รายวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ รหัสวิชา ว30103
จัดทำโดย
สมาชิกกลุ่ม 6
เสนอ
คุณครู รัตนา หมู่โยธา
โรงเรียนสตรีราชินูทิศ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี
จ.อุดรธานี
บทที่ 5
ชีวิตในสิ่งแวดล้อม
เรื่องขยะ
จุดประสงค์
เพื่อให้ทราบถึงที่มา ความหมายของขยะ
ทำให้สามารถจำแนกประเภทของขยะและแยกขยะทิ้งให้ถูกต้องได้
สืบค้นข้อมูล อภิปรายและนำเสนอแนวทาง
ในการจัดการกับปัญหาขยะ
เพื่อให้ตระหนักถึงปัญหาเรื่องผลกระทบ
ของขยะต่อสิ่งแวดล้อม
ขยะ หมายถึง บรรดาสิ่งของที่ไม่ต้องการ ขยะ
ใช้แล้ว ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นของแข็ง จะเน่า
เปื่ อยหรือไม่ก็ตาม รวมถึงเถ้า ซากสัตว์ มูล
สัตว์ ฝุ่นละออง และเศษวัตถุที่ทิ้งแล้ว
ยกเว้นอุจจาระและปัสสาวะของมนุษย์
ซึ่งเป็นสิ่งปฏิกูล
ประเภทของขยะ
แบ่งออกเป็น 4 ประเภท
1 2
ขยะย่อยสลาย หรือขยะเปียก ขยะรีไซเคิล
คือ ของเสียบรรจุภัณฑ์ หรือวัสดุ
คือ ขยะที่เน่าเสียและย่อยสลาย เหลือใช้ ซึ่งสามารถนำกลับมาใช้
ได้เร็ว สามารถนำมาหมักทำปุ๋ยได้
ประโยชน์ใหม่ได้
3 ขยะอันตราย 4
คือ มูลฝอยที่ปนเปื้ อน หรือมีองค์
ประกอบของวัตถุที่เป็นอันตรายหรือก่อ ขยะทั่วไป
ให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพสิ่ง คือ ขยะประเภทอื่นนอกเหนือจากขยะ
แวดล้อมหรืออันตรายต่อมนุษย์ ย่อยสลาย ขยะรีไซเคิลและขยะอันตราย
มีลักษณะที่ย่อยสลายยากทและไม่คุ้มค่า
สำหรับการนำกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่
วิธีคัดแยกขยะ!
1. คัดแยกขยะที่นำกลับมาใช้ประโยชน์ได้หรือขยะ 2. เก็บกักขยะที่ทำการคัดแยกแล้วในถุงหรือถัง
รีไซเคิลออกจากขยะย่อยสลาย ขยะอันตราย รองรับขยะแบบแยกประเภทที่หน่วยราชการกำหนด
และขยะทั่วไป
4. เก็บกักขยะอันตรายหรือภาชนะบรรจุสารที่ไม่แน่ชัด
3. เก็บกักขยะที่ทำการคัดแยกแล้วในบริเวณที่มี เป็นสัดส่วนแยกจากขยะอื่น ๆ เพื่อป้องกันการแพร่
อากาศถ่ายเทสะดวก มีแสงสว่างเพียงพอ ไม่ กระจายของสารพิษ หรือระเบิดเพื่อแยกทิ้ง
กีดขวางทางเดิน อยู่ห่างจากสถานประกอบอาหาร
5. ห้ามเก็บขยะอันตรายไว้รวมกัน ให้แยกเป็นประเภท ๆ ของเหลวให้
ใส่ถังหรือภาชนะบรรจุให้มิดชิดและไม่รั่วไหล ห้ามเทของเหลวต่างชนิด
รวมกัน เนื่องจากอาจเกิดการระเบิดหากเป็นของแข็งหรือกึ่งของแข็งให้
เก็บใส่ภาชนะที่แข็งแรง
ประโยชน์ของการคัดแยกขยะ
1 ช่วยลดปริมาณขยะ
การแยกขยะเพิ่มการนำกลับมารีไซเคิล ทำให้เหลือขยะที่ต้องกำจัดน้อยลง ขยะบนโลกก็จะลดลง
ด้วย
2 ประหยัดงบในการกำจัดขยะ
นำงบส่วนนี้ไปพัฒนาด้านอื่น ๆ เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้ได้
3 ลดการสิ้นเปลืองพลังงานและทรัพยากร
ของที่สามารถกลับมารีไซเคิลได้จะช่วยเพิ่มรายได้ และลดทรัพยากรโลกในการผลิกใหม่อีกครั้ง
4 รักษาสิ่งแวดล้อมลดมลพิษโลก
การแยกขยะจะทำให้เรากำจัดขยะได้ถูกวิธีมากขึ้น และลดมลพิษต่อสิ่งแดล้อม
EX.1 ปัญหาขยะและ
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
ปัญหา: มลพิษทางน้ำในชุมชนจากขยะมูลฝอย
สาเหตุ: เกิดจากทิ้งขยะลงแม่น้ำลำคลองอยู่เป็นประจำ เช่น
กล่องนม ถุงขนมที่มีเศษอาหาร หลอด ขวดน้ำ เป็นต้น หรือ
แม้แหล่งน้ำอยู่ใกล้บริเวณที่ทิ้งขยะจำนวนมาก สามารถปลิว
ไปตามลมแล้วตกลงมาในแม่น้ำลำคลองได้ เช่น ถุงพลาสติก
เศษกระดาษ เป็นต้น
ผลกระทบ 3. ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศ เช่น
มีกลิ่นเหม็นจากน้ำเน่าเสีย
1. ผลกระทบกระทบต่อวงจรชีวิตของสัตว์น้ำ เช่นน้ำเสียที่เกิดจากสารพิษ
อาจทำให้ปลาและสิ่งมีชีวิตตายทันที ส่วนน้ำเสียที่เกิดจากออกซิเจนใน
น้ำลดต่ำลง อาจอาหารของปลา ทำให้ความอุดมสมบูรณ์หรือแหล่ง
อาหารของสัตว์
2. เป็นแหล่งแพร่ระบาดของเชื้อโรค เช่น อหิวาตกโรค บิด และท้องเสีย 5. มีผลกระทบต่อการเพาะปลูก เพราะน้ำเสียที่มี
ความเป็นกรดและด่างไม่เหมาะสำหรับทำการเกษตร
EX.2 ปัญหา: มลพิษทางอากาศจาก
ขยะมูลฝอย
สาเหตุ ผลกระทบ
ขยะมูลฝอยที่กองทิ้งไว้ในเขต เศษขยะมูลฝอยอาจปลิวไปในอากาศ
ชุมชน หรือที่กองทิ้งไว้ในแหล่ง ทำให้เกิดความสกปรกแก่บรรยากาศ ซึ่ง
กำจัด ซึ่งไม่มีการฝังกลบ หรือ มีผลต่อสุขภาพของมนุษย์ และเกิดความ
ขณะที่ทำการเก็บขน และไม่มี สกปรกให้กับบริเวณข้างเคียงได้
การปกปิดอย่างมิดชิด นอกจากนี้ขยะมูลฝอยที่กองทิ้งไว้นานๆ
จะมีก๊าซที่เกิดจากการหมักขึ้น ได้แก่ ก๊าซ
ชีวภาพ ซึ่งติดไฟ หรือเกิดระเบิดขึ้นได้ และ ก๊าซไข่เน่าเกิดจากการย่อยสลายจุลินทรีย์ในน้ำเสีย ขยะจากเศษ
ก๊าซไข่เน่า (ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์) ซึ่งมี อาหาร หรือจากสิ่งมีชีวิตที่มีโปรตีนสูง ถูกย่อยสลาย ซึ่งมักพบ
กลิ่นเหม็น
ก๊าซไข่เน่าจากบ่อปฏิกูล บ่อหมักก๊าซ
EX.3 ปัญหา:มลพิษในดินจากขยะมูลฝอย
สาเหตุ ผลกระทบจากมลพิษในดิน
ดินที่ปนเปื้ อนสารเคมีหรือสารพิษต่างๆนั้น
การทิ้งขยะและของเสียในย่าน
ชุมชน ไม่ว่าจะเป็นขยะมูลฝอย เป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อระบบนิเวศและสิ่งมีชีวิต
ชิ้นส่วนพลาสติก ขยะ
อิเล็กทรอนิกส์ และสิ่งปฏิกูลต่างๆ ผลกระทบต่อมนุษย์
ล้วนส่งผลให้ดินสูญเสียคุณสมบัติ การนำพืชผลทางการเกษตรที่ปนเปื้ อนสารเคมี
ดั้งเดิมกลายเป็นแหล่งเพาะเชื้อ ต่างๆมาบริโภค ยังอาจทำให้เกิดอันตรายต่อมนุษย์
โรคและทำลายความสวยงามของ จากการสะสมทางชีวภาพในห่วงโซ่อาหาร เช่น ดิน
สภาพแวดล้อม ที่มีการปนเปื้ อน
ผลกระทบต่อสัตว์
สารเคมีปนเปื้ อนที่ตกค้างในดินยังส่งผลกระทบ
ต่อสัตว์ที่มีลำตัวเป็นข้อปล้องและจุลินทรีย์ที่อยู่ใน
ดิน อาจส่งผลกระทบร้ายแรงต่อการเริ่มต้นของ
ห่วงโซ่อาหารในธรรมชาติ
ระบบการจัดการขยะ
ในประเทศไทย
ปริมาณขยะของประเทศไทย
ปี 2563 พบว่ามีขยะประมาณ 27.35 ล้านตัน รัฐบาล
ซึ่งลดลงจากปี 2562 ร้อยละ0.2 เนื่องจากมี
การควบคุมการเดินทางของนักท่องเที่ยว แต่ ดำเนินการแก้ไขปั ญหาขยะโดยใช้แนวคิด
พ บ ว่ า มี ป ริ ม า ณ ข ย ะ พ ล า ส ติ ก เ พิ่ ม ขึ้ น อ ย่ า ง ม า ก 3R คือ REDUCE REUSEและ RECYCLE
วางโครงสร้างให้ภาคเอกชน และภาค
ประชาชนร่วมกันจัดการปั ญหา
โดยแบ่งเป็น 4 มาตรการ
1.แก้ไขปั ญหาขยะมูลฝอยเก่าตกค้างสะสม
2.สร้างรูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยใหม่
3.วางระเบียบและมาตรการการบริหารจัด
การขยะมูลฝอย
4.การสร้างวินัยคนในชาติ
เอกชน
เริ่มรณรงค์คัดแยกขยะในองค์กร นำส่ วนที่ยังใช้ประโยชน์ได้ไป
รีไซเคิลหรือจำหน่าย ช่วยกันฝั งกลบขยะอินทรีย์ให้ย่อยสลายเองตาม
ธรรมชาติหรือทำปุ๋ย ส่ วนที่เหลืออยู่ใช้วิธีเผาทำลายด้วยเตาเผาขยะ
เทคโนโลยีสู งที่มีระบบควบคุมอากาศ โดยไม่ต้องใช้ไฟฟ้า น้ำมัน หรือ
แก๊ส อีกทั้งยังมีการหารือเพื่อตั้งเป้าหมายที่จะลดขยะที่มีอยู่ในทะเลลง
กว่า 50% ภายในปี 2570
อ้างอิง
หนังสือวิทยาศาสตร์ชีวภาพ
HTTPS://WWW.SCHOOLOFCHANGEMAKERS.COM/?
FBCLID=IWAR0UEYU2BJCONWT2GKZ1ZVSVTEHYOF4
WWYZA5WHRY_BQPTG0BJFSHV0ZVQK
HTTP://PCD.GO.TH/INFO_SERV/WASTE_RUBBISH.HTM
FBCLID=IWAR1WTUTPWGWNCYASG5C4QAAWW8WE
VUQOZJVMXQE3ZMWLYEHIBCXHMRWW8OG
HTTPS://WWW.PCD.GO.TH/PCD_NEWS/11873/?
FBCLID=IWAR2OJT4VVJF2DNBQTG8KNQCHFAGI
X1_DPVKJRLAZOAWQNGZJH5PPVLJXZMQ
สมาชิกกลุ่ม 3
นางสาววรรณวริน พิมพ์วาปี นางสาวคนธรส สุวรรณชมภู
ม.5/10 เลขที่ 19 ม.5/10 เลขที่ 27
ตัดต่อวิดีโอ, นำเสนอ หาข้อมูล, รวบรวมข้อมูล
powerpoint, e-Book, นำเสนอ
นางสาวอารียา แบล็กล็อค นางสาวณภัทร เจริญเพ็ง
ม.5/10 เลขที่ 36 ม.5/10 เลขที่ 30
หาข้อมูล, รวบรวมข้อมูล หาข้อมูล, รวบรวมข้อมูล, นำเสนอ
powerpoint, ตัดต่อวิดีโอ, นำเสนอ
ขอบคุณค่ะ