。当你阅读 或聆听时,你会感受到作者使用语言所产生的审美力量,即修辞手 法的使用。从白庙诗的图像分析中发现了风格图像。解释如下:
๑) อุปมา (simile) คือ การกล่าวเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งว่าเหมือนหรือต่างจากอีกสิ่งหนึ่ง โดยยึดรูปลักษณ์ของสิ่งนั้นเป็นส าคัญ ใช้ค าเชื่อมแสดงการเปรียบเทียบ เช่น เหมือน ดุจ ดั่ง กล ราว กับ คล้าย เฉกเช่น ตัวอย่างอุปมาที่ปรากฏในนิราศวัดร่องขุ่นมีดังต่อไปนี้ ชะโงกมองลงมาตาสะดุด น ้าพุผุดพุ่งละอองเป็นฟองฝอย กระเซ็นซ่านผ่านพ่นดั่งฝนปรอย ราวเคลื่อนคล้อยบนสวรรค์ขั้นวิมาน กวาดสายตามองกว้างด้านล่างรอบ ตามเขตขอบมีปูนปั้นสรรค์ผสาน ล้วนสัตว์ในนิยายลายหิมพานต์ ประดุจผ่านม่านแคว้นแดนฉิมพลี (หน้า ๖๑) ตัวบทข้างต้นเป็นตอนที่บรรยายถึงบรรยากาศหน้าวัดร่องขุ่น ที่งดงาม ผู้ประพันธ์ใช้ค าเชื่อม แสดงการเปรียบเทียบคือค าว่า “ราว ,ประดุจ” อุปมาท าให้ผู้อ่านเห็นภาพว่ามีน ้าพุพุ่งละอองราวอยู่ บนสวรรค์ ด้านรอบยังมีประติมากรรมปูนปั้น รูปสัตว์ในหิมพานต์ ก็เหมือนอยู่ในวิมานของพระยาครุฑ ในแดนฉิมพลี 上面的章节描述了白庙前的氛围,作者使用了一个类比,“好像, 就像”,这个比喻给读者的印象是,在天堂里有一个喷溅的喷泉, 周围有一个个石膏雕塑,里面的动物就像在丹西姆普林的神庙里一 样。
๒) อุปลักษณ์ (metaphor) คือ การกล ่าวเปรียบเทียบสิ ่งหนึ ่งว ่ามีคุณสมบัติ เช่นเดียวกับอีกสิ่งหนึ่ง อาจเปรียบตรงโดยมิใช้ค าเชื่อมแสดงการเปรียบเทียบ หรือใช้ค าเชื่อม เป็น คือ เท่า เท่ากับ ตัวอย่างอุปลักษณ์ที่ปรากฏในนิราศวัดร่องขุ่นมีดังต่อไปนี้ ยี่สิบปีที่ร่วมเรียงเดินเคียงคู่ ยามน ้าหูน ้าตาเล็ดเขาเช็ดให้ ยามล้มคว ่าคะม าทรุดเขายุดไว้ แล้วขับไล่ความผิดพลาดอุบาทว์เพี้ยน ยามทุกข์ท้อพ้อเศร้า...เขาโอบกอด เจอโขดขอดไขว้ขวาง...เขาถางเหี้ยน หากมืดมนจนสะดุด...เขาจุดเทียน ใดแปลกเปลี่ยนปรวนแปร...เขาแก้ทัน เป็นร่มกางพรางกั้นวันฝนตก เป็นลมผกแผ่วเผื่อเมื่อคิมหันต์ หนาว...แนบแขนแทนผ้าห่มหากัน ความผูกพันผุดพรายเป็นสายใย (หน้า ๓๑) จากบทประพันธ์ข้างต้นผู้ประพันธ์ใช้ “อุปลักษณ์โดยนัย ค าว ่า “เป็น” มาแสดงให้เห็นถึงความรู้สึกรักและห ่วงใยของ ผู้ประพันธ์ต ่อสามี ถึงแม้จะทุกข์หรือสุข เขาก็จะเป็นคนที ่อยู่ ใกล้ชิดคอยช ่วยเหลือเกื้อกูล ดังค าประพันธ์ที ่ว่า “เป็นร่มกาง พรางกั้นวันฝนตก เป็นลมผกแผ่วเผื ่อเมื ่อคิมหันต์ หนาว.. แนบแขนแทนผ้าห่มหากัน ความผูกพันผุดพรายเป็นสายใย 在上面的章节中,作者使用了“作为” 这个词进行隐喻,表达了她对丈夫的爱和 关心。尽管她很痛苦,但他仍然是自己非 常亲密的人,她说:“当冬天寒冷的时候,用你的胳膊代替毯子…….. 一种丝线般的依恋。
๓) อติพจน์ (hyperbole) คือ การกล่าวเกินความเป็นจริง มุ่งสร้างอารมณ์เป็นส าคัญ ตัวอย่างอติพจน์ที่ปรากฏในนิราศวัดร่องขุ่นมีดังต่อไปนี้ ขึ้นสะพานเดินมาถึงกึ่งกลางนึกความรู้สึกดังอยู่บนภูเขาพระสุเมรุมองลงมาคล้ายว่าเรา เห็นเงื้อมเงาสีทันดรสะท้อนตา ปล่อยใจว่าง...วางไว้ในห้วงหน ละลิ่วบนดาวดึงส์พึงปรารถนา จะบวงสรวงปวงเทวัญทุกขั้นฟ้า อัญเชิญมาสถิตแท่นบนแก่นใจ ประคองจิตนิมิตขาวไต่ราวเมฆ สมมตเสก...สิบหกพรหม...พนมไหว้ มีบัวทิพย์ระยิบวาวแทนท้าวไท ประดับไว้แทนพร่หมธรรมด าเนินรอ (หน้า ๖๐) จากบทประพันธ์ข้างต้นผู้ประพันธ์กล่าวถึงความงดงามของวัดร่องขุ่น โดยใช้การกล่าวเกิน ความเป็นจริง บรรยายายถึงฉากเมื่อก้าวเดินข้ามสะพาน คล้ายอยู่บนภูเขาพระเมรุ ความงดงามของ สถาปัตยกรรมงดงามราวกับได้อยู ่บนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ การใช้อติพจน์นี้ ช ่วยให้ผู้อ ่านและผู้ฟัง สามารถเข้าใจถึงอารมณ์ความรู้สึกที่ความงามได้อย่างชัดเจน 在上面的文章中,作者提到了白寺庙之美。用夸张的手法描述 了在桥上行走时的场景,建筑的美就像在天上一样。
๔) บุคคลวัตหรือบุคลาธิษฐาน (personifcation) คือ การสมมุติให้สิ่งมิใช่คน แสดงกิริยา อาการหรือความรู้สึกเช่นเดียวกับคน๘ ตัวอย่างบุคคลวัตหรือบุคลาธิษฐานที่ปรากฏในนิราศวัดร่องขุ่น มีดังต่อไปนี้ "มัจจุราช" อยู่ด้านขวาเงื้อง่าดาบ จ้องก าราบเมื่อปลิดปลงจงตระหนัก ชีวิตคนไม่พ้นกรรมมาน าชัก วุ่นเวียนวรรค...หมุนวน...ตามตนไป หนีอะไรก็หนีพ้นคนเรานี้ แต่ว่าหนีกฎแห่งกรรมท าไม่ได้ ทั้งกรรมชั่วกรรมดีที่ก่อไว้ ต้องชดใช้ทุกชนักทั้งหนักเบา (หน้า ๕๙) จากบทประพันธ์ข้างต้นผู้ประพันธ์ใช้บุคคลวัตหรือบุคลาธิษฐาน คือ การสมมุติให้สิ่งมิใช่คน แสดงกิริยาอาการเช่นเดียวกับคน คือ มัจจุราช แสดงอาการ เงื้อง่าดาบ และจ้องมอง 根据上面的文献,作者使用的是一种拟人,假设不是一个人却 表现出人的行为举止,就像死神表现出剑刺和凝视一样。
๕) สัญลักษณ์และสัญลักษณ์นิยม (sybol and symbolism)๖ คือ การน าของสิ่งหนึ่ง หรือสภาพอย่างหนึ่ง เป็นตัวแทนของสิ่งหนึ่งที่กล่าวถึง เข้าใจความหมายได้ด้วยกระบวนการตีความ สัญลักษณ์มีทั้งทั่วไป และเฉพาะบุคคล๙ ตัวอย่างสัญลักษณ์และสัญลักษณ์นิยมที่ปรากฏในนิราศวัด ร่องขุ่นมีดังต่อไปนี้ "ช่อฟ้าเอก" เฉก "ศีล" ระบิลย ้าต่างดินน ้า ลมไฟ ขานไขสื่อ โลกธาตุวาดลายภุชมายุดยื้อ นาคีคือความหมายสายธารา ปั้นปีกหงส์บรรจงวางต่างวาโย คชสิงห์โชว์อกแอ่นแทนศิขา สี่สัตว์ในหิมพานต์ผสานมา เพื่อรักษาศาสน์ผดุงให้รุ่งเรือง (หน้า ๙๒) จากบทประพันธ์ข้างต้นผู้ประพันธ์ใช้สัญลักษณ์และสัญลักษณ์นิยมเกี่ยวกับส่วนบนของหลังคา โบสถ์ ได้น าหลักธรรมอันส าคัญยิ่งของการปฏิบัติจิต 3 ข้อ คือ ศีล สมาธิ ปัญญา น าไปสู่ความว่าง (ความหลุดพ้น) ช่อฟ้าเอก หมายถึง ศีล ประกอบด้วยสัตว์ 4 ชนิดผสมกัน แทน ดิน น ้า ลม ไฟ ช้าง หมายถึง ดิน, นาค หมายถึง น ้า, ปีกหงส์หมายถึง ลม และคชสิงห์ หมายถึง ไฟ ขึ้นไปปกปักรักษา พระศาสนา 在上面的文献中,作者使用了有关教堂 顶部的象征和符号,提出了三个非常重要的精 神实践原则:冥想、智慧、自由。代表土, 风,火,大象代表土,鸟代表水,天鹅翅膀代 表风,狮代表火,火代表宗教。
๖) การเลียนเสียงธรรมชาติ (onomatopoeia) คือ การกล่าวเลียนเสียงธรรมชาติ อาจเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นและมีอยู่ตามธรรมชาติเช่น ฝนตก นกร้อง ฟ้าลั่น หรือธรรมชาติของสิ่งที ่มนุษย์ สร้างขึ้นเช่น เสียงรถ เสียงระฆัง เสียงกลอง ตัวอย่างการเลียนเสียงธรรมชาติที่ปรากฏในนิราศวัดร่อง ขุ่นมีดังต่อไปนี้ แล้วเร็วรี่ถี่เท้าเขย่าย ่า ไปห้องน ้าสุขาโสภาผ่อง ทุกเส้นสายลายมีเป็นสีทอง ดังคันฉ่องแช่มชัดจรัสแวว เปิดกล้องเลนส์เซลฟี่สี่ท้าแชะ ก่อนจะแวะวนรอมาต่อแถว โอ้...ส้วมเอ๋ยเผยแผกสวยแหวกแนว งามกว่าแพรวอาภรณ์ห้องนอนเรา แล้วไปนั่งพลังเบ่งไม่เร่งร้อน ตุ้บ...สองก้อน อุ๊ย ข าน ามาเล่า ครั้นท้องโล่งโปร่งคลายสบายเบา ชักโครกเอาน ้ากดหมดทั้งกอง ออกมาล้างมือคลี่แบงก์ยี่สิบ หยอดตู้หยิบหย่อนไปอย่างไวว่อง เพื่อขอบคุณห้องน ้าตามครรลอง แล้วรีบส่องกระจกจัดผัดแป้งทา (หน้า ๑๐๑) จากบทประพันธ์ข้างต้นผู้ประพันธ์ใช้ค าว่า “ตุ้บ” เป็นการเลียนเสียงหล่นเมื่อถ ่ายหนักใน ห้องน ้า เมื่อผู้อ่านอ่านแล้วสามารถ จิตนาการตามเสียงได้ทันที เป็นการความงามทางวรรณศิลป์ที่ ผู้ประพันธ์ใช้เสริมการพรรณนาได้อย่างแยบยล 在上面的文章中,作者使用了“ต ุ้บ ”这个词来形容在浴室里摔倒 的声音。这是作者巧妙地补充描写的文学美。
๗) นามนัย (metonymy) คือ การใช้ค าหรือวลีหนึ่งซึ่งหมายถึงส่วนน้อย แทนความ หมายถึงสิ ่งที ่ใหญ ่กว ่า๑๐ เช ่น แขนแทนร ่างกาย ตัวอย ่างนามนัยที ่ปรากฏในนิราศวัดร ่องขุ ่นมี ดังต่อไปนี้ สิ่งก่อสร้างทุกอย่างนี้มีนัยยะ "ขาว" แทนพระพุทธคุณหนุนน าเด่น "กระจก" คือปัญญาพาพ้นเวร "สีทอง" เกณฑ์แห่งโลกีย์ในชีวา หากเราเดินเรื่อยมาจากหน้าวัด จะแบ่งชัดเขตพิสุทธิ์อยู่จุดขวา เขตมนุษย์อยู่จุดชัายของสายตา แอบเดินคิดจิตมนุษย์สุดจะเขลา คงต้องปัดขัดเกลาเหลาให้คม จึงมัวเมาโลกีย์สีทองถม เดี๋ยวจะพาเดินท่องไปลองชม หยุดโง่งมจมสีทองมองขาวเป็น (หน้า ๕๑) จากบทประพันธ์ข้างต้นผู้ประพันธ์ใช้ภาพพจน์ประเภทนามนัย โดยผู้ประพันธ์ใช้ค าว่า ขาว แทนความหมายของ “พระพุทธคุณ” “ กระจก”แทนความหมายของ “ปัญญาพาพ้นทุกข์” และ สี ทอง” แทนความหมายของ “เรื่องโลกีย์ในทางโลก ในตัวบทเป็นการกล่าวถึงการสิ่งก่อสร้างในวัดร่อง ขุ่นที่ประดับประดาและแต่งแต้มด้วย สีขาว สีเหลือ และกระจก แสดงถึงนามนัยที่ผู้สร้างต้องการสื่อ นั่นเอง 根据上面的文章,作者使用了一种转喻的表达方式。作者用白 色来表示“佛陀”、“镜子”、“智慧”、“世俗”和“世俗”的意思。
ค าศัพท์ ค าศัพท์ ค าอ่าน ความหมายภาษาจีน วรรณทัศน์ วัน-นะ-ทัด 文学 วรรณศิลป์ วัน-นะ-สิน 文学艺术 นิราศวัดร่องขุ่น นิ-ราด-วัด-ร่อง-ขุ่น 白庙诗 ภาษาเพื่อการสื่อสาร พา-สา-เพื่อ-การน-สื่อ-สาน 交流语言 ส านวนโวหาร ส า-นวน-โว-หาน 修辞 ไพเราะ ไพ-เราะ 动听 งดงาม งด-งาม 美丽 สละสลวย สะ-หละ-สะ-หลวย 优美 สุนทรียภาพ สุน-ทะ-รี-ยะ-พาบ 美学 เหมือน เหมือน 像 ดุจ ดุด 似 ดั่ง ดั่ง 如 กล กน 犹如 ราวกับ ราว-กับ 好像 คล้าย คล้าย 类似 เฉกเช่น เชก-เช่น 如同 เป็น เป็น 是 คือ คือ 是 เท่ากับ เท่า-กับ 相当于 สถาปัตยกรรม สะ-ถา-ปัด-ตะ-ยะ-ก า 建筑学 ช่อฟ้า ช่อ-ฟ้า 【建筑】龙凤角 ศีล สีน 品德 นาค นาก 【神】那迦 คชสิงห์ คด-ชะ-สี 狮身象首 การเลียนเสียงธรรมชาติ กาน-เลียน-เสียง-ท า-มะ-ชาด 模仿自然的声音
ตอนที่ ๓ ท าแบบฝึกหัด ค าชี้แจง ให้นักศึกษาวิเคราะห์โวหารภาพพจน์จากบทประพันธ์ต่อไปนี้ โดยเลือกเติมโวหารให้ ถูกต้อง โวหารภาพพจน์ มโนภาพ อุปมาอุปไมย นามนัย ปรพากย์ บุคลาธิษฐาน อติพจน์ สัทพจน์ สัญลักษณ์ อุปลักษณ์ ๑. ตัวเรานี้...ยังมีกรรมยอกย ้าอยู่ บางครั้งรู้สึกโหรงและโหวงเหวง คล้ายขับเรือคลื่นโยงก็โคลงเคลง ถ้าไม่เก่งถือหางเสือก็เรือจม เปรียบเหมือนถือหางเสือเรือชีวิต ถ้าพินิจธรรมถือฤๅหลุดล่ม หากขาดธรรมน าโต้ก็โสมม พายุถมโถมทับก็อับปาง (หน้า ๘๔) ...................................................................................................................................................................... ๒. สิ่งก่อสร้างทุกอย่างนี้มีนัยยะ "ขาว" แทนพระพุทธคุณหนุนน าเด่น "กระจก" คือปัญญาพาพ้นเวร "สีทอง" เกณฑ์แห่งโลกีย์ในชีวา หากเราเดินเรื่อยมาจากหน้าวัด จะแบ่งชัดเขตพิสุทธิ์อยู่จุดขวา เขตมนุษย์อยู่จุดซ้ายของสายตา เดี๋ยวจะพาเดินท่องไปลองชม แอบเดินคิดจิตมนุษย์สุดจะเขลา จึงมัวเมาโลกีย์สีทองถม คงต้องปัดขัดเกลาเหลาให้คม หยุดโง่งมจมสีทองมองขาวเป็น (หน้า ๕๑) ............................................................................................................................. ....................................................
๓. "พระพุทธเจ้า" ภาพพระองค์ด ารงเด่น สื่อให้เห็นความยิ่งใหญ่แผ่ไพศาล เหนือกว่าฟ้าสูงกว่าดินสิ้นจักรวาล อลังการงานแผ่นดินศิลป์ผดุง (หน้า ๗๓) .................................................................................................................................................................................... ๔. ออกจากเขตพุทธาแล้วขวาหัน เป็นเขตขันธ์สังฆาวาส...สะอาด...ขรึม เราเดินท่องป้องปากอยากพ าพึม แอบง างึมงุบงิบกระซิบเบา คนเดินหน้าบอก...อย่าดังระวังหน่อย เราเสียงอ่อย...เขตสงฆ์...ว้า...ไม่กล้าเข้า "กลัวอะไร...หรือเป็นผี???" สามีเย้า จะได้เป่าด้วยน ้ามนต์พรมพ่นมา (หน้า ๙๗) ............................................................................................................................. ....................................................... ๕. ถามตัวเองหลายหลายที่...เราดีหรือ??? ตอบชื่อชื่อดังดังยังสับสน มันดีดีและร้ายร้าย...คล้ายคล้ายปน ล้างกี่หนยังเลอะเลอะและเกรอะกรัง (หน้า ๕๒) ............................................................................................................................. .......................................................